You are on page 1of 69

สาขา : อุตสาหการ

วิชา : Production Planning and Control


เนือหาวิชา : 181 : 01 ภาพรวมการวางแผนและควบคุมการผลิต

ข ้อที 1 :
ระบบการผลิตทีเน ้นการลดต ้นทุนสินค ้าคงคลังมากทีสุดคือระบบการผลิตแบบใด

1 : ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time)


2 : ระบบการผลิตทีมีการวางแผนความต ้องการวัสดุ (Material Requirements Planning System)
3 : ระบบการผลิตแบบระบบการไหลของนํ าในอ่าง (Pond Draining)
4 : ระบบการผลิตทีใช ้ระบบสังใหม่ (Re-order Point System)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
ภายใต ้สภาพแวดล ้อมการผลิตเดียวกันการกําหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจใดทีจะทําให ้ช่วงเวลานํ ายาวนานทีสุด

1 : ผลิตแบบมีสต๊อก
2 : ผลิตตามสัง
3 : ประกอบเพือสต๊อก
4 : ประกอบตามสัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 3 :
ในการตัดสินใจเกียวกับการวางแผนและควบควบคุมการผลิต 2 คําถามหลักทีผู ้บริหารจะต ้องตอบคือ

1 : เราจะทําอะไรต่อไป และ ต ้นทุนเท่าไร


2 : เราจะทําอะไรต่อไป และ ส่งของเมือไร
3 : เราจะทําอะไรต่อไป และ มีขด ี ความสามารถทีจะทําได ้หรือไม่
4 : เราจะผลิตสินค ้าอะไร และ จํานวนเท่าไร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 4 :
ข ้อใดต่อไปนีคือวัตถุประสงค์โดยทัวไปของการวางแผนและควบคุมการผลิต

1 : ระดับการบริการลูกค ้าสูงสุด
2 : ประสิทธิภาพการปฏิบต ั งิ านโรงงานสูงสุด
3 : การลงทุนในวัสดุคงคลังตําสุด
4 : ใช่ทก
ุ ข ้อทีกล่าวมา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 5 :
ถ ้าเราต ้องการให ้ประสิทธิภาพการใช ้งานเครืองจักรหรือแรงงานสูง เราควรผลิตสินค ้าแต่ละครังด ้วยขนาดรุน
่ การผลิตใหญ่ การดําเนินการตามแนวทางดังกล่าว
อาจจะส่งผลเสียทางด ้านใด

1 : การลงทุนในสินค ้าคงคลังสูง
2 : ค่าแรงต่อหน่วยสินค ้าสูงขึน
3 : ค่าเครืองจักรต่อหน่วยสินค ้าสูงขึน
4 : ต ้นทุนการขนส่งวัตถุดบ
ิ สูงขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 6 :
่ ารมีวส
ระบบการวางแผนการผลิตใดต่อไปนีนํ าไปสูก ั ดุคงคลังทีตําสุดเมือเทียบกับระบบการวางแผนการผลิตอืนๆ

1:
ระบบการไหลของนําในอ่าง(Pond Draining)
2 : การวางแผนความต้องการวัสดุ(Material Requirements Planning ,MRP)
3 : ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี(Just in Time ,JIT)
4 : ระบบตารางการผลิตหลัก(Master Production Schedule ,MPS)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 7 :
ข ้อใดต่อไปนีคือปั ญหาทีเป็ นอุปสรรคต่อการวางแผนและควบคุมการผลิต

1 : ปั ญหากําลังการผลิตไม่เพียงพอ
2 : ปั ญหาความไม่มป ี ระสิทธิภาพในการควบคุมวัสดุคงคลัง
3 : ปั ญหาความผิดพลาดในการบันทึกข ้อมูลด ้านงานทางวิศวกรรมและการผลิต
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 8 :
สําหรับธุรกิจทีดําเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจแบบประกอบตามสังมักจะสต๊อกวัสดุคงคลังในรูปของ

1 : สินค ้าสําเร็จรูป
2 : วัตถุดบิ
3 : ชินส่วนประกอบ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 9 :
สําหรับธุรกิจทีดําเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจแบบผลิตเพือสต๊อกมักจะสต๊อกวัสดุคงคลังในรูปของ

1 : สินค ้าสําเร็จรูป
2 : วัตถุดบิ
3 : ชินส่วนประกอบ
4 : วัตถุดบ ิ แต่เก็บไว ้ทีคลังของผู ้ส่งมอบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 10 :
จากรูปแบบผลลัพธ์การวางแผนการผลิตทีกําหนดให ้ ในตารางต่อไปนี จงระบุวา่ เป็ นรูปแบบการวางแผนประเภทใด
ชื อผลิตภัณฑ์ พ.ค. มิ.ย. ก.ค
กลุ่ม รุ่ น
รุ่ น A 50 50 80
M58 รุ่ น B 40 40 60
รุ่ น C 20 10 10
รุ่ น A 40 30 40
M62
รุ่ น B 30 30 30

1 : ตารางการผลิตหลัก
2 : แผนการผลิตรวม
3 : รายละเอียดตารางการผลิต
4 : การควบคุมกําลังการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 11 :
จากรูปแบบผลลัพธ์การวางแผนการผลิตทีกําหนดให ้ ในตารางต่อไปนี จงระบุวา่ เป็ นรูปแบบการวางแผนประเภทใด
ชื อผลิตภัณฑ์ เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค ส.ค. ก.ย.
กลุ่ม รุ่ น
รุ่ น A
M58 รุ่ น B 120 100 100 150 80 120
รุ่ น C
รุ่ น A
M62 80 80 80 100 50 100
รุ่ น B
M72 30 30 50 70 20 30

1 : ตารางการผลิตหลัก
2 : แผนการผลิตรวม
3 : รายละเอียดตารางการผลิต
4 : การควบคุมกําลังการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 12 :
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ A หากธุรกิจเลือกทีจะให ้มีการเก็บวัสดุ D และ E อยูต
่ ลอดเวลาในการดําเนินการผลิตเพือตอบสนองความต ้องการของตลาด ภายใต ้

ข ้อมูลทีกําหนดให ้ ช่วงเวลานํ าในการผลิตของบริษัทคือ

1 : 5 สัปดาห์
2 : 6 สัปดาห์
3 : 2 สัปดาห์
4 : 4 สัปดาห์
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 13 :
จากโครงสร ้างการไหลของวัสดุ จากวัตถุดบ
ิ ไปสินค ้าสําเร็จรูปดังรูปข ้างล่างนี การดําเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจมักจะเป็ นไปในทางใด

1 : ผลิตตามสัง
2 : ออกแบบตามสัง
3 : ผลิตเพือสต๊อก
4 : ประกอบตามสัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 14 :
จากโครงสร ้างการไหลของวัสดุ จากวัตถุดบ
ิ ไปสินค ้าสําเร็จรูปดังรูปข ้างล่างนี การดําเนินกลยุทธ์ทางธุรกิจมักจะเป็ นไปในทางใด

1 : ผลิตตามสัง
2 : ออกแบบตามสัง
3 : ผลิตเพือสต๊อก
4 : ประกอบตามสัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 15 :
ข ้อต่อไปนีคือปั จจัยความล ้มเหลวในการวางวางแผนและควบคุมการผลิตยกเว ้น

1 : ขาดการสนับสนุนและขาดการแสดงความมุง่ มันจากผู ้บริหารระดับสูงอย่างชัดเจน เช่น ไม่เข ้ามามีสว่ นร่วมในการบริหารอย่างเต็มที ไม่ได ้กําหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ทชั


ี ดเจน
2 : ตารางการผลิตหลักไม่มค ี ณ
ุ ภาพ มีการเปลียนแปลงบ่อย
3 : ช่วงเวลานํ าไม่ถก
ู ต ้อง
4 : ค่าแรงล่วงเวลาสูง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 16 :
ประเด็นต่อไปนีคือปั จจัยความสําเร็จในการวางแผนและควบคุมการผลิตยกเว ้น

1 : ต ้นทุนแรงงานตํา มีการกําหนดการทํางานล่วงเวลาน ้อย


2 : ทุกฝ่ ายทุกแผนกในองค์กรทีเกียวข ้องต ้องให ้ความร่วมมือ
3 : ข ้อมูลการดําเนินงานภายในโรงงานมีความถูกต ้องแม่นยํา
4 : ผู ้บริหารแสดงความมุง่ มันและมีนโยบายทีชัดเจน พร ้อมทังสือสารให ้พนักงานทุกระดับทีเกียวข ้องได ้ทราบ และเข ้าใจ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 17 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต

1 : ความสําเร็จของการพัฒนาระบบ การวางแผนและควบคุมการผลิต อยูท


่ ซอฟท์
ี แวร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ไม่ใช่อยูท
่ คน

2 : การพัฒนาระบบ SOP (Sale and Operations Planning) ต ้องการความร่วมมือจากทุกฝ่ ายมิใช่งานของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง ดังนันจึงต ้องการเวลา ความรู ้ ความเข ้าใจ การทํางานเป็ นทีม ความร่วม
มือ นโยบาย และการออกแรงผลักดัน
3 : การตังคณะทํางานด ้านการวางแผนและควบคุมการผลิตจําเป็ นต ้องมีตวั แทนจากผู ้ใช ้ระบบทุกฝ่ ายของบริษัท
4 : การพัฒนาระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตเป็ นเรืองของบุคคลากรภายในบริษัทไม่ใช่บค ุ คลากรภายนอก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 18 :
จากโครงสร ้างของกําไรและต ้นทุนของบริษัทแห่งหนึงทีกําหนดให ้ข ้างล่างนีหากบริษัทต ้องการกําไรเพิมขึน 2 เท่า โดยเน ้นการลดค่าใช ้จ่ายในส่วนของค่าวัสดุ
และการจัดซือ จะต ้องลดค่าใช ้จ่ายส่วนนีลงกีเปอร์เซ็นต์
ยอดขาย 10,000,000 บาท
ค่ าจัดซื อและค่ าวัสดุ 7,000,000 บาท
เงินเดือน 2,000,000 บาท
ค่ าโสหุ้ย 500,000 บาท
กําไร 500,000 บาท

1 : 7.14%
2 : 25 %
3 : 100%
4 : 10%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 19 :
ภาพของระบบการวางแผนความต ้องการวัสดุใดต่อไปนีถูกต ้อง

1:

2:

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 20 :
ข ้อใดต่อไปนีคือสูตรในการคํานวณผลิตภาพ (Productivity)

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 21 :
ข ้อใดคือคุณลักษณะของระบบการผลิตทีเน ้นผลิตภัณฑ์(Product Focus)

1 : การผลิตแบบต่อเนือง
2 : การผลิตแบบไหลเป็ นสาย
3 : เครืองจักรและคนงานทีจําเป็ นต่อการผลิตถูกจัดรวมกลุม
่ เข ้าด ้วยกัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 22 :
ข ้อใดคือคุณลักษณะของระบบการผลิตทีเน ้นกระบวนการ(Process Focus)

1 : การผลิตแบบต่อเนือง
2 : การผลิตแบบไหลเป็ นสาย
3 : เครืองจักรและคนงานทีจําเป็ นต่อการผลิตถูกจัดรวมกลุม่ เข ้าด ้วยกัน
4 : ผลิตภัณฑ์มคี วามหลากหลาย รวมกลุม ่ เครืองจักรทีเหมือนกันเป็ นแผนก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 23 :
ข ้อใดคือคุณลักษณะของระบบการผลิตเพือสต๊อก

1 : การผลิตจะเริมต ้นเมือได ้รับใบสังจากลูกค ้า


2 : การวางแผนการผลิตจะให ้ความสําคัญกับกําหนดส่งมอบของลูกค ้า
3 : ผลิตก่อนล่วงหน ้าแล ้วเก็บไว ้ในคลัง เมือได ้รับใบสังผลิตภัณฑ์จะถูกจัดส่งให ้ลูกค ้าจากคลังสินค ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 24 :
ชือระบบการผลิตใดต่อไปนีไม่ได ้มีความหมายเดียวกันกับระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time)

1 : การผลิตแบบไร ้สต๊อก
2 : การผลิตรอบสัน
3 : การผลิตทีเน ้นแผนการผลิต
4 : การผลิตแบบไหลต่อเนือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 25 :
ข ้อใดไม่ใช่เป็ นวัตถุประสงค์ของการวางแผนและควบคุมการผลิต

1 : ยกระดับการให ้บริการลูกค ้าสูงสุด(การส่งมอบสินค ้าตามกําหนด)


2 : มีการใช ้ประโยชน์เครืองจักรและแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ(Plant Utilization)
3 : การลงทุนในพัสดุคงคลังตํา(มีการถือครองพัสดุคงคลังเท่าทีจําเป็ น)
4 : ลดการเสือมสภาพของเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 26 :
อัตราการหมุนเวียนพัสดุคงคลังเป็ นตัวชีวัดผลการดําเนินงานด ้านใดของการวางแผนและควบคุมการผลิต
1 : การใช ้บริการลูกค ้าสูงสุด(การส่งมอบสินค ้าตามกําหนด)
2 : มีการใช ้ประโยชน์เครืองจักรและแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ(Plant Utilization)
3 : การลงทุนในพัสดุคงคลัง
4 : Bill Material
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 27 :
การวางแผนการผลิตรวม(Aggregate Production Planning) เน ้นการวางแผนในระดับใด

1 : กลุม
่ ผลิตภัณฑ์
2 : สินค ้าแต่ละรายการ
3 : ชินส่วนและวัตถุดบิ แต่ละรายการ
4 : กิจกรรมการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 28 :
การลดขนาดรุน
่ การผลิตให ้น ้อยลง จะส่งผลกระทบด ้านใดต่อผลการดําเนินงาน

1 : ประสิทธิภาพเครืองจักรลดลงเนืองจากต ้อง Setup เครืองจักรหลายครัง แต่ชว่ งเวลานํ าการส่งมอบโดยรวมจะเร็วขึน


2 : พัสดุคงคลังจะเพิมขึนเนืองจากมีการสะสมปริมาณการผลิตหลายครัง
3 : การรอคอยการผลิตจะเพิมขึนเนืองจากมีงานระหว่างผลิตสะสมมากขึน
4 : เครืองจักรจะเสียหายมากขึนเนืองจากต ้องรับภาะการผลิตมากขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 182 : 02 การพยากรณ์ (Forecasting)

ข ้อที 29 :
วิธก
ี ารพยากรณ์ใดต่อไปนีไม่ใช่วธิ ก
ี ารพยากรณ์เชิงปริมาณ

1 : วิธเี ดลฟาย
2 : วิธถ ี วั เฉลียเคลือนที
3 : วิธป ี รับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล
4 : วิธก ี ําลังสองน ้อยทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 30 :
ถ ้าข ้อมูลความต ้องการในอดีต ห ้าคาบย ้อนหลังเป็ นดังนี 3, 11, 5, 2 และ 4 โดยข ้อมูลสุดท ้ายคือข ้อมูลล่าสุด ค่าถัวเฉลียเคลือนที (n=3) คือ

1 : 3.67, 6, 6.33
2 : 6, 6.33, 3.67
3 : 6.33, 6, 3.67
4 : 6.33, 3.67, 6
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 31 :
ถ ้ายอดขายรายไตรมาสตังแต่ไตรมาสทีหนึงของปี 2544 เป็ นดังนี 10,12,15,14 และของปี 2545 เป็ นดังนี 11,13,14,15 และของปี 2546 เป็ นดังนี 10,14,15,15 ดัชนี
ฤดูกาลโดยวิธ ี อัตราส่วนค่าจริงต่อค่าเฉลีย สําหรับไตรมาสทีสองคือข ้อใด

1 : 0.980
2 : 0.987
3 : 0.98
4 : 0.996
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 32 :
ข ้อความทีเป็ นจริงสําหรับการพยากรณ์เชิงคุณภาพ

1 : ได ้ผลการพยากรณ์ทมี
ี คณ
ุ ภาพเชือถือได ้
2 : เหมาะกับการพยากรณ์ในระยะกลาง
3 : ค่าความคลาดเคลือนจะค่อนข ้างตํา
4 : เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 33 :
ถ ้าความคลาดเคลือนของผลการพยากรณ์จํานวน5คาบเวลาโดยวิธ ี A มีคา่ ดังนี -10,2,5,8,-4 สําหรับวิธ ี B จะมีความคลาดเคลือนดังนี 10,5,-10,0,-5 วิธ ี B และ
สําหรับวิธ ี C จะมีความคลาดเคลือนดังนี 2,5,-10,4,-5 ควรใช ้ค่าพยากรณ์ของวิธใี ด

1:A
2:B
3:C
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 34 :
ข ้อมูลของยอดขายสินค ้าชนิดหนึงในไตรมาสที 1, 2 ,3 และ 4 พบว่ามีจํานวนยอดขายเป็ น 500, 900, 700 และ 800 หน่วย ตามลําดับ จงพยากรณ์ยอดขายใน
ั ไปโดยใช ้วิธถ
ไตรมาสที 1 ของปี ถด ี วั เฉลียเคลือนที (Moving Average) ของอนุกรมเวลา 3 จุด

1 : 800 หน่วย
2 : 700 หน่วย
3 : 967 หน่วย
4 : 725 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 35 :
คํากล่าวใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง
ี า่ เฉลียเคลือนทีทีมีการกําหนดช่วงเวลา คิดมากขึนจะยิงทําให ้ได ้เส ้นกราฟความสัมพันธ์ของช่วงเวลาและปริมาณความต ้องการทีเรียบมากขึน
1 : วิธค
2 : สัญญาณติดตามค่าพยากรณ์ (Tracking Signal) คือวิธก ี ารทีใช ้ในการควบคุมความคลาดเคลือนจากการพยากรณ์
3 : การพยากรณ์แบบฤดูกาลของวินเตอร์ จะต ้องใช ้ข ้อมูลอย่างน ้อย 3 ฤดูกาล
4 : การพยากรณ์โดยการวิจัยตลาดได ้มาจากการส่งแบบสอบถามการสํารวจทางโทรศัพท์ การอภิปรายกลุม ่ และการสัมภาษณ์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 36 :
สิงใดต่อไปนีมิใช่เป็ นองค์ประกอบของการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา

1 : แนวโน ้ม
2 : ความแปรปรวนของการดําเนินงาน
3 : ฤดูกาล
4 : วัฎจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 37 :
คํากล่าวใดต่อไปนีคือสิงทีถูกต ้องเกียวกับการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา

1 : มีพนฐานของสมมติ
ื ฐานทีว่าความต ้องการในอนาคตจะเหมือนกับในอดีต
2 : ได ้ถูกนํ าไปประยุกต์ใช ้อย่างกว ้างขวางในการรวบรวมข ้อมูลเชิงคุณภาพ
3 : การวิเคราะห์ข ้อมูลในอดีตจะช่วยในการพยากรณ์ความต ้องการอนาคต
4 : มีศกั ยภาพในการพยากรณ์มากกว่าวิธค ี วามสัมพันธ์ (Causal Model)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 38 :
จากข ้อมูลยอดขาย 2 สัปดาห์ ล่าสุด ดังแสดงในตารางต่อไปนี หากใช ้ วิธก
ี ารพยากรณ์อย่างง่าย (Naive Method) ค่าพยากรณ์ความต ้องการในสัปดาห์ท3ี มีคา่
เท่าไร

สัปดาห์ ที ยอดขาย
1 108
2 120

1 : 96 หน่วย
2 : 114 หน่วย
3 : 120 หน่วย
4 : 144 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 39 :
จากความคลาดเคลือนของการพยากรณ์ 4 ช่วงเวลา ดังนี -1 , 4 , 8 , และ 3 จงคํานวณค่า ความเบียงเบนสัมบูรณ์เฉลีย (Mean Absolute Deviation)

1:2
2:3
3:4
4:8
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 40 :
จากสมการแนวโน ้มแบบอนุกรมเวลาทีคํานวณได ้คือ = 25.3 + 2.1(t) จงพยากรณ์ความต ้องการในช่วงเวลาที 7

1 : 23.2
2 : 25.3
3 : 27.4
4 : 40.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 41 :
หัวข ้อใดต่อไปนีเป็ นตัวอย่างของเทคนิคการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา

1 : การวิจัยตลาด
2 : วิธเี ดลฟาย
3 : ปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชียลแบบมีแนวโน ้ม
4 : ความคิดเห็นของพนักงานขาย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 42 :
จงคํานวณค่าถัวเฉลียเคลือนทีอย่างง่ายแบบ 3 ช่วงเวลา ของวันที 8 จากข ้อมูลทีกําหนดให ้ต่อไปนี
วันที: 1 2 3 4 5 6 7
ความต้ องการ: 12 14 10 8 9 13 11

1 : 12
2:9
3 : 10
4 : 11
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 43 :
จากข ้อมูลความต ้องการสินค ้าทีกําหนดให ้ต่อไปนี พร ้อมสมการในการพยากรณ์แบบ y=3 + 2X จงพยากรณ์ความต ้องการสินค ้าในปี พ.ศ.2552 ไตรมาสที3
ช่วงเวลา (X) ปี พ.ศ.-ไตรมาสที ความต้ องการสิ นค้ า(หน่ วย)
7 -ไตรมาส 3 14.2
8 -ไตรมาส 4 18.4
9 -ไตรมาส 1 23.9
10 -ไตรมาส 2 23.3
1 : 20 หน่วย
2 : 25 หน่วย
3 : 27 หน่วย
4 : 30 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 44 :
ภายใต ้สภาวะเงือนไขใด การพยากรณ์โดยวิธก
ี ารปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชียลอย่างง่าย (Simple Exponential Smoothing) จะทําให ้ค่าพยากรณ์เหมือนกับค่าความ
ต ้องการจริงในช่วงเวลาเดียวกัน

1 : Alpha = 0
2 : Alpha = 1
3 : Alpha = 0.5
4 : Alpha = 0.1
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 45 :
โดยหลักการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา ข ้อมูลในอดีตจะประกอบไปด ้วย องค์ประกอบต่อไปนียกเว ้น

1 : วัฎจักร (Cyclical)
2 : ความไม่แน่นอน (Random)
3 : แนวโน ้ม (Trend)
4 : ความถี (Frequency)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 46 :
วีธก
ี ารพยากรณ์ตอ
่ ไปนีไม่ใช่วธิ ก
ี ารพยากรณ์เชิงคุณภาพ

1 : วิธเี ดลฟาย
2 : การวิจัยตลาด
3 : การสํารวจประชากรกลุม
่ (Panel Consensus)
4 : วิธค ี า่ เฉลีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 47 :
โดยวิธอ
ี ต
ั ราส่วนต่อค่าแนวโน ้ม ค่าดัชนีฤดูกาลสามารถคํานวณได ้จาก

1 : วิธก
ี ารวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis)
2 : หารยอดขายจริงด ้วยค่าพยากรณ์แนวโน ้ม
3 : หารค่าพยากรณ์แนวโน ้มด ้วยยอดขายจริง
4 : หารค่าฤดูกาลปั จจุบนั ด ้วยฤดูกาลทีแล ้ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 48 :
อัตราส่วนของความคลาดเคลือนพยากรณ์สะสมต่อค่าเบียงเบนสัมบูรณ์ในช่วงเวลา เดียวกัน จะถูกใช ้ในการหา

1 : สัญญาณติดตาม (Tracking Signal)


2 : การวัดประสิทธิภาพของการพยากรณ์
3 : การประมาณความคลาดเคลือนของการพยากรณ์
4 : การประมาณค่าความคลาดเคลือนมาตรฐาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 49 :
การพยากรณ์โดยวิธป
ี รับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชียลอย่างง่าย (Simple Exponential Smoothing) การกําหนดค่า Alpha สูงขึน หมายถึง

1 : การเน ้นให ้ความสําคัญกับข ้อมูลในอนาคตมากกว่าในอดีต


2 : การเน ้นให ้ความสําคัญกับอดีตเท่าๆกันทุกๆช่วงเวลามากยิงขึน
3 : การเน ้นให ้ความสําคัญกับข ้อมูลล่าสุดมากขึนในการชีนํ าถึงอนาคต
4 : การเน ้นให ้ความสําคัญกับข ้อมูลในอดีตทีห่างไกลจากปั จจุบน ั มากยิงขึนในการชีนํ าอนาคตเนืองจากสะท ้อนพฤติกรรมของอนาคตได ้ดีกว่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 50 :
ถ ้าตัวแปร 2 ตัวมีสหสัมพันธ์กน
ั อย่างสมบูรณ์ (Perfectly Correlated) ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient- r) ควรเป็ นเท่าไร

1:0
2 : มากกว่า 0 แต่น ้อยกว่า 1
3 : เท่ากับ 1 เท่านัน
4 : -1 หรือ + 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 51 :
จุดมุง่ หมายพืนฐานของค่าเฉลียเบียงเบนสัมบูรณ์ (Mean Absolute Diviation-MAD) คือ

1 : ประมาณค่าเส ้นแนวโน ้ม
2 : ประมาณค่าความคลาดเคลือนของฤดูกาล
3 : วัดความแม่นยําของการพยากรณ์
4 : ปรับเรียบค่าพยากรณ์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 52 :
ถ ้ายอดขายโทรศัพท์มอ ื ถือในวันพุธ เท่ากับ 35 เครือง เราสามารถพยากรณ์ได ้ทันทีวา่ ยอดขายในวันพฤหัสจะเท่ากับ 35 เครือง และ ถ ้ายอดขายจริงของวันพฤหัส
เท่ากับ 42 เครือง ค่าพยากรณ์ของวันศุกร์กค ็ อ
ื 42 เครือง วิธก
ี ารพยากรณ์ ดังกล่าวคือวิธใี ด
1 : วิธอ
ี ย่างง่าย (Naive) แบบสมําเสมอ
2 : วิธอี ย่างง่าย (Naive) แบบมีแนวโน ้ม
3 : วิธอ ี ย่างง่าย (Naive) แบบมีฤดูกาล
4 : วิธอ ่
ี ย่างง่าย (Naive) แบบสุม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 53 :
ในการพยากรณ์อย่างง่าย (Naive Forecast)โดยการพิจารณาองค์ประกอบฤดูกาล เช่น ถ ้ายอดขายจริงในเดือนกรกฎาคมปี ทแล
ี ้วเท่ากับ 50,000 หน่วย ดังนันค่า
พยากรณ์ยอดขายสําหรับเดือนกรกฎาคมปี นควรจะเท่
ี ากับ

1 : 50,000 หน่วย
2 : 60,000 หน่วย
3 : 70,000 หน่วย
4 : 100,000 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 54 :
จากผลการคํานวณตัวแบบการพยากรณ์ทมีี องค์ประกอบของแนวโน ้มเป็ นแบบเส ้นตรงมีความชันและฤดูกาลเป็ นระบบไตรมาส ของข ้อมูลยอดขายชุดหนึง ได ้
สมการในการพยากรณ์คอื F=200+20t จงพยากรณ์ยอดขายในช่วงเวลาที 7 เมือพิจารณาทังแนวโน ้มและฤดูกาล
หากค่ าดัชนีฤดูกาลมี 4 ฤดู ดังนี
S1 = 0.90, S2 = 1.1, S3 = 1.2, S4 = 0.8

1 : 192
2 : 243
3 : 154
4 : 408
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 55 :
ใกล ้ปลายเดือนพฤษภาคม ท่านได ้รับมอบหมายให ้จัดเตรียมการพยากรณ์เดือนมิถน ุ ายน สําหรับผลิตภัณฑ์ชนิดหนึง ค่าพยากรณ์เดือนพฤษภาคมเท่ากับ 900
หน่วย และยอดขายจริงเดือนพฤษภาคมเท่ากับ 1,000 หน่วย ถ ้าท่านใช ้วิธกี ารพยากรณ์แบบปรับเรียบเอ็กโปเนนเชียลอย่างง่าย ในการพยากรณ์เดือนมิถน
ุ ายน
โดยกําหนดค่าปรับเรียบคงที = 0.20 ค่าพยากรณ์เดือนมิถน
ุ ายน เท่ากับเท่าไร

1 : น ้อยกว่า 925 หน่วย


2 : มากกว่า หรือเท่ากับ 925 หน่วย แต่น ้อยกว่า 950 หน่วย
3 : มากกว่า หรือเท่ากับ 950 หน่วย แต่น ้อยกว่า 1,000 หน่วย
4 : มากกว่า หรือ เท่ากับ 1,000 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 56 :
กําหนดให ้ข ้อมูลความต ้องการจริงเท่ากับ 61 ค่าพยากรณ์ชว่ งเวลาก่อนหน ้าเท่ากับ 58 และ ค่า Alpha = 0.3 ค่าพยากรณ์สําหรับช่วงเวลาถัดไปโดยวิธป
ี รับเรียบ
เอ็กซ์โปเนนเชียลอย่างง่าย คือเท่าไร

1 : 45.5
2 : 57.1
3 : 58.9
4 : 61.1
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 57 :
จากสมการแนวโน ้มเส ้นตรงและข ้อมูลทีกําหนดให ้ต่อไปนี จงคํานวณหาค่าดัชนีฤดูกาลของไตรมาสที2 โดยวิธอ ั ราส่วนต่อค่าแนวโน ้ม สมการเส ้นตรง a + bt = 2
ี ต
+ 3t

1 : 1.12
2 : 1.05
3 : 0.91
4 : 1.09
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 58 :
ผลการพยากรณ์จากวิธก ี ารพยากรณ์วธิ หี นึงในช่วง 5 ช่วงเวลาทีผ่านมาได ้ผลดังแสดงในตารางข ้างล่างนี จงคํานวณค่าเฉลียเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลือน
สัมบูรณ์ (Mean Absolute Percent Error-MAPE)
1 : 2.0%
2 : 13.2%
3 : 4.0%
4 : 1.2%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 59 :
ในการคํานวณค่าความคลาดเคลือนของการพยากรณ์ของสินค ้าชนิดหนึงบริษัทได ้เลือกใช ้ ค่าเฉลียเบียงเบนสัมบูรณ์ (Mean Absolute Deviation- MAD) ซึง
คํานวณได ้เท่ากับ 1.2 เมือคิดเป็ นค่าเบียงเบนมาตรฐานจะมีคา่ ประมาณเท่าไร ถ ้าจํานวนข ้อมูลมี 5 ข ้อมูล

1 : 1.2
2:3
3:6
4 : 10
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 60 :
ถ ้าสมมติวา่ ผลรวมของความคลาดเคลือนของการพยากรณ์ใน 12 ช่วงเวลา เท่ากับ +1,000 ขณะที ค่า MAD สําหรับ 12 ช่วงเวลาเดียวกัน เท่ากับ 250 จงคํานวณ
ค่าสัญญาณติดตาม (Tracking Signal) สําหรับช่วงเวลาที 12

1:1
2 : 0.25
3 : 0.833
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 61 :
ผู ้จัดการร ้านขนมแห่งหนึงกําลังรวบรวมข ้อมูลเพือทําการพยากรณ์ความต ้องการรายสัปดาห์สําหรับ ขนมชนิดพิเศษ เพือจะได ้วางแผนการสังขนมในแต่ละสัปดาห์
โดยข ้อมูลยอดขายทีผ่านมาได ้แสดงในตารางข ้างล่างนี
สัปดาห์ ความต้ องการขนมชนิดพิเศษ(กล่ อง)
1 50
2 65
3 53
4 56
5 55
6 60
จากข้ อมูลที กําหนดให้ จงใช้ วิธีถวั เฉลียเคลือนที แบบถ่ วงนําหนัก 4 สัปดาห์ ในการพยากรณ์ ความต้ องการ สัปดาห์ ที 7 โดยกําหนดค่ านําหนักตามลําดับ จากใหม่
ที สุดไปเก่ าที สุด ดังนี 0.6, 0.3, 0.07, 0.03

1 : 58 กล่อง
2 : 60 กล่อง
3 : 62 กล่อง
4 : 64 กล่อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 62 :
ถ ้าข ้อมูลยอดขาย 7 คาบเวลาติดต่อกันมีคา่ ตามลําดับดังนี 7, 6, 5, 4, 3, 2, 1 ถ ้าใช ้วิธก
ี ารถัวเฉลีย เคลือนที 3 คาบเวลาพยากรณ์ยอดขาย ของคาบเวลาถัดไป จะมี
ค่าเท่ากับเท่าไร

1:1
2:5
3:2
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 63 :
ถ ้าข ้อมูลยอดขาย (ล ้านบาท) จากสิบสองเดือนทีผ่านมามีคา่ ดังนี 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8, 8 ดังนันยอดขายของเดือนถัดไปจะเท่ากับเท่าไร

1 : 1 ล ้านบาท
2 : 96 ล ้านบาท
3 : 8 ล ้านบาท
4 : 2 ล ้านบาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 64 :
ถ ้า Ft = Ft-1 + α (At-1 - Ft-1)
กําหนดให ้ α = 0.2, A0 = F0 = 80 และ

ค่า F7 จะมีคา่ เท่ากับเท่าไร


1 : 82.7
2 : 90.45
3 : 102.65
4 : 78.12
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 65 :
จงคํานวณหาค่า Mean Square Error (MSE) ของผลการพยากรณ์ตอ
่ ไปนี

1 : 18.2
2 : 15.6
3 : 13.8
4 : 20.6
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 66 :
เทคนิคทีสามารถนํ ามาใช ้สําหรับการควบคุมการพยากรณ์ (Forecast Control) คือข ้อใด

1 : Time Monitoring Chart


2 : Control Signal
3 : Control Chart
4 : Running Sum of Forecast error
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 67 :
องค์ประกอบของความต ้องการในข ้อมูลตามทีปรากฏในภาพคือข ้อใด

1 : เส ้นตรงคงที
2 : ความไม่แน่นอน
3 : แนวโน ้ม
4 : ฤดูกาล
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 68 :
การวางแผนกําลังการผลิตเพือตรวจสอบความสมเหตุสมผล (Validation) ในระดับตารางการผลิตหลักเรียกว่าอะไร

1 : การวางแผนทรัพยากร (Resource Plan)


2 : การวางแผนกําลังการผลิตแบบหยาบ (Rough-Cut Capacity Planning)
3 : การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต (Capacity Requirement Planning)
4 : การวางแผนกําลังการผลิตรายวัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 183 : 03 การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning)

ข ้อที 69 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่วต
ั ถุประสงค์ของการวางแผนการผลิตรวม

1 : เพือทราบปริมาณสินค ้าทีต ้องผลิตในแต่ละช่วงเวลา


2 : เพือทราบจํานวนพนักงานทีต ้องใช ้
3 : เพือทราบจํานวนสินค ้าคงคลัง
4 : เพือจัดลําดับงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 70 :
ให ้สินค ้าคงคลังทีต ้นปี มอ
ี ยู่ 100 หน่วย ถ ้าความต ้องการสินค ้าของลูกค ้าทีสินเดือน มกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม คือ 1,500 หน่วย 2,000 หน่วย และ 1,000
หน่วย โดยในแต่ละเดือนทางโรงงานสังให ้มีการผลิตคงทีทีระดับ 2,000 หน่วย อยากทราบว่าทีสินเดือนกุมภาพันธ์จะมีสน ิ ค ้าคงคลังเหลืออยูก
่ หน่
ี วยภายหลังจาก
การส่งสินค ้าให ้ลูกค ้าในเดือนนันแล ้ว

1 : 500 หน่วย
2 : 600 หน่วย
3 : 700 หน่วย
4 : 1,600 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 71 :
กลยุทธ์ในการวางแผนการผลิตรวมในข ้อใดต่อไปนีส่งผลให ้ต ้นทุนสินค ้าคงคลังสูงทีสุดเมือความต ้องการสินค ้าในแต่ละช่วงเวลาไม่เท่ากัน

1 : การรักษาระดับกําลังการผลิตให ้คงที
2 : การทํางานล่วงเวลาเมือมีความต ้องการมาก
3 : ให ้มีการจ ้างงานพนักงานเพิมเมือมีความต ้องการเพิมและปลดพนักงานเมือมีความต ้องการน ้อย
4 : มีการจ ้างเหมาช่วงเมือมีความต ้องการมาก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 72 :
พนักงาน 10 คน สามารถผลิตสินค ้าได ้ 2,000 ชินต่อเดือน ปั จจุบน ิ ค ้าคงคลังอยู่ 2,000 ชิน ถ ้าบริษัทต ้องการผลิตสินค ้าให ้ได ้ทันส่งมอบให ้ลูกค ้าใน
ั โรงงานมีสน
เดือนถัดไปจํานวน 5,000 ชิน โรงงานจะต ้องจ ้างพนักงานเพิมจํานวนเท่าใดถ ้าอัตราการผลิตของพนักงานแต่ละคนเท่ากันและให ้สินค ้าสํารองมีคา่ เป็ นศูนย์

1 : 5 คน
2 : 7 คน
3 : 8 คน
4 : 10 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 73 :
จํานวนวันทํางานของไตรมาสที 1-4 เป็ นดังนี 60, 55, 56 และ 62 วันตามลําดับ และถ ้าปริมาณความต ้องการของไตรมาสที 1-4 เป็ นดังนี 1,000, 800, 900 และ
1,400 หน่วยตามลําดับ ถ ้าใช ้นโยบายกําหนดอัตราการผลิตต่อวันคงที เท่ากับ18 หน่วยต่อวัน จะมีเหตุการณ์ใดเกิดขึนถ ้าต ้นไตรมาสที1 ไม่มพ
ี ัสดุคงคลังเลย

1 : จะเกิดการขาดพัสดุในไตรมาสที 4
2 : จะเกิดพัสดุเหลือในไตรมาสที 4
3 : จะเกิดพัสดุเหลือในไตรมาสที 2
4 : ถูกทังข ้อ 2 และ 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 74 :
ระยะเวลาโดยทัวไปของการวางแผนการผลิตรวมจะครอบคลุมประมาณ

1 : น ้อยกว่า 3 เดือน
2 : มากกว่า 2 ปี
3 : 3-18 เดือน
4 : มากกว่า 5 ปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 75 :
กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวมใดต่อไปนี เป็ นทางเลือกด ้านกําลังการผลิต

1 : การเปลียนแปลงราคา
2 : การเปลียนแปลงระดับสินค ้าคงคลัง
3 : การส่งสินค ้าย ้อนหลัง
4 : ยืดระยะช่วงเวลานํ าออกไป
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 76 :
กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวมใดต่อไปนี ทําให ้ขวัญและกําลังใจของพนักงานตํา

1 : เปลียนแปลงระดับแรงงานโดยการ จ ้างคนเพิม และ ปลดคนออก


2 : เปลียนแปลงอัตราการผลิตโดยการทําล่วงเวลาหรือปล่อยให ้ว่าง (Idle Time)
3 : ใช ้พนักงานชัวคราว (Part-Time Worker)
4 : ส่งมอบสินค ้าย ้อนหลังในช่วงทีมีความต ้องการสูง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 77 :
วิธก
ี ารใดต่อไปนีไม่สอดคล ้องกับกลยุทธ์ระดับสมําเสมอ (Level Strategy)

1 : ปรับระดับการใช ้ผู ้รับช่วงงาน


2 : ปรับเปลียนระดับแรงงาน
3 : มีการใช ้สินค ้าคงคลังเพียงเล็กน ้อยหรือไม่ใช ้เลยเพือให ้สอดคล ้องกับความต ้องการ
4 : ไม่สอดคล ้องกับกลยุทธ์ระดับสมําเสมอทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 78 :
กลยุทธ์การวางแผนการผลิตใดที จัดระดับอัตราการผลิตให ้สอดคล ้องกับอัตราความต ้องการ(Matching Production Rate to The Order Rate) โดยการจ ้างคนงาน
เพิม หรือ ปลดคนงานออก เมือ อัตราความ ต ้องการมีการเปลียนแปลง

1 : กลยุทธ์ไล่ตามความต ้องการ (Chase Strategy)


2 : กลยุทธ์สมําเสมอ (Level Strategy)
3 : กลยุทธแรงงานมีเสถียรภาพ (Stable Work Force Strategy)
4 : รวมระหว่างข ้อ 1 และ 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 79 :
กลยุทธ์การวางแผนการผลิตใดที เน ้น อัตราผลผลิตคงทีตลอดช่วงระยะเวลาของแผน

1 : กลยุทธ์สมําเสมอ (Level Strategy)


2 : กลยุทธ์แรงงานมีเสถียรภาพแต่ให ้ชัวโมงทํางานแปรเปลียน (Stable Work Force Strategy- Variable Work Hours)
3 : กลยุทธ์ไล่ตามความต ้องการ (Chase Strategy)
4 : กลยุทธ์การจ ้างเหมา(Subcontract Strategy)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 80 :
การวางแผนการผลิตรวมเป็ นการตัดสินใจเกียวกับสิงใด ในแต่ละช่วงระยะเวลาของแผน

1 : ระดับแรงงาน (Workforce Level)


2 : ระดับสินค ้าคงคลัง (Inventory Level)
3 : อัตราการผลิต (Production Rate)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 81 :
ความแตกต่างระหว่างอัตราการผลิตทีคงทีและอัตราความต ้องการทีเปลียนแปลงสามารถรองรับได ้โดย

1 : สินค ้าคงคลัง
2 : การส่งสินค ้าย ้อนหลัง
3 : การทํางานล่วงเวลา
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 82 :
ค่าใช ้จ่ายใดต่อไปนีเกียวข ้องกับการวางแผนการผลิตรวม

1 : ค่าใช ้จ่ายถือครองของคงคลัง
2 : ค่าใช ้จ่ายในการเปลียนแปลงระดับการผลิต
3 : ค่าใช ้จ่ายในการทําล่วงเวลา
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 83 :
ค่าใช ้จ่ายใดต่อไปนีไม่เกียวข ้องกับการวางแผนการผลิตรวม

1 : ค่าใช ้จ่ายในการส่งสินค ้าย ้อนหลัง


2 : ค่าใช ้จ่ายในการจ ้างผู ้รับเหมาช่วง
3 : ค่าใช ้จ่ายในการเปิ ดกะทํางานที 2
4 : ค่าใช ้จ่ายในการจัดสมดุลสายการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 84 :
ิ ค ้าคงคลังสํารองปลายงวดเท่ากับ 20 % ของ
ถ ้าสินค ้าคงคลังต ้นงวดเท่ากับ 100 หน่วย ขณะทีค่าพยากรณ์ความต ้องการ เท่ากับ 1,200 หน่วย และต ้องการให ้มีสน
ค่า พยากรณ์ความต ้องการ จงคํานวนหาค่าความต ้องการผลิต

1 : 1,200 หน่วย
2 : 1,300 หน่วย
3 : 1,340 หน่วย
4 : 1,540 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 85 :
ิ ค ้าคงคลังสํารองปลายงวดเท่ากับ 10 % ของ
ถ ้าสินค ้าคงคลังต ้นงวดเท่ากับ 500 หน่วย ขณะทีค่าพยากรณ์ความต ้องการ เท่ากับ 1,000 หน่วย และต ้องการให ้มีสน
ค่า พยากรณ์ความต ้องการ จงคํานวนหาค่าความต ้องการผลิต

1 : 1,000 หน่วย
2 : 900 หน่วย
3 : 600 หน่วย
4 : 350 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 86 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์ชนิดหนึงในปี ถดั ไปรายไตรมาส ของบริษัทแห่ง หนึงคือ 1,000; 1,200; 800; 1,400 หน่วยหากทําการวางแผนการผลิตรวม
โดยกลยุทธ์ การผลิตระดับสมําเสมอ (Level Strategy) แผนการผลิตในแต่ละไตรมาสเท่ากับเท่าไร

1 : 800 หน่วย
2 : 1,000 หน่วย
3 : 1,100 หน่วย
4 : 1,400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 87 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์ชนิดหนึงในปี ถด
ั ไปรายไตรมาส ของบริษัทแห่ง หนึงคือ 5,000 หน่วย ; 4,500 หน่วย ; 5,400 หน่วย ; 5,200 หน่วย หากทําการ
วาง แผนการผลิตรวมโดยกลยุทธ์การผลิตระดับสมําเสมอ (Level Production Strategy) แผนการผลิตในแต่ละไตรมาส เท่ากับเท่าไร

1 : 5,000 หน่วย
2 : 5,025 หน่วย
3 : 5,200 หน่วย
4 : 5,400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 88 :
จากการพยากรณ์ความต ้องการสินค ้ากลุม ั ไปซึงประกอบไปด ้วยสินค ้า 2 รายการ ดังนี A = 1,000 หน่วย B = 2,000 หน่วย โดยสินค ้าแต่ละรายการใช ้
่ หนึงในปี ถด
เวลาในการผลิตดังนี A = 0.5 ชัวโมงต่อหน่วย B = 1 ชัวโมงต่อหน่วย หากต ้องการหาความต ้องการรวม (Aggregate Demand) ในหน่วยของสินค ้า B จะหาความ
ต ้องการรวมได ้เท่าไร

1 : 1,000 หน่วย
2 : 2,000 หน่วย
3 : 2,500 หน่วย
4 : 3,000 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 89 :
จากการพยากรณ์ความต ้องการสินค ้ากลุม ั ไปซึงประกอบไปด ้วยสินค ้า 2 รายการ ดังนี A = 1,000 หน่วย B = 2,000 หน่วย โดยสินค ้าแต่ละรายการใช ้
่ หนึงในปี ถด
เวลาในการผลิตดังนี A = 0.5 ชัวโมงต่อหน่วย B = 1 ชัวโมงต่อหน่วย หากต ้องการหาความต ้องการรวม (Aggregate Demand) ในหน่วยของสินค ้า A จะหาความ
ต ้องการรวมได ้เท่าไร

1 : 2,000 หน่วย
2 : 3,000 หน่วย
3 : 4,000 หน่วย
4 : 5,000 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 90 :
บริษัทผลิตผงซักฟอกแห่งหนึง ได ้พยากรณ์ยอดขายผงซักฟอกแต่ละขนาดใน ไตรมาสถัดไปดังนี ขนาด เล็ก = 3,000 ตัน ขนาด กลาง = 1,000 ตัน ขนาด ใหญ่ =
2,000 ตัน จงหาความต ้องการรวม (Aggregate Demand) ในไตรมาสถัดไป

1 : 6,000 ตัน
2 : 6,500 ตัน
3 : 3,250 ตัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 91 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการวางแผนการผลิตรวม

1 : ข ้อดีข ้อหนึงของกลยุทธ์ไล่ตามความต ้องการ (Chase Demand Strategy) คือมีการจ ้างงานทีมีเสถียรภาพ


2 : ประโยชน์ประการหนึงของกลยุทธ์ไล่ตามความต ้องการ (Chase Demand Strategy) คือ ไม่มค ี า่ ใช ้จ่ายเกียวกับสินค ้าสําเร็จรูปคงคลังหรือสินค ้าขาดแคลน
3 : การใช ้กลยุทธ์การผลิตแบบผสมมักจะส่งผลให ้ต ้นทุนการผลิตถูกตํากว่าการใช ้กลยุทธ์บริสทุ ธ์(Pure Strategy)ประเภทใดประเภทหนึง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 92 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์ปีถดั ไปรายไตรมาส ของบริษัทแห่งหนึงคือ 5,000 ; 4,500 ; 5,400 ; 5,200 หน่วยหากทําการวางแผนการผลิตรวมโดยกลยุทธ์
ระดับสมําเสมอ (Level Strategy) แผนการผลิตในแต่ละไตรมาสเท่ากับเท่าไร และระดับสินค ้าคงคลังสะสมสูงสุดเท่ากับเท่าไร ถ ้าต ้นไตรมาสไม่มส ิ ค ้าคงคลัง
ี น
เลย

1 : 5,000 ; 500 หน่วย


2 : 5,025 ; 550 หน่วย
3 : 5,000 ; 900 หน่วย
4 : 5,025 ; 525 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 93 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์ปีถดั ไปรายไตรมาส ของบริษัทแห่งหนึงคือ 1,000 ; 1,200 ; 800 ; 1,400 หน่วยหากทําการวางแผนการผลิตรวมโดยกลยุทธ์
ระดับสมําเสมอ (Level Strategy) แผนการผลิตในแต่ละไตรมาสเท่ากับเท่าไร และระดับสินค ้าคงคลังสะสมสูงสุดเท่ากับเท่าไร ถ ้าต ้นไตรมาสที 1ไม่มส ิ ค ้า
ี น
คงคลังเลย

1 : 1,000 ; 200 หน่วย


2 : 1,000 ; 400 หน่วย
3 : 1,100 ; 300 หน่วย
4 : 1,100 ; 100 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 94 :
จากการพยากรณ์ความต ้องการสินค ้ากลุม ่ หนึงในปี ถด
ั ไปซึงประกอบไปด ้วยสินค ้า 4 รายการดังนี A = 1,000 หน่วย, B = 2,000 หน่วย, C = 4,000 หน่วย, D =
2,500 หน่วย โดยสินค ้าแต่ละรายการใช ้เวลาในการผลิตดังนี A = 0.5 ชัวโมงต่อหน่วย B = 1 ชัวโมงต่อหน่วย C = 2 ชัวโมงต่อหน่วย และ D = 1.5 ชัวโมงต่อหน่วย
หากต ้องการหาความต ้องการรวม (Aggregate Demand) ในหน่วยของสินค ้า B จะหาความต ้องการ

1 : 9500 หน่วย
2 : 14,250 หน่วย
3 : 28,500 หน่วย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 95 :
บริษัทผลิตนํ าดืมแห่งหนึง ได ้พยากรณ์ยอดขายนํ าดืมแต่ละขนาดในไตรมาสถัดไปดังนี ขนาด 500 ซีซ ี = 150,000 แพค, ขนาด 750 ซีซ ี = 100,000 แพค, ขนาด
1,000 ซีซ ี = 80,000 แพค, ขนาด 1,500 ซีซ ี = 70,000 แพค โดย 1 แพค มีจํานวน 12 ขวด หากบริษัทต ้องการหาความต ้องการรวม (Aggregate Demand) ใน
ไตรมาส ถัดไปในหน่วยของขนาด 1,000 ซีซ ี จะได ้ทังหมดกีแพค

1 : 230,000 หน่วย
2 : 335,000 หน่วย
3 : 670,000 หน่วย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 96 :
ผู้จัดการโรงงานผลิตตู้เย็นแห่ งหนึงได้ รับทราบจากฝ่ ายขายว่ าลูกค้ ามีความต้ องการตู้เย็นในเดือนกุมภาพันธ์ จํานวน 200 เครื อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื อง
ปลายเดือนมกราคมมีต้ ูเย็นที ผลิตเสร็ จแล้ วอยู่ในสต๊ อก 100 เครื อง พนักงาน 1 คนสามารถประกอบตู้เย็นได้ 10 เครื องต่ อเดือน หากผู้จัดการโรงงานไม่ ต้องการให้
ปลายเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม มีต้ ูเย็นเก็บสต๊ อกอยู่เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ และ มีนาคมผู้จัดการโรงงานจะต้ องจัดพนักงานทําการประกอบตู้เย็นกีคน

1 : กุมภาพันธ์ 20 คน มีนาคม 30 คน
2 : กุมภาพันธ์ 25 คน มีนาคม 25 คน
3 : กุมภาพันธ์ 10 คน มีนาคม 30 คน
4 : กุมภาพันธ์ 20 คน มีนาคม 20 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 97 :
ผู้จัดการโรงงานผลิตตู้เย็นแห่ งหนึงได้ รับทราบจากฝ่ ายขายว่ าลูกค้ ามีความต้ องการตู้เย็นในเดือนกุมภาพันธ์ จํานวน 200 เครื อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื อง
ปลายเดือนมกราคมมีต้ ูเย็นที ผลิตเสร็ จแล้ วอยู่ในสต๊ อก 100 เครื อง พนักงาน 1 คนสามารถประกอบตู้เย็นได้ 10 เครื องต่ อเดือน หากผู้จัดการโรงงานต้ องการให้
แต่ ละเดือนผลิตสมําเสมอ ในเดือนกุมภาพันธ์ และ มีนาคมผู้จัดการโรงงานจะต้ องจัดพนักงานทําการประกอบตู้เย็นกีคน

1 : กุมภาพันธ์ 10 คน มีนาคม 10 คน
2 : กุมภาพันธ์ 25 คน มีนาคม 25 คน
3 : กุมภาพันธ์ 20 คน มีนาคม 20 คน
4 : กุมภาพันธ์ 30 คน มีนาคม 30 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 98 :
ข ้อมูลการวางแผนการผลิตในเดือนหนึงของโรงงานผลิตผงซักฟอกแห่งหนึง สรุปได ้ดังตารางนี หากการวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning)
ของบริษัทในเดือนดังกล่าวเท่ากับ 7,000 ตัน สินค ้าคงคลังปลายงวดโดยรวมเท่ากับเท่าไร
ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ่ (ตัน)
ค่ าพยากรณ์ ความต้ องการ 1,000 2,500 3,500
ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ่ (ตัน)
สิ นค้ าคงคลังต้ นงวด 200 500 1,000

1 : 700 ตัน
2 : 1,000 ตัน
3 : 1,700 ตัน
4 : 2,000 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 99 :
จะต ้องใช ้จํานวนพนักงานกีคนหากใช ้กลยุทธ์การผลิตระดับสมําเสมอ (Level Production Strategy) กับความต ้องการรายไตรมาสในปี ถด
ั ไป ดังนี 135, 150, 180,
และ 135 หน่วย โดยพนักงานแต่ละคนทํางานได ้ 5 หน่วยต่อเดือน

1 : 7 คน
2 : 8 คน
3 : 9 คน
4 : 10 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 100 :
จะต ้องใช ้จํานวนพนักงานกีคนหากใช ้กลยุทธ์การผลิตระดับสมําเสมอ (Level Production Strategy) กับความต ้องการรายไตรมาสในปี ถด
ั ไป ดังนี 135, 150, 180
และ 135 หน่วย โดยพนักงานแต่ละคนทํางานได ้ 15 หน่วยต่อไตรมาส และมีสน ิ ค ้าคงคลังต ้นงวดอยู่ 60 หน่วย

1 : 7 คน
2 : 8 คน
3 : 9 คน
4 : 10 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 101 :
จากแผนภาพ ของการวางแผนการผลิตรวมทีแสดงตามภาพต่อไปนี หากสมมติวา่ ระดับสินค ้าคงคลังต ้นงวดของไตรมาสที 1 เท่ากับ 0 จงคํานวณระดับสินค ้า

คงคลังปลายงวดของไตรมาสที 3

1 : 11,250 แกลลอน
2 : 5,000 แกลลอน
3 : 1,250 แกลลอน
4 : 0 แกลลอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 102 :
จากการพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์สรี ายไตรมาสของโรงงานแห่งหนึงของปี ถด
ั ไป มีคา่ ดังนี
ไตรมาสที 1 = 40,000 แกลลอน
ไตรมาสที 2 = 57,500 แกลลอน
ไตรมาสที 3 = 55,000 แกลลอน
ไตรมาสที 4 = 52,500 แกลลอน
ในการผลิตสี 1 แกลลอน ต้ องใช้ ชัวโมงแรงงานมาตรฐานในการผลิต 2.311 ชัวโมง โรงงานแห่ งนีทํางานวันละ 8 ชัวโมง และสมมติว่าแต่ ละไตรมาส มีจาํ นวนวัน
ทํางานเท่ าๆกัน คือ 65 วัน จงคํานวณหาจํานวนคนงานที เพียงพอต่ อความต้ องการผลิตสี ในแต่ ละไตรมาส

1 : 178, 256, 245, 234 คน


2 : 188, 266, 255, 254 คน
3 : 148, 276, 275, 254 คน
4 : 154, 165, 144, 134 คน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 103 :
จากการพยากรณ์ความต ้องการผลิตภัณฑ์สรี ายไตรมาสของโรงงานแห่งหนึงของปี ถด
ั ไป มีคา่ ดังนี
ไตรมาสที 1 = 40,000 แกลลอน
ไตรมาสที 2 = 57,500 แกลลอน
ไตรมาสที 3 = 55,000 แกลลอน
ไตรมาสที 4 = 52,500 แกลลอน
ในการผลิตสี 1 แกลลอน ต้ องใช้ ชัวโมงแรงงานมาตรฐานในการผลิต 2.311 ชัวโมง หากโรงงานตัดสิ นใจที เลือกแผนการผลิตสมําเสมอ โดยการจัดกําลังคนให้
สามารถทําการผลิตได้ ไตรมาสละ 40,000 แกลลอน สําหรั บกรณี ทีมีความต้ องการมากกว่ า 40,000 แกลลอน ให้ ใช้ การทําล่ วงเวลา สําหรั บค่ าใช้ จ่ายในการทําล่ วง
เวลา จะสูงกว่ าค่ าแรงปกติอยู่ 9.50 บาทต่ อชัวโมง จากแผนการผลิตข้ างต้ น โรงงานจะเสี ยค่ าใช้ จ่ายในการทําล่ วงเวลาทังปี เท่ าไร

1 : 384,204 บาท
2 : 329,318 บาท
3 : 274,431 บาท
4 : 987,953 บาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 104 :
ข ้อใดต่อไปนีคือเทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพ

1 : การวิเคราะห์อนุกรมเวลา(Time Series Analysis)


2 : เอกซ์โปเนนเชียลปรับเรียบ(Exponential Smoothing)
3 : วิธก
ี ําลังสองน ้อยทีสุด(Least Squares Method)
4 : การสํารวจกลุม ่ ประชากร(Panel Consensus)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 105 :
การพยากรณ์โดยเทคนิคอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) แบบแยกองค์ประกอบ ข ้อใดมิใช่องค์ประกอบของข ้อมูลอนุกรมเวลา

1 : แผนการผลิต
2 : แนวโน ้ม
3 : ฤดูกาล
4 : วัฏจักรทางธุรกิจ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 106 :
ถ ้าธุรกิจใช ้การพยากรณ์การขายล่วงหน ้าหนึงวัน ภายใต ้สถานการณ์คอ
่ นข ้างคงที โดยใช ้วิธอ
ี ย่างง่าย (Naive Method) หากยอดขายในวันจันทร์คอ
ื 30 หน่วย วัน
อังคารคือ 35 หน่วย และวันพุธคือ 35 หน่วย ผลการพยากรณ์ยอดขายในวันพฤหัสบดีคอ ื เท่าไร

1 : 33 หน่วย
2 : 35 หน่วย
3 : 100 หน่วย
4 : 30-40 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 107 :
่ นข ้างคงที โดยใช ้วิธอ
ถ ้าธุรกิจพยากรณ์การขายล่วงหน ้าหนึงวัน ภายใต ้สถานการณ์คอ ี ย่างง่าย (Naive Method) หากยอดขายจริงในวันพุธ คือ 35 หน่วย ธุรกิจจะ
พยากรณ์ยอดขายในวันพฤหัสบดีเท่ากับ 35 หน่วย หากสมมติวา่ ยอดขายจริงในวันพฤหัสบดีคอ ื 42 หน่วย ธุรกิจจะพยากรณ์ยอดขายในวันศุกร์ตอ
่ ไปได ้เท่าไร

1 : 30 หน่วย
2 : 35 หน่วย
3 : 42 หน่วย
4 : 49 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 108 :
ถ้าจํานวนวันทํางานของแต่ละไตรมาสเท่ากับ 60 วัน และความต้องการของไตรมาสที 1-4 เท่ากับ 1250 , 350 , 1150 และ 1150 หน่วย ตามลําดับ ถ้ากําหนดแผนการ
ผลิตโดยใช้กลยุทธกําหนดอัตราการผลิตคงทีเท่ากันทุกวัน จะได้อตั ราการผลิตเท่ากับ 16.25 หน่วย/วัน การกําหนดกลยุทธดังนีจะทําให้เกิดปั ญหาการร้างพัสดุหรื อ
ไม่ ถ้าเกิดการร้างพัสดุ จะเกิดขึนมากทีสุ ดทีไตรมาสใด และจํานวนเท่าใด

1: เกิดทีไตรมาสที 1 จํานวน 275 หน่วย


2: เกิดทีไตรมาสที 2 จํานวน 350 หน่วย
3: เกิดทีไตรมาสที 3 จํานวน 275 หน่วย
4: เกิดทีไตรมาสที 4 จํานวน 175 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 184 : 04 การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)

ข ้อที 109 :
สถานีงาน W04 มีกําลังการผลิตสัปดาห์ละ 120 คน-ชัวโมง ตารางการผลิตหลักในสีสัปดาห์ข ้างหน ้าของ W04 คือ 50,120,70,20 หน่วยสําหรับสินค ้า A และ
80,50,100,60 หน่วย สําหรับ B ถ ้าการผลิต A หนึงหน่วยใช ้ 0.95คน-ชัวโมง และ B หนึงหน่วยใช ้ 0.40 คน-ชัวโมง ตารางการผลิตหลักข ้างต ้นเป็ นไปได ้หรือไม่ ถ ้า
เป็ นไปไม่ได ้ปั ญหาคืออะไร

1 : เป็ นไปได ้
2 : เป็ นไปไม่ได ้เพราะกําลังการผลิตเกิน
3 : เป็ นไปไม่ได ้เพราะ กําลังการผลิตขาดในสัปดาห์ท ี 3
4 : เป็ นไปไม่ได ้เพราะ กําลังการผลิตขาดในสัปดาห์ท ี 2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 110 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่เป้ าหมายของการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule)

1 : เพือทราบว่าจะทําการผลิตสินค ้าอะไร
2 : เพือทราบกําหนดเวลาผลิต
3 : เพือทราบจํานวนทีจะต ้องผลิต
4 : เพือทราบจํานวนเงินทีจะต ้องใช ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 111 :
กําหนดให ้ปริมาณความต ้องการใช ้โดยเฉลียของผลิตภัณฑ์ทก
ุ ชนิดของโรงงานในช่วงเวลา t คือ 800 , ปริมาณสินค ้าคงคลังต ้นงวด t หรือปลายช่วงเวลา t - 1 คือ
400 หน่วย และปริมาณทีจะผลิตตามแผนในช่วงเวลา t คือ 1,000 หน่วย จงคํานวณหาอัตราการใช ้สินค ้าทีมีอยูท
่ งหมดในช่
ั วงเวลา t

1 : 2.25
2 : 1.00
3 : 1.25
4 : 1.75
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 112 :
แผนการผลิตทีมีการกําหนดอย่างเป็ นรูปธรรมว่า จะผลิตสินค ้าอะไร จํานวนเท่าไหร่ และเมือไหร่ คือแผนประเภทใด

1 : Aggregate Production Planning


2 : Master Production Scheduling (MPS)
3 : Capacity Requirement Planning
4 : Rough Cut Capacity Planning
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 113 :
ิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 75 หน่วย ตารางการผลิตหลักที
สินค ้าชนิดหนึง มีสน
กําหนดไว ้ใน สัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 250 หน่วย ระดับสินค ้าคงคลังปลายสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ เท่าไร

1 : 225 หน่วย
2 : 325 หน่วย
3 : 475 หน่วย
4 : 400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 114 :
ิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 75 หน่วย บริษัทต ้องการให ้มีสน
สินค ้าชนิดหนึง มีสน ิ ค ้า
คงคลัง ปลายงวดสัปดาห์ท ี 1 = 325 หน่วย บริษัทจะต ้องกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาห์ท ี 1 ไว ้ เท่าไร

1 : 400 หน่วย
2 : 425 หน่วย
3 : 250 หน่วย
4 : 550 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 115 :
ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องเกียวกับการกําหนดตารางการผลิตหลัก

1 : การวางแผนกําลังการผลิตขันต ้นจะถูกนํ ามาใช ้หลังจากเราได ้วางแผน ความต ้องการกําลังการผลิตแล ้ว


2 : การวางแผนกําลังการผลิตขันต ้นจะถูกนํ ามาใช ้หลังจากเราได ้วางแผนความ ต ้องการวัสดุแล ้ว
่ ารวางแผนการผลิตรวม
3 : เราจัดเตรียมตารางการผลิตหลักเพือเป็ นข ้อมูลป้ อนเข ้าสูก
4 : ในกระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิตทัวๆไปการกําหนดตารางการผลิตหลักจะเป็ นขันตอนทีทําต่อจากการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 116 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการสินค ้า 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ์ ปรากฏดังนี ชนิดที 1 = 100 หน่วย ชนิดที 2 = 150 หน่วย และชนิดที 3 = 75 หน่วย ขณะนีมีสน ิ ค ้า
คงคลังต ้นงวดของสินค ้าแต่ละชนิดดังนี ชนิดที 1 = 400 หน่วย ชนิดที 2 = 250 หน่วย และชนิดที 3 = 150 หน่วย หากบริษัทใช ้เกณฑ์สน
ิ ค ้าคงคลังน ้อยทีสุดผลิต
ก่อน สินค ้าชนิดใดจะได ้รับการผลิตเป็ นอันดับแรก

1 : ชนิดที 1
2 : ชนิดที 2
3 : ชนิดที 3
4 : ยังตัดสินไม่ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 117 :
่ ารกําหนด ตาราง การผลิตหลัก
ผลลัพธ์จากการวางแผนใดต่อไปนีจะถูกนํ าไปเป็ นข ้อมูลป้ อนเข ้าสูก

1 : แผนการผลิตรวม
2 : แผนความต ้องการวัสดุ
3 : แผนความต ้องการกําลังการผลิต
4 : แผนธุรกิจ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 118 :
ผลลัพธ์ จากการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Schedule) จะเป็ น ข ้อมูลป้ อนเข ้าสู่

1 : การวางแผนการผลิตรวม
2 : การจัดตารางการผลิต
3 : การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต
4 : การวางแผนความต ้องการวัสดุ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 119 :
ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องเกียวกับการกําหนดตารางการผลิตหลัก

1 : ในการกําหนดตารางการผลิตหลักจะไม่มก ี ารพิจารณาขนาดรุน ่ การสังผลิต


2 : ในการกําหนดตารางการผลิตหลักหากสินค ้ามีความหลากหลายมากๆ เรามักจะวางกลยุทธ์การผลิตแบบ ผลิตเพือสต๊อก (Make to Stock)
3 : ตารางการผลิตหลักมักมีระยะเวลาการวางแผนครอบคลุมมากกว่า 1 ปี
4 : ตารางการผลิตหลักทีเป็ นไปได ้ จะต ้องมีความเป็ นไปได ้ทังด ้านวัสดุและกําลังการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 120 :
การวางแผนกําลังการผลิตขันต ้น (Rough-cut Capacity Planning) จะดําเนินการ วางแผนเมือใด

1 : ภายหลังจากวางแผนความต ้องการวัสดุ (MRP)


2 : ภายหลังจากจัดทําร่างกําหนดตารางการผลิตหลัก
3 : ภายหลังจากการวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต
4 : ภายหลังจากการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 121 :
สินค ้าชนิดหนึง มีสนิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 400 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 100 หน่วย หากบริษัทไม่ทําการผลิต
ใน สัปดาห์ท ี 1 บริษัทจะมีสน ิ ค ้าคงคลังปลายงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่าไร

1 : 100 หน่วย
2 : 200 หน่วย
3 : 300 หน่วย
4 : 400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 122 :
สินค ้าชนิดหนึง มีสนิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 250 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย หากบริษัทไม่ทําการผลิต
ใน สัปดาห์ท ี 1 บริษัทจะมีสน ิ ค ้าคงคลังปลายงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่าไร

1 : 100 หน่วย
2 : 200 หน่วย
3 : 300 หน่วย
4 : 400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 123 :
การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดล ้อม การผลิตเพือสต๊อก การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะให ้ความสําคัญกับ
วัสดุใน ระดับใด

1 : วัตถุดบ

2 : ชินส่วน
3 : ชินส่วนประกอบ
4 : ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 124 :
การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดล ้อม การผลิตแบบประกอบตามสัง การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะให ้ ความ
สําคัญกับวัสดุในระดับใด

1 : วัตถุดบ

2 : ชินส่วนจัดซือจากภายนอก
3 : ชินส่วนประกอบ
4 : ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 125 :
การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดล ้อม การผลิตแบบตามสัง (Make to Order) การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะ
ให ้ ความสําคัญกับวัสดุในระดับใด

1 : วัตถุดบ

2 : ชินส่วน
3 : ชินส่วนประกอบ
4 : ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 126 :
ภายใต ้สภาพแวดล ้อมกลยุทธ์การผลิตแบบใด มี ช่วงเวลานํ า (Lead Time) สันทีสุด

1 : การผลิตแบบตามสัง
2 : การผลิตเพือสต๊อก
3 : การประกอบตามสัง
4 : การออกแบบและผลิตตามสัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 127 :
ภายใต ้สภาพแวดล ้อมกลยุทธ์การผลิตแบบใด มี ช่วงเวลานํ า (Lead Time) ยาวทีสุด

1 : การผลิตแบบตามสัง
2 : การผลิตเพือสต๊อก
3 : การประกอบตามสัง
4 : การออกแบบและผลิตตามสัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 128 :
ในการพิจารณากําหนดตารางการผลิตหลักมักจะอยูภ
่ ายใต ้สภาพแวดล ้อมทีมีข ้อ จํากัดใดบ ้าง

1 : กําลังการผลิตจํากัด
2 : เวลาการจัดส่งวัตถุดบิ จํากัด
3 : ช่วงเวลานํ าการส่งมอบจํากัด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 129 :
จากภาพทีกําหนดให ้ข ้อใดมีความสอดคล ้องกันระหว่างแผนการผลิตรวมกับตารางการผลิตหลัก

1:

2:
3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 130 :
ตารางการผลิตหลักเหมาะสมกับสภาพแวดล ้อมการผลิตหรืออุตสาหกรรมประเภทใด

1 : ประกอบตามสัง (Manufacture-to-Order)
2 : ผลิตตามสัง (Assemble-to-Order)
3 : ประกอบเพือสต๊อก (Assemble-to-Stock)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 131 :
แผนการผลิตใดทีมีการระบุอย่างชัดเจนว่าในแต่ละช่วงเวลา (สัปดาห์หรือเดือน)จะ ผลิตผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปชนิดใด เป็ นจํานวนเท่าไร

1 : แผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning)


2 : การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
3 : การวางแผนความต ้องการวัสดุ (Material Requirements Planning-MRP)
4 : การกําหนดรายละเอียดตารางการผลิต (Detail Production Scheduling)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 132 :
จากข ้อมูลในตารางการผลิตหลักทีกําหนดให ้ จงคํานวณปริมาณทีให ้สัญญาได ้ (Available To Promise) ในสัปดาห์ท ี 3

ค่ าพยากรณ์
1 2 3 4 5 6 7 8
ค่ าพยากรณ์ 20 20 20 20 40 40 40 40
ใบสังลูกค้ า 23 15 8 4 0 0 0 0
Projected On-hand 22 2 62 42 2 42 2 42
Inventory
MPS 80 80 80
ATP ?

1:7
2 : 68
3 : 80
4 : 240
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 133 :
จากข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ จงกําหนดตารางการผลิตหลัก โดยสมมติขนาดรุน ่ การสังผลิตเท่ากับ 70 หน่วย และสินค ้าคงคลังต ้นงวดเท่ากับ 64 หน่วย หลัง
จากนันให ้ประมาณการสินค ้าคงคลังปลายงวด (Projected On Hand) สัปดาห์ท ี 4
สิ นค้ าคงคลังต้ นงวด = 64 มิถนุ ายน กรกฎาคม
1 2 3 4 5 6 7 8
ค่ าพยากรณ์ ก่อนรั บใบสัง 30 30 30 30 40 40 40 40
ใบสังลูกค้ า (ที ยืนยันแล้ ว) 33 20 10 4 2
ประมาณการสิ นค้ าคงคลัง
กําหนดการผลิตหลัก

1 : 31
2:1
3 : 41
4 : 11
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 134 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการสินค ้า 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ์ ปรากฏดังนี ชนิดที 1 = 100 หน่วย ชนิดที 2 = 150 หน่วย และชนิดที 3 = 75 หน่วย ขณะนีมีสน ิ ค ้า
คงคลังต ้นงวดของสินค ้าแต่ละชนิดดังนี ชนิดที 1 = 400 หน่วย ชนิดที 2 = 250 หน่วย และชนิดที 3 = 150 หน่วย หากบริษัทใช ้เกณฑ์ เวลาสินค ้าคงคลังหมด
(Run-out Time) ก่อน ผลิตก่อน สินค ้าชนิดใดจะได ้รับการผลิตเป็ นอันดับแรก

1 : ชนิดที 1
2 : ชนิดที 2
3 : ชนิดที 3
4 : ยังตัดสินไม่ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 135 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการสินค ้า 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ์ ปรากฏดังนี ชนิดที 1 = 100 หน่วย ชนิดที 2 = 150 หน่วย และชนิดที 3 = 75 หน่วย ขณะนีมีสน ิ ค ้า
คงคลังต ้นงวดของสินค ้าแต่ละชนิดดังนี ชนิดที 1 = 400 หน่วย ชนิดที 2 = 250 หน่วย และชนิดที 3 = 150 หน่วย หากบริษัทเลือกผลิตสินค ้าชนิดที 3 ก่อน โดย
ทําการผลิต 250 หน่วย สินค ้าชนิดที 3 จะคงเหลืออยูใ่ นคลังปลายเดือนกุมภาพันธ์ เท่ากับเท่าไร

1 : 300 หน่วย
2 : 100 หน่วย
3 : 325 หน่วย
4 : 75 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 136 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการสินค ้า 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ์ ปรากฏดังนี ชนิดที 1 = 100 หน่วย ชนิดที 2 = 150 หน่วย และชนิดที 3 = 75 หน่วย ขณะนีมีสน ิ ค ้า
คงคลังต ้นงวดของสินค ้าแต่ละชนิดดังนี ชนิดที 1 = 400 หน่วย ชนิดที 2 = 250 หน่วย และชนิดที 3 = 150 หน่วย หากบริษัทเลือกผลิตสินค ้าชนิดที 3 ก่อน โดย
ทําการผลิต 250 หน่วย สินค ้าชนิดที 2 จะคงเหลืออยูใ่ นคลังปลายเดือนกุมภาพันธ์ เท่ากับเท่าไร

1 : 100 หน่วย
2 : 150 หน่วย
3 : 350 หน่วย
4 : 500 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 137 :
ค่าพยากรณ์ความต ้องการสินค ้าชนิดหนึงในเดือนมีนาคม คือ 220 หน่วย โดยมีสน ิ ค ้าคงคลังต ้นงวด = 300 หน่วย หากบริษัทกําหนดเป้ าหมายให ้มีสน
ิ ค ้ารองรับ
ความต ้องการในเดือนมีนาคมเท่ากับความต ้องการใช ้ในช่วง 2 เดือน บริษัทจะต ้องทําการผลิตในเดือนมีนาคมอีกจํานวนเท่าไร

1 : 140 หน่วย
2 : 440 หน่วย
3 : 600 หน่วย
4 : 500 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 138 :
ิ วนประกอบ Y อยูใ่ นคลัง 200 หน่วย และ มีชนส่
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ X ทีแสดงในรูปข ้างลางนี หากมีชนส่ ิ วน Z อยูใ่ นคลัง 300 หน่วย จะผลิตเป็ นผลิต X ได ้

ทังหมด กีหน่วย

1 : 100 หน่วย
2 : 200 หน่วย
3 : 300 หน่วย
4 : 500 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 139 :
สายงานประกอบพัดลม ของโรงงานแห่งหนึงมีเวลาทํางานปกติ ประมาณ 48 ชัวโมง และสามารถเพิมเวลาการทํางานได ้สุงสุดเป็ น 60 ชัวโมงโดยการทําล่วงเวลา
สําหรับเวลาในการประกอบต่อหน่วยเท่ากับ 10 นาที หาก มีความต ้องการพัดลมสังเข ้ามาใหม่ 300 หน่วย คาดว่าจะต ้องทําในช่วงล่วงเวลาชัวโมงกีชัวโมง

1 : 2 ชัวโมง
2 : 12 ชัวโมง
3 : 48 ชัวโมง
4 : 50 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 140 :
สายงานประกอบพัดลมของโรงงานแห่ งหนึงมีเวลาทํางานปกติสัปดาห์ ละ 48 ชัวโมง และสามารถเพิมเวลาการทํางานได้ สูงสุดเป็ น 60 ชัวโมงโดยการทําล่ วงเวลา
ในการสังประกอบแต่ ละครั งต้ องใช้ เวลาในการเตรี ยมการ 2 ชัวโมง และใช้ เวลาในการประกอบ เท่ ากับ 10 นาที ต่อหน่ วย หากมีความต้ องการพัดลมสังเข้ ามา 200
หน่ วย และคาดว่ ามีพัดลมค้ างอยู่อีก 100 หน่ วย จะต้ องใช้ กาํ ลังการผลิตปกติกีชัวโมง และล่ วงเวลากีชัวโมงจึ งจะผลิตพัดลม ได้ ทังหมดในเวลา 1 สัปดาห์

1 : ใช ้เวลาปกติ 50 ชัวโมง ไม่ต ้องทําล่วงเวลา


2 : ใช ้เวลาผลิตปกติ 52 ชัวโมง ไม่ต ้องทําล่วงเวลา
3 : ใช ้เวลาผลิตปกติ 48 ชัวโมง ล่วงเวลา 2 ชัวโมง
4 : ใช ้เวลาผลิตปกติ 48 ชัวโมง ล่วงเวลา 4 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 141 :
สายงานประกอบพัดลมของโรงงานแห่ งหนึงมีเวลาทํางานปกติสัปดาห์ ละ 100 ชัวโมง และสามารถเพิมเวลาการทํางานได้ สูงสุดเป็ น 120 ชัวโมงโดยการทําล่ วง
เวลา มีผลิตภัณฑ์ 2 ชนิดที ทําการประกอบบนสายการประกอบนี คือ A และ B ในการสังประกอบผลิตภัณฑ์ A จะต้ องใช้ เวลาในการ (Setup Time) เท่ ากับ 2 ชัวโมง
และใช้ เวลาในการประกอบ เท่ ากับ 0.9 ชัวโมงต่ อหน่ วย สําหรั บการสังประกอบผลิตภัณฑ์ B จะต้ องใช้ เวลาในการ (Setup Time) เท่ ากับ 1 ชัวโมง และใช้ เวลาใน
การประกอบ เท่ ากับ 1.6 ชัวโมงต่ อหน่ วย หากตารางการผลิตหลัก ได้ กาํ หนดให้ ทาํ การผลิตผลิตภัณฑ์ A จํานวน 50 หน่ วย และ ผลิตภัณฑ์ B จํานวน 60 หน่ วย ใน
ช่ วงเวลา 1 สัปดาห์ การกําหนดตารางการผลิตหลักดังกล่ าว มีความต้ องการกําลังการผลิตกีชัวโมง

1 : 141 ชัวโมง
2 : 144 ชัวโมง
3 : 120 ชัวโมง
4 : 100 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 142 :
่ ารวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) คือ ข ้อใด
ข ้อมูลป้ อนเข ้าสูก

1 : ค่าพยากรณ์ความต ้องการในปี ถด ั ไป
2 : ขันตอนการผลิต
3 : รายการวัสดุ(Bill of Material)
4 : เวลามาตรฐาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 143 :
ในการวางแผนการผลิตรวม แหล่งของกําลังการผลิตสามารถหามาได ้จากแหล่งใด

1 : การทําล่วงเวลา
2 : การจ ้างผู ้รับเหมาช่วง
3 : การทําพัสดุคงคลังเก็บไว ้ล่วงหน ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 144 :
จากตารางการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling) ของผลิตภัณฑ์ A ถ้ากําหนดปริ มาณการผลิตต่อรุ่ น(Lot Size) เท่ากับ 80 หน่วย และมี
พัสดุคงคลังต้นงวด 60 หน่วย กําหนดให้การคํานวณพัสดุคงคลังให้พิจารณาจากค่าทีมากทีสุ ดระหว่าง ค่าประมาณการความต้องการ และใบสังจากลูกค้า หลังจากที
ได้จดั ทําตารางการผลิตหลักเสร็ จแล้ว มีลกู ค้ารายใหม่ส่งคําสังซือเพิมเติม ข้อใดเป็ นข้อความทีถูกต้อง

1: ใบสังซือทีต้องส่ งมอบในสัปดาห์ที 2 จํานวน 20 หน่วยสามารถรับได้


2: ใบสังซือทีมีจาํ นวนไม่เกิน 20 หน่วย ส่ งมอบในสัปดาห์ที 6 สามารถรับได้
3: ใบสังซือทีต้องส่ งมอบในสัปดาห์ที 5 จํานวน 40 หน่วยไม่สามารถรับได้
4: ใบสังซือทีมีจาํ นวนไม่เกิน 17 หน่วย ส่ งมอบในสัปดาห์ที 3 สามารถรับได้
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 145 :
จากตารางการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling) ของผลิตภัณฑ์ A ถ้ากําหนดปริ มาณการผลิตต่อรุ่ น(Lot Size) เท่ากับ 80 หน่วย และมี
พัสดุคงคลังต้นงวด 60 หน่วย และมีนโยบายกําหนดพัสดุคงคลังเผือ (Safety Stock)ไว้ 20 หน่วย กําหนดให้การคํานวณพัสดุคงคลังให้พิจารณาจากค่าทีมากทีสุ ด
ระหว่าง ค่าประมาณการความต้องการ และใบสังจากลูกค้า หลังจากทีได้จดั ทําตารางการผลิตหลักเสร็ จแล้ว มีลกู ค้ารายใหม่ส่งคําสังซือเพิมเติม ข้อใดเป็ นข้อความ
ทีถูกต้อง

1: ใบสังซือทีต้องส่ งมอบในสัปดาห์ที 2 จํานวน 20 หน่วยสามารถรับได้


ใ ั ื ี ี ํ ่ ่ ใ ปั ์ ี ไ ่ ั ไ ้
2: ใบสังซือทีมีจาํ นวน 20 หน่วย ส่ งมอบในสัปดาห์ที 6 ไม่สามารถรับได้
3: ใบสังซือทีต้องส่ งมอบในสัปดาห์ที 5 จํานวน 40 หน่วยไม่สามารถรับได้
4: ใบสังซือทีมีจาํ นวน 17 หน่วย ส่ งมอบในสัปดาห์ที 3 ไม่สามารถรับได้
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 146 :
่ ระบวนการกําหนดตารางการผลิตหลัก (MPS)
ข ้อมูลใดต่อไปนีไม่ใช่ข ้อมูลป้ อนเข ้าสูก

1 : ใบสังลูกค ้า
2 : ค่าพยากรณ์ความต ้องการ
3 : ข ้อมูลพัสดุคงคลัง
4 : ใช่ทงข
ั ้อ 1, 2และ 3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 147 :
ในการกําหนดตารางการผลิตหลัก ข ้อใดคือความหมายของ “ปริมาณทีพร ้อมให ้สัญญาได ้ ( Available-to-Promise หรือ ATP)"

1:
ใบสังลูกค ้าทีค ้างส่งแต่พร ้อมจะส่งให ้เมือผลิตเสร็จ
2 : การพยากรณ์สน ิ ค ้าคงคลังทีคาดว่าจะคงเหลือในอนาคต
3 : ปริมาณสินค ้าคงคลังทีพร ้อมจะให ้สัญญาส่งมอบกับลูกค ้าได ้
4 : ปริมาณวัตถุดบ ิ ในคลังทีพร ้อมสําหรับการผลิตตามทีได ้สัญญากับลูกค ้า
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 148 :
ช่วงเวลานํ าในการส่งมอบสินค ้าให ้กับลูกค ้า หมายถึง

1 : ช่วงเวลาทีบริษัทใช ้ในการขนส่งสินค ้าจากบริษัทผู ้ผลิตถึงบริษัทลูกค ้า


2 : ช่วงเวลาทีบริษัทสังวัตถุดบ
ิ จากผู ้ส่งมอบจนกระทังได ้รับวัตถุดบ
ิ ตามทีสัง
3 : ช่วงเวลานับตังแต่รับใบสังจากลูกค ้าจนกระทังส่งมอบสินค ้าให ้กับลูกค ้าตามข ้อตกลง
4 : เวลามาตรฐานการผลิตต่อหน่วยคูณด ้วยปริมาณตามทีลูกค ้ากําหนดบวกเวลาในการตังเครือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 185 : 05 การควบคุมวัสดุคงคลังแบบอุปสงค์อส


ิ ระ (Independent Demand Inventory Control)

ข ้อที 149 :
ถ ้ากําหนดให ้ปริมาณความต ้องการโดยรวมตลอดทังปี เท่ากับ 12,000 ชิน ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษาพัสดุตลอดทังเดือนเท่ากับ 0.2 บาทต่อชิน และค่าใช ้จ่ายใน
การสังซือเท่ากับ 100 บาทต่อครัง ดังนันปริมาณการสังซือทีเหมาะสมคือข ้อใด

1 : 1,000
2 : 3,464.1
3 : 12
4 : 1,200
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 150 :
พัสดุรายการหนึงมีปริมาณความต ้องการวันละ 5 หน่วย ถ ้าปริมาณการสังซือต่อครังคือ 60 หน่วย และเวลานํ าสําหรับการสังซือคือ 3 วัน ดังนันจุดสังซือคือข ้อใด

1 : 11
2 : 12
3 : 13
4 : 15
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 151 :
วิธใี ดต่อไปนีสามารถนํ ามาใช ้ในการวิเคราะห์ความสําคัญของสินค ้าคงคลัง

1 : ABC
2 : JIT
3 : MAP
4 : CRP
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 152 :
จงหาค่าเบียงเบนมาตรฐานของอัตราการใช ้ในช่วงเวลานํ า จากข ้อมูลทีรวบรวมได ้ต่อ ไปนี sd = 5 หน่วยต่อวัน LT = 4 วัน (sd = ค่าเบีบงเบนมาตรฐานของอัตรา
การใช ้ต่อหน่วยเวลา LT = ช่วงเวลานํ า)

1 : 20 หน่วย
2 : 5 หน่วย
3 : 10 หน่วย
4 : 80 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 153 :
อัตราความต ้องการของวัสดุรายการหนึงเท่ากับ 20 หน่วยต่อสัปดาห์ และช่วงเวลานํ า ในการสังเท่ากับ 3 สัปดาห์ บริษัทได ้กําหนดให ้มี Safety Stock เท่ากับ 10%
ของอัตรา ความต ้องการในช่วงเวลานํ า ภายใต ้การควบคุมวัสดุคงคลังระบบจุดสังใหม่คงที (Fixed Re-order Point) หรือ ระบบปริมาณการสังคงที (Fixed Order
Quantity ) บริษัทควรกําหนดจุดสังใหม่ไว ้ทีระดับใด

1 : 66 หน่วย
2 : 60 หน่วย
3 : 20 หน่วย
4 : 26 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 154 :
ในการควบคุมวัสดุคงคลัง ระบบจุดสังซือคงที จุดสังใหม่คอ
ื ข ้อใด

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 155 :
ในการควบคุมวัสดุคงคลังระบบรอบเวลาสังคงที สูตรในการคํานวณหาปริมาณการสังในแต่ละรอบคือ

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 156 :
สูตรในการคํานวณระดับสต๊อกสูงสุดในระบบปริมาณการสังคงที (Fixed Order Size System) คือ

1:

2:

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
ในการหาขนาดรุน ่ ของการสังซือทีประหยัด (Economic Order Quantity) ถ ้า I คือ ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษาสินค ้าคงคลังต่อหน่วยต่อปี Q คือ ขนาดรุน
่ ของการสัง
ในแต่ละครัง ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษาสินค ้าคงคลังต่อปี คือ

1 : I Q/2
2 : IQ
3 : 2DP
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 158 :
ปั ญหาพืนฐานทีสําคัญ 2 ประการ ในการควบคุมสินค ้าคงคลังระบบจุดสังใหม่คอ
ื อะไร

1 : จะสังซือครังละเท่าไร และจะสังซือเมือไร
ิ ค ้าสํารองไว ้เท่าไรและจะยอมให ้ขาดสต๊อกเท่าไร
2 : จะมีสน
3 : จะควบคุมสต๊อกสูงสุดไว ้ทีระดับใด จะสังซือครังละเท่าไร
4 : จะกําหนดช่วงเวลานํ าในการสังซือเท่าไร และจะเผือเท่าไร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 159 :
ในการหาขนาดรุน ่ ของการสังซือทีประหยัด (Economic Order Quantity) ถ ้า I คือ ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษาสินค ้าคงคลังต่อหน่วยต่อปี P คือค่าใช ้จ่ายในการสัง
่ ของการสังในแต่ละครัง ค่าใช ้จ่ายในการสังซือต่อปี คอ
ซือต่อครัง Q คือ ขนาดรุน ื

1 : I (Q/2)
2 : (Q/2)
3 : 2DP/I
4 : P(D/Q)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 160 :
ในการหาขนาดรุน
่ ของการสังซือทีประหยัด (Economic Order Quantity) PD/Q หมายถึง ข ้อใด

1 : ค่าใช ้จ่ายในการสังซือต่อครัง
2 : ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษาต่อปี
3 : ค่าใช ้จ่ายสินค ้าคงคลังขาดแคลนต่อปี
4 : ค่าใช ้จ่ายในการสังซือต่อปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
ในการหาขนาดรุน
่ ของการสังซือทีประหยัด (Economic Order Quantity) ของคงคลังถัวเฉลีย ต่อปี คอ

1 : ครึงหนึงของคงคลังต ้นงวด
2 : เศษหนึงส่วนสามของคงคลังต ้นงวด
3 : เศษหนึงส่วนสีของคงคลังต ้นงวด
4 : คิดเท่ากับระดับของคงคลังต ้นงวด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 162 :
ข ้อใดคือ คุณลักษณะของการพิจารณาหาสูตรปริมาณการสังซือทีประหยัด

1 : P(D/Q) = I(Q/2)
2:P=I
3 : P/Q = I/2
4 : Q = D/2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 163 :
การแบ่งความสําคัญของคงคลังโดยการวิเคราะห์ ABC สามารถจัดแบ่งข ้อมูลได ้เป็ น 3 กลุม
่ ดังนี
1. กลุ่มสิ นค้ าคงคลังที จํานวน 20% ของสิ นค้ าคงคลังทังหมด แต่ มีมลู ค่ าประมาณ 70% ของมูลค่ าทังหมด
2. กลุ่มสิ นค้ าคงคลังที จํานวน 30% ของสิ นค้ าคงคลังทังหมด แต่ มีมลู ค่ าประมาณ 25% ของมูลค่ าทังหมด
3. กลุ่มสิ นค้ าคงคลังที จํานวน 50% ของสิ นค้ าคงคลังทังหมด แต่ มีมลู ค่ าประมาณ 5% ของมูลค่ าทังหมด
สิ นค้ ากลุ่มใดควรจัดอยู่ในสิ นค้ ากลุ่ม B

1:1
2:2
3:3
4 : ทุกกลุม
่ จัดอยูใ่ นกลุม
่ B
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 164 :
ถ ้าความต ้องการไม่สมําเสมอ และ คงที ความเสียงจากการขาดสต๊อกสามารถควบคุมได ้โดย

1 : เพิมขนาดของปริมาณการสัง
2 : ออกใบสังเพิมพิเศษ
3 : ขึนราคาขายเพือลดความต ้องการ
4 : เพิม Safety Stock
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 165 :
จุดประสงค์ของ Safety Stock คือ

1 : การแทนทีของเสียด ้วยของดี
2 : ขจัดความเป็ นไปได ้ของการขาดสต๊อก
3 : ขจัดความเป็ นไปได ้ในการขาดสต๊อกอันเนืองมาจากการลงบัญชีทผ
ี ด
ิ พลาด
4 : ควบคุมความเป็ นไปได ้ในการขาดสต๊อกอันเนืองมาจากความแปรปรวนของความต ้องการในช่วงเวลานํ า
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 166 :
ในการวิเคราะห์ ABC จะแบ่งสินค ้าคงคลังออกเป็ น 3 ระดับ โดยทัวไปจะอยูบ
่ น พืนฐานของ

1 : คุณภาพของสินค ้าคงคลัง
2 : จํานวนสินค ้าคงคลังทีมีอยูข
่ ณะนัน
3 : ราคาต่อหน่วย
4 : มูลค่าการใช ้ต่อปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 167 :
คํากล่าวเกียวกับพืนฐานตัวแบบการ ควบคุมสินค ้าคงคลัง EOQ (Economic Order Quantity) ต่อไปนี ข ้อใดถูกต ้อง

1 : ถ ้าค่าใช ้จ่ายในการสังซือเพิมขึน 2 เท่า ค่า EOQ จะเพิมขึน


2 : ถ ้า ความต ้องการรายปี เพิมขึน 2 เท่า ค่า EOQ จะเพิมขึน
3 : ถ ้าค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษา (Carrying Cost) ลดลง ค่า EOQ จะลดลง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 168 :
ตัวแบบสินค ้าคงคลัง (Inventory Model) ส่วนใหญ่จะพยายามทําให ้สิงใดน ้อยทีสุด

1 : ระดับการขาดสต๊อก
2 : จํานวนสินค ้าคงคลังทีสัง
3 : ค่าใช ้จ่ายในการควบคุมสินค ้าคงคลัง
4 : สต๊อกเผือความปลอดภัย (Safety Stock)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 169 :
ิ ค ้าคงคลัง ABC คือ
หลักการพืนฐานของการวิเคราะห์สน

1 : สินค ้าคงคลังทุกรายการจะต ้องได ้รับการเฝ้ าติดตามอย่างใกล ้ชิด


2 : โดยปกติรายการสินค ้าคงคลังทีสําคัญจะมีน ้อย แต่รายการสินค ้าคงคลังทีมีความสําคัญน ้อยจะมีจํานวนมาก
3 : รายการสินค ้าคงคลังทีสําคัญคือรายการทีมีการใช ้สูง
4 : สินค ้าคงคลังสํารอง (Safety Stock) สําหรับสินค ้าคงคลังประเภท A ควรจะมากกว่าประเภท C
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 170 :
การคํานวณต ้นทุนรวมการควบคุมของคงคลังสําหรับตัวแบบการสังซือทีประหยัดในกรณีทยอมให
ี ้ของคงคลังขาดแคลน จะประกอบไปด ้วยต ้นทุนชนิดใดบ ้าง

1 : ต ้นทุนในการสังซือ ต ้นทุนในการถือครองของคงคลัง และ ต ้นทุนของคงคลังขาดแคลน


2 : ต ้นทุนในการสังซือ ต ้นทุนการสังผลิต และ ต ้นทุนในการถือครองของคงคลัง
3 : ต ้นทุนในการสังซือ ต ้นทุนในการถือครองของคงคลัง และ ต ้นทุนการสังผลิต
4 : ต ้นทุนในการสังซือ ต ้นทุนในการถือครองของคงคลัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 171 :
่ การสังผลิตทีประหยัด กรณีผลิตเสร็จแล ้วจึงนํ าไปใช ้ คือข ้อใด
สูตรในการคํานวณหาขนาดรุน

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 172 :
ระดับสต๊อกสูงสุดสําหรับกรณีการสังผลิตทีประหยัดโดยมีการผลิตและใช ้ไปพร ้อมๆกัน คือข ้อใด

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 173 :
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุน
่ การสังซือของผลิตภัณฑ์รายการหนึง ซึงจากการรวบรวมข ้อมูลทีจําเป็ นพอสรุปได ้ดังต่อไปนี จงหาว่าขนาดรุน
่ ของการสังซือที
ประหยัดต่อครัง คือเท่าไร
- ความต้ องการต่ อปี (D) = 1,500 หน่ วย
- ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย (c) = 40 บาท
- ค่ าใช้ จ่ายในการสังซื อ (P) = 300 บาท/ครั ง
สําหรั บค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา (I) = 10 บาท/หน่ วย/ปี

1 : 48 หน่วย
2 : 148 หน่วย
3 : 250 หน่วย
4 : 300 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 174 :
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุน่ การสังซือของผลิตภัณฑ์รายการหนึง ซึงจากการรวบรวมข ้อมูลทีจําเป็ นพอสรุปได ้ดังต่อไปนี จงหาว่ารอบเวลาในการสังซือที
ประหยัดต่อครังคือกีวัน (หาก 1 ปี มวี น
ั ทํางาน 300 วัน)
- ความต้ องการต่ อปี (D) = 1,500 หน่ วย
- ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย (c) = 40 บาท
- ค่ าใช้ จ่ายในการสังซื อ (P) = 300 บาท/ครั ง
สําหรั บค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา (I) = 10 บาท/หน่ วย/ปี

1 : 60 วัน
2 : 45 วัน
3 : 30 วัน
4 : 15 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 175 :
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุน
่ การสังซือของผลิตภัณฑ์รายการหนึง ซึงจากการรวบรวมข ้อมูลทีจําเป็ นพอสรุปได ้ดังต่อไปนี จงหาว่าจํานวนครังในการสังซือต่อปี ท ี
ประหยัด
- ความต้ องการต่ อปี (D) = 1,500 หน่ วย
- ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย (c) = 40 บาท
- ค่ าใช้ จ่ายในการสังซื อ (P) = 300 บาท/ครั ง
สําหรั บค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา (I) = 10 บาท/หน่ วย/ปี

1 : 5 ครัง
2 : 6 ครัง
3 : 7 ครัง
4 : 8 ครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 176 :
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุน่ การสังซือของผลิตภัณฑ์รายการหนึง ซึงจากการรวบรวมข ้อมูลทีจําเป็ นพอสรุปได ้ดังต่อไปนี จงหาว่าต ้นทุนรวมในการควบคุมวัสดุ
คงคลังทีประหยัดรายปี คอ
ื เท่าไร (ไม่รวมราคาสินค ้า)
- ความต้ องการต่ อปี (D) = 1,500 หน่ วย

- ราคาสิ นค้ าต่ อหน่ วย (c) = 40 บาท
- ค่ าใช้ จ่ายในการสังซื อ (P) = 300 บาท/ครั ง
สําหรั บค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษา (I) = 10 บาท/หน่ วย/ปี

1 : 60,000 บาท
2 : 30,000 บาท
3 : 3,000 บาท
4 : 1,500 บาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 177 :
บริษัทแห่งหนึงกําลังพิจารณาข ้อเสนอของพ่อค ้าในการให ้ส่วนลดถ ้าซือสินค ้าตามปริมาณทีกําหนด โดยบริษัทได ้รวบรวมข ้อมูลทีเกียวข ้องได ้ดังต่อไปนี หาก
บริษัทต ้องการซือสินค ้าในราคาหน่วยละ 45 บาท บริษัทต ้องซือในปริมาณเท่าไรจึงเป็ นการสังซือทีประหยัด
ความต้ องการต่ อปี = 10,000 หน่ วย
ต้ นทุนในการสังซื อต่ อครั ง = 200 บาท
ต้ นทุนในการเก็บรั กษาสิ นค้ าคงคลัง = 20% ของมูลค่ าของคงคลังถัวเฉลียต่ อปี
ราคาที พ่ อค้ าเสนอ
ปริ มาณ(หน่ วย) ราคาต่ อหน่ วย(บาท)
0-499 50
500-999 45
1,000 หรื อ มากกว่ า 39

1 : 633 หน่วย
2 : 666 หน่วย
3 : 716 หน่วย
4 : 900 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 178 :
บริ ษทั ผลิตกระป๋ องแห่ งหนึง กําลังพิจารณาหาขนาดรุ่ นของการสังผลิตกระป๋ องที ประหยัดในแต่ ละครั ง โดยบริ ษทั ประมาณการว่ า มีความต้ องการกระป๋ องต่ อปี
เท่ ากับ 10,000 หน่ วย และมีความต้ องการต่ อวันโดยเฉลียเท่ ากับ 40 หน่ วย (คิด 1 ปี เท่ ากับ วัน) บริ ษทั มีเครื องจักรสําหรั บผลิตกระป๋ องได้ วนั ละ 100 หน่ วย ค่ า
ใช้ จ่ายในการเตรี ยมการผลิตแต่ ละครั งเท่ ากับ 50 บาท และค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษาเท่ ากับ 0.50 บาทต่ อหน่ วยต่ อปี ขนาดรุ่ นของการสังแต่ ละครั งที ประหยัดคือ
เท่ าไร หารบริ ษทั ทําการผลิตและใช้ ไปพร้ อมๆกัน

1 : 1,414 หน่วย
2 : 1,826 หน่วย
3 : 2,414 หน่วย
4 : 2,826 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 179 :
บริ ษทั ผลิตกระป๋ องแห่ งหนึง กําลังพิจารณาหาขนาดรุ่ นของการสังผลิตกระป๋ องที ประหยัดในแต่ ละครั ง โดยบริ ษทั ประมาณการว่ า มีความต้ องการกระป๋ องต่ อปี
เท่ ากับ 10,000 หน่ วย และมีความต้ องการต่ อวันโดยเฉลียเท่ ากับ 40 หน่ วย (คิด 1 ปี เท่ ากับ วัน) บริ ษทั มีเครื องจักรสําหรั บผลิตกระป๋ องได้ วนั ละ 100 หน่ วย ค่ า
ใช้ จ่ายในการเตรี ยมการผลิตแต่ ละครั งเท่ ากับ 50 บาท และค่ าใช้ จ่ายในการเก็บรั กษาเท่ ากับ 0.50 บาทต่ อหน่ วยต่ อปี กรณี ทีผลิตแล้ วใช้ ไปพร้ อมๆกัน ระดับสต๊ อก
สูงสุดคือเท่ าไรภายใต้ ขนาดรุ่ นของการสังซื อที ประหยัด

1 : 1,096 หน่วย
2 : 2,095 หน่วย
3 : 3,095 หน่วย
4 : 4,095 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 180 :
ถ ้าต ้องการระดับบริการ = 0 .90 ค่าเบียงเบนมาตรฐานของอัตราการใช ้ในช่วงเวลานํ าเท่ากับเท่าไร

1 : 375
2 : 1,185.85
3 : 37.5
4 : 61.23
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 181 :
สําหรับพืนฐานตัวแบบสินค ้าคงคลัง EOQ (Economic Order Quantity) ถ ้าค่าใช ้จ่ายในการสังซือแต่ละครังเพิมขึน 2 เท่า ขณะทีค่าอืนๆทีเหลืออยูค
่ งที ค่า EOQ
จะเป็ นอย่างไร

1 : เพิมขึน 41%
2 : เพิมขึน 100%
3 : เพิมขึน 200 %
4 : อาจเพิมขึนหรือลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 182 :
ุ่ หนึงมีราคาขายเท่ากับ 35,000 บาทและค่าใช ้จ่ายในการถือครองของคงคลัง (Holding Cost)เท่ากับ 25% ต่อปี ความต ้องการต่อปี เท่ากับ 10,000
คอมพิวเตอร์รน
หน่วย และค่าใช ้จ่ายในการสังซือเท่ากับ 5,250 บาทต่อครัง จงคํานวณค่า EOQ (Economic Order Quantity)

1 : 16
2 : 70
3 : 110
4 : 183
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 183 :
บริษัทแห่งหนึงกําลังรวบรวมข ้อมูลเพือกําหนดนโยบายการควบคุมสินค ้าคงคลัง โดยใช ้นโยบายระบบจุดสังใหม่คงที (Fixed Re-order Point System) หรือ
ปริมาณการสังคงที (Fixed Order Size System) โดยข ้อมูลทีรวบรวมได ้ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ภายใต ้ระดับการบริการ 95 % จงคํานวณหาค่า จุดสังใหม่ (Re-
order Point)
อัตราการใช้ เฉลีย เท่ ากับ 100 หน่ วยต่ อวัน
ค่ าเบียงเบนมาตรฐานของอัตราการใช้ (มีการแจกแจงแบบปกติ) เท่ ากับ 10 หน่ วยต่ อวัน
ช่ วงเวลานําโดยเฉลีย เท่ ากับ 10 วัน
ค่ าเบียงเบนมาตรฐานของช่ วงเวลานํา (มีการแจกแจงแบบปกติ) เท่ ากับ 2 วัน

1 : 330 หน่วย
2 : 1,000 หน่วย
3 : 1,233 หน่วย
4 : 1,333 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 184 :
ผู ้จัดการฝ่ ายวัสดุแห่งหนึงได ้รับมอบหมาย ให ้ วิเคราะห์หาระดับบริการทีเหมาะสมสําหรับของคงคลังรายการหนึง ซึงรวบรวมข ้อมูลได ้ดังนี ต ้นทุนในการถือครอง
ของคงคลัง 2,000 บาทต่อหน่วยต่อปี ต ้นทุนกรณีของคงคลังขาดแคลน 5,000 บาท ต่อหน่วยทีไม่ได ้ขาย โดย บริษัททําการสังซือวัสดุดงั กล่าวจํานวน 8 ครังต่อปี
บริษัทควรกําหนดระดับบริการทีระดับใด

1 : 99%
2 : 95%
3 : 90%
4 : 85 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 185 :
ในระบบพัสดุคงคลังหนึง มีปริมาณความต ้องการต่อวันคงทีเท่ากับ 30 หน่วย ในการสังซือแต่ละครังจะสังด ้วยปริมาณคงทีเท่ากับ 240 หน่วย ความสามารถในการ
ลําเลียงพัสดุไปเก็บในคลังเท่ากับ วันละ 40 หน่วย ดังนันระดับสูงสุดของปริมาณพัสดุคงคลังทีมีคา่ เป็ นบวกจะเท่ากับเท่าไร

1 : 60 หน่วย
2 : 50 หน่วย
3 : 120 หน่วย
4 : 240 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 186 :
ในกระบวนการปั มขึนรูปโลหะแผ่นของโรงงานแห่งหนึง จะมีพนักงานเดินมาหยิบแผ่นโลหะทีวางกองไว ้บนแพลเลตด ้วยอัตรา 1 แผ่นต่อระยะเวลา 2 นาที ถ ้า
พนักงานพบบัตรเบิกพัสดุวางอยูบ ่ นแผ่นโลหะทีกําลังจะหยิบ พนักงานผู ้นันจะต ้องนํ าบัตรเบิกเดินไปส่งให ้กับพนักงานผู ้ดูแลคลังพัสดุเพือนํ าพัสดุมาเติม การเติม
แต่ละครังจะเติมเป็ นจํานวน 20 แผ่น ถ ้าระยะเวลาระหว่างการเดินนํ าบัตรเบิกไปส่งทีคลัง และการนํ าพัสดุมาเติมโดยพนักงานผู ้ดูแลคลัง มีเวลาคงทีเท่ากับ 14
นาที ดังนันบัตรเบิกพัสดุจะต ้องถูกสอดวางไว ้บนแผ่นโลหะแผ่นทีเท่าใดนับจากแผ่นล่างสุด

1:5
2:6
3:7
4:8
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 187 :

เงือนไขใดทีไม่เป็ นผลทําให ้ปริมาณพัสดุคงคลังเป็ นดังภาพทีเห็น

1 : ปริมาณความต ้องการคงทีแน่นอนและสมําเสมอ
2 : อัตราการนํ าส่งพัสดุเข ้าคลังเป็ นแบบอัตราคงที
3 : เวลานํ าเป็ นศูนย์
4 : ไม่อนุญาตให ้มีการร ้างพัสดุ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 186 : 06 การวางแผนความต ้องการวัสดุ (Material Requirement Planning)

ข ้อที 188 :
ข ้อใดไม่ใช่ข ้อมูลทีจําเป็ นในการวางแผนความต ้องการวัสดุ

1 : รายการวัสดุ(Bill of Materials,BOM)
2 : ตารางการผลิตหลัก(Master Production Schedule,MPS)
3 : สถานะของสินค ้าคงคลัง
4 : ลําดับงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 189 :
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ทกํ
ี าหนดให ้ จงพิจารณาหา Low Level Code ของวัสดุ E

1:0
2:1
3:2
4:3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 190 :
ี าหนดให ้ วัสดุรายการใดต่อไปนีคือวัสดุใช ้ร่วม (Common Item)
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ทกํ

1:B
2:C
3:D
4:F
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 191 :
ี าหนดให ้ วัสดุ G จํานวน 1 หน่วย จะต ้องใช ้วัสดุ E จํานวนกีหน่วย
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ทกํ

1 : 1 หน่วย
2 : 2 หน่วย
3 : 3 หน่วย
4 : 6 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 192 :
จากโครงสร ้างของผลิตภัณฑ์ X และ Y ทีกําหนดให ้ต่อไปนี วัสดุรายการใดจัดอยูใ่ นประเภทความต ้องการอิสระ หรืออุปสงค์อส
ิ ระ (Independent Demand)

1:X
2:Y
3:2
4 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 193 :
สมมติวา่ นับจํานวนสินค ้าคงคลังรายการหนึงพบว่ามีอยูใ่ นคลังทังหมด 300 หน่วย (on hand = 300 หน่วย) นโยบายของคงคลังสํารอง (Safety Stock) กําหนดไว ้ที
50 หน่วย ปริมาณทีสามารถนํ าไปใช ้ได ้ (Available)ในช่วงถัดไปคือกีหน่วย

1 : 300 หน่วย
2 : 50 หน่วย
3 : 350 หน่วย
4 : 250 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 194 :
สมมติวา่ ปั จจุบน
ั นับจํานวนสินค ้าคงคลังรายการหนึงพบว่ามีอยูใ่ นคลังทังหมด 300 หน่วย (on hand = 300 หน่วย) บริษัทได ้กําหนดนโยบาย Safety Stock ไว ้ที 50
หน่วย และจากข ้อมูลทีบันทึกไว ้ระบุวา่ มีคนมาขอจองวัสดุรายการดังกล่าวไว ้จํานวน 50 หน่วย ซึงได ้รับการอนุมต ิ ล ้ว เพียงแต่ยงั มิได ้มาเบิกออกไปใช ้ ปริมาณที
ั แ
สามารถนํ าไปใช ้ได ้(Available) ในช่วงถัดไปคือกีหน่วย

1 : 300 หน่วย
2 : 50 หน่วย
3 : 350 หน่วย
4 : 200 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 195 :
จากข ้อมูลการวางแผนความต ้องการวัสดุรายการหนึงปรากฏดังตารางต่อไปนี ความต ้องการสุทธิในสัปดาห์ท ี 4 มีจํานวนเท่าไร

สัปดาห์ ที
1 2 3 4 5 6
ความต้ องการขันต้ น 300 300 300 300
กําหนดการรั บของ 100
ของคงคลังต้ นงวด = 500
ปริ มาณที นําไปใช้ ได้
ความต้ องการสุทธิ
แผนกําหนดการรั บของ
แผนกําหนดการออกใบสัง

1 : 300 หน่วย
2 : 900 หน่วย
3 : 200 หน่วย
4 : 0 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 196 :
จากข ้อมูลการวางแผนความต ้องการวัสดุรายการหนึงปรากฏดังตาราง หากช่วงเวลานํ าเท่ากับ 1 สัปดาห์ และกําหนดขนาดรุน
่ การสังเท่ากับ 2,000 หน่วย การสัง
ในสัปดาห์ท ี 4 จะต ้องสังจํานวนเท่าไร
สัปดาห์ ที
1 2 3 4 5 6
ความต้ องการขันต้ น 300 300 300 300
กําหนดการรั บของ 100
ของคงคลังต้ นงวด = 500
ปริ มาณที นําไปใช้ ได้
ความต้ องการสุทธิ
แผนกําหนดการรั บของ

แผนกําหนดการออกใบสัง

1 : 2,000 หน่วย
2 : 4,000 หน่วย
3 : 300 หน่วย
4 : 2,300 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 197 :
ในตารางประมวลผล MRP ข ้อความข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : กําหนดการรับของตามสัง (Schedule Receipt) คือ กําหนดการรับของทีเกิดขึนจากการสังทีได ้ดําเนินการแล ้ว


2 : ความต ้องการสุทธิจะเกิดขึนเมือปริมาณทีนํ าไปใช ้ได ้มีคา่ มากกว่าความต ้องการขันต ้น
3 : แผนการออกใบสังจะต ้องเกิดขึนเมือความต ้องการสุทธิมค ี า่ มากกว่าศูนย์
4 : ข ้อ 1 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 198 :
วิธก ่ นส่
ี ารวางแผนประเภทใดต่อไปนีจะนํ าความต ้องการสินค ้าสําเร็จรูปจากตารางการ ผลิตหลักมากระจายลงสูช ิ วนและส่วนประกอบย่อยเพือสร ้างแผนวัสดุ

1 : การวางแผนกําลังการผลิตขันต ้น (Rough-cut Capacity Planning)


2 : การวางแผนความต ้องการวัสดุ (Materials Requirement Planning)
3 : การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต (Capacity Requirement Planning)
4 : การจัดตารางการผลิต (Production Scheduling)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 199 :
ระบบ MRP จะทําให ้เราสามารถบรรลุจด
ุ มุง่ หมายทางด ้านวัสดุคงคลังต่อไปนียกเว ้น

1 : สังชินส่วนได ้ถูกต ้อง


2 : สังชินส่วนได ้ในจํานวนทีถูกต ้อง
3 : สังชินส่วนได ้ในเวลาทีถูกต ้อง
4 : สังชินส่วนได ้ในราคาถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 200 :
หัวข ้อใดต่อไปนีคือวัตถุประสงค์ของการบริหารของคงคลังภายใต ้ระบบ MRP

1 : ปรับปรุงระดับบริการลูกค ้า
2 : การลงทุนสินค ้าคงคลังสูงสุด
3 : ประสิทธิภาพการปฏิบต ั งิ านผลิตตําสุด
4 : ข ้อ 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 201 :
ข ้อใดต่อไปนีคือแฟ้ มข ้อมูลป้ อนเข ้าสูร่ ะบบ MRP

1 : แฟ้ มข ้อมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File )


2 : แฟ้ มข ้อมูลรายงานการบริหารคุณภาพ
3 : แฟ้ มข ้อมูลปั ญหาการผลิต
4 : แฟ้ มข ้อมูลตารางแผนการออกใบสังผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 202 :
หากในระบบ MRP มีความต ้องการขันต ้น (Gross Requirements) อยู่ 5,000 หน่วย และมีวส
ั ดุคงคลังอยู่ 1,200 หน่วย โดยไม่มก
ี ําหนดการรับของใดๆจากการผลิต
หรือการสังซืออยูเ่ ลย จะต ้องทําการวางแผนออกใบสังผลิตเป็ นจํานวนเท่าไร

1 : 5,000 หน่วย
2 : 4,500 หน่วย
3 : 3,800 หน่วย
4 : 2,350 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 203 :
จากข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ต่อไปนี เมือไรจึงจะออกใบสัง และออกจํานวนเมือไร ถ ้าสมมติวา่ ช่วงเวลานํ า (Lead Time) เท่ากับ 2 สัปดาห์

สัปดาห์ ที
7 8 9 10 11
ความต้ องการขันต้ น 20 25 15
ของคงคลังต้ นงวด = 50
แผนกําหนดการรั บของ
แผนกําหนดการออกใบสัง

1 : 10 หน่วยในสัปดาห์ท ี 10
2 : 60 หน่วยในสัปดาห์ท ี 5
3 : 60 หน่วยในสัปดาห์ท ี 7
4 : 10 หน่วยในสัปดาห์ท ี 8
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 204 :
จากข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ต่อไปนี เมือไรจึงจะออกใบสัง และออกจํานวน เท่าไร ถ ้าสมมติวา่ ช่วงเวลานํ า (Lead Time) เท่ากับ 2 สัปดาห์ และกําหนดขนาด
รุน
่ การสังเท่ากับ 60 หน่วย
สัปดาห์ ที
7 8 9 10 11
้ ้
ความต้ องการขันต้ น 20 25 15
ของคงคลังต้ นงวด = 20
แผนกําหนดการรั บของ
แผนกําหนดการออกใบสัง

1 : 10 หน่วยในสัปดาห์ท ี 10
2 : 60 หน่วยในสัปดาห์ท ี 5
3 : 60 หน่วยในสัปดาห์ท ี 7
4 : 10 หน่วยในสัปดาห์ท ี 8
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 205 :
ถ ้าแต่ละหน่วยของ X ต ้องการ 2 หน่วยของ Y แต่ละหน่วยของ Y ต ้องการ 4 หน่วยของ Z ช่วงเวลานํ าในการประกอบชินส่วน X = 1 สัปดาห์ ช่วงเวลานํ าในการ
ผลิตชินส่วน Y = 1 สัปดาห์ และ ช่วงเวลานํ าในการจัดซือ Z = 6 สัปดาห์ ช่วงเวลานํ าสะสมสําหรับชินส่วน X คือ

1 : 6 สัปดาห์
2 : 7 สัปดาห์
3 : 8 สัปดาห์
4 : 10 สัปดาห์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 206 :
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ได ้กําหนดให ้ทําการผลิต ผลิตภัณฑ์ M จํานวน 110 หน่วย ปั จจุบนั มีผลิตภัณฑ์ M เก็บอยูใ่ นคลัง 30 หน่วย แต่ละหน่วยของ M
ิ วน N เก็บอยูใ่ นคลังจํานวน 20 หน่วย จงหาความต ้องการสุทธิของชินส่วน N
ต ้องการ ชินส่วน N จํานวน 4 หน่วย ขณะนีมีชนส่

1 : 440 หน่วย
2 : 320 หน่วย
3 : 300 หน่วย
4 : 340 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 207 :
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ได ้กําหนดให ้ทําการผลิต ผลิตภัณฑ์ A จํานวน 50 หน่วย และ B จํานวน 60 หน่วย ปั จจุบน
ั มีผลิตภัณฑ์ B เก็บอยูใ่ นคลัง 25 หน่วย
ิ วน C เก็บอยูใ่ นคลัง 160 หน่วย จงหาความ
แต่ละหน่วยของ A ต ้องการ C จํานวน 2 หน่วย และแต่ละหน่วยของ B ต ้องการ C จํานวน 5 หน่วย ขณะนีมีชนส่
ต ้องการสุทธิของชินส่วน C

1 : 115 หน่วย
2 : 175 หน่วย
3 : 180 หน่วย
4 : 240 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 208 :
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ได ้กําหนดให ้ทําการผลิต ผลิตภัณฑ์ A จํานวน 110 หน่วย ปั จจุบน
ั มีผลิตภัณฑ์ A เก็บอยูใ่ นคลัง 60 หน่วย แต่ละหน่วยของ A ต ้องการ
ิ วน B เก็บอยูใ่ นคลังจํานวน 20 หน่วย จงหาความต ้องการสุทธิของชินส่วน B
ชินส่วน B จํานวน 4 หน่วย ขณะนีมีชนส่

1 : 20 หน่วย
2 : 120 หน่วย
3 : 180 หน่วย
4 : 240 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 209 :
ี าหนดให ้ หากต ้องการผลิตภัณฑ์ A จํานวน 200 หน่วย จะต ้องใช ้วัสดุ E โดยรวมจํานวนทังหมดเท่าไร
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ทกํ

1 : 8 หน่วย
2 : 500 หน่วย
3 : 800 หน่วย
4 : 1,600 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 210 :
จากข ้อมูลในตาราง MRP ทีได ้กําหนดให ้นี หากนโยบายขนาดรุน ่ การสังเป็ นแบบรุน
่ ต่อรุน
่ (Lot-for-Lot) และ ช่วงเวลานํ าในการสัง เท่ากับ 1 สัปดาห์ จงคํานวณ
แผนการออกใบสัง (Planed Order Releases)ในสัปดาห์ท ี 3 (ตัวเลขทีระบุในช่องตารางเวลาทุกช่องหมายถึงเหตุการณ์ทเกิ ี ดต ้นช่วงเวลา)
สัปดาห์ ที
1 2 3 4 5 6
้ ้
ความต้ องการขันต้ น 1,740 930 100 500
กําหนดการรั บของ 2,000
วัสดุคงคลังที พร้ อมนําไป 640
ใช้ ได้
ความต้ องการสุทธิ
แผนการรั บของ
แผนการออกใบสัง

1 : 30 หน่วย
2 : 100 หน่วย
3 : 500 หน่วย
4 : 630 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 211 :
พิจารณาจากโครงสร ้าง Bill of Materials สําหรับ ผลิตภัณฑ์ J และข ้อมูลทีกําหนดในตารางต่อไปนี โดยผลิตภัณฑ์ J มีความต ้องการขันต ้น 200 หน่วย ในสัปดาห์
ที 6 จงพิจารณาแผนการออกใบสังของผลิตภัณฑ์ M

1 : ในสัปดาห์ท ี 4 จํานวน 200 หน่วย


2 : ในสัปดาห์ท ี 4 จํานวน 400 หน่วย
3 : ในสัปดาห์ท ี 4 จํานวน 370 หน่วย
4 : ในสัปดาห์ท ี 3 จํานวน 400 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 212 :
ตารางการผลิตหลักได ้กําหนดความต ้องการของผลิตภัณฑ์ M ไว ้ 120 หน่วย ปั จจุบน
ั มีผลิตภัณฑ์ M คงคลังอยู่ 30 หน่วย แต่ละหน่วยของ M ต ้องการวัสดุ N
จํานวน 4 หน่วย ขณะนีมี 20 หน่วยของวัสดุ N คงคลังอยู่ จงคํานวณหาความต ้องการสุทธิของวัสดุ N

1 : 340 หน่วย
2 : 360 หน่วย
3 : 90 หน่วย
4 : 480 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 213 :
จากข ้อมูลทีกําหนดให ้ในตารางข ้างล่างนี จงพิจารณาว่าควรจะต ้องวางแผนการออกใบสังเมือไร และจํานวนเท่าไร ถ ้ากําหนดให ้ช่วงเวลานํ าเท่ากับ 2 สัปดาห์
สัปดาห์ ที
7 8 9 10 11
ความต้ องการขันต้ น 20 25 25
กําหนดการรั บของ
ของคงคลังต้ นงวด = 50
แผนกําหนดการรั บของ
แผนกําหนดการออกใบสัง

1 : สัปดาห์ท ี 10 จํานวน 20 หน่วย


2 : สัปดาห์ท ี 5 จํานวน 70 หน่วย
3 : สัปดาห์ท ี 7 จํานวน 70 หน่วย
4 : สัปดาห์ท ี 8 จํานวน 20 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 214 :
จากโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ X ทีกําหนดให ้ต่อไปนี จงพิจารณาว่าจะต ้องสัง วัสดุ M จํานวนกีหน่วย ในการส่งมอบวัสดุ X จํานวน 100 หน่วย ถ ้าในคลังมี X เก็บอยู่
20 หน่วย มี A เก็บอยู่ 10 หน่วย มี B เก็บอยู่ 5 หน่วย และ มี C เก็บอยู่ 5 หน่วย
1 : 1,200 หน่วย
2 : 1,600 หน่วย
3 : 1,800 หน่วย
4 : 2,100 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 215 :
จากความสัมพันธ์ของโครงสร ้างผลิตภัณฑ์ X ทีกําหนดให ้ต่อไปนี จงพิจารณาว่าจะต ้องสัง วัสดุ M จํานวนกีหน่วยเพือทําเป็ นวัสดุ X จํานวน 100 หน่วย
รายการวัสดุ ทําจาก
X: 2 หน่ วยของ A, 5 หน่ วยของ B และ 1 หน่ วย ของ C
A: 6 หน่ วยของ L และ 1 หน่ วยของ M
B: 2 หน่ วยของ N
C: 2 หน่ วยของ K และ 2 หน่ วยของ M
L: 2 หน่ วยของ M และ 3 หน่ วยของ P

1 : 2,400 หน่วย
2 : 2,600 หน่วย
3 : 2,800 หน่วย
4 : 3,600 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 216 :

1 : 552 บาท
2 : 530.2 บาท
3 : 576 บาท
4 : 510.5 บาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 217 :
จากโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Structure) ของ X และ Y (ตัวเลขในวงเล็บคือจํานวนทีต้องใช้) ถ้าปริ มาณการผลิต X คือ 100 หน่วยและ Y คือ 120 หน่วย ความ
ต้องการของ D คือ

1 : 220 หน่วย
2 : 540 หน่วย
3 : 1020 หน่วย
4 : 1260 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 218 :
จากโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Structure) ของ X และ Y (ตัวเลขในวงเล็บคือจํานวนทีต้องใช้) ถ้าปริ มาณการผลิต X คือ 100 หน่วยและ Y คือ 120 หน่วย ความ
ต้องการของ D คือ

1 : 220 หน่วย
2 : 1020 หน่วย
3 : 1420 หน่วย
4 : 1260 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 219 :
จากโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Structure) ของ X และ Y (ตัวเลขในวงเล็บคือจํานวนทีต้องใช้) ถ้าปริ มาณการผลิต X คือ 100 หน่วยและ Y คือ 120 หน่วย ความ
ต้องการของ D คือ

1 : 720 หน่วย
2 : 960 หน่วย
3 : 1320 หน่วย
4 : 1620 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 220 :
จากตารางแผนการจัดหาพัสดุรายการหนึงทีให้มา ปริ มาณพัสดุคงคลังพร้อมใช้ในสัปดาห์ที 2 และ 4 จะเท่ากับ

1 : 200, 0 หน่วย
2 : 0, 200 หน่วย
3 : 0, 150 หน่วย
4 : 150, 0 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 221 :
จากตารางแผนการจัดหาพัสดุรายการหนึงทีให้มา ซึงมีเวลานําสําหรับการจัดหาเท่ากับ 2 สัปดาห์ กําหนดให้ค่าเก็บรักษาพัสดุคงคลังเท่ากับ 2 บาท/หน่วย/สัปดาห์
ค่าใช้จ่ายในการสังเท่ากับ 50 บาท/ครังถ้าใช้นโยบายการจัดหาแบบ กําหนดปริ มาณการสังคงทีเท่ากับ 300 หน่วย จงคํานวณหาค่าใช้จ่ายทีเกิดจากนโยบายการจัดหา
นี (ค่าเก็บรักษาพัสดุให้เริ มคํานวณทีสัปดาห์ที 1)

1: 1250 บาท
2 : 2650 บาท
3 : 1850 บาท
4 : 1550 บาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 222 :
ในระบบ MRP ข้อมูลความต้องการขันต้น (Gross requirement) ของพัสดุในระดับที 0 เป็ นข้อมูลทีได้มาจาก

1: การพยากรณ์ความต้องการชินส่ วน
2: ปริ มาณความต้องการของพัสดุในระดับถัดไป
3: ตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
4: ความต้องการของลูกค้า
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 223 :
หากมีความต้องการเกิดขึนทันทีทนั ใดจํานวน 110 หน่วย และในคลังพัสดุมีจาํ นวน 120 หน่วย แต่ในจํานวนนีเป็ นพัสดุสาํ รอง (Safety Stock) 30 หน่วย ข้อความใด
ต่อไปนีเป็ นข้อความทีถูกต้อง

1: สามารถนําพัสดุจาํ นวน 110 หน่วยไปใช้ได้


2: นําไปใช้ได้เพียง 90 หน่วย
3: นําไปใช้ได้เพียง 30 หน่วย
4: นําไปใช้ได้เพียง 10 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 224 :
หากพยากรณ์ได้วา่ จะมีความต้องการเกิดขึนจํานวน 110 หน่วย และในคลังพัสดุมีจาํ นวน 120 หน่วย แต่ในจํานวนนีเป็ นพัสดุสาํ รอง (Safety Stock) 30 หน่วย
ข้อความใดต่อไปนีเป็ นข้อความทีถูกต้อง

1: เราสามารถวางแผนใช้พสั ดุได้เพียง 90 หน่วย


2: เราสามารถวางแผนใช้พสั ดุได้ 100 หน่วย
3: เราสามารถวางแผนใช้พสั ดุได้เพียง 110 หน่วย
4: เราสามารถวางแผนใช้พสั ดุได้เพียง 30 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 225 :
ข้อความใดต่อไปนีเป็ นข้อความทีถูกต้องตามหลักการของการวางแผนความต้องการพัสดุ

1: เราสามารถพยากรณ์ความต้องการของอุปสงค์ตาม (Dependent Demand) ได้โดยตรง


2: อุปสงค์อิสระเป็ นสิ งทีไม่สามารถพยากรณ์ได้โดยตรง
3: โรงงานประกอบรถยนต์สามารถคาดการณ์ความต้องการใช้ยางรถยนต์ได้โดยการพยากรณ์
4: โรงงานผลิตยางรถยนต์สามารถคาดการณ์ยอดขายยางรถยนต์ได้โดยการพยากรณ์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 226 :
ระบบ MRP เหมาะกับการวางแผนวัสดุประเภทใด

1 : อุปสงค์อส ิ ระ(Independent Demand)


2 : อุปสงค์ตาม(Dependent Demand)
3 : สินค ้าสําเร็จรูป (Finished Goods)
4 : อะไหล่ซอ ่ มบํารุงฉุกเฉิน (Maintenance Parts)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 227 :
ชินส่วนใช ้ร่วม(Common Part)ในระบบ MRP หมายถึงชินส่วนประเภทใด

1 : ชินส่วนทีใช ้เฉพาะที
2 : ชินส่วนทีซือจากผู ้ส่งมอบรายเดียวกัน
3 : ชินส่วนรายการเดียวกันแต่ถก ู นํ าไปใช ้กับวัสดุหลัก(Parent Items)มากกว่า 1 รายการ
4 : ชินส่วนทีใช ้ทังงานซ่อมบํารุงและงานผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 187 : 07 การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต (Capacity Requirements Planning)

ข ้อที 228 :
แผนการผลิตของสายงานประกอบ ในสัปดาห์ท ี 3 ของ เดือนมิถน ุ ายน มี ความต ้องการผลิต สินค ้า A จํานวน 100 หน่วย และ สินค ้า B จํานวน 200 หน่วย สินค ้า A
แต่ละหน่วยต ้องใช ้เวลาผลิต .5 ชัวโมง สินค ้า B แต่ละหน่วยต ้องใช ้เวลาผลิต 1.5 ชัวโมง ความต ้องการกําลังการผลิตในสัปดาห์ท ี 3ของสายงานประกอบเท่ากับ
เท่าไร

1 : 300 ชัวโมง
2 : 300 หน่วย
3 : 400 ชัวโมง
4 : 350 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 229 :
การเกิด Underloading หมายถึงกรณีใด

1 : ผลิตภัณฑ์ทถู
ี กกําหนดให ้ทําการผลิตในตารางการผลิตมีจํานวนตํากว่าขีดความสามารถทีหน่วยผลิตจะรับได ้
2 : ผลิตภัณฑ์ทถูี กกําหนดให ้ทําการผลิตในตารางการผลิตมีมากกว่าขีดความสามารถทีหน่วยผลิตจะรับได ้
3 : กําลังการผลิตอยูภ ่ ายใต ้การควบคุม
4 : กําลังการผลิตอยูเ่ หนือการควบคุม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 230 :
การเกิด Overloading หมายถึงกรณีใด

1 : ผลิตภัณฑ์ทถู
ี กกําหนดให ้ทําการผลิตในตารางการผลิตมีจํานวนตํากว่าขีดความสามารถทีหน่วยผลิตจะรับได ้
2 : ผลิตภัณฑ์ทถู
ี กกําหนดให ้ทําการผลิตในตารางการผลิตมีมากกว่าขีดความสามารถทีหน่วยผลิตจะรับได ้
3 : กําลังการผลิตอยูภ ่ ายใต ้การควบคุม
4 : กําลังการผลิตอยูเ่ หนือการควบคุม
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 231 :
ข ้อใดไม่ใช่จด
ุ ประสงค์ของการวางแผนกําลังการผลิต

1 : เพือตอบสนองวันกําหนดส่งมอบงาน
2 : เพือชะลอช่วงเวลาในการผลิต
3 : เพือขจัดสภาพเกินกําลังและสภาพตํากว่ากําลังของหน่วยผลิต
4 : เพือให ้มันใจว่าเครืองจักรจะไม่เสียหาย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 232 :
กําลังการผลิตในการวางแผนการผลิตหมายถึง

1 : อัตราการผลิตต่อชัวโมง
2 : จํานวนชัวโมงการทํางานต่อวัน
3 : จํานวนคนทีทํางานต่อวัน
4 : ขีดความสามารถของคนหรือเครืองจักรทีสามารถจะนํ ามาใช ้ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 233 :
ข ้อมูลรายการใดทีไม่เกียวข ้องกับการวางแผนกําลังการผลิต

1 : ใบแสดงขันตอนการผลิต
2 : ใบสังงาน
3 : ปริมาณสินค ้าคงคลังต ้นงวด
4 : ข ้อมูลหน่วยผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 234 :
บริษัทแห่งหนึงได ้ทําวางแผนการผลิตสินค ้าชนิดหนึง ซึงมีสนิ ค ้าคงคลังต ้นงวด สัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย ค่าพยากรณ์ความต ้องการในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ
75 หน่วย บริษัทได ้กําหนดตารางการผลิตไว ้ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 300 หน่วย สินค ้าแต่ละหน่วยต ้องใช ้เวลาผลิต 0.5 ชัวโมง ภายใต ้แผนการผลิตดังกล่าวนี
ต ้องการกําลังการผลิตในสัปดาห์ท ี 1 เท่าไร

1 : 150 ชัวโมง
2 : 200 ชัวโมง
3 : 300 ชัวโมง
4 : 450 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 235 :
ข ้อใดเกียวกับการวางแผนกําลังการผลิตต่อไปนี กล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การวางแผนกําลังการผลิตไม่จํากัดแบบเดินหน ้าคือการกําหนดให ้งานแต่ละงานเริมต ้นเร็วสุด


2 : การวางแผนกําลังการผลิตไม่จํากัดแบบย ้อนกลับหมายถึงทุกๆงานจะถูกพิจารณาแบบย ้อนกลับโดยสมมติวา่ แต่ละงานจะสามารถทําเสร็จในวันกําหนดส่ง
3 : ช่วงเวลานํ า คือระยะเวลาตังแต่ออกใบสังจนกระทังได ้รับของตามทีสัง
4 : การวางแผนกําลังการผลิตแบบจํากัด คือการวางแผนย ้อนกลับตามวันกําหนดส่ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 236 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่เป็ นองค์ประกอบของช่วงเวลานํ า (Lead Time)การผลิต

1 : เวลาผลิต
2 : เวลาเตรียมการผลิต
3 : เวลารอคอยการผลิต
4 : เวลาวางแผนการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 237 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่องค์ประกอบของเวลาในขันตอนการผลิต (Operations Time)

1 : เวลารอคอยการผลิต
2 : เวลาขนย ้าย
3 : เวลารอคอยการขนย ้าย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 238 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นคํากล่าวทีไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการวางแผนกําลังการผลิต

1 : การวางแผนกําลังการผลิตแบบจํากัดมักจะดําเนินการก่อนการวางแผนกําลังการผลิตแบบไม่จํากัด
2 : การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิต (Capacity Requirement Planning) ต ้องดําเนินการภายหลังการจัดรายละเอียดตารางการผลิต (Detail Production Scheduling) เสร็จเรียบร ้อยแล ้ว
3 : ภายใต ้ระบบ MRP เมือดําเนินการวางแผนความต ้องการวัสดุแล ้วขันตอนต่อไป คือการวางแผนกําลังการผลิตขันต ้น (Rough-cut Capacity Planning)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 239 :
บริษัทแห่งหนึงได ้ทําวางแผนการผลิตสินค ้าชนิดหนึง ซึงมีสนิ ค ้าคงคลังต ้นงวด สัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 200 หน่วย ค่าพยากรณ์ความต ้องการในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ
75 หน่วย บริษัทได ้กําหนดตารางการผลิตไว ้ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 400 หน่วย สินค ้าแต่ ละหน่วยต ้องใช ้เวลาผลิต 0.4 ชัวโมง ภายใต ้แผนการผลิตดังกล่าวนี
ต ้องการกําลังการ ผลิตในสัปดาห์ท ี 1 เท่าไร

1 : 160 ชัวโมง
2 : 200 ชัวโมง
3 : 210 ชัวโมง
4 : 525 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 240 :
การวางแผนกําลังการผลิตจะทําให ้เราสามารถ

1 : วางแผนการทําล่วงเวลา
2 : วางแผนจ ้างผู ้รับเหมาช่วง
3 : มอบหมายใบสังงานให ้กับหน่วยผลิตได ้อย่างถูกต ้อง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 241 :
การวางแผนกําลังการผลิตแบบใดจะเน ้นทีเครืองจักรหลักของโรงงานและคํานวณต่อจาก MPS (Master Production Scheduling)

1 : Rough-cut Capacity Planning


2 : Capacity Requirements Planning
3 : Aggregate Capacity Planning
4 : Capacity Control
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 242 :
แหล่งกําลังการผลิตของโรงงานสามารถมาจากทีใดต่อไปนี

1 : การผลิตสินค ้าคงคลังล่วงหน ้า
2 : การทําล่วงเวลา
3 : กําลังการผลิตปกติ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 243 :
ข ้อมูลใดต่อไปนีเป็ นข ้อมูลของหน่วยผลิตทีเป็ นประโยชน์ตอ
่ การวางแผนกําลังการผลิต

1 : เวลารอคอยการผลิต (Queue Time)


2 : เวลาเคลือนย ้าย (Move Time)
3 : กําลังการผลิต
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 244 :
โรงงานแห่งหนึงหัวหน ้างานได ้รับใบสังงาน 6 งาน โดยแต่ละงานจะต ้องผ่านหน่วยงาน 3 หน่วย เรียงตามลําดับทีเหมือนกันดังนี จงคํานวณภาระงานทังหมดของ
หน่วยผลิตที 2
ใบสังงาน เวลาที ใช้ ในแต่ ละหน่ วยผลิต (ชัวโมง)
หน่ วยผลิตที 1 หน่ วยผลิตที 2 หน่ วยผลิตที 3
1 4 3 5
2 4 8 2
3 2 3 5
4 3 4 8

1 : 13 ชัวโมง
2 : 18 ชัวโมง
3 : 20 ชัวโมง
4 : 51 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 245 :
บริ ษทั แห่ งหนึงได้ ทาํ การวางแผนการผลิตสิ นค้ าชนิดหนึง ซึ งมีสินค้ าคงคลังต้ นงวดสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ 150 หน่ วย ค่ าพยากรณ์ ความต้ องการในสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ
75 หน่ วย บริ ษทั ได้ กาํ หนดตารางการผลิตไว้ ในสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ 400 หน่ วย สิ นค้ าแต่ ละหน่ วยต้ องใช้ เวลาผลิต 0.3 ชัวโมง บริ ษทั มีกาํ ลังการผลิตปกติสัปดาห์ ละ
100 ชัวโมง และกําลังการผลิตสูงสุดเท่ ากับ 130 ชัวโมง โดยทําการผลิตในช่ วงล่ วงเวลาอีก 30 ชัวโมง ภายใต้ แผนการผลิตดังกล่ าวนี บริ ษทั ต้ องทําล่ วงเวลาใน
สัปดาห์ ที 1 อีกเท่ าไร

1 : 15 ชัวโมง
2 : 20 ชัวโมง
3 : 30 ชัวโมง
4 : 45 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 246 :
ในการวางแผนการผลิตสินค ้าชนิดหนึง มีสน ิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 75 หน่วย
ิ ค ้าคงคลังปลายงวดสัปดาห์ท ี 1 = 325 หน่วย ถ ้าสินค ้าแต่ละหน่วยต ้องใช ้ เวลาผลิต 0.5 ชัวโมง บริษัทจะต ้องจัดกําลังการผลิตไว ้ เท่าไร
บริษัทต ้องการให ้มีสน
เพือให ้เพียงพอกับการกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาห์ท ี 1 ทีจะจัดขึน

1 : 125 ชัวโมง
2 : 250 ชัวโมง
3 : 300 ชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 247 :
บริ ษทั แห่ งหนึงได้ ทาํ การวางแผนการผลิตสิ นค้ าชนิดหนึง ซึ งมีสินค้ าคงคลังต้ นงวดสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ 200 หน่ วย ค่ าพยากรณ์ ความต้ องการในสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ
500 หน่ วย บริ ษทั ต้ องการให้ มีสินค้ าคงคลังปลายงวดสัปดาห์ ที 1 เท่ ากับ 200 หน่ วย ถ้ าสิ นค้ าแต่ ละหน่ วยต้ องใช้ เวลาผลิต 0.2 ชัวโมง บริ ษทั มีกาํ ลังการผลิตปกติ
สัปดาห์ ละ 80 ชัวโมง และกําลังการผลิตสูงสุดเท่ ากับ 110 ชัวโมง โดยทําการผลิตในช่ วงล่ วงเวลาอีก 30 ชัวโมง ภายใต้ แผนการผลิตดังกล่ าวนี บริ ษทั ต้ องทําล่ วง
เวลาในสัปดาห์ ที 1 อีกเท่ าไร
1 : 15 ชัวโมง
2 : 20 ชัวโมง
3 : 30 ชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 248 :
ในการวางแผนการผลิตสินค ้าชนิดหนึง มีสน ิ ค ้าคงคลังต ้นงวดสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 150 หน่วย ความต ้องการ จากการพยากรณ์ในสัปดาห์ท ี 1 เท่ากับ 750 หน่วย
ิ ค ้าคงคลังปลายงวดสัปดาห์ท ี 1 = 200 หน่วย ถ ้าสินค ้าแต่ละหน่วยต ้องใช ้ เวลาผลิต 0.5 ชัวโมง บริษัทจะต ้องจัดกําลังการผลิตไว ้เท่าไร
บริษัทต ้องการให ้มีสน
เพือให ้เพียงพอกับการกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาห์ท ี 1 ทีจะจัดขึน

1 : 100 ชัวโมง
2 : 350 ชัวโมง
3 : 400 ชัวโมง
4 : 750 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 249 :
หน่วยผลิตหน่วยหนึงรับใบสังงานเข ้ามา 1 ใบมีจํานวนชินงาน 200 ชิน เวลาทีใช ้ในการเตรียมการผลิต (Setup Time) = 1.3 ชัวโมง และเวลามาตรฐานการผลิตต่อ
ชิน = 0.3 ชัวโมง มีภาระงานทีเกิดขึนกับหน่วยผลิตหน่วยนีกีชัวโมง

1 : 60 ชัวโมง
2 : 61.3 ชัวโมง
3 : 260 ชัวโมง
4 : 350 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 250 :
หน่วยผลิตแห่งหนึง มีเครืองจักรอยู่ 3 เครือง ทํางานวันละ 2 กะ ๆละ 8 ชัวโมง ทํางาน 5 วันต่อสัปดาห์ กําลังการผลิตต่อสัปดาห์เท่ากับเท่าไร

1 : 80 ชัวโมง
2 : 200 ชัวโมง
3 : 240 ชัวโมง
4 : 300 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 251 :
่ การสังทีประหยัด (EOQ) 20 เปอร์เซ็นต์ จะส่งผลให ้ต ้นทุนรวมการควบคุมพัสดุคงคลัง (TCo)
ในการสังซือพัสดุคงคลัง หากปริมาณการสังซือมากกว่าขนาดรุน
เพิมขึนจากต ้นทุนรวมทีประหยัด (TC0) กีเปอร์เซ็นต์

1 : 2.5 %
2 : 10 %
3 : 20 %
4 : 40 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 252 :
การควบคุมพัสดุคงคลัง ระบบจุดสังคงทีหรือระบบปริมาณการสังคงที มีคา่ ต่างๆทีเกียวข ้องดังนี อัตราความต ้องการโดยเฉลียต่อวัน = 40 หน่วย ค่าเบียงเบน
มาตรฐานของความต ้องการ = 5 หน่วยต่อวัน ช่วงเวลานํ า 5 วัน (คงที) จงคํานวณสต๊อกปลอดภัย ภายใต ้ระดับบริการ 95 %

1 : 18.39 หน่วย
2 : 8.225 หน่วย
3 : 25 หน่วย
4 : 41.125 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 253 :
อัตราความต ้องการโดยเฉลียของวัสดุรายการหนึงเท่ากับ 100 หน่วยต่อวัน และช่วงเวลานํ าในการสังเท่ากับ 5 วัน บริษัทได ้กําหนดให ้มี safety stock เท่ากับ 50
หน่วย ภายใต ้การควบคุมพัสดุคงคลังระบบจุดสังใหม่คงที (Fixed Re-order Point) หรือ ระบบปริมาณการสังคงที (Fixed Order Quantity) บริษัทควรกําหนดจุดสัง
ใหม่ไว ้ทีระดับใด

1 : 550 หน่วย
2 : 500 หน่วย
3 : 100 หน่วย
4 : 150 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 188 : 08 การจัดลําดับงานและตารางการผลิต (Sequencing and Scheduling)

ข ้อที 254 :
กระบวนการผลิตหนึงประกอบด ้วย 2 ขันตอน งานทุกงานต ้องผ่านขันตอนที 1 ก่อนแล ้วจึงจะไปทําต่อทีขันตอนที 2 ถ ้าปั จจุบน ั มีงานมารอเข ้าทํา 5 งาน โดยแต่ละ
งานต ้องใช ้เวลาทําในขันตอนที 1 ดังนี 5,3,1,3 และ 5 ตามลําดับ และ ใช ้เวลาทําในขันตอนที 2 ดังนี 4,2,2,4,และ 6 ลําดับการจัดงานเข ้าทําควรเป็ นดังข ้อใดจึงจะ
ทําให ้ช่วงการทํางานทังหมด สันทีสุด

1 : <1,2,3,4,5>
2 : <2,3,4,5,1>
3 : <4,5,1,2,3>
4 : <3,4,5,1,2>
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 255 :
เจ ้าหน ้าทีฝ่ ายควบคุมการผลิตผู ้หนึง กําลังอยูใ่ นระหว่างการจัดลําดับการทํางานสําหรับงาน3งาน งานทังหมดต ้องผ่านเครืองจักร3เครืองคือ A,B,C โดยแต่ละงาน
มีลําดับขันตอนไม่เหมือนกัน ถ ้าขันตอนการผลิตของงาน1เป็ นดังนี A(2),C(3),B(1) ตัวเลขในวงเล็บคือเวลา และสําหรับงาน2คือ B(1),C(2),A(1) และสําหรับงาน3
คือA(1),B(1),C(4) ถ ้าใช ้หลักเกณฑ์เวลาของขันตอนสันทีสุดเข ้าทําก่อน ลําดับการทํางานบนเครืองที B คือข ้อใด
1 : 3,1,2
2 : 2,3,1
3 : 1,2,3
4 : 2,1,3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 256 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับงาน N งาน บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว เกณฑ์การจัดลําดับงานใดจะให ้ผลลัพธ์ “เวลาไหลอยูใ่ นระบบน ้อยทีสุด”

1 : กําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน
2 : เวลางานน ้อยทีสุดทําก่อน
3 : เวลางานมากทีสุดทําก่อน
4 : เวลาเหลือมากทีสุดทําก่อน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 257 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับงาน N งาน บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว เกณฑ์การ จัดลําดับงานใดจะให ้ผลลัพธ์ “เวลาเบียงเบนจากวันกําหนดส่งสูงสุดตําสุด
(Minimize Max Lateness)”

1 : กําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน
2 : เวลางานน ้อยทีสุดทําก่อน
3 : เวลางานมากทีสุดทําก่อน
4 : เวลาเหลือมากทีสุดทําก่อน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 258 :
ั กําหนดน ้อยทีสุด ใช ้วิธก
ในการจัดลําดับงานบนหน่วยผลิตหนึงหน่วยเพือให ้มีจํานวนงานส่งไม่ทน ี ารจัดลําดับแบบใด

1 : Johnson
2 : Smith
3 : Hodgson
4 : Campbel
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 259 :
ั กําหนดสูงสุด ควรใช ้เกณฑ์การจัดลําดับงานใด
ในการจัดตารางการผลิตบนหน่วยผลิต M หน่วย แบบขนาดเพือลดค่าสูงสุดของเวลาส่งงานไม่ทน

1 : กําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน
2 : เวลางานน ้อยทีสุดทําก่อน
3 : เวลางานมากทีสุดทําก่อน
4 : Johnson
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 260 :
เครืองมือใดต่อไปนีทีถูกนํ ามาใช ้เป็ นเครืองมือช่วยในการติดตามความก ้าวหน ้าของงาน

1 : แผนภูมแ ิ กนต์แสดงภาระงาน (Gantt Load Chart)


2 : แผนภูมแ ิ กนต์แสดงตารางการทํางาน (Gantt Scheduling Chart)
3 : วิธก
ี ารมอบหมายงาน (The Assignment Method)
4 : ตารางการผลิตหลัก(Master Production Schedule)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 261 :
Johnson’s Rule เป็ นวิธก
ี ารหา ลําดับงานในสถานการณ์ใด และวัตป
ุ ระสงค์ใด

1 : จัดลําดับงานบนหน่วยผลิต M หน่วยแบบขนานเพือให ้ช่วงกว ้างการทํางานทังหมดสันทีสุด (Minimize Makespan)


2 : จัดลําดับงานบนหน่วยผลิต 2 หน่วยแบบอนุกรมเพือให ้ช่วงกว ้างการทํางานทังหมดสันทีสุด (Minimize Makespan)
3 : จัดลําดับงานบนหน่วยผลิต M หน่วยแบบอนุกรมเพือให ้งานส่งไม่ทน ั กําหนดมีน ้อยทีสุด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 262 :
่ ารจัดตารางการผลิต
ข ้อใดต่อไปนีคือข ้อมูลทีป้ อนเข ้าสูก

1 : เกณฑ์การจัดลําดับงาน
2 : ใบสังผลิต
3 : ข ้อมูลขันตอนการปฏิบต
ั งิ าน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 263 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : แผนภูมแิ กนต์มปี ระโยชน์ทงในการจั


ั ดทําภาระงานและตารางการทํางานบนเครืองจักร
2 : การวางแผนและควบคุมการผลิตทีดีจําเป็ นจะต ้องสามารถให ้ข ้อมูลป้ อนกลับเกียวกับกิจกรรมการผลิตและโรงงาน
3 : การจัดลําดับงานบนหน่วยผลิต M หน่วยแบบอนุกรม หรือ Flow Shop งานแต่ละงานจะต ้องมีลําดับการผ่านเครืองจักรเหมือนกัน
4 : การลดการใช ้พืนทีในโรงงานคือเหตุผลหนึงในการจัดลําดับงาน แบบกําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 264 :
ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : ในการจัดตารางการผลิตแบบเดินหน ้างานทุกงานจะถูกจัดให ้เริมงานช ้าทีสุด เท่าทีจะเป็ นไปได ้แต่ในช่วงเวลาทีกําหนดให ้


2 : การจัดลําดับงานโดยใช ้เกณฑ์ Slack น ้อยทีสุดทําก่อน อยูบ
่ นพืนฐานของ ความต ้องการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค ้า
3 : การวางแผนและควบคุมการผลิตทีดีไม่จําเป็ นต ้องมีการป้ อนกลับข ้อมูล กิจกรรมการผลิตจากโรงงาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 265 :
เกณฑ์วต
ั ถุประสงค์ใดต่อไปนีไม่ใช่เกณฑ์ในการจัดตารางการผลิต

1 : Maximize Flow Time (เวลาไหลในระบบสูงสุด)


2 : Maximize Utilization (ประสิทธิภาพการใช ้เครืองจักรสูงสุด)
3 : Minimize Work-in-Process Inventory (งานระหว่างผลิตตําสุด)
4 : Minimize Maximum Tardiness (เวลาส่งไม่ทน ั กําหนดสูงสุดตําสุด )
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 266 :
ใบสังงานทีถูกนํ าไปทําการผลิตตามลําดับทีงานนันเข ้ามาในบริษัท เรียกเกณฑ์การจัดลําดับนันว่า

1 : มาก่อน-ทําก่อน
2 : ถึงกําหนดส่งก่อนทําก่อน
3 : เวลาเหลือน ้อยกว่าทําก่อน (Slack Time Remaining)
4 : มาหลัง-ทําก่อน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 267 :
เกณฑ์จัดลําดับงานใดทีมีแนวโน ้มจะทําให ้เวลางานไหลในระบบน ้อยทีสุด (Minimize Job Flow Time)

1 : FCFS (First Come First Served)


2 : SPT (Shortage Processing Time)
3 : EDD (Earliest Due Date)
4 : LPT (Longest Processing Time)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 268 :
เมืองาน N งาน ต ้องผ่านเครืองจักร 2 เครือง ในลําดับทีเหมือนๆกัน เราจะใช ้เกณฑ์ใดในการจัดลําดับงานเพือให ้ช่วงกว ้างการทํางานทังหมดน ้อยทีสุด (Minimize
Makespan)

1 : Johnson’s Rule
2 : SPT (Shortage Processing Time)
3 : EDD (Earliest Due Date)
4 : LPT (Longest Processing Time)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 269 :
ใช ้เกณฑ์ในการจัดลําดับงาน เวลาผลิตสันทีสุดทําก่อน (Shortage Processing Time) ผลลัพธ์ทวๆไปที
ั ได ้คือ

1 : Minimize Mean Lateness


2 : Minimize Mean Flow Time
3 : Maximize Machine Utilization
4 : Minimize Mean Tardiness
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 270 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับใบสังงานทีมีขนาดรุน
่ การสัง 1,000 หน่วย ซึงต ้องผ่านหน่วยผลิต 3 หน่วยตามลําดับ ดังรูป งานจะเสร็จทังหมดในเวลาเท่าไร (การ
เคลือนย ้ายผลิตภัณฑ์จากหน่วยผลิตหนึงไปยังอีกหน่วยผลิตหนึงจะต ้องคอยให ้เสร็จสินทังหมดถึงทําการย ้ายในครังเดียว)
Operation 1 -----> Operation 2 ------> Operation 3
Processing Time: 1 Minute/Unit 0.1 Minute/Unit 1 Minute/Unit

1 : 210 นาที
2 : 2,100 นาที
3 : 3,000 นาที
4 : 2.1 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 271 :
มีงาน 5 งาน (A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู่ หน ้าเครืองจักรเครืองหนึงซึงมีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “เวลาน ้อย
่ ารผลิตได ้ดังนี
ทีสุดทําก่อน” จะสามารถจัดลําดับงานเพือส่งเข ้าสูก
งาน เวลาผลิต กําหนดส่ ง
A 4 7
B 7 4
C 8 11
D 3 5
E 5 8

1 : A-B-C-D-E
2 : C-E-A-D-B
3 : B-D-A-E-C
4 : D-A-E-B-C
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 272 :
มีงาน 5 งาน (A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู่ หน ้าเครืองจักรเครืองหนึงซึงมีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “เวลาน ้อย
่ ารผลิตได ้ดังนี
ทีสุดทําก่อน” จะสามารถจัดลําดับงานเพือส่งเข ้าสูก
งาน เวลาผลิต กําหนดส่ ง
A 4 7
B 2 4
C 8 11
D 3 5
E 5 8

1 : A-B-C-D-E
2 : C-E-A-D-B
3 : B-D-A-E-C
4 : D-A-E-B-C
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 273 :
จากตารางผลลัพธ์การจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว ดังต่อไปนี เวลาเฉลียงานไหลในระบบ (Mean Flow Time)
เท่าไร

งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็ จ (วัน) กําหนดส่ ง (วัน)


A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

1 : 66 วัน
2 : 13.2 วัน
3 : 25 วัน
4 : 35 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 274 :
จากตารางผลลัพธ์การจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว ดังต่อไปนี จํานวนงานส่งไม่ทน
ั กําหนดมีกงาน

งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็ จ (วัน) กําหนดส่ ง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

1 : 2 งาน
2 : 3 งาน
3 : 4 งาน
4 : 5 งาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 275 :
จากตารางผลลัพธ์การจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว ดังต่อไปนี เวลาส่งงานไม่ทน
ั กําหนดสูงสุดคืองานใด
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็ จ (วัน) กําหนดส่ ง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

1:B
2:C
3:D
4:E
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 276 :
มีงาน 5 งาน(A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู่ หน ้าเครืองจักรเครืองหนึงซึงมีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “อัตราวิกฤติ
น ้อยทีสุด (Smallest Critical Ratio) ของวันกําหนดส่งส่วนเวลาผลิต จะสามารถจัดลําดับงานเพือส่งเข ้าสู่ การผลิตได ้ดังข ้อใด
งาน เวลาผลิต กําหนดส่ ง
A 4 7
B 2 4
C 8 11
D 3 5
E 5 8

1 : A-B-C-D-E
2 : C-D-A-B-E
3 : B-D-A-E-C
4 : D-A-E-B-C
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 277 :
จากตารางผลลัพธ์การจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว ดังต่อไปนี จงหาเวลาเฉลียงานไหลในระบบ (Mean Flow Time)
เท่ากับเท่าไร
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็ จ (วัน) กําหนดส่ ง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 4 18 6
E 6 24 9
1 : 5 วัน
2 : 4.4 วัน
3 : 7 วัน
4 : 13.2 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 278 :
จากตารางผลลัพธ์การจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหน่วยผลิตหน่วยเดียว ดังต่อไปนี จงหาเวลาเฉลียส่งงานไม่ทน
ั กําหนดคือเท่าไร
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็ จ (วัน) กําหนดส่ ง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

1 : 6.8 วัน
2 : 2 วัน
3 : 8 วัน
4 : 9 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 279 :
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิต อยู่ หน ้าเครืองจักรเครืองหนึงซึง มีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “เวลาน ้อย
ทีสุดทําก่อน” จงคํานวณเวลาเฉลียงานไหลในระบบ (Mean Flow Time)
งาน เวลาผลิต(วัน) กําหนดส่ ง(วัน)
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35
Z 55 75

1 : 75 วัน
2 : 65 วัน
3 : 70วัน
4 : 114 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 280 :
่ น ้าเครืองจักรเครืองหนึง ซึงมีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “กําหนดส่ง
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิตอยูห
เร็วสุดทําก่อน” จงคํานวณเวลาเฉลียงานไหลในระบบ (Mean Flow Time)
งาน เวลาผลิต(วัน) กําหนดส่ ง(วัน)
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35
Z 55 75

1 : 75 วัน
2 : 65 วัน
3 : 70 วัน
4 : 66 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 281 :
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิต อยู่ หน ้าเครืองจักรเครืองหนึงซึงมีข ้อมูลเวลาผลิตและวันกําหนดส่งดังแสดงในตาราง โดยการใช ้เกณฑ์ “กําหนดส่ง
เร็วสุดทําก่อน” จงคํานวณเวลาเฉลียส่งงานไม่ทนั กําหนด (Mean Tardiness)
งาน เวลาผลิต(วัน) กําหนดส่ ง(วัน)
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35
Z 55 75

1 : 27 วัน
2 : 16 วัน
3 : 17 วัน
4 : 61 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 282 :
ผู ้จัดการบริษัทเคาะ และ พ่นสีรถยนต์ มีรถอยู่ 5 คัน ทีรอจัดตารางการซ่อมอยูใ่ นโรงงาน รถแต่ละคันจะต ้องดําเนินการ 2 ขันตอน คือ เคาะ ก่อนทีจะ พ่นสี เวลา
โดยประมาณในการทําการเคาะและพ่นสีรถแต่ละคันแสดงในตารางผู ้จัดการต ้องการจัดตารางการผลิตให ้ช่วงกว ้างการทํางานทังหมด (Makespan) น ้อยทีสุด ถ ้า
ใช ้ Johnson’s rule ลําดับงานทีได ้คือ
รถคันที เคาะตัวถัง (ชัวโมง) พ่ นสี (ชัวโมง)
A 8 7
B 9 4
C 7 5
D 3 4
E 2 7
1 : E-D-A-C-B
2 : E-D-A-B-C
3 : A-B-C-D-E
4 : E-B-A-C-D
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 283 :
จากข ้อมูลในการจัดตารางการผลิต ของใบสังงาน 5 ใบ ของโรงงานแห่งหนึง ทีกําหนดให ้ ซึงมีรป
ู แบบการผลิตเป็ นแบบ Flow Shop ผ่าน 2 ขันตอนการผลิตใน
ลําดับทีเหมือนๆกัน จงหาลําดับงานทีจะทําให ้ช่วงกว ้างของเวลาในการทํางานทังหมด (Makespan) สันทีสุด
ใบสังงาน ขันตอน
ขันตอนที 1 ขันตอนที 2
1 3 6
2 1 4
3 5 1
4 6 4
5 2 8

1 : 2-5-1-4-3
2 : 1-2-3-4-5
3 : 3-2-4-1-5
4 : 4-1-2-3-5
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 284 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับงาน 6 งาน บนหน่วยผลิตหน่วยเดียวดังข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ จงหาเวลาแล ้วเสร็จของงาน B ถ ้ากําหนดให ้ใช ้เกณฑ์การจัด
ลําดับงาน (แบบกําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน (Earliest Due Date))
งาน เวลาผลิต(วัน) กําหนดส่ ง(วัน)
A 20 25
B 15 20
C 7 16
D 25 50
E 31 33
F 43 55

1 : 7 วัน
2 : 22 วัน
3 : 42 วัน
4 : 73 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 285 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับงาน 6 งาน บนหน่วยผลิตหน่วยเดียวดังข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ จงหาเวลาแล ้วเสร็จของงาน C ถ ้ากําหนดให ้ใช ้เกณฑ์การจัด
ลําดับงาน แบบเวลาน ้อยทีสุดทําก่อน (Shortest Processing Time-SPT)
งาน เวลาผลิต กําหนดส่ ง
A 20 25
B 15 20
C 7 16
D 25 50
E 31 33
F 43 55

1:7
2 : 22
3 : 42
4 : 63
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 286 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับงาน 6 งาน บนหน่วยผลิตหน่วยเดียวดังข ้อมูลในตารางทีกําหนดให ้ จงหาเวลาแล ้วเสร็จของงาน F ถ ้ากําหนดให ้ใช ้เกณฑ์การจัด
ลําดับงาน แบบเวลายาวทีสุดทําก่อน(Longest Processing Time-LPT)
งาน เวลาผลิต กําหนดส่ ง
A 20 25
B 15 20
C 7 16
D 25 50
E 31 33
F 43 55

1 : 43
2 : 74
3 : 99
4 : 141
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 287 :

ผู้จัดการบริ ษทั เคาะ และ พ่ นสี รถยนต์ มีรถอยู่ 5 คัน ที รอจัดตารางการซ่ อมอยู่ในโรงงาน รถแต่ ละคันจะต้ องดําเนินการ 2 ขันตอน คือ เคาะ ก่ อนที จะ พ่ นสี เวลาโดย
ประมาณในการทําการเคาะและพ่ นสี รถแต่ ละคันแสดงในตาราง ผู้จัดการต้ องการจัดตารางการผลิตให้ ช่วงกว้ างการทํางานทังหมด (Makespan) น้ อยที สุด ถ้ าใช้
Johnson’s Rule ในการจัดลําดับงาน งาน A จะแล้ วเสร็ จเมือไร
(กําหนดให้ เริ มงานแรกที เวลา 0)
รถคันที เคาะตัวถัง (ชัวโมง) พ่ นสี (ชัวโมง)
A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8

1 : 18 ชัวโมง
2 : 25 ชัวโมง
3 : 36 ชัวโมง
4 : 45 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 288 :
ผู้จัดการบริ ษทั เคาะ และ พ่ นสี รถยนต์ มีรถอยู่ 5 คัน ที รอจัดตารางการซ่ อมอยู่ในโรงงาน รถแต่ ละคันจะต้ องดําเนินการ 2 ขันตอน คือ เคาะ ก่ อนที จะ พ่ นสี เวลาโดย
ประมาณในการทําการเคาะและพ่ นสี รถแต่ ละคันแสดงในตาราง ผู้จัดการต้ องการจัดตารางการผลิตให้ ช่วงกว้ างการทํางานทังหมด (Makespan) น้ อยที สุด ถ้ าใช้
Johnson’s Rule ในการจัดลําดับงาน งานทังหมดจะแล้ วเสร็ จเมือไร
(กําหนดให้ เริ มงานแรกที เวลา 0)
รถคันที เคาะตัวถัง (ชัวโมง) พ่ นสี (ชัวโมง)
A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8

1 : 36 ชัวโมง
2 : 45 ชัวโมง
3 : 53 ชัวโมง
4 : 62 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 289 :
ผู้จัดการบริ ษทั เคาะ และ พ่ นสี รถยนต์ มีรถอยู่ 5 คัน ที รอจัดตารางการซ่ อมอยู่ในโรงงาน รถแต่ ละคันจะต้ องดําเนินการ 2 ขันตอน คือ เคาะ ก่ อนที จะ พ่ นสี เวลาโดย
ประมาณในการทําการเคาะและพ่ นสี รถแต่ ละคันแสดงในตาราง ผู้จัดการต้ องการจัดตารางการผลิตให้ ช่วงกว้ างการทํางานทังหมด (Makespan) น้ อยที สุด ถ้ าใช้
Johnson’s Rule ในการจัดลําดับงาน งาน D จะแล้ วเสร็ จเมือไร
(กําหนดให้ เริ มงานแรกที เวลา 0)
รถคันที เคาะตัวถัง (ชัวโมง) พ่ นสี (ชัวโมง)
A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8

1 : 36 ชัวโมง
2 : 45 ชัวโมง
3 : 53 ชัวโมง
4 : 62 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 290 :
การจัดตารางการผลิตแบบย ้อนกลับจะเริมต ้นในการจัดตารางการผลิตให ้กับแต่ละงานอย่างไร

1 : เริมจัดตารางการผลิตจากวันทีปั จจุบนั
2 : เริมจัดตารางการผลิตให ้กับงานตามวันทีออกใบสัง
3 : เริมจัดตารางการผลิตจากวันกําหนดส่งมอบของงาน
4 : เริมจากวันทีวัตถุดบ
ิ มาส่งถึงโรงงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 291 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้กับหน่วยการผลิตหนึงหน่วย ดังมีรายละเอียดแสดงในตารางต่อไปนี

หากจัดตารางการผลิตโดยเกณฑ์ วันกําหนดส่งเริมต ้นเร็วทีสุด (Earliest due date) งานทีเสร็จเป็ นงานลําดับที 2 บนหน่วยผลิต คือ

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 292 :
ในการจัดตารางการผลิตให ้หน่วยการผลิตหนึงหน่วย ดังมีรายละเอียดแสดงในตารางต่อไปนี
หากจัดตารางการผลิตโดยเกณฑ์ เวลาผลิตน ้อยทีสุดก่อน (STP) งานทีเสร็จเป็ นลําดับที 2 บนหน่วยการผลิต คืองานใด

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 293 :
จากข ้อมูลใบสังงานแต่ละงานทีกําหนดให ้ในตาราง ข ้างล่างนี
หากจัดลําดับงานก่อนหลังโดยใช ้เกณฑ์ วันกําหนดส่งเร็วทีสุดทําก่อน ผลการจัดลําดับงานทีได ้ คือ
ใบ กําหนด เวลาผลิต
เวลาผลิตปั จจุบน
ั อัตราวิกฤติ
สังงาน ส่ง รวมทีเหลืออยู่
A 130 1.5 3.0 0.83
B 132 1.0 4.5 0.74
C 136 2.0 4.0 1.38
D 138 3.5 7.0 1.44

1 : A-C-B-D
2 : A-B-C-D
3 : B-A-D-C
4 : B-A-C-D
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 294 :
จากข ้อมูลใบสังงานแต่ละงานทีกําหนดให ้ในตาราง ข ้างล่างนี
หากจัดลําดับงานก่อนหลังโดยใช ้เกณฑ์ อัตราวิกฤติ(Critical Ratio) ผลการจัดลําดับงานทีได ้ คือ

ใบ กําหนด เวลาผลิต
เวลาผลิตปั จจุบน
ั อัตราวิกฤติ
สังงาน ส่ง รวมทีเหลืออยู่
A 130 1.5 3.0 0.83
B 132 1.0 4.5 0.74
C 136 2.0 4.0 1.38
D 138 3.5 7.0 1.44

1 : A-C-B-D
2 : A-B-C-D
3 : B-A-D-C
4 : B-A-C-D
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 295 :
การจัดลําดับงานและการจัดรายละเอียดตารางการผลิต เป็ นแผนการผลิตในระดับใด

1 : รายวัน
2 : รายเดือน
3 : รายไตรมาส
4 : รายปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 189 : 09 การจัดสมดุลสายการผลิต (Production Line Balancing)

ข ้อที 296 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ ความหมายของ รอบเวลาผลิต (Cycle time) คือ

1 : เวลาผลิตน ้อยสุดของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ 1 หน่วย


2 : เวลาผลิตมากสุดของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ 1 หน่วย
3 : เวลาผลิตเฉลียของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ 1 หน่วย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 297 :
ในการจัดสมดุลสายการผลิต ถ ้าใน 1 วันทํางาน มีเวลาทําการผลิต 480 นาที ถ ้าความต ้องการผลิตภัณฑ์ตอ
่ วันคือ 120 หน่วย รอบเวลาผลิต (Cycle Time) คือ
เท่าไร

1 : 4 นาที
2 : 5 นาที
3 : 6 นาที
4 : 8 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 298 :
สายการผลิตสําหรับผลิตภัณฑ์ชนิดหนึงประกอบไปด ้วยงานย่อย 4 งาน เวลาของงานย่อยแต่ละงานคือ 2.4 นาที , 1.4 นาที , 0.9 นาที และ 1.7 นาที รอบเวลาผลิต
สันสุด(Minimum Cycle Time) คือ

1 : 1.4 นาที
2 : 0.9 นาที
3 : 2.4 นาที
4 : 6.4 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 299 :
ในการจัดสมดุลสายการผลิต รอบเวลาผลิต (Cycle Time) สามารถคํานวณได ้โดย

1 : ความต ้องการต่อหน่วยเวลาหารด ้วยเวลาผลิตต่อหน่วยเวลา


2 : เวลาผลิตต่อวันหารด ้วยผลรวมของเวลางานย่อยบวกความต ้องการต่อวัน
3 : เวลาผลิตต่อวันหารด ้วยอัตราการผลิตทีต ้องการ
4 : 1 หารด ้วยผลรวมของเวลางานย่อย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 300 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ เกณฑ์ Heuristic ใด ต่อไปนี ถูกใช ้ในการจัดสมดุลสายการผลิตโดยทัวไป

1 : งานใดมาก่อนทําก่อน
2 : งานใดมีแหล่งวัตถุดบิ อยูใ่ กล ้กว่าทําก่อน
3 : งานใดมีเวลาใกล ้เคียงเวลางานเฉลียทําก่อน
4 : งานทีมีนําหนักตําแหน่งสูงสุดทําก่อน (Ranked Positional Weight)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 301 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ โดยใช ้เกณฑ์ Heuristic หมายถึงอะไร

1 : ไม่มท ี างอืนทีจะใช ้ในการจัดสมดุลได ้


2 : ไม่มค ี อมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ใช ้ในการจัดสมดุล
3 : ปั ญหามีเพียง 2-3 ทางเลือกในการประเมิน
4 : ให ้คําตอบในระดับพึงพอใจทียอมรับได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 302 :
ในการจัดสมดุลสายการผลิตของโคร่งข่ายผลิตภัณฑ์ดงั รูป บริษัทได ้เลือก เกณฑ์การ จัดงานเข ้า สถานีงาน ดังนี “จํานวนงานทีต่อเป็ นลูกโซ่ ตามหลังมากทีสุด
เข ้าก่อน” ถ ้างานทีต ้องเลือกเข ้าสถานีงานคือ C D E และ F ภายใต ้เกณฑ์ดงั กล่าวงานทีถูกเลือกคือ

1:C
2:D
3:E
4:F
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 303 :
ในการจัดสมดุลสายการผลิตของโคร่งข่ายผลิตภัณฑ์ดงั รูป บริษัทได ้เลือก เกณฑ์การ จัดงานเข ้า สถานีงาน ดังนี “เกณฑ์ผลรวมของเวลางานทีต่อเป็ นลูกโซ่
ตังแต่งานทีพิจารณาถึง งานสุดท ้ายมากทีสุด ทําก่อน (Ranked Positional Wieight)” ถ ้างานทีต ้องเลือกเข ้าสถานีงานคือ C D E และ F ภายใต ้เกณฑ์ดงั กล่าวงาน
ทีถูกเลือกคือ

1:C
2:D
3:E
4:F
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 304 :
่ ามสถานีงานข ้างล่างนี ทําให ้ทังสามสถานีงานมีภาระเป็ นนาที ดังแสดงในรูป จงระบุรอบเวลาผลิต
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ สมมติวา่ คุณได ้จัดงานเข ้าสูส

ของสายการผลิตนี ?

1 : 6 นาที
2 : 7 นาที
3 : 3 นาที
4 : 5.3 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 305 :
ในการจัดสมดุลสายการผลิต ถ ้าใน 1 วันทํางาน มีเวลาทําการผลิต 480 นาที ถ ้าความต ้องการผลิตภัณฑ์ตอ
่ วันคือ 60 หน่วย รอบเวลาผลิต (Cycle Time) คือเท่าไร

1 : 4 นาที
2 : 5 นาที
3 : 6 นาที
4 : 8 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 306 :
14. จากแผนภาพโครงข่ายแสดงขันตอนและลําดับขันการประกอบผลิตภัณฑ์ ตามรูปข ้างล่าง มีเวลามาตรฐานการทํางานในแต่ละขันตอนรวมกัน 16 ขันตอน
เท่ากับ 600 นาที หากโรงงานทํางานวันละ 8 ชัวโมง และชัวโมงละ 60 ที ถ ้าให ้พนักงาน 1 ทํางานทังหมด จะได ้รอบเวลาผลิต เท่าไร

1 : 86 นาที
2 : 90 นาที
3 : 600 นาที
4 : 60 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 307 :
จากแผนภาพโครงข่ายแสดงขันตอนและลําดับขันการประกอบผลิตภัณฑ์ ตามรูปข ้างล่าง มีเวลามาตรฐานการทํางานในแต่ละขันตอนรวมกัน 16 ขันตอน เท่ากับ
600 นาที หากโรงงานทํางานวันละ 8 ชัวโมง และชัวโมงละ 60 ที ถ ้าจัดงานหรือแบ่งให ้พนักงาน 7 คน หรือ 7 สถานีงาน จะได ้รอบเวลาผลิตตามทฤษฎี เท่าไร
1 : 86 นาที
2 : 600 นาที
3 : 60 นาที
4 : 63 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 308 :
จากแผนภาพโครงข่ายแสดงขันตอนและลําดับขันการประกอบผลิตภัณฑ์ ตามรูปข ้างล่าง มีเวลามาตรฐานการทํางานในแต่ละขันตอนรวมกัน 16 ขันตอน เท่ากับ
600 นาที หากโรงงานทํางานวันละ 8 ชัวโมง และชัวโมงละ 60 ที ถ ้าจัดงานหรือแบ่งให ้พนักงาน 7 คน หรือ 7 สถานีงาน จะได ้รอบเวลาผลิตทีเป็ นไปได ้ เท่าไร

1 : 86 นาที
2 : 600 นาที
3 : 90 นาที
4 : 63 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 309 :
จากแผนภาพโครงข่ายแสดงขันตอนและลําดับขันการประกอบผลิตภัณฑ์ ตามรูปข ้างล่าง มีเวลามาตรฐานการทํางานในแต่ละขันตอนรวมกัน 16 ขันตอน เท่ากับ
600 นาที หากโรงงานทํางานวันละ 8 ชัวโมง และชัวโมงละ 60 ที ถ ้าจัดงานเข ้าสถานีงานโดยใช ้เกณฑ์ กําหนดนํ าหนักตําแหน่งงานมากสุดก่อน (Ranked
Positional Weight) งานย่อย 01 จะมีนําหนักตําแหน่ง เท่าไร

1 : 255
2 : 235
3 : 237
4 : 277
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 310 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบทีมีแผนภาพดังรูป โดยกําหนดรอบเวลาผลิต เท่ากับ 5 นาที ถ ้างานทีต ้องเลือกเข ้าสถานีงานคือ B และ C ซึงขณะนันมีงาน A อยู่
ก่อนแล ้ว ถ ้าใช ้ เกณฑ์ เวลามากทีสุดก่อน งานถัดไปทีจะได ้รับการเลือกเข ้าสถานีงานคืองานใด

1 : งาน A
2 : งาน B
3 : งาน C
4 : ไม่สามารถเลือกได ้เนืองจากเกินรอบเวลาผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 311 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบทีมีแผนภาพดังรูป โดยกําหนดรอบเวลาผลิต เท่ากับ 6 นาที ถ ้างานทีต ้องเลือกเข ้าสถานีงานคือ D , E และ F ซึงขณะนันมีงาน B
อยูก ่ นแล ้ว ถ ้าใช ้ เกณฑ์ เวลามากทีสุดก่อน งานถัดไปทีจะได ้รับการเลือกเข ้าสถานีงานคืองานใด
่ อ

1 : งาน D
2 : งาน E
3 : งาน F
4 : ไม่สามารถเลือกได ้เนืองจากเกินรอบเวลาผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 312 :
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบทีมีแผนภาพดังรูป โดยกําหนดรอบเวลาผลิตเท่ากับ 5 นาที ถ ้างานทีต ้องเลือกเข ้าสถานีงานคือ D , E และ F ซึงขณะนันมีงาน B
อยูก ่ นแล ้ว ถ ้าใช ้ เกณฑ์ เวลามากทีสุดก่อน งานถัดไปทีจะได ้รับการเลือกเข ้าสถานีงานคืองานใด
่ อ

1 : งาน D
2 : งาน E
3 : งาน F
4 : ไม่สามารถเลือกได ้เนืองจากเกินรอบเวลาผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 313 :
ในการจัดจัดสมดุลสายงานประกอบ รถบรรทุก Model Z ซึงประกอบบนสายพานลําเลียง โดยมีความต ้องการ 500 คันต่อวัน เวลาผลิตต่อวัน (Productive
Time/Day) = 420 นาที สําหรับขันตอน เวลา และ ความสัมพันธ์ในแต่ละขันตอน ได ้แสดงในตาราง จงคํานวณรอบเวลาการผลิตสําหรับการผลิตรถ Model Z
งาน เวลางาน (วินาที ) งานที อยู่ก่อนหน้ า
A 45 -
B 11 A
C 9 B
D 50 -
E 15 D
F 12 C
G 12 C
H 12 E
I 12 E
J 8 F, G, H, I
K 9 J
รวม 195

1 : 80 วินาที/หน่วย
2 : 50.4 วินาที/หน่วย
3 : 60 วินาที/หน่วย
4 : 0.84 วินาที/หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 314 :
ในการจัดจัดสมดุลสายงานประกอบ รถบรรทุก Model Z ซึงประกอบบนสายพานลําเลียง โดยมีความต ้องการ 500 คันต่อวัน เวลาผลิตต่อวัน (Productive
Time/Day) = 420 นาที สําหรับขันตอน เวลา และ ความสัมพันธ์ในแต่ละขันตอน ได ้แสดงในตาราง จงคํานวณหาจํานวนสถานีงานทีน ้อยทีสุดตามทฤษฎีสําหรับ
การผลิตรถ Model Z
งาน เวลางาน (วินาที ) งานที อยู่ก่อนหน้ า
A 45 -
B 11 A
C 9 B
D 50 -
E 15 D
F 12 C
G 12 C
H 12 E
I 12 E
J 8 F, G, H, I
K 9 J
รวม 195

1 : 7.3 สถานีงาน
2 : 6.87 สถานีงาน
3 : 5.87 สถานีงาน
4 : 3.87 สถานีงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 315 :
คุณเพิงได ้รับมอบหมายให ้จัดสมดุลสายการผลิตของงานประกอบพัดลมไฟฟ้ า ในบริษัทแห่งหนึง โดยมีรายละเอียดงานและแผนภาพความสัมพันธ์ของงานดัง
ตารางนี งานย่อยใดทีเป็ นงานกําหนดอัตราการผลิตสูงสุด ?
1 : B ,G, F
2:C
3:E
4:H
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 316 :
คุณเพิงได ้รับมอบหมายให ้จัดสมดุลสายการผลิตของงานประกอบพัดลมไฟฟ้ า ในบริษัทแห่งหนึง โดยมีรายละเอียดงานและแผนภาพความสัมพันธ์ของงานดัง
ตารางนี ถ ้ากําหนดให ้ 1 วันมีเวลาทํางาน 420 นาที จงคํานวณอัตราการผลิตสูงสุดต่อวันทีเป็ นไปได ้

1 : 300
2 : 420
3 : 140
4 : 129
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 317 :
คุณเพิงได ้รับมอบหมายให ้จัดสมดุลสายการผลิตของงานประกอบพัดลมไฟฟ้ า ในบริษัทแห่งหนึง โดยมีรายละเอียดงานและแผนภาพความสัมพันธ์ของงานดัง
ตารางนี ถ ้าสมมุตวิ า่ เราต ้องการประกอบพัดลม 100 หน่วยต่อวัน สายการผลิตของเราจะต ้องมีรอบเวลาการผลิตเท่าไร

1 : 4.8 นาที/หน่วย
2 : 4.2 นาที/หน่วย
3 : 3.25 นาที/หน่วย
4 : 11.35 นาที/หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 318 :
สายการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดหนึงถูกออกแบบมาให ้ทําการผลิตผลิตภัณฑ์ 1หน่วยด ้วยเวลาทังหมด 21 นาที โรงงานแห่งนีมีเวลาทํางาน 400 นาทีตอ
่ วัน ถ ้ามีความ
ต ้องการผลิตภัณฑ์ 100 หน่วยต่อวัน สายการผลิตทีมี 5 สถานีงาน เพียงพอสําหรับการทํางานดังกล่าวหรือไม่

1 : เพียงพอ
2 : ไม่เพียงพอ ต ้องใช ้ 4 ถึงจะเพียงพอ
3 : ไม่เพียงพอต ้องใช ้ อย่างน ้อย 6 สถานี
4 : เพียงพอแต่ประสิทธิภาพจะตํามาก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 319 :
สายการผลิตถูกออกแบบมาให ้ทําการผลิตตุก ๊ ตาเด็ก 500 หน่วยต่อวัน แต่ละหน่วยของตุก
๊ ตาต ้องผ่าน 11 งานย่อย โดยมีเวลารวม 16 นาที โรงงานทําการผลิต
750 นาทีตอ
่ วัน รอบเวลาทีต ้องการสําหรับสายการประกอบนีคือ

1 : 5 นาที
2 : 1.5 นาที
3 : 2 นาที
4 : 5 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 320 :
จากแผนภาพโครงข่ายแสดงขันตอนและลําดับขันการประกอบผลิตภัณฑ์ ตามรูปข ้างล่าง มีเวลามาตรฐานการทํางานในแต่ละขันตอนรวมกัน 16 ขันตอน เท่ากับ
600 นาที หากโรงงานทํางานวันละ 8 ชัวโมง และชัวโมงละ 60 นาที โดยใช ้เกณฑ์ กําหนดนํ าหนักตําแหน่งงานมากสุดก่อน (Ranked Positional Weight) ในการ
จัดงานเข ้าสถานีงาน หากต ้องพิจารณาเลือกงาน 02 , 10 , 06 , 08 เข ้าสถานีงาน งานใดจะได ้รับการคัดเลือกเข ้าสถานีงานก่อน

1 : 02
2 : 06
3 : 08
4 : 10
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 321 :
จากตารางแสดงความสัมพันธ์กอ
่ นหลังของขันตอนการประกอบผลิตภัณฑ์ชนิดหนึงทีกําหนดให ้นี แผนภาพความสัมพันธ์กอ
่ นหลัง (Precedence Diagram) ใดถูก
ต ้อง
งาน งานที อยู่ก่อนหน้ าทันที เวลางาน (นาที )
A - 0.9
B A 0.4
C B 0.6
D C 0.2
E C 0.3
F D, E 0.4
G F 0.7
H G 1.1
Total 4.6

1:

2:

3:
4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 322 :
สายการประกอบทีประกอบด ้วย 4 สถานีงาน แต่ละสถานีงานใช ้เวลาทํางานมาตรฐาน(หน่วยเป็ นนาที) ดังนี 4,8,6 และ 6 ทางโรงงานได ้กําหนดรอบเวลาการผลิต
เท่ากับ 8 นาที ประสิทธิภาพโดยเฉลียของสายงานประกอบนีเท่ากับเท่าไร

1 : 50 %
2 : 75%
3 : 100%
4 : 150%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 190 : 10 การวางแผนและควบคุมงานโครงการ (Project Planning and Control)

ข ้อที 323 :
ในการจัดกําหนดการงานโครงการ(Project Scheduling) ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : AON (Activitys on Node) ใช ้ในการสร ้างโครงข่ายงานโครงการสําหรับ PERT ขณะที AOA (Activity on Arrow) ใช ้ในการสร ้างโครงข่ายงานโครงการ สําหรับ CPM
2 : สําหรับการกระจายแบบ Beta เมือถูกนํ ามาใช ้กับการบริหารโครงการจะให ้ นํ าหนัก เวลาทีเสร็จโดยส่วนใหญ่ (Most Likely Time) เวลาเร็วทีสุด(Optimistic Time) และ เวลาช ้าทีสุด
(Pessimistic Time) เท่ากัน
3 : ค่าเบียงเบนมาตรฐานของเวลาแล ้วเสร็จของโครงการคือค่าเฉลียของค่าเบียงเบนมาตรฐานของทุกๆกิจกรรมในโครงการ
4 : ทุกๆโครงข่ายของโครงการจะมีสายงานวิกฤติอย่างน ้อย 1 สายงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 324 :
ในการจัดกําหนดการงานโครงการ (Project Scheduling) ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : แผนภูมแิ กนต์แสดงช่วงเวลาการทํางานของแต่ละกิจกรรมในโครงการแต่ไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆในโครงการ
2 : เวลาทีสันทีสุดของสายงานในโครงข่ายของโครงการเรียกว่าสายงานวิกฤติ
3 : สายงานวิกฤติคอ ื สายงานทีเวลาของงานทีต่อกันเป็ นลูกโซ่ยาวทีสุดในโครงข่าย
่ ของงาน (Float) คือเวลาทีงานสามารถจะล่าช ้าได ้โดยไม่กระทบเวลาแล ้วเสร็จของโครงการ
4 : เวลายืดหยุน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 325 :
ข ้อใดเกียวกับงานใน CPM ต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : เวลาเสร็จเร็วทีสุดของงานใดคือเวลาเริมต ้นเร็วสุดของงานนันบวกด ้วยเวลาของงาน


2 : เวลาเสร็จช ้าสุดคือเวลาทีเร็วทีสุดของเวลาเริมงานช ้าสุดของทุกๆงานทีอยูต ่ ามหลังถัดไป (Successor Activities)
3 : เวลาเริมต ้นช ้าสุดของงานคือเวลาเสร็จช ้าสุดของงานลบด ้วยเวลางาน
4 : เวลาเสร็จช ้าสุดของงานคือเวลาทีเร็วทีสุดของเวลาเริมต ้นช ้าสุดของทีอยูก
่ อ่ นหน ้าทุกๆงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 326 :
ข ้อใดเกียวกับ PERT ต่อไปนีถูกต ้อง

1 : การประมาณเวลา Optimistic Time คือการประมาณเวลาทีงานจะใช ้เวลาสันทีสุด


2 : การประมาณเวลา Optimistic Time คือการประมาณเวลาทีงานจะใช ้เวลายาวทีสุด
3 : การประมาณเวลา Pessimistic Time คือการประมาณเวลาทีงานจะใช ้เวลาสันทีสุด
4 : การประมาณเวลา Most Likely Time คือการประมาณเวลาทีงานจะใช ้เวลายาวทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 327 :
ข ้อใดเกียวกับ CPM ต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : สายงานวิกฤตคือสายงานทีสันทีสุดในทุกๆสายงานในโครงข่าย
2 : สายงานวิกฤติคอ ื สายงานทีมีชด
ุ ของงานทีมีคา่ ความยืดหยุน
่ เป็ นบวก
3 : บางโครงข่ายของโครงการอาจไม่มส ี ายงานวิกฤต
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 328 :
ข ้อใดเกียวกับ CPM ต่อไปนีถูกต ้อง

1 : งานวิกฤตบางงานอาจมีเวลายืดหยุน

2 : ทุกๆโครงข่ายของโครงการจะมีสายงานวิกฤตเพียงสายเดียว
3 : ช่วงเวลาของสายงานวิกฤตคือเวลาเฉลียของทุกๆสายงานในโครงการ
4 : ในโครงข่ายของโครงการอาจมีสายงานวิกฤตได ้หลายสายงานแต่ชว่ งเวลาของแต่ละสายงานจะเท่าๆกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 329 :
ถ ้างานๆหนึงของโครงการมีเวลาปกติเท่ากับ 15 วัน แต่สามารถเร่งได ้เหลือ 10 วัน โดยเพิมค่าใช ้จ่ายอีก 50,000 บาท ค่าใช ้จ่ายในการเร่งงานต่อวันคือเท่าไร

1 : 10,000 บาท
2 : 50,000 บาท
3 : 100,000 บาท
4 : 250,000 บาท
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 330 :

จากโครงข่ายของโครงการทีกําหนดให ้ คําอธิบายข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : ภาพ A อธิบายได ้ ดังนี งาน T และ U ไม่สามารถจะเริมต ้นขึนได ้จนกว่างาน S จะแล ้วเสร็จ
2 : ภาพ B อธิบายได ้ ดังนี S และ T ต ้องแล ้วเสร็จก่อนทีงาน U จะสามารถเริมขึนได ้
3 : ภาพ C อธิบายได ้ ดังนี U และ V ไม่สามารถจะเริมต ้นขึนได ้จนกว่าทัง S และ T จะแล ้วเสร็จ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 331 :

โครงข่ายของภาพใดต่อไปนีเขียนแบบ Activity on Node (AON)

1 : ภาพ A
2 : ภาพ B
3 : ภาพ C
4 : ภาพ D
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 332 :

โครงข่ายของภาพใดต่อไปนีเขียนแบบ Activity on Arrow (AOA)

1 : ภาพ A
2 : ภาพ B
3 : ภาพ C
4 : ภาพ D
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 333 :
จากแผนภาพโครงข่ายทีกําหนดให ้ จงคํานวณหาเวลาเสร็จเร็วสุด (Earliest Finish-EF) ของงาน J
1:3
2:4
3:6
4:9
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 334 :

จากแผนภาพโครงข่ายทีกําหนดให ้ งาน C จะเริมต ้นได ้เร็วสุดเมือไร (Earliest Start-ES)

1:3
2:4
3:6
4:9
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 335 :
กิจกรรมในโครงการหนึงมีความสัมพันธ์ ดังนี "U ไม่สามารถจะเริมต ้นขึนได ้จนกว่า ทังงาน S และ T จะแล ้วเสร็จ V ไม่สามารถจะเริมขึนได ้จนกว่างาน T จะแล ้ว
เสร็จ" ความสัมพันธ์ของกิจกรรมข ้างต ้นสร ้างเป็ น แผนภาพโครงข่ายได ้ดังรูปใด

1:

2:

3:
4 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 336 :
จากความสัมพันธ์ของงานโครงการดังต่อไปนี “งาน P และ Q เป็ นงานทีเริมต ้นพร ้อมกัน งาน R จะเริมต ้นได ้ต ้องให ้งาน Pและ Q แล ้วเสร็จ” ความสัมพันธ์ของ
กิจกรรมข ้างต ้นโคร่งข่ายข ้อใดเขียนไม่ถก
ู ต ้อง

1:

2:
3:
4 : ข ้อ 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 337 :
จากแผนภาพโครงข่ายงานโครงการต่อไปนี โครงการจะแล ้วเสร็จในเวลากีวัน ESi = เวลาเกิดเร็วสุดของเหตุการณ์ i ใดๆ LFi = เวลาเกิดช ้าสุดของเหตุการณ์ i

ใดๆ

1 : 25 วัน
2 : 40 วัน
3 : 20 วัน
4 : 30 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 338 :
จากแผนภาพโครงข่ายงานโครงการต่อไปนี งาน F เริมต ้นได ้เร็วสุดเมือใด ESi = เวลาเกิดเร็วสุดของเหตุการณ์ i ใดๆ LFi = เวลาเกิดช ้าสุดของเหตุการณ์ i ใดๆ

1 : 9 วัน
2 : 17 วัน
3 : 20 วัน
4 : 25 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 339 :
ข ้อใดเกียวกับงานใน CPM ต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : เวลาเสร็จเร็วทีสุดของงานใดคือเวลาเริมต ้นเร็วสุดของงานนันบวกด ้วยเวลาของงาน


2 : เวลาเสร็จช ้าสุดคือเวลาทีเร็วทีสุดของเวลาเริมงานช ้าสุดของทุกๆงานทีอยูต ่ ามหลังถัดไป (Successor Activities)
3 : เวลาเริมต ้นช ้าสุดของงานคือเวลาเสร็จช ้าสุดของงานลบด ้วยเวลางาน
4 : เวลาเสร็จช ้าสุดของงานคือเวลาทีเร็วทีสุดของเวลาเริมต ้นช ้าสุดของทีอยูก
่ อ่ นหน ้าทุกๆงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 340 :
จากแผนภาพโครงข่ายงานโครงการข ้างต ้น งาน E จะเริมต ้นได ้ช ้าสุด (Latest Start) เมือไร

1 : 14 วัน
2 : 2 วัน
3 : 5 วัน
4 : 17 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 341 :
มีงาน 2 งาน เป็ นตัวเลือกในการพิจารณาเร่งงาน ของโครงข่าย CPM รายละเอียดของงานได ้แสดงในตาราง ในการลดเวลาโครงการลง 1 วันควรจะเลือกเร่งงาน
ใดและค่าใช ้จ่ายของโครงการจะเพิมขึนเท่าไร
งาน เวลาปกติ ค่าใช้จา่ ย เวลาเร่งงาน ค่าใช้จา่ ยเร่ง
ปกติ(บาท) งาน(บาท)
1 8 วัน 60,000 6 วัน 68,000
2 10 วัน 40,000 9 วัน 50,000

1 : เร่งงาน 1 ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 4,000 บาทจากปกติ


2 : เร่งงาน 1 ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 68,000 บาทจากปกติ
3 : เร่งงาน 2 ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 10,000 บาทจากปกติ
4 : เร่งงาน 2 ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 5,000 บาทจากปกติ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 342 :
มีงาน 2 งาน เป็ นตัวเลือกในการพิจารณาเร่งงาน ของโครงข่าย CPM รายละเอียดของงานได ้แสดงในตาราง ในการลดเวลาโครงการลง 1 วันควรจะเลือกเร่งงาน
ใดและค่าใช ้จ่ายของโครงการจะเพิมขึนเท่าไร
งาน เวลาปกติ ค่าใช้จา่ ย เวลาเร่งงาน ค่าใช้จา่ ยเร่ง
ปกติ(บาท) งาน(บาท)
B 4 วัน 60,000 3 วัน 68,000
C 6 วัน 40,000 4 วัน 60,000

1 : เร่งงาน B ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 20,000 บาทจากปกติ


2 : เร่งงาน B ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 80,000 บาทจากปกติ
3 : เร่งงาน C ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 10,000 บาทจากปกติ
4 : เร่งงาน C ค่าใช ้จ่ายเพิมขึน 60,000 บาทจากปกติ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 343 :
จากแผนภาพโครงข่ายงานโครงการต่อไปนี งาน D มีเวลายืดหยุน
่ รวมเท่าไร

1 : 8 วัน
2 : 3 วัน
3 : 11 วัน
4 : 0 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 344 :
จากการวิเคราะห์ปัญหา PERT ได ้แสดงให ้เห็นว่า การประมาณเวลาของสายงานวิกฤตเท่ากับ 108 วัน โดยมีคา่ ความแปรปรวน (Variance) 64 วัน ประมาณเวลาที
สายงานวิกฤตมีโอกาสจะเสร็จได ้ 90 % คือ ก่อน กีวัน (ทีระดับความเชือมัน 90% ค่า Z เท่ากับ 1.28)

1 : 98 วัน
2 : 108 วัน
3 : 115 วัน
4 : 118 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 345 :
ในการวิเคราะห์โครงข่ายของ PERT ซึงประกอบด ้วยงาน 30 งาน งาน L เป็ นงานหนึง ใน จํานวน 30 งาน ซึงมีข ้อมูลเวลางานดังนี เวลาทีเสร็จเร็วทีสุด = 2 วัน
เวลาทีเสร็จช ้าทีสุด = 10 วัน เวลาทีเสร็จโดยส่วนใหญ่ = 3 วัน จงประมาณเวลาเฉลียของงาน L

1 : 5 วัน
2 : 7 วัน
3 : 6 วัน
4 : 4 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 346 :
ในการวิเคราะห์โครงข่ายของ PERT ซึงประกอบด ้วยงาน 30 งาน งาน L เป็ นงานหนึง ใน จํานวน 30 งาน ซึงมีข ้อมูลเวลางานดังนี เวลาทีเสร็จเร็วทีสุด = 8 วัน
เวลาทีเสร็จช ้าทีสุด = 20 วัน เวลาทีเสร็จโดยส่วนใหญ่ = 17 วัน จงประมาณเวลาเฉลียของงาน L

1 : 15 วัน
2 : 16 วัน
3 : 17 วัน
4 : 20 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 347 :
ในการวิเคราะห์โครงข่ายของ PERT ซึงประกอบด ้วยงาน 20 งาน งาน M เป็ นงานหนึง ใน จํานวน 20 งาน ซึงมีข ้อมูลเวลางานดังนี เวลาทีเสร็จเร็วทีสุด = 2 วัน
เวลาทีเสร็จช ้าทีสุด = 10 วัน เวลาทีเสร็จโดยส่วนใหญ่ = 3 วัน จงประมาณค่าความแปรปรวนของเวลาทํางาน M

1 : 1.25 วัน
2 : 2.4 วัน
3 : 1 วัน
4 : 1.8 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 348 :
ในการวิเคราะห์โครงข่ายของ PERT ซึงประกอบด ้วยงาน 30 งาน งาน M เป็ นงานหนึง ใน จํานวน 30 งาน ซึงมีข ้อมูลเวลางานดังนี เวลาทีเสร็จเร็วทีสุด = 8 วัน
เวลาทีเสร็จช ้าทีสุด = 20 วัน เวลาทีเสร็จโดยส่วนใหญ่ = 17 วัน จงประมาณค่าความแปรปรวน ของเวลาทํางาน M

1 : 1 วัน
2 : 2 วัน
3 : 3 วัน
4 : 4 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 349 :
โครงข่ายข ้อใด มีความสัมพันธ์ของงานในโครงข่ายสอดคล ้องกับความสัมพันธ์ของงานในโครงการดังต่อไปนี
“ T US V ไม่สามารถจะเริมต ้นขึนได ้ จนกว่า งาน TและUแล ้วเสร็จ “
1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 350 :
จากโครงข่ายทีกําหนดให ้ สายงานใด คือสายงายวิกฤติ

1 : A-B-C-F
2 : A-D-E-Dummy- F
3 : A-D-E-G
4 : A-D-E-H- Dummy
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 351 :
จากโครงข่ายของโครงการทีกําหนดให ้ งาน K จะเริมต ้นได ้เร็วสุดเมือใด
1 : วันที 37
2 : วันที 22
3 : วันที 51
4 : วันที 63
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 191 : 11 การควบคุมการผลิต

ข ้อที 352 :
คํากล่าวใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การวางแผนการผลิตคือการแจกจ่ายกําลังการผลิตกับทุกระดับ
2 : การจัดตารางการผลิตหลักคือการแจกจ่ายกําลังการผลิตในระดับผลิตภัณฑ์สดุ ท ้าย
3 : การวางแผนความต ้องการวัสดุคอ
ื การแจกจ่ายกําลังการผลิตในระดับส่วนประกอบ
4 : การวางแผนความต ้องการกําลังการผลิตคือการกําหนดกําลังการผลิตในแต่ละช่วงเวลาให ้เท่าๆ กัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 353 :
เครืองมือชนิดใดต่อไปนีไม่ได ้ใช ้ในการควบคุมและติดตามความก ้าวหน ้าของตารางหรือ แผนการผลิต

1 : Gantt Chart
2 : Input-Output Control
3 : Mean Squared Error – MSE
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 354 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ได ้อยูใ่ นขันตอนของการควบคุมและติดตามความก ้าวหน ้าของการผลิต

1 : การบันทึกและรวบรวมข ้อมูลหน ้างาน


2 : การวิเคราะห์ความก ้าวหน ้าของงาน
3 : การเปลียนแปลงและปรับปรุงตารางการผลิตตามความจําเป็ น
4 : การวางกลยุทธ์การผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 355 :
ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้องเกียวกับการควบคุมการผลิต

1 : การควบคุมการผลิตเกิดขึนภายหลังจากทีได ้วางแผนการผลิตเรียบร ้อยแล ้ว


2 : การควบคุมการผลิตเกิดขึนในช่วงระหว่างทีการผลิตกําลังดําเนินงานอยู่
3 : การควบคุมการผลิตเป็ นการติดตามและรายงานความก ้าวหน ้าของงานต่อผู ้บริหารหรือผู ้ควบคุมทีเกียวข ้อง
4 : การควบคุมการผลิตเกิดขึนภายหลังจากทีการดําเนินงานผลิตเสร็จสินลงเรียบร ้อยแล ้ว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 356 :
ข ้อใดต่อไปนีคือปั ญหาและอุปสรรคทีทําให ้การผลิตไม่เป็ นไปตามแผนทีวางไว ้

1 : วัตถุดบิ มาส่งล่าช ้า
2 : มีของเสียในกระบวนการผลิต
3 : เกิดการเสียหายของเครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 357 :
ข ้อใดต่อไปนีอาจเป็ นสาเหตุททํ
ี าให ้ต ้องมีการขอเปลียนแปลงตารางการผลิต

1 : ลูกค ้าขอเปลียนแปลงกําหนดส่งมอบงาน
2 : กําลังการผลิตมีไม่เพียงพอ
3 : มีใบสังของลูกค ้ารายใหม่เข ้ามาเพิมเติม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 358 :
จากรายงานปริมาณงานเข ้าและออก (Input-Output Reports) ของหน่วยผลิต # 500ในสัปดาห์ท ี 1 มีงานระหว่างผลิตต ้นสัปดาห์เท่ากับ 100 หน่วย หากหน่วยผลิต
ดังกล่าวได ้วางแผนให ้ทําการผลิตสัปดาห์ละ 300 หน่วย และ ทางโรงงานต ้องการให ้มีงานระหว่างผลิตเพิมขึนเป็ น 250 หน่วย ณ ปลายสัปดาห์ท ี 1 โรงงานจะต ้อง
วางแผนให ้มีปริมาณงานป้ อนเข ้า ในสัปดาห์ท ี 1 เท่าไร

1 : 200 หน่วย
2 : 350 หน่วย
3 : 400 หน่วย
4 : 450 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 359 :
ภาพ Gantt Chart ต่อไปนี แสดงให ้เห็นสถานะภาพของงาน B ณ วันที 2 เมษายน เป็ นอย่างไร

1 : เป็ นไปตามแผน
2 : ล่าช ้ากว่าแผน
3 : ยังหาข ้อสรุปไม่ได ้
4 : งานรอซ่อมบํารุง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 360 :
ภาพ Gantt Chart ต่อไปนี แสดงให ้เห็นสถานะภาพของงาน A ณ วันที 2 เมษายน เป็ นอย่างไร

1 : ดําเนินการเสร็จไปแล ้วตามแผน
2 : ยังไม่ได ้เริมดําเนินงาน
3 : มีความล่าช ้าเกิดขึน
4 : ยังหาข ้อสรุปไม่ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 361 :
จากรายงานปริมาณงานเข ้าและออก (Input-Output Reports) ของหน่วยผลิต # 500ในสัปดาห์ท ี 1 มีงานระหว่างผลิตต ้นสัปดาห์เท่ากับ 100 ชัวโมง และได ้
วางแผนให ้มีปริมาณงานป้ อนเข ้า 200 ชัวโมง และแผนปริมาณงานออก 200 ชัวโมง แต่จากการดําเนินงานจริง ปรากฏว่ามีงานเข ้า 100 แต่มปี ริมาณงานออก 130
ชัวโมง จากข ้อมูลทีรายงานข ้างต ้น จงพิจารณาว่าข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : เกิดปั ญหากับหน่วยผลิต # 500


2 : อาจเกิดปั ญหากับหน่วยผลิตก่อนหน ้า
3 : หน่วยผลิตถัดไปส่งของไม่ทน ั กําหนด
4 : ต ้องเร่งงานหน่วยผลิต# 500เป็ น 2 เท่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 362 :
จากรายงานปริมาณงานเข ้าและออก (Input-Output Reports) ของหน่วยผลิต # 500ในสัปดาห์ท ี 1 มีงานระหว่างผลิตต ้นสัปดาห์เท่ากับ 100 ชัวโมง และได ้
วางแผนให ้มีปริมาณงานป้ อนเข ้า 200 ชัวโมง และแผนปริมาณงานออก 200 ชัวโมง แต่จากการดําเนินงานจริง ปรากฏว่ามีงานเข ้า 100 แต่มปี ริมาณงานออก 130
ชัวโมง จากข ้อมูลทีรายงานข ้างต ้น งานระหว่างผลิตจริง (Work-in-Process)ปลายสัปดาห์ท ี 1 จะเป็ นเท่าไร

1 : 100 หน่วย
2 : 170 หน่วย
3 : 70 หน่วย
4 : 130 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 363 :
บทบาทหน้าทีของแกนต์ชาร์ต (Gantt Chart) คือ

1: วางแผนงาน และติดตามความก้าวหน้าของงาน
2: ควบคุมการผลิต
3: เพือให้ทราบสถานะของงาน
4: เพือใช้สงการหน้
ั างาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 364 :
ในกระบวนการผลิตหนึง ประกอบด้วย 5 ขันตอน โดยมีรายละเอียดของอัตราการผลิตของแต่ละขันตอนแสดงไว้ งานทังหมดจะต้องผ่านทุกขันตอนไปตามลําดับ
ในการควบคุมกิจกรรมการผลิต ผูท้ ีทําหน้าทีควบคุม ควรให้ความสนใจเป็ นพิเศษในขันตอนใด

1: ขันตอนที 3
2: ขันตอนที 1
3: ขันตอนที 2
4: ขันตอนที 5
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 365 :
ในการควบคุมการผลิต หากมีแนวโน้มว่าจะมีปัญหาทีจะไม่สามารถผลิตได้ตามตารางการผลิต ผูค้ วบคุมการผลิตควรดําเนินการอย่างไร

1: ดําเนินการขยายกําลังการผลิต
2: ติดตังเครื องจักรเพิมเติม
3: รับสมัครพนักงานเพิม
4: จัดให้มีการทําล่วงเวลา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 366 :
ตารางข ้างล่างนีเป็ นเป็ นแบบรายงานปริมาณงานเข ้าและออกของแผนกกัด DNC ในช่วง 8 สัปดาห์ แผนปริมาณงานเข ้า = 280 ชัวโมงมาตรฐานต่อสัปดาห์
ปริมาณงานเข ้าจริง (แปรผันระหว่าง 250 และ 285) แผนปริมาณงานออกกําหนดไว ้เท่ากับ 320 ชัวโมงมาตรฐานต่อสัปดาห์ ขณะนีมีงานระหว่างผลิตค ้างอยู่ 300
ชัวโมง จงคํานวณงานระหว่างผลิตสะสมตามแผน ในสัปดาห์ท ี 3

1:
220 ชัวโมง

2 : 260 ชัวโมง
3 : 180 ชัวโมง
4 : 300 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 367 :
ั ดาห์ท ี 1 ถึง สัปดาห์ท ี 5 ขณะนีมีงาน
ตารางข ้างล่างนีเป็ นเป็ นแบบรายงานปริมาณงานเข ้าและออกรายสัปดาห์ของแผนกกัด DNC ในช่วง 5 สัปดาห์ ตังแต่สป
ระหว่างผลิตค ้างอยู่ 300 ชัวโมง จงคํานวณงานระหว่างผลิตสะสมตามแผน ในสัปดาห์ท ี 3
1 : 290 ชัวโมง
2 : 280 ชัวโมง
3 : 300 ชัวโมง
4 : 285 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 192 : 12 เทคนิคและกลยุทธ์อนๆ


ื ในการวางแผนการผลิต

ข ้อที 368 :
หลักการต่อไปนี หลักการใดเน ้นการแก ้ปั ญหาทีคอขวด (Bottleneck)

1 : Material Requirement Planning(MRP)


2 : Theory of Constraint(TOC)
3 : Just in Time(JIT)
4 : Supply Chain Management(SCM)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 369 :
ทฤษฎีใดทีได ้กล่าวไว ้ว่า “ ทําให ้การไหลสมดุล มิใช่ทําให ้กําลังการผลิตสมดุล” (Do not Balance Capacity – Balance Flow)

1 : Re-order Point (ROP)


2 : Material Requirements Planning (MRP)
3 : Just in Time (JIT)
4 : Theory of Constraint (TOC)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 370 :
ทฤษฎีใดทีได ้กล่าวไว ้ว่า “หนึงชัวโมงทีสูญเสียไปทีจุดคอขวด (Bottleneck) คือหนึงชัวโมงทีสูญเสียไปทังระบบ”

1 : Re-order Point (ROP)


2 : Material Requirements Planning (MRP)
3 : Just in Time (JIT)
4 : Theory of Constraint (TOC)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 371 :
ในทฤษฎีข ้อจํากัด Drum , Buffer , Rope ถูกใช ้เป็ นกลไกในการควบคุมการผลิตอยากทราบว่า Buffer หมายถึงอะไร

1 : จํานวนสินค ้าสําเร็จรูปทีเก็บสํารองไว ้ทีขันตอนสุดท ้าย


2 : จํานวนวัตถุดบิ ทีเก็บสํารองไว ้ทีขันตอนแรก
3 : งานระหว่างผลิตทีเก็บสํารองไว ้
4 : Time Buffer
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 372 :
ในทฤษฎีข ้อจํากัดDrum, Buffer, Rope ถูกใช ้เป็ นกลไกในการควบคุมการผลิตอยากทราบว่า Rope ในทีนีหมายถึงอะไร

1 : แผนการผลิต (Production Plan)


2 : การสือสาร (Communication)
3 : ความสูญเสียในกระบวนการผลิต
4 : Safety Stock
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 373 :
อัตราหมุนเวียนสินค ้าคงคลัง (Inventory Turnover Ratio) ได ้ถูกนํ ามาใช ้ในการวัดประสิทธิภาพของโซ่อป
ุ ทาน ซึงสามารถหาได ้จากอัตราส่วนดังต่อไปนี

1 : ต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้รายปี /มูลค่าสินค ้าคงคลังรวมโดยเฉลีย


2 : ต ้นทุนคงที/ต ้นทุนแปรผัน
3 : ต ้นทุนการขาย/ต ้นทุนการตลาด
4 : ต ้นทุนการผลิต/ต ้นทุนวัตถุดบ ิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 374 :
ถ ้าผลการดําเนินกลยุทธ์โซ่อป
ุ ทานของบริษัทแห่งหนึงปรากฏว่า มูลค่าสินค ้าคงคลังรวมโดยเฉลียเท่ากับ 60,000,000 บาท ขณะทีต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้ต่อปี
เท่ากับ 300,000,000 บาท และ 1 ปี มี 52 สัปดาห์ อัตราส่วนสัปดาห์ของอุปทาน (Week of Supply) ของบริษัทเท่ากับ เท่าไร

1 : 0.2
2:5
3 : 10.4
4 : 260
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 375 :
ิ หรือชินส่วน งานระหว่างผลิต และผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปจากแหล่งทีเหมาะสม ถูกต ้อง ในปริมาณทีถูกต ้อง พร ้อมด ้วย
ภารกิจทีสําคัญของข ้อใดคือ การนํ าวัตถุดบ
สารสนเทศทีถูกต ้อง ทันสมัย ไปยังสถานทีถูกต ้อง ในเวลาทีถูกต ้อง ภายใต ้สภาพเงือนไขและความเร็วทีเหมาะสมถูกต ้อง

1 : การควบคุมคลังสินค ้า
2 : การขนส่ง
3 : โลจิสติกส์
4 : การบริหารอุปสงค์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 376 :
สิงใดต่อไปนีไม่ใช่ประโยชน์ทจะได
ี ้รับจากการดําเนินการระบบการผลิตแบบทันเวลา (Just in Time, JIT)
1 : ลดต ้นทุน
2 : การเพิมความแปรปรวน
3 : ลดงานระหว่างผลิต
4 : ปรับปรุงคุณภาพ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 377 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่ความต ้องการของระบบการผลิตแบบทันเวลา (Just in Time, JIT)

1 : มีคณุ ภาพทีสมบูรณ์แบบ
2 : ใช ้เวลาเตรียมการผลิตน ้อย
3 : การเสียของเครืองจักรเข ้าใกล ้ศูนย์
4 : พนักงานมีความเชียวชาญเฉพาะทางสูง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 378 :
คําว่า “คัมบัง (Kanban)” หมายถึงอะไร

1 : สินค ้าคงคลังตํา
2 : การถ่ายโอนอํานาจเบ็ดเสร็จให ้พนักงาน
3 : บัตร
4 : การปรับปรุงอย่างต่อเนือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 379 :
ระบบการผลิตแบบทันเวลา (Just in Time, JIT) จะเกียวข ้องกับสิงต่อไปนี ยกเว ้น

1 : การลดเวลาเตรียมการผลิต
2 : การลดขนาดรุน ่ การสัง
3 : การเพิมการขนถ่ายวัสดุ
4 : การลดของเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 380 :
สิงใดต่อไปนีเป็ นคํากล่าวทีถูกต ้องเกียวกับระบบการผลิตแบบทันเวลา (Just in Time, JIT)

1 : ปริมาณทีบรรจุลงในภาชนะปกติจะมีขนาดใหญ่เพือลดเวลาเตรียมการผลิต
2 : มีความเกียวข ้องกับระบบผลัก (Push System)
3 : สถานีงานของผู ้ส่งมอบจะส่งสัญญาณไปยังสถานีงานของลูกค ้าทันที เมือขนาดรุน่ ทีทําการผลิต เสร็จเรียบร ้อย
4 : สถานีงานของลูกค ้าจะส่งสัญญาณไปยังสถานีงานของผู ้ส่งมอบ เมือมีความต ้องการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 381 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่เป็ นประโยชน์จากรุน
่ การผลิตขนาดเล็ก

1 : วัสดุคงคลังของงานระหว่างผลิตจะมีน ้อย
2 : เวลาเตรียมการผลิตน ้อยลง
3 : สถานีงานสามารถว่างใกล ้เข ้าหากันมากยิงขึน
4 : รอบเวลาในการผลิตจะสันลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 382 :
ข ้อใดคือ ขันตอนการปฏิบต
ั งิ านทีจํากัดผลลัพธ์ในสายการผลิต

1 : คอคอด (Bottleneck)
2 : ขันตอนทีใช ้เวลาผลิตน ้อยทีสุด
3 : แถวคอย
4 : การเตรียมการผลิต
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 383 :
ภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด ข ้อใดต่อไปนีเป็ นการวัดผลการดําเนินงานด ้านการเงิน (Financial Measurements) ทีสามารถนํ ามาใช ้ในการวัดความสามารถของบริษัทใน
การทําเงิน

1 : กําไรสุทธิ (Net Profit)


2 : อัตราการไหลผ่านระบบ (Throughput)
3 : ของคงคลัง (Inventory)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 384 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่เกียวข ้องกับโซ่อป
ุ ทาน

1 : คลังสินค ้า
2 : ผู ้ส่งมอบ
3 : ศูนย์กระจายสินค ้า
4 : หน่วยงานซ่อมบํารุง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 385 :
จากแผนภาพ สายการผลิต ทีกําหนดให ้ต่อไปนี จงหารอบเวลาการผลิตต่อหน่วย

1 : 10 วินาที/หน่วย
2 : 11 วินาที/หน่วย
3 : 12 วินาที/หน่วย
4 : 33 วินาที/หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 386 :
ประมาณการต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้ในช่วง 3 เดือนถัดไปคือ 100 ล ้านบาท และต ้นทุนสินค ้าคงคลังปั จจุบน
ั คือ 90 ล ้านบาทต่อปี จงหาอัตราการหมุนเวียนสินค ้า
คงคลังต่อปี

1 : 1 รอบต่อปี
2 : 4.4 รอบต่อปี
3 : 13.3 รอบต่อปี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 387 :
ประมาณการต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้ในช่วง 3 เดือนถัดไปคือ 100 ล ้านบาท และต ้นทุนสินค ้าคงคลังปั จจุบน
ั คือ 90 ล ้านบาท จงหาระดับการถือครองของคงคลังโดย
เฉลียในรูปของจํานวนสัปดาห์ทสามารถตอบสนองความต
ี ้องการ (Week of Supply)

1 : 52 สัปดาห์
2 : 25 สัปดาห์
3 : 11.7 สัปดาห์
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 388 :
ผลิตภัณฑ์ A ผ่าน 3 หน่วยผลิต คือ หน่วยผลิต X หน่วยผลิต Y และ หน่วยผลิต Z โดยผ่านหน่วยผลิต X ใช ้เวลาผลิต 30 นาที ต่อหน่วย ผ่านหน่วยผลิต Y ใช ้
เวลาผลิต 1 ชัวโมงต่อหน่วย และผ่านหน่วยผลิต Z ใช ้เวลาผลิต 45 นาที ต่อหน่วย แต่ละหน่วยผลิตมีกําลังการผลิต 200 ชัวโมงต่อสัปดาห์ หากในแต่ละสัปดาห์ม ี
การสังผลิตภัณฑ์ A เข ้ามา 200 หน่วย จงหาว่าหน่วยผลิตใดเกิดสภาพคอคอด

1:X
2:Y
3:Z
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 389 :
ผลิตภัณฑ์ A ผ่าน 3 หน่วยผลิต คือ หน่วยผลิต X หน่วยผลิต Y และ หน่วยผลิต Z โดยผ่านหน่วยผลิต X ใช ้เวลาผลิต 1 ชัวโมง ต่อหน่วย ผ่านหน่วยผลิต Y ใช ้
เวลาผลิต 30 นาทีตอ่ หน่วย และผ่านหน่วยผลิต Z ใช ้เวลาผลิต 45 นาที ต่อหน่วย แต่ละหน่วยผลิตมีกําลังการผลิต 200 ชัวโมงต่อสัปดาห์ หากในแต่ละสัปดาห์ม ี
การสังผลิตภัณฑ์ A เข ้ามา 200 หน่วย จงหา Utilization ของหน่วยผลิต Z

1 : 25 %
2 : 50 %
3 : 75 %
4 : 100 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 390 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก
ู ต ้องภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด

1 : ภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด ความพยายามในการจัดกําลังการผลิตในแต่ละสถานีงานในสายการผลิตให ้มีความสมดุลเพือตอบสนองความต ้องการเป็ นเรืองทีไม่ถก ู ต ้อง


2 : ภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด คอคอด หมายถึง หน่วยผลิตใดๆทีมีกําลังการผลิตน ้อยกว่าความต ้องการ
3 : จากมุมมองด ้านการปฏิบต ั ก ื การเพิม Throughput ในขณะเดียวกันก็ทําการลด สินค ้าคงคลังและค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงาน
ิ าร เป้ าหมายหนึงของบริษัทภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด ก็คอ
4 : ภายใต ้ทฤษฎีข ้อจํากัด คําว่า Productivity หมายถึงมาตรการทุกๆมาตรการทีนํ าบริษัทเข ้าใกล ้ประสิทธิภาพการผลิต 100%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 391 :
สมมติวา่ เราต ้องการจัดระบบการควบคุมด ้วยบัตรคัมบังและต ้องการจะหาว่าจะต ้องใช ้จํานวนบัตรคัมบังกีใบ ถ ้าความต ้องการโดยเฉลียในช่วงเวลานํ าคือ 24
ชัวโมง และสต๊อกเผือความปลอดภัย = 10% ของความต ้องการในช่วงเวลานํ า ขนาดของคอนเทนเนอร์ = 5 และช่วงเวลานํ าในการสังมาทดแทน คือ 5 ชัวโมง จง
คํานวณหาบัตรคัมบัง
สูตร K = (D)(L)(1+S)/C
D = ความต ้องการโดยเฉลียต่อหน่วยเวลา
L = ช่วงเวลานํ าในการออกใบสัง
S = ค่าสต๊อกเผือความปลอดภัย
C = ขนาดของคอนเทนเนอร์
K = จํานวนบัตรคัมบัง

1 : ประมาณ 5 ใบ
2 : ประมาณ 20 ใบ
3 : ประมาณ 27 ใบ
4 : ประมาณ 32 ใบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 392 :
ในการพัฒนาระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time, JIT) ในบริษัท สิงใดทีไม่ใช่แนวทางทีบริษัทจะต ้องดําเนินการ
1 : ความมีเสถียรภาพและความสมําเสมอของตารางการผลิต
2 : ทําให ้โรงงานมีขนาดเล็กลงและมีความคล่องตัวยิงขึน
3 : ขนาดรุน ่ การผลิตเล็กลงและใช ้เวลาในการเปลียนรุน
่ การผลิตน ้อยลง
4 : พยายามต่อรองให ้ช่วงเวลานํ ายาวนานขึนเพือให ้การส่งมอบทันกําหนดมากยิงขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 393 :
ของคงคลังโดยเฉลียของบริษัทผลิตหมอแปลงไฟฟ้ าแห่งหนึงประกอบด ้วย วัตถุดบ ิ งานระหว่างผลิต และ สินค ้าสําเร็จรูป ซึงในปี ลา่ สุดมีมล
ู ค่าเท่ากับ 17.2 ล ้าน
บาท ถ ้าต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้โดยเฉลียต่อสัปดาห์เท่ากับ 1.32 บาท (สมมติวา่ บริษัทใช ้ 50 สัปดาห์ตอ
่ ปี ) จงประมาณอัตราหมุนเวียนสินค ้าคงคลังของบริษัทแห่ง
นี

1 : น ้อยกว่า หรือเท่ากับ 3.50


2 : มากกว่า 3.50 แต่น ้อยกว่า 3.75
3 : มากกว่า 3.75 แต่น ้อยกว่า 4.00
4 : มากกว่า 4.00
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 394 :
บริษัทผู ้ผลิตเครืองรับโทรทัศน์แห่งหนึง กําลังประเมินถึงผลการดําเนินงานด ้านการจัดการโซ่อปุ ทาน ท่านได ้รับมอบหมายให ้ทําการหาอัตราหมุนเวียนสินค ้า
คงคลังของบริษัท โดยสมมติวา่ ข ้อมูลสินค ้าคงคลังทีรวบรวมได ้จากรายงานการเงินปี ลา่ สุดทีผ่านมาเป็ นดังนี
วัตถุดบิ 2,500,000 บาท
งานระหว่างผลิต 1,000,000 บาท
สินค ้าสําเร็จรูป 800,000 บาท
และสําหรับต ้นทุนสินค ้าทีขายได ้ปี ทแล
ี ้วเท่ากับ 15 ล ้านบาท

1 : น ้อยกว่าหรือเท่ากับ 2
2 : มากกว่า 2 แต่น ้อยกว่า 3
3 : มากกว่า 3 แต่น ้อยกว่า 4
4 : มากกว่า 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 395 :
สายการผลิตผลิตภัณฑ์ X จะต ้องผ่านกระบวนการผลิต 5 ขันตอน (เครืองจักร) คือ A-B-C-D-E ตามลําดับ อัตราการผลิต ผลิตภัณฑ์ X บนเครืองจักรของแต่ละขัน
ตอนมีรายละเอียดดังนี

ผลิตภัณฑ์ X ทีผลิตได ้ต่อชัวโมงของสายการผลิตนีคือเท่าไร

1 : 100 หน่วย
2 : 74 หน่วย
3 : 50 หน่วย
4 : 370 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 396 :
การไหลทีสําคัญ ภายในโซ่อป
ุ ทานคือข ้อใด

1 : การไหลของลูกค ้าโซ่อปุ ทาน


2 : การไหลของ วัสดุ เงินทุน และสารสนเทศ
3 : การไหลของคนงานเพือช่วยเหลือกันในโซ่อป
ุ ทาน
4 : การไหลของแนวความคิดในโซ่อป ุ ทาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 397 :
ข ้อใดไม่ใช่หลักการของทฤษฎีข ้อจํากัด (Theory of Constraints)

1 : หนึงชัวโมงทีสูญเสียไปทีจุดคอขวดคือหนึงชัวโมงทีสูญเสียไปทังระบบ
2 : ทําให ้การไหลสมดุล มิใช่กําลังการผลิตสมดุล
3 : อัตถประโยชน์ (Utilization) ทีได ้เพิมขึน ณ จุดทีไม่ได ้เป็ นคอขวดคือภาพลวงตา
4 : เน ้นกําไรต่อหน่วยสูงสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 398 :
ข ้อใดคือ ความสูญเสียด ้านการผลิตทีระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing) มุง่ ขจัดขอปรับ wording เป็ นระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing
System) มุง่ ขจัดความสูญเสียในการผลิตใดบ ้าง

1 : การผลิตมากเกินไป
2 : การรอคอย
3 : การเคลือนย ้ายหรือการขนส่งวัสดุระยะทางยาวเกินไป
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 399 :
ข ้อใด คือ แนวทางในการลดวัสดุคงคลัง ในระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time Manufacturing System)

1 : ผลิตใบสังงานทีใช ้เวลาในการผลิตมากทีสุดก่อน
2 : ผลิตด ้วยรุน ่ การผลิตขนาดใหญ่ (Big Lot) เพือเพิมประสิทธิภาพการผลิต
่ ารสังซือหรือสังผลิตด ้วยรุน
3 : มุง่ สูก ่ การผลิตขนาดเล็ก (Small Lot Size Ordering)
4 : ให ้มีการจัดเก็บเฉพาะสินค ้าสําเร็จรูปเป็ นสต๊อก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 400 :
ข ้อใด ไม่ใช่ คุณลักษณะของการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time Manufacturing System)

1 : การไหลของวัสดุเป็ นแบบ ดึง


2 : สร ้างความสัมพันธ์กบ ั ผู ้ส่งมอบเป็ นอย่างดี
3 : สังซือวัสดุจํานวนน ้อยในแต่ละครัง
4 : ไม่ใช ้การผลิตแบบอัตโนมัต ิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

You might also like