You are on page 1of 10

โครงการให้คาปรึกษาแนะนาเชิงลึกแก่SMEs

ด้วยระบบ LEAN

เรื่อง
การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรและลดความสูญเปล่าในระบบการผลิต
ด้วยเทคนิค Lean TPM (Lean Manufacturing TPM)

โดย
ส่วนพัฒนาระบบสนับสนุนอุตสาหกรรม
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

1
ขอบเขตของงาน (Term of Reference) การให้คาปรึกษาแนะนา
โครงการให้คาปรึกษาแนะนาเชิงลึกแก่SMEsด้วยระบบ LEAN
เรื่อง
การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรและลดความสูญเปล่าในระบบการผลิตด้วยเทคนิค
Lean TPM (Lean Manufacturing TPM)
________________________________________________________________________________

1.หลักการและเหตุผล
จากที่ได้ทราบกันดีอยู่แล้วว่าการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยกับนานาประเทศนับจากนี้ คงทวีความ
เข้มข้นและรุนแรงมากขึ้นสาเหตุสาคัญมาจากภาวะวิกฤตหนี้ยุโรป การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาการ
เติบโตทางเศรษฐกิจจีน กลุ่มประเทศภูมิภาคอเมริกาใต้รวมถึงการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.
2558 น้ามันมีแนวโน้มราคาสูงขึ้น หรือสภาวะความเปลี่ยนแปลงต่างๆในประเทศเอง ทั้งต้นทุนค่าแรงที่ปรับตัว
เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด และสภาวะวัตถุดิบที่มีแนวโน้มสูงด้วย ส่งผลให้เศรษฐกิจ ค่าครองชีพ ของประเทศ
ไทยฝืดเคืองมากขึ้นไปอีก ทั้งนี้อุตสาหกรรมใดขาดความยืดหยุ่นในการปรับตัวคงอยู่ได้ลาบากยิ่งในสภาพสภาวะ
ทั้งปัจจุบันและในอนาคต ระบบลีน (Lean) หมายถึง ระบบการผลิตที่มุ่งเน้นในเรื่องการไหล (Flow) ของงาน
เป็นหลักโดยทาการกาจัดความสูญเปล่า (Waste) ต่าง ๆ ของงาน และ เพิ่มคุณค่า (Value) ให้กับตัวสินค้า
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด (Customer Satisfaction) ซึ่งก็จะใช้กับการแก้ปัญหาเพื่อ
การลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต ลดความสูญเปล่าและปรับปรุงการไหลให้เกิดความต่อเนื่อง
Lean-TPM คือ การบูรณาการของกิจกรรม Lean Manufacturing และ TPM เข้าด้วยกัน โดยการ
ทาTPM (Total Productive Maintenance) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของเครื่องจักรผ่านกิจกรรม
บารุงรักษาด้วยตนเอง (AM: Autonomous Maintenance) และการปรับปรุงเฉพาะเรื่องเพื่อลดความสูญเสีย
(FI: Focus Improvement) ซึ่งจะช่วยให้การดาเนินกิจกรรม Lean มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการทา
กิจกรรม Lean Manufacturing จะมุ่งเน้นที่การลดความสูญเปล่าในกระบวนการทางธุรกิจ โดยทาให้เกิดการ
ไหลของงานและข้อมูลอย่างต่อเนื่องเพื่อทาให้ Lead time ในการผลิตสั้นลง แต่กระบวนการเหล่านี้จะเกิดขึ้น
ไม่ได้ ถ้าเครื่องจักรภายในโรงงานยังคงมีการชารุดขัดข้องอยู่เป็นประจา ผลิตของเสียมากกว่าของดี หรือผลิต
ด้วยสมรรถนะที่ไม่ได้ตามเวลามาตรฐาน เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดจากสภาพความบกพร่องของเครื่ องจักร
ที่ไ ม่ไ ด้ร ับ การดูแ ลรัก ษาที่เ หมาะสมและครบถ้ว น จึง เป็น ผลให้ เครื่องจักรขัดข้องหรือชารุดเสียหาย
(Equipment failure) มีระดับความเชื่อถือได้ต่า (Low Reliability) และในที่สุดก็เป็นผลให้เครื่องจักรที่มีราคา
แพง ไม่สามารถทางานได้เต็มประสิทธิภาพตามที่ต้องการ การดาเนินกิจกรรม Lean Manufacturing
ที่มุ่งหวังไปที่การบารุงรักษาเครื่องจักรด้วยวิธีการบารุงรักษาเชิงป้องกัน (TPM) เป็นหลัก ถือว่าเครื่องจักรและ
อุปกรณ์เป็นปัจจัยสาคัญของกระบวนการผลิต และยังไม่ได้ให้ความสาคัญต่อปัจจัยนี้อย่างเพียงพอ จึงนา
เครื่องมือ TPM ในแนวคิด TPM-Lean ที่ไม่ใช่การทา PM เครื่องจักรอย่างเดียว แต่เป็นการประยุกต์ TPM
ตามแนวทางที่ พ นั ก งานทุ ก คนผ่ า นกิ จ กรรมกลุ่ ม ย่ อ ยในการด าเนิ น กิ จ กรรมบ ารุ ง รั ก ษาด้ ว ยตนเอง
(Autonomous Maintenance) มีจุดมุ่งหมายเพื่อความร่วมมือ กัน ในการขจัด ความสูญ เปล่า โดยการ
ปรับ ปรุงประสิทธิผ ลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) ให้ได้สูงสุด พัฒนาความรู้และทักษะของพนักงานและ
ปรับปรุงผลการดาเนินงานของกิจการ และจะต้องสามารถรักษาระดับความสามารถในการแข่งขันและการ

2
เจริญเติบโตได้ อย่างต่อ เนื่อ งตอบสนองความต้อ งการของลูก ค้า ในตัว ชี้วัด 3 ด้า นของลูก ค้า ได้แ ก่ด้า น
คุณภาพ (Quality) ต้นทุน (Cost) การส่งมอบ (Delivery) ซึ่งส่งผลต่อความอยู่ รอดได้ของธุรกิจ
ปัจจุบันระบบการผลิตแบบลีนจะเป็นที่รู้จักกันมากขึ้นจากการพัฒนาจากระบบการผลิตแบบญี่ปุ่นและ
การประยุกต์แพร่หลายต่อมาเพื่อการลดความสูญเสี ยทั้ง 7 ประการ ประกอบด้ว ย ผลิตมากเกินไป (Over
Production) มีกระบวนการมากเกินไป (Over Processing) การขนย้าย (Conveyance) สินค้าคงคลัง
(Inventory) การเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น (Motion) การรอคอย (Waiting) การเกิดของเสีย (Defect) โดย
จะต้องมีการดาเนินการตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ กาหนดคุณค่า (Value) ของผลิตภัณฑ์ เขียนแผนผัง
คุณค่าของผลิตภัณฑ์หลัก (Value Stream Mapping) ทาให้การผลิตไหลลื่น (Flow) สร้างกลไกการดึงงาน
(Pull) เพื่อลดการผลิตมากเกินไป พัฒนาสู่ความสมบูรณ์แบบ (Perfection)
เพื่ อช่วยเหลื ออุตสาหกรรมการผลิตของประเทศ ให้ มีขีดความสามารถในการแข่งขันได้และ
สามารถเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืน ส่วนพัฒนาระบบสนับสนุนอุตสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ตระหนักถึงปัจจัยเหล่านี้เป็นอย่างดี จึงได้ดาเนินการจัดทาโครงการให้คาปรึกษา
แนะนาเรื่อง Lean Manufacturing TPM แก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ด้วยการนาหลักการการ
บริหารแบบ Lean ไปประยุกต์ใช้ในองค์ก ร เพื่ อยกระดับ ความสามารถและเพิ่ ม ศักยภาพด้านการเพิ่ ม
ประสิ ทธิภ าพการผลิ ตให้ กั บ ภาคอุตสาหกรรมในประเทศ การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและเป็นการช่วยเหลือ
กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศ ให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศ อันจะนาไปสู่การเติบโตทาง
เศรษฐกิจที่ย่ังยืน และเข้มแข็งในระยะยาวต่อไป

2. วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
2.1 เพื่อปรับปรุงคุณภาพเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลลดต้นทุน การควบคุมคุณภาพ ลดต้นทุน
ให้แก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมด้วยเทคนิค Lean TPM
2.2 เพื่อพัฒนาบุคลากรในวิสาหกิจอุตสาหกรรม ให้มีขีดความสามารถในการทางาน เพื่อปรับปรุง
คุณภาพ เพิ่มประสิทธิผล ลดต้นทุน
2.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับวิสาหกิจอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันในตลาดสากลได้
อย่างยั่งยืน

3. กลุม่ เป้าหมายของกิจกรรม
3.1 วิสาหกิจอุตสาหกรรมการผลิต ที่ใช้เครื่องจักรเป็นปัจจัยหลัก Lean Manufacturing TPM ใน
กลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนอุตสาหกรรมต่อเนื่องและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องจานวน 5 กิจการ

4.พื้นที่ดาเนินการ
ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 โดยครอบคลุมรวม 9 จังหวัดได้แก่
จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี สระบุรี และสระแก้ว

5.เป้าหมายผลการดาเนินงาน(Outputs )
5.1 พัฒนาระบบการผลิตของวิสาหกิจ ที่ลดความสูญเปล่าลงโดยยังคงความสามารถในสามารถผลิต
สินค้าที่มีคุณภาพดีสม่าเสมอให้สนองความพึงพอใจของลูกค้า และสร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับวิสาหกิจซึ่งจะเพิ่ม
โอกาสด้านการค้า

3
5.2 กาหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบั ติงาน เพื่อเป็นเป้าหมายในการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องให้
สอดคล้องกับนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
5.3 วิสาหกิจมีเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการผลิตในการดาเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ครบถ้วน
สมบูรณ์สามารถอ้างอิงและสอดคล้อง
5.4 บุคลากรขององค์กรมีจิตสานึกและตระหนักถึงความสาคัญในการลดความสูญเปล่าในระบบการ
ผลิตและทราบถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง

6.ตัวชี้วัด
6.1 วิสาหกิจอุตสาหกรรมที่เข้ารับการให้คาปรึกษาเรื่อง Lean Manufacturing TPM จานวน 5
กิจการ
6.2 วิสาหกิจเลือกปัญหามาแก้ไขโรงงานละ 2 ปัญหา
6.3 ผลการแก้ปัญหาปรับปรุงเพิ่มขึ้นหรือลดลง 20 %
6.4 ที่ปรึกษา ลงทะเบียนที่ปรึกษา SP (Service Provider) จาก สานักพัฒนาหน่วยบริการ
อุตสาหกรรม ที่ปรึกษาให้คาปรึกษาแนะนาได้ไม่เกิน 5 วิสาหกิจ คนต่อโครงการ
6.5 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85% ของแต่ละวิสาหกิจ ตามแบบ
ประเมินของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

7.ผลลัพธ์ของกิจกรรมที่ต้องการ(Outcome)
7.1 วิสาหกิจที่เข้ารับการให้คาปรึกษา เรื่อง Lean Manufacturing TPM จานวน 5 กิจการ
7.2 วิสาหกิจ เลือกปัญหามาแก้ไขโรงงานละ 2 ปัญหา
7.3 ผลการแก้ปัญหาปรับปรุงเพิ่มขึ้นหรือลดลง 20 %

8.ขอบเขตโดยละเอียดของงานที่จะจ้าง
8.1 จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์ถึงกลุ่มเป้าหมายโรงงานอุตสาหกรรม
8.2 ดาเนินการคัดเลือกวิสาหกิจจานวน 5 กิจการ
8.3 ที่ปรึกษาดาเนินการตรวจประเมิน Lean-TPM Fact Finding Assessment
ตามหลักการ แยกแต่ละวิสาหกิจๆ ละ 1 วัน จัดทาสรุปผลการ Fact Finding และจัดทา
Proposal เสนอวิสาหกิจ
8.4 จัดอบรมหลักการของ Lean-TPM รวม 3 วัน โดยจัดอบรมแยกตามรายวิสาหกิจ โดยมี
รายละเอียดของการอบรมดังนี้
1) Lean -TPM concept
2) Value Stream mapping
3) Autonomous Maintenance Step 1-3
4) Focused Improvement
5) Loss Analysis and OEE
6) Quick Changeover Kaizen
7) QC 7 tools and QC Story for Problem solving

4
8.5 ให้คาปรึกษาและติดตามงานในแต่ละวิสาหกิจ วิสาหกิจละ 6 วัน และเมื่อจบการให้คาปรึกษาแต่
ละครั้ง ให้ที่ปรึกษาจัดทารายงานเป็นรายครั้ง (Progress Report) และเมื่อเข้าให้บริการครบ 6 วัน ให้ที่
ปรึกษาจัดทา Midterm Report
8.6 ให้คาปรึกษาในการจัดทานโยบายและแผนการดาเนินงานในอนาคตด้านการบารุงรักษาเครื่องจักร
ด้วยวิธีการบารุงรักษาเชิงป้องกัน (TPM - Road Map) ของแต่ละวิสาหกิจมีการจัดตั้งทีมงานและคณะทางาน
ในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบเพื่อการดาเนินการและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
8.7 ที่ปรึกษาต้องดาเนินจัดหาเจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ คุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี จานวน 1
คนมาปฏิบั ติงาน โดยทาหน้ าที่ประสานงานในระหว่างการดาเนินงานตามระยะเวลาของสัญญา ทั้งนี้เพื่อ
ประสิทธิภาพในการประสานงานโครงการและติดตามอย่างใกล้ชิด
8.8 เมื่อโครงการเสร็จสิ้น ที่ปรึกษาจะต้องจัดทารายงานสรุป (Final Report) และวิสาหกิจ การให้
คาปรึ ก ษาครั้ ง สุ ด ท้ า ยที ม งานของแต่ ล ะสถานประกอบการจะต้ อ งจั ด ให้ มี การเสนอผลงานภายในสถาน
ประกอบการต่อที่ประชุมผู้บริหารระดับสูง โดยจะต้องสามารถสรุปผลลัพธ์ของการดาเนินการตอบสนองตาม
แนวนโยบายขององค์กร พร้อมกาหนดแผนงานเพื่อเป็นแนวทางในอนาคตในการขจัดความสูญเสียที่เป็นระบบ
ภายใต้เครื่องมือ Lean-TPM จานวนไม่น้อยกว่า 1 วัน
8.9 จัดพิมพ์พ็อกเก๊ตบุคส์ TPM Pocket Book รวมผลงานปรับปรุงของแต่ละวิสาหกิจ จานวน 50
เล่ม เพื่อประชาสัมพันธ์แจกฟรี
8.10 จัดประชุมติดตามผลงานของที่ปรึกษาเป็นประจาอย่างน้อย 1 เดือนต่อครั้ง เพื่อเป็นการประกัน
ผลสาเร็จตามดัชนีชี้วัดของการให้คาปรึกษา

9. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 275,000.- บาท (สองแสนเจ็ดหมื่นห้าพันบาทถ้วน)


- ภาครัฐจ่าย เรื่อง Lean Manufacturing TPM จานวนเงิน 55,000 บาท/กิจการ รวมทั้งหมด
5 กิจการเป็น จานวนเงิน 275,000.- บาท (สองแสนเจ็ดหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

10.วันที่กาหนดราคากลาง 28 พฤศจิกายน 2556

11.ค่าตอบแทนบุคลากร 219,000.- บาท (สองแสนหนึ่งหมื่นเก้าพันบาทถ้วน)

12.ค่าวัสดุอุปกรณ์ 10,000.- บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน)

13.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ(ถ้ามี) ไม่มี

14.ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 46,000.- บาท (สี่หมื่นหกพันบาทถ้วน)

15.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (ผลงานที่ต้องการ)

5
Flow Chart แสดงขั้นตอนการทางาน

จัดทำแผ่นพับประชำสัมพันธ์

ประชำสัมพันธ์

คัดเลือก 5 วิสำหกิจ

Lean-TPM Fact Finding 1 วัน และจัดทำ


Proposal เสนอวิสำหกิจ

จัดอบรม Lean-TPM 3 วัน

ให้ คำปรึกษำ Lean-TPM 6 วัน


(แยกแต่ละวิสำหกิจ)

สรุปผลงำนและจัดเสนอผลงำน 1 วัน

จัดทำพ็อกเก๊ ตบุคส์ Lean-TPM ผลงำนดีเด่น


จำนวน 50 เล่ม

16.ระยะเวลาการจ้างที่ปรึกษา
- ระยะเวลาดาเนินการ 9 เดือน ตั้งแต่เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2556 – เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557
- ชั่วโมงการทางาน Lean-TPM ทั้งหมดไม่น้อยกว่า 11 คน-วัน (Man-Day) และไม่มากกว่า 15 คน-
วันต่อวิสาหกิจ
วิธีการคานวณชั่วโมงการทางาน
คน-วัน (Man-Day) = จานวนคน X จานวนวัน
- จานวนคน...โครงการฯ คิดให้สาหรับที่ปรึกษาหลักและผู้ช่วย ซึ่งเข้าไปให้คาปรึกษาแนะนาตาม
แผนงานที่เสนอไว้ในข้อเสนอโครงการฯ (Proposal) โดยคิดให้ไม่เกิน 2 คน / ครั้ง
- จานวนวัน...โครงการฯ กาหนดให้ 1 วัน ต้องมีเวลาปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง ในกรณีที่น้อย
กว่า 6 ชั่วโมง ให้คานวณตามอัตราส่วน

6
ตัวอย่างการคานวณ
ที่ปรึกษา และผู้ช่วยจานวน 2 คนปฏิบัติงาน ตั้งแต่เวลา 09.00 –12.00 น.
จานวนคน = 2 คน
จานวนวัน = 3/6 ชม. = 0.5 วัน
คน-วัน (Man-Day) = 2 คน X 0.5 วัน = 1 คน-วัน

17. วิธีการจ้างที่ปรึกษา
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โดยคณะกรรมการจัดจ้างและคัดเลือกหน่วยงานที่ยื่นข้อเสนอที่เหมาะสม
ที่สุด โดยพิจารณาจากความสอดคล้องระหว่างข้อกาหนดการจัดจ้างและข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอ แผนการ
ดาเนินงาน แผนการบริหารโครงการ และประสบการณ์ของคณะทางาน เป็นเกณฑ์สาคัญ ทั้งนี้คณะกรรมการฯ
อาจเชิญผู้เสนองานเข้ามาชี้แจงข้อเสนอและตอบข้อซักถามด้วย
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะไม่จ้างหน่วยงานที่เสนอราคาต่าสุดหรือราคาหนึ่งราคาใด
หรือราคาที่เสนอทั้งหมด หรืออาจยกเลิกการจัดจ้างโดยไม่พิจารณาจ้างหน่วยงานรายใดเลยก็ได้สุดแล้วแต่จะ
พิจารณา ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ทางราชการเป็นสาคัญและให้ถือว่าการตัดสินของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็น
เด็ดขาด ผู้ยื่นข้อเสนอจะเรียกร้องค่าเสียหายใดๆมิได้
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จะทาสัญญากับหน่วยงานที่ได้รับคัดเลือกเมื่อได้รับการอนุมัติงบประมาณ
จากสานักงบประมาณแล้วเท่านั้น

18. รายละเอียดข้อเสนอโครงการ
ที่ปรึกษาที่ประสงค์จะให้บริการต้องมีรายละเอียดการยื่นข้อเสนอโครงการ ดังนี้
ข้อเสนอด้านเทคนิค
1. เอกสารแสดง
- ขอบเขตของงาน
- ขั้นตอนการทางานพร้อมรายละเอียดของงานในแต่ละขั้นตอนและผลที่คาดหวัง
- การส่งงวดงาน
- ตัวชี้วัดผลงาน
- ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ
2. Gantt Chart แสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานทั้งหมดของโครงการ จุดเริ่มต้น – จุดสิ้นสุดและระยะเวลา
ปฏิบัติงานของขั้นตอนต่างๆ และผู้รับผิดชอบการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน
3. รายชื่อที่ปรึกษาและหน้าที่ความรับผิดชอบในโครงการฯ พร้อมประวัติผลงาน และการศึกษา
4. ชื่อ และสถานที่ติดต่อของผู้รับผิดชอบจัดทาข้อเสนอโครงการ
5. ชื่อ และสถานที่ติดต่อของผู้รับผิดชอบโครงการ
6. ใบรับรองการจดทะเบียนที่ปรึกษาจากกระทรวงการคลัง

ข้อเสนอด้านราคา
1. งบประมาณค่าใช้จ่าย
- ค่าตอบแทนที่ปรึกษา
แยกตามชั่วโมงการทางาน X ค่าตอบแทนที่ปรึกษาแต่ละคน

7
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ระบุค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในการให้คาปรึกษาแนะนาในแต่ละส่วนที่เป็นค่าตอบแทน
ที่ปรึกษา
- ข้อเสนอแผนการเบิกจ่ายเงิน
- ราคาที่เสนอมานี้ต้องครอบคลุมค่าใช้จ่ายทั้งหมดและภาษีมูลค่าเพิ่ม
หมายเหตุ : ให้ที่ปรึกษาเสนอข้อเสนอด้านเทคนิค จานวน 5 ชุด และข้อเสนอด้านราคาจานวน 1 ชุด โดยแยก
ซองข้อเสนอด้านเทคนิคและซองข้อเสนอด้านราคาออกจากกัน

19. การจ่ายเงินค่าจ้าง
19.1 การเบิกจ่ายเงินแบ่งออกเป็น ลักษณะดังนี้
- ระหว่างผู้ว่าจ้างกับที่ปรึกษา
การเบิ ก จ่ า ยงวดที่ 1 กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมจ่ า ย 30% ของค่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาในส่ ว นที่ ก รมส่ ง เสริ ม
อุตสาหกรรมรับผิดชอบ
การเบิ ก จ่ า ยงวดที่ 2 กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมจ่ า ย 40 % ของค่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษาในส่ ว นที่ ก รมส่ ง เสริ ม
อุตสาหกรรมรับผิดชอบ
การเบิ ก จ่ ายงวดที่ 3 กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมจ่าย 30% ของค่าจ้างที่ปรึกษาในส่ ว นที่กรมส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรมรับผิดชอบ
ในการขอเบิกเงินงวดทุกครั้ง ให้ผู้เสนอราคาจัดส่งเอกสารที่เป็นรูปเล่ม (Hardcopy) พร้อมทั้งไฟล์
คอมพิวเตอร์ (Softcopy) ด้วย โดยมีรายละเอียดดังนี้
19.2 จัดส่งรายงานที่จัดทาเป็นเอกสารรูปเล่ม จานวน 6 ชุดทุกครั้ง โดยรายงานดังกล่าว ให้มีลักษณะ
อย่างน้อยดังต่อไปนี้
- มีสารบัญ
- ใส่เลขหน้ากากับ
- มี ร ายงานการด าเนิ น กิ จ กรรมทุ ก รายการ โดยให้ จั ด ท าสรุ ป รายละเอี ย ดของกิ จ กรรม
อันประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม วัน เวลา สถานที่ รูปภาพกิจกรรมตามสมควร เป็นต้น
- มีเอกสารประกอบที่ใช้การประชุม/บรรยาย/อบรม/ฝึกปฏิบัติ โดยเอกสารประกอบ ให้แยก
ไว้ในภาคผนวกท้ายรายงาน
ทั้งนี้ในรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ในการเบิกเงินงวดสุดท้ายให้จัดทาเนื้อหาผลการดาเนิน
โครงการ รายละเอียดปัญหา ผลการแก้ไขปัญหาทั้งหมดสรุปผล Cost Saving, Potential Productivity และ
จัดทาบทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) พร้อมทั้งข้อเสนอแนะแนวทางการดาเนินการในอนาคต ไว้
ด้วย
19.3 จัดส่งรายงานที่เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์จานวน 1 ชุด ใส่แผ่ น CD หรือ DVD โดยไฟล์คอมพิวเตอร์
ดังกล่าว ต้องมีเนื้อหาตรงกันและครบถ้วนเหมือนในรายงานเอกสารที่เป็นรูปเล่ม และให้จัดทาไฟล์คอมพิวเตอร์
ในรูปแบบ (format) ของ Microsoft Office – Word (.doc), Excel (.xls), PowerPoint (.ppt), Portable
Document Format (.pdf) หรือ รูปภาพ (.bmp, .jpg, tiff) รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือประกอบกันหลาย
รูปแบบก็ได้ หากผู้รับจ้างต้องการส่งไฟล์รายงานอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวถึง จะต้อง
ได้รับความยินยอมจากหน่วยงานเจ้าของโครงการก่อน

8
19.4 ที่ปรึกษาจะต้องจัดส่งผลงานในแต่ละงวดงานที่ เป็นรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ เข้าไปเก็บไว้ใน
ระบบฐานข้อมูลที่ผู้ว่าจ้างจัดเตรียมไว้ให้ได้แก่ http://contractorwork.dip.go.th (ฐานข้อมูลบันทึกผลงาน
ผู้ว่าจ้าง ภายใต้โครงการต่างๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม) ภายในระยะเวลาที่กาหนด

20. การยื่นข้อเสนอกิจกรรม
ส่วนพัฒนาระบบสนับสนุนอุตสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

21. รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกาหนดค่าใช้จ่าย/ดาเนินการ/ขอบเขตดาเนินการ(TOR)
นางสาวสุดารัตน์ เขียวชะอุ่มงาม นักวิชาการอุตสาหกรรมปฏิบัติการ

22. กาหนดส่งข้อเสนอโครงการ
ให้ที่ปรึกษาส่งข้อเสนอด้านเทคนิค จานวน 5 ชุด และข้อเสนอด้านราคาจานวน 1 ชุด โดยแยกซอง
ข้อเสนอด้านเทคนิคและซองข้อเสนอด้านราคาออกจากกัน ภายในวันที่ 13 ธันวาคม 2556

23.ที่มาของการกาหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง)
พิจารณาจากโครงการนี้ เลขที่สัญญา 17/2556 ของ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9 กรม
ส่งเสริมอุตสาหกรรม ในปีงบประมาณ 2556

24.ข้อสงวนสิทธิ์
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะไม่จ้างหน่วยงานที่เสนอราคาต่าสุดหรือราคาหนึ่งราคา
ใดหรือราคาที่เสนอทั้งหมด หรืออาจยกเลิกการจัดจ้างโดยไม่พิจารณาจ้างหน่วยงานรายใดเลยก็ได้สุดแล้วแต่จะ
พิจารณา ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ทางราชการเป็นสาคัญและให้ถือว่าการตัดสินของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็น
เด็ดขาด ผู้ยื่นข้อเสนอจะเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ มิได้

25. หน่วยบริหารกิจกรรม
ส่วนพัฒนาระบบสนับสนุนอุตสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 9
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โทรศัพท์ 038-784064-7 โทรสาร 038-273701

9
26. แผนการดาเนินงานตลอดกิจกรรม

กิจกรรม เดือนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1. จัดทาแผนประชาสัมพันธ์และคัดเลือก 5 วิสาหกิจ
2. Lean TPM Fact Finding & Proposal
3. จัดอบรมหลักสูตร Lean-TPM
4. ให้คาปรึกษา Lean-TPM
5. สรุปผลงานและจัดเสนอผลงานในวิสาหกิจ
6. จัดพิมพ์ Pocket Book Best Practice 50 เล่ม

________________________________________________________________________________

10

You might also like