You are on page 1of 47

สาขา : อุตสาหการ

วิชา : Maintenance Engineering


เนือหาวิชา : 220 : 01 แนวคิด ประเภท Objectives ของ Maintenance

ข ้อที 1 :
ในการบํารุงรักษาด ้วยตนเอง (Self Maintenance) กิจกรรมใดต่อไปนีไม่ใช่กจิ กรรมเพือป้ องกันการเสือมสภาพ

1 : การใช ้เครืองจักรอย่างถูกวิธ ี
2 : การซ่อมแซมกรณีเกิดเหตุขด ั ข ้องแบบฉุกเฉิน
3 : การหยอดนํ ามันหล่อลืนในจุดทีจําเป็ น
4 : การทําความสะอาดเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 2 :
ข ้อใดทีมักจะเป็ นผลมาจากการทีโรงงานอุตสาหกรรมมีระบบซ่อมบํารุงทีดี

1 : เดินเครืองจักรทําการผลิตได ้อย่างราบรืน
2 : ผลิตภัณฑ์มค ี ณ
ุ ภาพดี
3 : ต ้นทุนการผลิตต่อหน่วยตําลง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 3 :
หากต ้นทุนของงานซ่อมบํารุงคิดเป็ นร ้อยละ 20 ของยอดขาย และกําไรคิดเป็ นร ้อยละ 10 ของยอดขาย การลดต ้นทุนในงานซ่อมบํารุงลงร ้อยละ 10 จะเป็ นผลให ้
กําไรเพิมขึนร ้อยละเท่าไร

1 : ร ้อยละ 10
2 : ร ้อยละ 20
3 : ร ้อยละ 30
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 4 :
ข ้อใดเป็ นค่าประสิทธิผลเชิงรวมของโรงงานทีขาดระบบซ่อมบํารุงทีดี ทีระบุโดยนายเซอิจ ิ นากาจิมา ผู ้เชียวชาญด ้านการซ่อมบํารุงรักษาโรงงานอุตสาหกรรมชาว
ญีปุ่ น

1 : ร ้อยละ 50
2 : ร ้อยละ 60
3 : ร ้อยละ 70
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 5 :
ข ้อใดทีมีผลทําให ้ประสิทธิผลเชิงรวมของเครืองจักรตําลง

1 : เครืองจักรชํารุดหยุดงานบ่อยครัง
2 : เครืองจักรเดินช ้ากว่าความเร็วมาตรฐาน
3 : ต ้องซํางานทีออกจากเครืองใหม่
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 6 :
ประเทศใดทีถือกันว่าเป็ นแหล่งทีเกิดของวิธก
ี ารจัดการงานซ่อมบํารุงโรงงานอุตสาหกรรมทีเรียกว่าการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance)

1 : ญีปุ่ น
2 : เยอรมัน
3 : สหรัฐอเมริกา
4 : อังกฤษ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 7 :
ข ้อใดทีไม่ถอ
ื ว่าเป็ นงานซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : การขจัดจุดอ่อนหรือข ้อบกพร่องทีเป็ นสาเหตุให ้เกิดการชํารุดขัดข ้อง


2 : การตรวจสอบสภาพเครืองจักร
3 : การเปลียนชินส่วนทีหมดอายุ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 8 :
ข ้อใดเป็ นระดับผลผลิตของสายการผลิตทีจะเพิมขึน หากการปรับปรุงระบบซ่อมบํารุงทําให ้ประสิทธิผลเชิงรวมของสายการผลิตเพิมขึนจากร ้อยละ 60 เป็ นร ้อยละ
90

1 : ร ้อยละ 30
2 : ร ้อยละ 40
3 : ร ้อยละ 50
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 9 :
ข ้อใดทีเป็ นกิจกรรมหลักของการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance)

1 : การปรับปรุงแบบเน ้นชัดในจุดทีเป็ นปั ญหา


2 : การซ่อมบํารุงด ้วยตนเองของพนักงานทีใช ้เครือง
3 : การให ้การศึกษาและฝึ กอบรมพนักงาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 10 :
ข ้อใดทีเป็ นระยะเวลาทีมักจะต ้องใช ้ในการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงให ้เป็ นแบบการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)

1 : 3-4 เดือน
2 : 6-12 เดือน
3 : 3-4 ปี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 11 :
การจัดตังหน่วยงานขึนมาทําหน ้าทีในการส่งเสริมผลักดัน อยูใ่ นช่วงใดของการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงให ้เป็ นแบบการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive
Maintenance - TPM)

1 : ช่วงเตรียมการ
2 : ช่วงเริมงาน
3 : ช่วงดําเนินงาน
4 : ช่วงรักษาและพัฒนาระบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 12 :
การจัดงานเปิ ดตัวเพือแสดงความตังใจทีจะพัฒนาระบบซ่อมบํารุงโดยพนักงานทุกคน และอาจมีการเชิญชวนลูกค ้าและผู ้ส่งมอบเข ้าร่วมงานด ้วย เป็ นขันตอนทีอยู่
ในช่วงใดของการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงให ้เป็ นแบบการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)

1 : ช่วงเตรียมการ
2 : ช่วงเริมงาน
3 : ช่วงดําเนินงาน
4 : ช่วงรักษาและพัฒนาระบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 13 :
การฝึ กอบรมบุคลากรเป็ นขันตอนทีอยูใ่ นช่วงใดของการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงให ้เป็ นแบบการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total Productive Maintenance - TPM)

1 : ช่วงเตรียมการ
2 : ช่วงเริมงาน
3 : ช่วงดําเนินงาน
4 : ช่วงรักษาและพัฒนาระบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 14 :
รางวัลด ้านการบํารุงรักษาโรงงาน เช่น TPM Excellent Award อาจนํ ามาใช ้ในช่วงใดของการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงให ้เป็ นแบบการซ่อมบํารุงทวีผลเชิงรวม (Total
Productive Maintenance - TPM)

1 : ช่วงเตรียมการ
2 : ช่วงเริมงาน
3 : ช่วงดําเนินงาน
4 : ช่วงรักษาและพัฒนาระบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 15 :
ข ้อใดเป็ นชือขององค์กรทีส่งเสริมการพัฒนาระบบซ่อมบํารุงด ้วยการจัดให ้มีการพิจารณาให ้รางวัลกับบริษัททีมีความเป็ นเลิศในด ้านนี

1 : Japanese Union of Scientists and Engineers - JUSE


2 : Japanese Institute of Plant Maintenance - JIPM
3 : Japanese Productivity Center - JPC
4 : Japanese Management Association - JMA
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 16 :
ข ้อใดเป็ นการสูญเสียทีสามารถชีบ่งได ้ด ้วยตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)

1 : หยุดงานเพราะไม่มค ี ําสังผลิต ไม่มวี ต


ั ถุดบ
ิ หยุดตามวาระเทศกาล หรือด ้วยเหตุอนๆ

2 : เครืองชํารุดขัดข ้อง และ เสียเวลาตังเครืองในการเปลียนผลิตภัณฑ์
3 : ความเร็วลด เดินเครืองตัวเปล่า และเหตุตด ิ ขัดในการผลิต
4 : ปั ญหาทางคุณภาพและการสูญเสียส่วนได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 17 :
ข ้อใดเป็ นดัชนีทสามารถชี
ี บ่งการสูญเสียจากการสูญเสียส่วนได ้ (Yield loss)

1 : ตัวประกอบการใช ้เครือง (Utilization Factor – UF)


2 : ตัวประกอบการเดินเครือง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพร ้อม (Availability – A)
3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)
4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 18 :
ข ้อใดเป็ นดัชนีทสามารถชี
ี บ่งการสูญเสียจากการเดินเครืองตัวเปล่าได ้
1 : ตัวประกอบการใช ้เครือง (Utilization Factor – UF)
2 : ตัวประกอบการเดินเครือง (Running Factor – RF) หรือ ระดับความพร ้อม (Availability – A)
3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)
4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 19 :
ข ้อใดเป็ นดัชนีทเป็
ี นตัวชีบ่งการสูญเสียจากการตังเครืองเพือเปลียนผลิตภัณฑ์

1 : ตัวประกอบการใช ้เครือง (Utilization Factor – UF)


2 : ตัวประกอบการเดินเครือง (Running Factor – RF)
3 : ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF)
4 : ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality Factor – QF)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 20 :
ข ้อใดเป็ นประสิทธิผลโดยรวมของเครืองจักร (Overall Equipment Effectiveness - OEE) หากมีคา่ ตัวประกอบการใช ้เครือง (Utilization Factor – UF) = 85.00 %
ตัวประกอบการเดินเครือง (Running Factor – RF) = 92.00 % ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) = 96.00 % ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality
Factor – QF) = 98.00 %

1 : 73.57 %
2 : 86.55 %
3 : 91.20 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 21 :
ข ้อใดเป็ นประสิทธิผลโดยรวมของการผลิต (Overall Production Effectiveness - OPE) หากมีคา่ ตัวประกอบการใช ้เครือง (Utilization Factor – UF) = 85.00 %
ตัวประกอบการเดินเครือง (Running Factor – RF) = 92.00 % ตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) = 96.00 % ตัวประกอบเชิงคุณภาพ (Quality
Factor – QF) = 98.00 %

1 : 73.57 %
2 : 86.55 %
3 : 91.20 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 22 :
ข ้อใดเป็ นตัวประกอบเชิงสมรรถนะ (Performance Factor – PF) ของเครืองจักร หากในเดือนมิถน
ุ ายนเครืองจักรนีผลิตสินค ้าทีมีผลผลิตมาตรฐาน 1.2 ตันต่อชัวโมง
ได ้ 632 ตัน และมีเวลาเดินเครืองสุทธิ 650 ชัวโมง

1 : 73.15 %
2 : 81.03 %
3 : 97.23 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 23 :
ข ้อใดเป็ นประสิทธิผลโดยรวมของเครืองจักร (Overall Equipment Effectiveness - OEE) หากผลผลิตสุทธิของสินค ้าทีมีมาตรฐานผลผลิต 7.5 หน่วยต่อชัวโมง ที
ได ้ในช่วงสัปดาห์หนึง เป็ น 820 หน่วย โดยในสัปดาห์นช่
ี วงทีหยุดเนืองจากไม่มก
ี ารสังผลิต 18 ชัวโมง และเครืองจักรชํารุดขัดข ้อง 10 ชัวโมง

1 : 65.08 %
2 : 72.89 %
3 : 91.20 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 24 :
ข ้อใดเป็ นประสิทธิผลโดยรวมของการผลิต (Overall Production Effectiveness - OPE) หากผลผลิตสุทธิของสินค ้าทีมีมาตรฐานผลผลิต 7.5 หน่วยต่อชัวโมง ทีได ้
ี ชว่ งทีหยุดเนืองจากไม่มก
ในช่วงสัปดาห์หนึง เป็ น 820 หน่วย โดยในสัปดาห์นมี ี ารสังผลิต 18 ชัวโมง และเครืองจักรชํารุดขัดข ้อง 10 ชัวโมง

1 : 65.08 %
2 : 72.89 %
3 : 91.20 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 221 : 02 Life cycle และ Life cycle cost

ข ้อที 25 :
ข ้อใดถือได ้ว่าเป็ นจุดเริมต ้นของวงจรชีวต
ิ เครืองจักร

1 : เกิดความต ้องการเครืองจักร
2 : ผลิตและประกอบเครืองจักร
3 : เริมใช ้งานเครืองจักร
4 : ครังแรกทีเครืองจักรชํารุดขัดข ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 26 :
เมือเครืองจักรไม่สามารถทํางานได ้ในระดับทีต ้องการถือได ้ว่าเครืองจักรสินอายุประเภทใด

1 : อายุงานทางกายภาพ
2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ
3 : อายุงานทางวิทยาการ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ไม่ถก
ู ต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 27 :
เมือการใช ้งานเครืองจักรต่อไปทําให ้เกิดต ้นทุนโดยรวมสูงขึนถือได ้ว่าเครืองจักรสินอายุประเภทใด

1 : อายุงานทางกายภาพ
2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ
3 : อายุงานทางวิทยาการ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 28 :
ี กว่าเครืองจักรเดิมทีใช ้งานอยูใ่ นทุกๆ ด ้านทีมีนัยสําคัญต่อการใช ้งาน ถือได ้ว่าเครืองจักรเดิมสินอายุประเภทใด
เมือมีเครืองจักรแบบใหม่ทดี

1 : อายุงานทางกายภาพ
2 : อายุงานทางเศรษฐกิจ
3 : อายุงานทางวิทยาการ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 29 :
ต ้นทุนประเภทใดมักจะลดลงเมือเครืองจักรมีอายุการใช ้งานมากขึน

1 : ต ้นทุนการใช ้งานเครืองจักรต่อปี
2 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักรต่อปี
3 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้นเฉลียต่อปี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 30 :
ข ้อความต่อไปนีข ้อใดมักไม่เป็ นความจริง

1 : ราคาเครืองจักรเป็ นเพียงองค์ประกอบหนึงของต ้นทุนวงจรชีวต ิ


2 : ต ้นทุนวงจรชีวติ อาจสูง 3-10 เท่า ของราคาเครืองจักร
3 : การซือเครืองจักรโดยพิจารณาจากราคาเป็ นเรืองทีทําได ้ง่าย
4 : การใช ้เครืองจักรทีมีราคาตําสุดจะทําให ้มีต ้นทุนสินค ้าต่อหน่วยถูกทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 31 :
ข ้อใดเป็ นเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกเครืองจักรทีจะนํ ามาใช ้งานทีดีทสุ
ี ด

1 : ราคาเครืองจักร
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนในการซ่อมบํารุงเครืองจักร
4 : ต ้นทุนตลอดวงจรชีวต ิ ของเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 32 :
ข ้อใดทีไม่ใช่องค์ประกอบของต ้นทุนตลอดวงจรชีวต
ิ ของเครืองจักร

1 : ราคาเครืองจักร
2 : ค่านายหน ้าซือขายเครืองจักร
3 : ต ้นทุนโอกาสในการชํารุดหยุดซ่อม
4 : ต ้นทุนในการซ่อมบํารุงเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 33 :
ราคาอะไหล่ประกันทีซือพร ้อมกับเครืองจักรเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 34 :
ิ องทีใช ้ไปในระหว่างอายุการใช ้งานของเครืองจักรเป็ นต ้นทุนในกลุม
อะไหล่สนเปลื ่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 35 :
ค่าไฟฟ้ าและพลังงานสําหรับเครืองจักรเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 36 :
ค่าใช ้จ่ายในการบํารุงรักษาเชิงป้ องกันเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 37 :
โอกาสในการขายสินค ้าทีขาดหายไปเนืองจากเครืองจักรเกิดการชํารุดขัดข ้องเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 38 :
ค่าใช ้จ่ายในการฝึ กอบรมพนักงานฝ่ ายผลิตในการเดินเครืองเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 39 :
ค่าใช ้จ่ายในการฝึ กอบรมช่างซ่อมบํารุงให ้มีทก
ั ษะในการทํางานเป็ นต ้นทุนในกลุม
่ ใด

1 : ต ้นทุนเครืองจักรเริมต ้น
2 : ต ้นทุนในการใช ้งานเครืองจักร
3 : ต ้นทุนซ่อมบํารุงรักษาเครืองจักร
4 : ต ้นทุนสูญเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 40 :
เครืองจักรทีมีระดับความพร ้อมร ้อยละ 99 ทีกําหนดไว ้ว่าจะใช ้งานปี ละ 5,000 ชัวโมง จะมีต ้นทุนสูญเสียปี ละเท่าไร หากต ้นทุนสูญเสียผลผลิตต่อชัวโมงเท่ากับ
100,000 บาท

1 : 1,000,000 บาท
2 : 5,000,000 บาท
3 : 9,900,000 บาท
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 41 :
ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้องในการเปรียบเทียบต ้นทุนรวมของอุปกรณ์อย่างหนึงซึงมีอายุการใช ้งาน 5,000 ชัวโมง จากผู ้ผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีต ้นทุนในส่วน
ทีต่างกันดังนี
ผู ้ผลิต ราคา (บาท) ต ้นทุนในการใช ้งาน (บาท/ชัวโมง)
A 10,000 1.20
B 5,000 1.60
C 4,000 1.80

1 : A มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
2 : B มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
3 : C มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 42 :
ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้องในการเปรียบเทียบต ้นทุนรวมของอุปกรณ์อย่างหนึงซึงมีอายุการใช ้งาน 5,000 ชัวโมง จากผู ้ผลิตสามราย (A, B, C)โดยมีต ้นทุนในส่วน
ทีต่างกันดังนี
ผู ้ผลิต ราคา (บาท) ต ้นทุนติดตังหรือเปลียน (บาทต่อครัง) ต ้นทุนในการใช ้งาน (บาท/ชัวโมง)
A 10,000 1,000 1.20
B 5,000 2,000 1.60
C 4,000 3,000 1.80

1 : A มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
2 : B มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
3 : C มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 43 :
ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้องในการเปรียบเทียบต ้นทุนรวมของอุปกรณ์อย่างหนึงซึงมีอายุการใช ้งาน 5,000 ชัวโมง จากผู ้ผลิตสามราย (A, B, C) โดยมีต ้นทุนในส่วน
ทีต่างกันดังนี
ผู ้ผลิต ราคา ต ้นทุนติดตังหรือ ต ้นทุนในการใช ้งาน ต ้นทุนในการบํารุงรักษา
(บาท) เปลียน (บาทต่อครัง) (บาท/ชัวโมง) (บาท/ชัวโมง)
A 10,000 1,000 1.20 0.10
B 5,000 2,000 1.60 0.25
C 4,000 3,000 1.80 0.00

1 : A มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
2 : B มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
3 : C มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 44 :
ข ้อใดเป็ นคําตอบทีถูกต ้องในการเปรียบเทียบต ้นทุนรวมของอุปกรณ์อย่างหนึงซึงมีอายุการใช ้งาน 10 ปี จากผู ้ผลิตสีราย (A, B, C, D) โดยมีต ้นทุนในส่วนทีต่าง
กันดังนี (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ปี มีคา่ เท่ากับ 6.1446)
ผู ้ผลิต ราคา (ล ้านบาท) ต ้นทุนในการใช ้งานและบํารุงรักษา ต ้นทุนสูญเสีย (ล ้าน
(ล ้านบาท/ปี ) บาท/ปี )
A 2.00 1.00 2.00
B 3.00 0.80 1.60
C 4.00 0.60 1.20
D 5.00 0.50 1.00

1 : A มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
2 : B มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
3 : C มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
4 : D มีต ้นทุนรวมตําทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 45 :
ข ้อใดเป็ นเครืองจักรทีมีต ้นทุนวงจรชีวต
ิ เทียบเท่าตําสุด หากต ้นทุนวงจรชีวต
ิ (Life cycle cost – LCC) ทีไม่รวมต ้นทุนสูญเสีย และ ระดับความพร ้อมในการเดิน
เครือง (Running factor – RF) ของเครืองจักรสีเครือง (A, B, C, D) ทีทํางานเหมือนกัน เป็ นตามทีแสดงข ้างล่างนี
เครืองจักร LCC (ล ้านบาท) RF
A 8 0.60
B 9 0.70
C 10 0.80
D 14 0.90

1 : เครืองจักร A
2 : เครืองจักร B
3 : เครืองจักร C
4 : เครืองจักร D
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 46 :
ข ้อใดเป็ นเครืองจักรทีมีต ้นทุนวงจรชีวต
ิ เทียบเท่าตําสุด หากต ้นทุนวงจรชีวต
ิ (Life cycle cost – LCC) ทีไม่รวมต ้นทุนสูญเสีย และ ระดับสมรรถภาพในการเดิน
เครือง (Performance factor – PF) ของเครืองจักรสีเครือง (A, B, C, D) ทีทํางานเหมือนกัน เป็ นตามทีแสดงข ้างล่างนี
เครืองจักร LCC (ล ้านบาท) PF
A 8 0.80
B 9 0.85
C 10 0.90
D 14 0.95

1 : เครืองจักร A
2 : เครืองจักร B
3 : เครืองจักร C
4 : เครืองจักร D
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 47 :
ข ้อใดเป็ นเครืองจักรทีมีต ้นทุนวงจรชีวต
ิ เทียบเท่าตําสุด หากต ้นทุนวงจรชีวต
ิ (Life cycle cost – LCC) ทีไม่รวมต ้นทุนสูญเสีย และ ระดับคุณภาพในการเดินเครือง
(Quality factor – QF) ของเครืองจักรสีเครือง (A, B, C และ D) ทีทํางานเหมือนกัน เป็ นตามทีแสดงข ้างล่างนี
เครืองจักร LCC (ล ้านบาท) QF
A 8 0.80
B 9 0.93
C 10 0.96
D 14 0.99

1 : เครืองจักร A
2 : เครืองจักร B
3 : เครืองจักร C
4 : เครืองจักร D
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 48 :
ข ้อใดเป็ นเครืองจักรทีมีต ้นทุนวงจรชีวต
ิ เทียบเท่าตําสุด หากมูลค่าปั จจุบน
ั ของต ้นทุนวงจรชีวต
ิ (Life cycle cost – LCC) ทีไม่รวมต ้นทุนสูญเสีย และ ระดับความ
พร ้อมในการเดินเครือง (Running factor – RF) ระดับสมรรถภาพในการเดินเครือง (Performance factor – PF) และระดับคุณภาพในการเดินเครือง (Quality factor –
QF) ของเครืองจักรสีเครือง (A, B, C และ D) ทีทํางานเหมือนกัน เป็ นตามทีแสดงข ้างล่างนี โดยทีประมาณได ้ว่ากําลังการผลิตของเครืองจักรเป็ น 1,000 หน่วย/ปี
ทํารายได ้ 2,000 บาท/หน่วย และจะใช ้เครืองจักรทําการผลิต 10 ปี (Present worth Factor : P/A, 10%, 10 ปี มีคา่ เท่ากับ 6.1446)
เครืองจักร LCC (ล ้านบาท) RF PF QF
A 8 0.60 0.80 0.80
B 9 0.70 0.85 0.93
C 10 0.80 0.90 0.96
D 14 0.90 0.95 0.99

1 : เครืองจักร A
2 : เครืองจักร B
3 : เครืองจักร C
4 : เครืองจักร D
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 222 : 03 Failure mode and analysis

ข ้อที 49 :
ข ้อใดทีไม่ใช่ประโยชน์ของสถิตก
ิ ารชํารุดขัดข ้อง (Failure statistics)

1 : ใช ้ในการคํานวณหาค่า Reliability
2 : ใช ้วิเคราะห์ลก
ั ษณะฐานการชํารุดขัดข ้องของเครืองจักร
3 : ใช ้เปรียบเทียบคุณภาพของเครืองจักรอุปกรณ์หรือชินส่วน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 50 :
ข ้อใดทีไม่ใช่ประโยชน์ของสถิตก
ิ ารชํารุดขัดข ้อง (Failure statistics)

1 : ใช ้ในการคํานวณหาค่า Reliability
2 : ใช ้วิเคราะห์ลก
ั ษณะฐานการชํารุดขัดข ้องของเครืองจักร
3 : ใช ้เปรียบเทียบคุณภาพของเครืองจักรอุปกรณ์หรือชินส่วน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 51 :
จากข ้อมูลจํานวนอุปกรณ์ทชํ
ี ารุดขัดข ้อง ทีแสดงในตาราง ค่าความน่าจะเป็ นในการอยูร่ อด (Survival probability) ในช่วงเวลา 2 ปี จะมีคา่ เท่าใด
ปี ท ี 1 2 3 4 5 6
จํานวนทีชํารุด 12 18 40 16 10 4

1 : 0.18
2 : 0.30
3 : 0.70
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 52 :
ข ้อใดเป็ นอัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) ของเครืองจักร หากในการใช ้งานเครืองจักรนี 50 เครืองในช่วงเวลา 100 ชัวโมง มีการชํารุดขัดข ้องเกิดขึน 2 ครัง

1 : 0.004 ครัง/ชัวโมง
2 : 0.020 ครัง/ชัวโมง
3 : 0.040 ครัง/ชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 53 :
ความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้อง (Failure probability) มีการแจกแจงแบบใด

1 : Hyper-exponential
2 : Negative exponential
3 : Normal distribution
4 : เป็ นไปได ้ทังสามแบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 54 :
อัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) จะมีคา่ คงทีเมือความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้อง (Failure probability) มีการแจกแจงแบบใด

1 : Hyper-exponential
2 : Negative exponential
3 : Normal distribution
4 : เป็ นไปได ้ทังสามแบบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 55 :
การแจกแจงของความน่าจะเป็ นแบบใดทีสามารถใช ้อธิบายพฤติกรรมของความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้อง (Failure probability) ได ้ทุกช่วงอายุของเครืองจักร
อุปกรณ์

1 : Hyper-exponential distribution
2 : Negative exponential distribution
3 : Normal distribution
4 : Weibull distribution
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 56 :
ิ ารชํารุดขัดข ้องทีใช ้พล็อตเส ้นโค ้งรูปอ่างนํ า
ข ้อใดเป็ นสถิตก

1 : ค่าความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้อง (Failure probability)


2 : ค่าความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้องสะสม (Cumulative failure probability)
3 : ค่าความน่าจะเป็ นในการอยูร่ อด (Survival probability)
4 : อัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 57 :
ข ้อใดเป็ นอายุการใช ้งานสามช่วงทีแบ่งในเส ้นโค ้งรูปอ่างนํ า

1 : ช่วงเริมต ้น ช่วงใช ้งาน ช่วงพัฒนา


2 : ช่วงออกแบบ ช่วงผลิต ช่วงใช ้งาน
3 : ช่วงเริมงาน ช่วงใช ้งาน ช่วงสึกหรอ
4 : ช่วงใช ้งาน ช่วงสึกหรอ ช่วงฟื นฟู
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 58 :
ข ้อใดอาจเป็ นสาเหตุของการชํารุดขัดข ้องช่วงเริมงาน
1 : ขาดการบํารุงรักษา
2 : ขาดการหล่อลืน
3 : อุบตั เิ หตุ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 59 :
ข ้อใดอาจเป็ นสาเหตุของการชํารุดขัดข ้องช่วงใช ้งาน

1 : ขาดการหล่อลืน
2 : สืบทอดจากส่วนอืน
3 : อุบตั เิ หตุ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 60 :
ข ้อใดทีมักเป็ นสาเหตุของการชํารุดขัดข ้องช่วงใช ้งาน

1 : การออกแบบเครืองจักรไม่เหมาะสม
2 : การติดตังเครืองจักรบกพร่อง
3 : การใช ้งานผิดวิธ ี
4 : การเสือมสภาพของวัสดุตามธรรมชาติ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 61 :
ข ้อใดทีมักเป็ นสาเหตุของการชํารุดขัดข ้องช่วงสึกหรอ

1 : การออกแบบเครืองจักรไม่เหมาะสม
2 : การติดตังเครืองจักรบกพร่อง
3 : การใช ้งานผิดวิธ ี
4 : การเสือมสภาพของวัสดุตามธรรมชาติ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 62 :
ช่วงใดทีมักมีระยะเวลาทียาวนานทีสุดของเครืองจักร

1 : ช่วงเริมงาน
2 : ช่วงใช ้งาน
3 : ช่วงสึกหรอ
4 : เท่ากันทุกช่วง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 63 :
เวบูลล์พารามิเตอร์ทสามารถชี
ี บ่งลักษณะฐานการชํารุดขัดข ้องของเครืองจักรอุปกรณ์ได ้เป็ นอย่างดี คือ

1 : พารามิเตอร์รป ู ทรง (Shape parameter)


2 : พารามิเตอร์ขนาด (Scale parameter)
3 : พารามิเตอร์ตําแหน่ง (Location parameter)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 64 :
ช่วงใดทีการชํารุดของเครืองจักรทีเมือวิเคราะห์ด ้วยฟั งชันเวบูลล์แล ้วค่าพารามิเตอร์รป
ู ทรงมีคา่ น ้อยกว่า 1

1 : ช่วงเริมงาน
2 : ช่วงใช ้งาน
3 : ช่วงสึกหรอ
4 : ทุกๆ ช่วง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 65 :

ช่วงใดทีการชํารุดของเครืองจักรทีเมือวิเคราะห์ด ้วยฟั งก์ชนเวบู
ลล์แล ้วค่าพารามิเตอร์รป
ู ทรงมีคา่ มากกว่า 1

1 : ช่วงเริมงาน
2 : ช่วงใช ้งาน
3 : ช่วงสึกหรอ
4 : ทุกๆ ช่วง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 66 :
ข ้อใดเป็ นความน่าจะเป็ นของการชํารุดขัดข ้องสะสมถึงอายุ 572 ชัวโมง ทีจะใช ้พล็อตกราฟเวบูลล์แบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากข ้อมูลอายุการชํารุด
ขัดข ้องเป็ นดังนี 250, 346, 412, 572, 612, 716, 896 (หน่วย : ชัวโมง)

1 : 42.86 %
2 : 50.00 %
3 : 62.50 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 67 :
ข ้อใดเป็ นความน่าจะเป็ นของการชํารุดขัดข ้องสะสมถึงอายุ 212 ชัวโมง ทีจะใช ้พล็อตกราฟเวบูลล์แบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking) หากข ้อมูลอายุการชํารุด
ขัดข ้องเป็ นดังนี 250, 146, 412, 372, 212, 316, 196 (หน่วย : ชัวโมง)
1 : 37.50 %
2 : 42.86 %
3 : 62.50 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 68 :
ข ้อใดเป็ นอายุการใช ้งานของอุปกรณ์ทการแจกแจงความน่
ี าจะเป็ นของการชํารุดขัดข ้อง (Failure probability density function) เป็ นแบบปกติ (Normal
distribution) ทีทําให ้มีความน่าจะเป็ นในการชํารุดขัดข ้องสะสมเป็ น 0.95 หากอุปกรณ์นมีี อายุการใช ้งานเฉลีย 520 ชัวโมง โดยมีคา่ เบียงเบนมาตรฐาน 40 ชัวโมง

1 : 580.40 ชัวโมง
2 : 585.80 ชัวโมง
3 : 600.00 ชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 69 :
ี ามาทดสอบการใช ้งานจํานวน 10 ชิน ในช่วงระยะเวลา 100 ชัวโมง และปรากฏมีการชํารุด 2 ชิน ทีชัวโมงทดสอบ
ข ้อใดเป็ นอัตราการชํารุดขัดข ้องของอุปกรณ์ทนํ
ที 12 และ 21 ตามลําดับ

1 : 0.0020 ครังต่อชัวโมง
2 : 0.0024 ครังต่อชัวโมง
3 : 0.0025 ครังต่อชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 70 :
ข ้อใดเป็ นความน่าจะเป็ นของการชํารุดขัดข ้องสะสม (Cumulative failure probability) ถึงอายุการใช ้งาน 4,000 ชัวโมง ของอุปกรณ์ทมี
ี การแจกแจงของการชํารุด
ขัดข ้องแบบ Negative exponential หากอัตราการชํารุดขัดข ้องคงทีทีระดับ 0.0001 ครังต่อชัวโมง

1 : 0.2592
2 : 0.3297
3 : 0.9932
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 71 :
ข ้อใดเป็ นความน่าจะเป็ นของการชํารุดขัดข ้องสะสมของข ้อมูลลําดับที 4 ทีเรียงจากมากไปหาน ้อย ทีจะใช ้พล็อตกราฟเวบูลล์แบบลําดับมัชฌิม (Mean ranking)
หากมีข ้อมูลอายุการชํารุดขัดข ้อง 9 ตัว

1 : 40.00 %
2 : 50.00 %
3 : 60.00 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 72 :
ข ้อใดเป็ นอัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) ในปี ทสอง
ี หากความน่าจะเป็ นในการชํารุดข ้อง (Failure probability) ในสองปี แรกเป็ น 0.10 และ 0.14 ตามลําดับ

1 : 0.1200
2 : 0.1333
3 : 0.1556
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 223 : 04 Reliability, Maintainability & Availability analysis

ข ้อที 73 :
โรงงานแห่งหนึงทํางาน 8 ชัวโมง/วัน ใน 1 สัปดาห์ทํางาน 5 วัน จากการศึกษาสภาพการทํางานของเครืองฉีดพลาสติกในโรงงาน พบว่าสามารถผลิตชินงานได ้
ประมาณ 535 ชิน/วัน และเครืองจักรเกิดเหตุขดั ข ้อง (down time) โดยเฉลียเป็ น 3 ชัวโมง/สัปดาห์ และรอบเวลาทีใช ้ในการผลิตเป็ น 0.68 นาที/ชิน จงคํานวณหา
เปอร์เซ็นต์สภาพความพร ้อมของการใช ้งาน (Availability) ของเครืองจักร

1 : 87.4%
2 : 92.5%
3 : 79.7%
4 : 95.5%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 74 :
ตัวเลขใดต่อไปนีไม่อาจเป็ นค่า Reliability ของเครืองจักรได ้

1 : 0.2451
2 : 0.4218
3 : 0.6548
4 : 1.0586
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 75 :
อัตราการชํารุดขัดข ้องกับอายุการใช ้งานเฉลีย มีความสัมพันธ์แบบใด

1 : เส ้นตรง
2 : ผกผัน
3 : ยกกําลัง
4 : ไม่มคี วามสัมพันธ์กน
ั เลย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 76 :
หากอัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) ของเครืองจักรเครืองหนึงเป็ น 0.002 ครังต่อชัวโมง Mean Time Between Failures ( MTBF) ของเครืองจักรเครืองนี จะมี
ค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 1,000 ชัวโมงต่อครัง
2 : 2,000 ชัวโมงต่อครัง
3 : 5,000 ชัวโมงต่อครัง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 77 :
ข ้อใดทีมีคา่ คงทีในช่วงอายุใช ้งานเครืองจักร

1 : อัตราการชํารุดขัดข ้อง
2 : Reliability
3 : Maintainability
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 78 :
เครืองจักรทีมี Maintainability ดีหมายถึงข ้อใด

1 : เครืองจักรที ใช ้งานได ้ดีไม่คอ


่ ยชํารุดขัดข ้อง
2 : เครืองจักรทีใช ้เวลาในการซ่อมบํารุงน ้อย
3 : เครืองจักรทีมีสดั ส่วนของเวลาทีใช ้งานได ้สูง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 79 :
ตัวชีวัดค่า Maintainability ทีดีคอ
ื ข ้อใด

1 : มัชฌิมเวลาในการซ่อมบํารุง (Mean time to repair – MTTR)


2 : มัชฌิมเวลาระหว่างการชํารุด (Mean time between failures - MTBF)
3 : ได ้ทัง MTTR และ MTBF
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 80 :
ตัวชีวัดค่า Reliability ได ้คือข ้อใด

1 : มัชฌิมเวลาในการซ่อมบํารุง (Mean time to repair – MTTR)


2 : มัชฌิมเวลาระหว่างการชํารุด (Mean time between failures - MTBF)
3 : ได ้ทัง MTTR และ MTBF
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 81 :
ิ วนมากชินมักจะมีผลกับค่า Reliability ในลักษณะใด
เครืองจักรทีทุกชินส่วนต ้องทํางานร่วมกันเครืองจักรจึงจะทํางานได ้ เมือมีชนส่

1 : Reliability ของเครืองจักรลดลง
2 : Reliability ของเครืองจักรเท่าเดิม
3 : Reliability ของเครืองจักรเพิมขึน
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 82 :
การมีตวั เสริม หรือตัวขนาน (Redundant) มีผลกับค่า Reliability ในลักษณะใด

1 : Reliability ของเครืองจักรลดลง
2 : Reliability ของเครืองจักรเท่าเดิม
3 : Reliability ของเครืองจักรเพิมขึน
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 83 :
สายการผลิตทีมีเครืองจักรต่อเนืองกันสามเครือง หากเครืองใดเครืองหนึงหยุดสายการผลิตก็ต ้องหยุด หาก Reliability ของเครืองจักรแต่ละเครืองในช่วงเวลา
หนึงเป็ น 0.9 Reliability ของสายการผลิตในช่วงเวลานีมีคา่ เท่าใด

1 : 0.729
2 : 0.999
3 : 2.700
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 84 :
โรงงานมีเครืองจักรสามเครือง หากเพียงเครืองใดเครืองหนึงทํางานก็พอเพียงสําหรับการผลิต หาก Reliability ของเครืองจักรแต่ละเครืองในช่วงเวลาหนึงเป็ น
0.9 Reliability ของการผลิตของโรงงานในช่วงเวลานี เป็ นเท่าใด

1 : 0.729
2 : 0.999
3 : 2.700
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 85 :
สายการผลิตทีมีเครืองจักรต่อเนืองกันสองเครือง หากเครืองใดเครืองหนึงหยุดสายการผลิตก็ต ้องหยุด หาก Reliability ของเครืองจักรแต่ละเครืองในช่วงเวลา
หนึงเป็ น 0.92 และ 0.80 Reliability ของสายการผลิตในช่วงเวลานีคือ

1 : 0.928
2 : 0.892
3 : 0.736
4 : 1.720
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 86 :
ี ารทีจะใช ้ปรับปรุงค่า Maintainability ของเครืองจักรให ้ดีขนได
วิธก ึ ้คือข ้อใด

1 : ลดชินส่วนทีไม่จําเป็ น หรือมีประโยชน์น ้อย


2 : ใช ้ชินส่วนทีเป็ นมาตรฐานเดียวกัน
3 : ลดเวลาคอยในงานซ่อมให ้น ้อยลง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 87 :
ี ารทีจะใช ้ปรับปรุงค่า Availability ของเครืองจักรให ้ดีขนได
วิธก ึ ้คือ

1 : ลดชินส่วนทีไม่จําเป็ น หรือมีประโยชน์น ้อยลง


2 : ใช ้ชินส่วนทีเป็ นมาตรฐานเดียวกัน
3 : ลดเวลาคอยในงานซ่อมให ้น ้อยลง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 88 :
ข ้อใดใช ้เป็ นหน่วยวัดของอัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) ได ้

1 : ครังต่อชัวโมง
2 : ครังต่อกิโลเมตร
3 : ครังต่อรอบ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 89 :
สถิตริ ะบุวา่ เครืองจักรเครืองหนึงมีคา่ Mean time between failures (MTBF) เป็ น 500 ชัวโมงต่อครัง Mean time to repair(MTTR) เป็ น 10 ชัวโมงต่อครัง ระดับ
ความพร ้อม (Availability - A) ของเครืองจักรนีคือ

1 : 98.04 %
2 : 98.00 %
3 : 90.00 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 90 :
จงประมาณอัตราการชํารุดขัดข ้อง (Failure rate) ของผลิตภัณฑ์ทมี
ี รายงานยอดขายในสองเดือนแรกเป็ น 100 และ 200 ชุดตามลําดับโดยมีจํานวนทีมีการชํารุด
ขัดข ้องรวมกันจํานวน 5 ชุด

1 : 0.01667 ครัง / เดือน


2 : 0.02000 ครัง / เดือน
3 : 0.01250 ครัง / เดือน
4 : 0.00833 ครัง / เดือน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 91 :
ั ราการชํารุดขัดข ้องคงที 0.0001 ครังต่อชัวโมง ในช่วงเวลาการใช ้งาน 5,000 ชัวโมง คือ
ค่า Reliability ของเครืองจักรทีมีอต

1 : 0.6065
2 : 0.8413
3 : 0.9512
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 92 :
จงประมาณค่า Reliability ในช่วงระยะเวลารับประกันหนึงปี ของผลิตภัณฑ์ทมี
ี รายงานยอดขายในสองเดือนแรกเป็ น 100 และ 200 ชุดตามลําดับโดยมีจํานวนทีมี
การชํารุดขัดข ้องรวมกันจํานวน 5 ชุด

1 : 0.7866
2 : 0.8187
3 : 0.9802
4 : 0.9835
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 93 :
เครืองจักรทีประกอบด ้วยชินส่วนหลัก 2 รายการ (P1, P2) มีจํานวนและอัตราการชํารุดในหนึงล ้านชัวโมง จะมีอต
ั ราการชํารุดขัดข ้องเท่าใด
Part จํานวน อัตราการชํารุดในหนึงล ้านชัวโมง
P1 2 300
P2 1 400

1 : 0.001 ครัง/ชัวโมง
2 : 0.003 ครัง/ชัวโมง
3 : 0.004 ครัง/ชัวโมง
4 : 0.007 ครัง/ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 94 :
เครืองจักรมีอปุ กรณ์สําคัญอยู่ 2 รายการ (P1 และ P2) หากจํานวนและ Mean time to repair (MTTR) ของชินส่วนเป็ นตามทีแสดงไว ้ในตาราง MTTR ของ
เครืองจักรนี คือ เท่าใด
Part จํานวน (ชิน) อัตราการชํารุด (ครัง/ชัวโมง) MTTR (ชัวโมง/ครัง)
P1 1 0.002 5
P2 1 0.001 10

1 : 6.67 ชัวโมง / ครัง


2 : 7.50 ชัวโมง / ครัง
3 : 8.42 ชัวโมง / ครัง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 95 :
เครืองจักรทีประกอบด ้วยชินส่วนหลัก 2 รายการ (P1, P2) มีจํานวนและอัตราการชํารุดในหนึงล ้านชัวโมง (r) และค่า Mean time to repair (MTTR) เป็ นตามที
แสดงไว ้ในตาราง จงระบุระดับความพร ้อม (Availability) ของเครืองจักรนี
Part จํานวน r (ครังในหนึงล ้านชัวโมง) MTTR (ชัวโมง/ครัง)
A 2 300 5
B 1 400 10

1 : 99.20 %
2 : 99.25 %
3 : 99.30 %
4 : 99.40 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 96 :

จงประมาณค่า Reliability ของเครืองจักรทีเขียนแผนภาพกล่องได ้ดังแสดง

1 : 0.504
2 : 0.872
3 : 0.916
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 224 : 05 เทคนิค Inspection - Vibration analysis

ข ้อที 97 :
ข ้อใดเป็ นวิธท จะใช ้ตรวจการเสียสมดุลของเครืองจักร
ี เหมาะสมที

1 : การวิเคราะห์การสันสะเทือน
2 : การวัดอุณหภูมแ ิ ละภาพฉาย
3 : การวิเคราะห์นํามันหล่อลืน
4 : การตรวจสอบด ้วยเครืองอุลตร ้าโซนิก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 98 :
ข ้อใดเป็ นเป็ นวิธท
ี ดี
ี ทสุ
ี ดสําหรับการตรวจสอบการทํางานเกินกําลังของเครืองจักร

1 : การวิเคราะห์การสันสะเทือน
2 : การวัดอุณหภูมแ ิ ละภาพฉาย
3 : การวิเคราะห์นํามันหล่อลืน
4 : การตรวจสอบด ้วยเครืองอุลตร ้าโซนิก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 99 :
ข ้อใดเป็ นอุปกรณ์ทสามารถตรวจสอบสภาพด
ี ้วย Shock pulse measurement ได ้เป็ นอย่างดี

1 : คลัปปลิง
2 : ตลับลูกปื น
3 : หม ้อไอนํ า
4 : เฟื องเกียร์
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 100 :
ข ้อใดเป็ นระดับความถีทีใช ้เครืองอุลตร ้าโซนิกในการวัด

1 : เกิน 10,000 Hertz


2 : เกิน 20,000 Hertz
3 : เกิน 30,000 Hertz
4 : เกิน 40,000 Hertz
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 101 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีใช ้ในการวัดความเร็วรอบของเครืองจักรทีหมุนได ้
1 : Stereoscope
2 : Stethoscope
3 : Stroboscope
4 : Tachometer
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 102 :
ข ้อใดเป็ นกราฟแบบ Frequency domain ของการสันสะเทือน

1 : แกนนอนเป็ นค่า Time แกนตังเป็ นค่า Amplitude


2 : แกนนอนเป็ นค่า Frequency แกนตังเป็ นค่า Amplitude
3 : แกนนอนเป็ นค่า Frequency แกนตังเป็ นค่า Time
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 103 :
ข ้อใดเป็ นกราฟแบบ Frequency domain ของการสันสะเทือน

1 : Fast Fourier Transform (FFT)


2 : Boolean Function Transform (BFT)
3 : Markov Chain Transform (MCT)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 104 :
ข ้อใดเป็ นการวัดการสันสะเทือนทีควรทําในการตรวจสภาพเครืองจักร

1 : การสันสะเทือนตามแนวนอน (Horizontal vibration)


2 : การสันสะเทือนตามแนวดิง (Vertical vibration)
3 : การสันสะเทือนตามแนวแกน (Axial vibration)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 105 :
ข ้อใดเป็ นวิธวี เิ คราะห์การสันสะเทือนเมือต ้องการทีจะยืนยันชินส่วนหรืออุปกรณ์ทเป็
ี นปั ญหา

1 : Broadband analysis
2 : Narrowband analysis
3 : Signature analysis
4 : Amplitude Trending
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 106 :
ข ้อใดเป็ นวิธวี เิ คราะห์การสันสะเทือนทีช่วยชีบ่งสภาพของเครืองจักรอุปกรณ์

1 : Broadband analysis
2 : Narrowband analysis
3 : Signature analysis
4 : Amplitude Trending
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 107 :
ข ้อใดเป็ นการวิเคราะห์การสันสะเทือนทีแสดงเอกลักษณ์ของชุดเครืองจักรแต่ละชุด

1 : Narrowband analysis
2 : Signature analysis
3 : Trending
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 108 :
ข ้อใดอาจเป็ น harmonic ของคลืนความถี 2,500 Hertz

1 : คลืนความถี 7,500 Hertz


2 : คลืนความถี 10,000 Hertz
3 : คลืนความถี 25,000 Hertz
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 225 : 06 เทคนิค Inspection - Temperature

ข ้อที 109 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือวัดอุณหภูมท ี ได ้ใช ้โลหะสองชนิด
ิ ไม่

1 : Bimetallic
2 : Thermistor
3 : Thermocouple
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 110 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือวัดอุณหภูมท ี ้ความแตกต่างในสัมประสิทธิของการขยายตัวของโลหะสองชนิด
ิ ใช

1 : Bimetallic element thermometer


2 : Thermistor
3 : Thermocouple
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 111 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือวัดอุณหภูมท ี ้ความแตกต่างของความต ้านทานไฟฟ้ าของตัวนํ า เมืออุณหภูมเิ ปลียนแปลงไป
ิ ใช

1 : Bimetallic
2 : Thermistor
3 : Thermocouple
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 112 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือวัดอุณหภูมท ี ้คุณสมบัตข
ิ ใช ิ องโลหะบางชนิดทีเปลียนแปลงสีไปตามอุณหภูม ิ

1 : Bimetallic
2 : Thermistor
3 : Thermocouple
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 113 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือวัดอุณหภูมท
ิ ทํ
ี าการวัดค่าได ้โดยไม่ต ้องสัมผัสวัตถุทต
ี ้องการวัดอุณหภูม ิ

1 : Gas thermometer
2 : Resistance thermometer
3 : Pyrometer
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 114 :
ี ้ในการวัดและแสดงระดับอุณหภูมข
ข ้อใดเป็ นรังสีทใช ิ องเครืองมือฉายภาพอุณหภูม ิ (Thermography)

1 : รังสีอล
ั ฟา (Alpha-ray)
2 : รังสีแกมมา (Gamma-ray)
3 : รังสีอนิ ฟราเรด (Infrared-ray)
4 : รังสีเอ็กซ์ (X-ray)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 115 :
ข ้อใดเป็ นความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์ทถู
ี กต ้องระหว่างองศาเซลเซียส (C) กับ องศาฟาเรนไฮต์ (F)

1 : F = C + 32
2 : F = 1.8*C
3 : F = 1.8*C + 32
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 116 :
ข ้อใดเป็ นระดับอุณหภูมท
ิ ศู ั บูรณ์ (absolute zero )
ี นย์สม

1 : -273.15 °C
2 : -32 °C
3 : 0 °C
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 117 :
ข ้อใดเป็ นอุณหภูมเิ ทียบเท่าของ 50 องศาเซลเซียส

1 : 82 เคลวิน
2 : 122 เคลวิน
3 : 323.15 เคลวิน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 118 :
ข ้อใดเป็ นอุณหภูมเิ ทียบเท่าของ 400 °F

1 : 204.4 °C
2 : 212 °C
3 : 273.15 °C
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 119 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีเหมาะสําหรับใช ้ในการตรวจสภาพของสถานีไฟฟ้ าย่อย

1 : Thermistor
2 : Thermocouple
3 : Thermography
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 120 :
ข ้อใดเป็ นความผิดปกติทสามารถตรวจพบได
ี ้โดยใช ้เครืองมือฉายภาพอุณหภูม ิ (Thermography)

1 : การหลุดหลวมของอุปกรณ์ไฟฟ้ า
2 : การหลุดหลวมของอุปกรณ์ทางกล
3 : การมีภาระงานเกินระดับปกติ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 226 : 07 เทคนิค Inspection - Pressure

ข ้อที 121 :
ข ้อใดเป็ นเครืองจักรอุปกรณ์ทตั
ี วแปรร่วมในการทํางานหรือประสิทธิภาพในการทํางานสามารถชีบ่งสภาพของเครืองจักรอุปกรณ์นันได ้ดี

1 : เครืองสูบ
2 : มอเตอร์ไฟฟ้ า
3 : ระบบไฮดรอลิกส์
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 122 :
ข ้อใดเป็ นตัวแปรร่วมในการทํางานทีสามารถชีบ่งสภาพของระบบนิวเมติกส์ได ้ดี

1 : แรงดันไฟฟ้ า
2 : แรงดันไอนํ า
3 : กําลังลม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 123 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีใช ้ในการชีบ่งสภาพของระบบไฮดรอลิกส์ได ้ดี

1 : Fluid level indicator


2 : Multi meter
3 : Pressure flow meter
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 124 :
ข ้อใดเป็ นตัวแปรร่วมในการทํางานทีสามารถชีบ่งสภาพของเครืองสูบได ้ดี

1 : อัตราการไหลของของเหลว
2 : ความถ่วงจําเพาะของของเหลว
3 : อุณหภูมข ิ องเครืองสูบ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 125 :
ข ้อใดเป็ นตัวแปรร่วมในการทํางานทีสามารถชีบ่งสภาพของหม ้อไอนํ าได ้ดี

1 : แรงดันไอ
2 : อุณหภูมข ิ องไอ
3 : อัตราการสินเปลืองเชือเพลิง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 126 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีสามารถใช ้ในการชีบ่งสภาพของหม ้อไอนํ าได ้ดี

1 : Current clamp meter


2 : Pressure gauge
3 : Volt meter
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 127 :
ข ้อใดเป็ นอุปกรณ์ทวัี ดกระแสไฟฟ้ าจากแรงเหนียวนํ าของสนามแม่เหล็กรอบสายไฟ

1 : Amp meter
2 : Current clamp meter
3 : Multi meter
4 : Oscilloscope
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 128 :
ข ้อใดเป็ นการทํางานทีแท ้จริงของ โอห์มมิเตอร์ ทีใช ้ทัวไป

1 : วัดแรงดันแล ้วแปลงเป็ นความต ้านทาน


2 : วัดกระแสแล ้วแปลงเป็ นความต ้านทาน
3 : วัดความต ้านทานแล ้วผ่านวงจรขยายเพือแสดงค่า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 129 :
ข ้อใดเป็ นวิธท ี กใช ้ในการตรวจสอบว่าวงจรไฟฟ้ าทํางานอยูห
ี มั ่ รือไม่ (วงจรเปิ ดหรือปิ ด)
1 : Resistance testing
2 : Megger testing
3 : HiPot testing
4 : Impedance testing
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 130 :
ข ้อใดเป็ นวิธต
ี รวจสอบความต ้านทานจากการให ้แรงดันไฟฟ้ าขนาด 500-5,000 โวลต์ ในส่วนของวงจรทีต ้องการตรวจสอบ

1 : Resistance testing
2 : Megger testing
3 : HiPot testing
4 : Impedance testing
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 131 :
ี ดสอบทางไฟฟ้ าทีใช ้ตรวจสอบการทํางานของขดลวดได ้ดี
ข ้อใดเป็ นวิธท

1 : Resistance testing
2 : Megger testing
3 : HiPot testing
4 : Impedance testing
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 132 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือมาตรฐานทีใช ้วิเคราะห์การทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกส์กน
ั อย่างแพร่หลาย

1 : Amp meter
2 : Ohmmeter
3 : Oscilloscope
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 227 : 08 เทคนิค Inspection - Noise, visual inspection

ข ้อที 133 :
ข ้อใดเป็ นความผิดปกติของเครืองจักรอุปกรณ์ทอาจพบได
ี ้จากการตรวจสอบด ้วยสายตา

1 : การรัวซึมของนํ ามันไฮดรอลิก
2 : การรัวซึมของนํ าหล่อเย็น
3 : การเกิดสนิมบนชินส่วนโลหะ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 134 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีทําให ้สามารถมองเครืองจักรทีหมุนได ้ในสภาพทีคล ้ายหยุดนิงได ้

1 : Stereoscope
2 : Stethoscope
3 : Stroboscope
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 135 :
ข ้อใดเป็ นความถีในการกระพริบแสงทีจะทําให ้มองเครืองจักรทีหมุนด ้วยความเร็วรอบ 950 รอบต่อนาทีในสภาพทีคล ้ายหยุดนิงได ้

1 : 450 รอบต่อนาที
2 : 900 รอบต่อนาที
3 : 1,900 รอบต่อนาที
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 136 :
ี ้ในครัวเรือนทีสามารถนํ ามาใช ้วิเคราะห์สภาพเครืองจักรได ้เป็ นอย่างดี
ข ้อใดเป็ นอุปกรณ์ทใช

1 : โทรทัศน์วงจรปิ ด
2 : ระบบบันทึกภาพและเครืองเล่นวีดท
ิ ศ
ั น์
3 : เตาไฟฟ้ า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 137 :
ข ้อใดเป็ นการตรวจสอบทีสามารถทําโดยใช ้แสงเลเซอร์

1 : ตรวจสอบความตรง
2 : ตรวจสอบความขนาน
3 : ตรวจสอบความเรียบ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 138 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีสามารถตรวจสอบการเปลียนแปลงขนาดของชินส่วนแม ้เพียงเล็กน ้อยได ้ดี

1 : Alignment telescope
2 : Measuring microscope
3 : Optical comparator
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 139 :
ข ้อใดเป็ นวิธก
ี ารทีได ้ผลดีและประหยัดต่อการตรวจสอบด ้วยสายตาสําหรับส่วนของเครืองจักรด ้านทีติดผนัง

1 : เจาะผนังทําช่องมองถาวร
2 : ติดกระจกเงาทีผนังด ้านนัน
3 : ติดตังกล ้องวงจรปิ ด
4 : ย ้ายเครืองจักรนันออกมาจากผนัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 140 :
ข ้อใดเป็ นโอกาสอันเหมาะทีจะตรวจสอบชินส่วนต่างๆ ของเครืองจักรด ้วยสายตาอย่างละเอียด

1 : ในขณะทําการซ่อมฉุกเฉิน (Emergency maintenance)


2 : ในขณะปิ ดเครืองทํางานซ่อม (Shutdown maintenance)
3 : ในขณะทําการซ่อมใหญ่หรือยกเครือง (Major repair or overhaul)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 141 :
ในการตรวจสอบหารอยแตกร ้าวบนโลหะด ้วยวิธใี ช ้สีซม
ึ ลึก (Dye penetrant) ตัวสารซึมลึก (penetrant) มักถูกใช ้เป็ นลําดับทีเท่าใด

1 : กระป๋ องที 1
2 : กระป๋ องที 2
3 : กระป๋ องที 3
4 : กระป๋ องที 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 142 :
ข ้อใดเป็ นคุณสมบัตท ี าคัญของสารซึมลึก (Penetrant) ทีใช ้ในการตรวจสอบหารอยแตกร ้าวของโลหะด ้วยวิธส
ิ สํ ี ม
ี ซ ึ ลึก (Dye penetrant)

1 : มีแรงตึงผิวตําจึงซึมลึกได ้ดี
2 : มีเม็ดสีขนาดเล็กทําให ้ซึมลึกในรอยแตกร ้าวได ้
3 : มีความลืนสูงจึงมีความสามารถในการไหลดี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 143 :
ข ้อใดเป็ นความหมายของ Exograph

1 : ภาพฉายของอุณหภูมท ิ เกิ
ี ดจากรังสีอน ิ ฟราเรด
2 : ภาพฉายทีเกิดจากรังสีเอ็กซ์ (x-ray)
3 : ภาพฉายทีเกิดจากรังสีแกมมา (gamma-ray)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 144 :
ข ้อใดเป็ นข ้อเด่นของ Gamma-ray ทีเหนือกว่า X-ray ในการใช ้คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าตรวจหารอยร ้าวของโลหะ

1 : สามารถตรวจโลหะได ้หนามากกว่า
2 : ใช ้เวลาในการตรวจสอบน ้อยกว่า
3 : ตรวจสอบรอยแตกร ้าวของโลหะทีหนาน ้อยกว่า 2 นิวได ้ดีมาก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 228 : 09 ประเภท ชนิด ส่วนประกอบ คุณสมบัต ิ และการวิเคราะห์ lubricant

ข ้อที 145 :
ข ้อใดเป็ นประเภทของนํ ามันทีนํ ามาใช ้หล่อลืนเครืองจักรในเชิงอุตสาหกรรมมากทีสุดในปั จจุบน

1 : นํ ามันจากพืช
2 : นํ ามันจากสัตว์
3 : นํ ามันจากปิ โตรเลียม
4 : นํ ามันสังเคราะห์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 146 :
ข ้อใดเป็ นประเภทของนํ ามันปิ โตรเลียมทีค่าดัชนีความหนืดสูง (High viscosity index)

1 : Aromatic
2 : Asphaltic
3 : Naphthenic
4 : Paraffinic
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 147 :
ข ้อใดเป็ นประเภทของนํ ามันปิ โตรเลียมทีมีราคาถูกทีใช ้หล่อลืนเฟื องเปิ ดทีมีรอบความเร็วตํา

1 : Aromatic
2 : Asphaltic
3 : Naphthenic
4 : Paraffinic
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 148 :
ข ้อใดเป็ นส่วนผสมของนํ ามันปิ โตรเลียมทีมักนํ ามาใช ้ในการหล่อลืน

1 : Asphaltic + Paraffinic
2 : Aromatic + Paraffinic
3 : Naphthenic + Paraffinic
4 : Paraffinic + Aromatic
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 149 :
ี ้ในการหล่อลืน
ข ้อใดเป็ นส่วนประกอบของจาระบีทใช

1 : สบู่ นํ ามัน สารเพิมคุณสมบัต ิ


2 : เรซิน นํ ามัน สารเพิมคุณสมบัต ิ
3 : เยลลี นํ ามัน สารเพิมคุณสมบัต ิ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 150 :
ข ้อใดเป็ นอัตราส่วนโดยนํ าหนักของส่วนประกอบของจาระบี (สบู่ : นํ ามัน : สารเพิมคุณสมบัต)ิ ทีใช ้ในการหล่อลืน

1 : 70 : 25 : 5
2 : 60 : 35 : 5
3 : 40 : 55 : 5
4 : 15 : 80 : 5
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 151 :
ข ้อใดเป็ นจาระบีทมี
ี ความแข็งมากทีสุด

1 : NLGI No. 00
2 : NLGI No. 0
3 : NLGI No. 6
4 : NLGI No. 10
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 152 :
ข ้อใดเป็ นตัวอุ ้มนํ ามันในจาระบีททนนํ
ี าแต่ไม่ทนความร ้อน

1 : สบูแ ่ คลเซียม
2 : สบูโ่ ซเดียม
3 : สบูล ่ เิ ทียม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 153 :
ข ้อใดเป็ นตัวอุ ้มนํ ามันในจาระบีททนนํ
ี าและทนความร ้อนได ้ดี

1 : สบูแ ่ คลเซียม
2 : สบูโ่ ซเดียม
3 : สบูล ่ เิ ทียม
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 154 :
จาระบีในข ้อใดสามารถใช ้ปนรวมกันได ้

1 : ชนิดเดียวกันแต่คนละเบอร์
2 : เบอร์เดียวกันแต่ตา่ งชนิด
3 : ยีห ้อเดียวกันแต่ตวั อุ ้มนํ ามัน (สบู)่ ต่างกัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 155 :
ี กใช ้ในตลับลูกปื นทีไม่ต ้องหล่อลืน
ข ้อใดเป็ นสารหล่อลืนสังเคราะห์ทมั

1 : Organic esters
2 : Polyglycols
3 : Silicones
4 : Synthethetic hydrocarbons
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 156 :
ข ้อใดทีไม่ใช่คณ
ุ สมบัตข
ิ องนํ ามันหล่อลืนสังเคราะห์

1 : ดัชนีความหนืดสูง
2 : จุดไหลเทสูง
3 : การระเหยตัวตํา
4 : ความเสถียรของคุณสมบัตท
ิ างเคมีสงู
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 157 :
ี ้กันมากในทางอุตสาหกรรม
ข ้อใดเป็ นประเภทของนํ ามันหล่อลืนสังเคราะห์ทใช

1 : Ester, diester, complex ester


2 : Polyalphaolefin : PAO
3 : Polyglycol
4 : Silicone
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 158 :
ข ้อใดเป็ นระบบวัดความหนืดทีมีหน่วยวัดเป็ นวินาทีเซโบลต์ (SUS, SSU)

1 : ระบบเมตริก (สากล)
2 : ระบบอเมริกนั
3 : ระบบอังกฤษ
4 : ระบบยุโรป (เยอรมัน)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 159 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขทีเหมาะทีจะใช ้เลือกนํ ามันหล่อลืนทีมีความหนืดตํา

1 : ความเร็วรอบตํา
2 : ความเร็วรอบสูง
3 : อุณหภูมสิ งู
4 : แรงกดสูง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 160 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขทีเหมาะทีจะเลือกใช ้นํ ามันหล่อลืนทีมีความหนืดสูง

1 : ความเร็วรอบตํา
2 : อุณหภูมส ิ งู
3 : แรงกดสูง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
ข ้อใดคือความหมายทีถูกต ้องของจุดไหลเทของนํ ามันหล่อลืน

1 : ระดับความลาดเอียงของแท่งทดสอบทีนํ ามันหล่อลืนจะไหลเทไปได ้
2 : อุณหภูมต ิ ําสุดทีนํ ามันจะไหลได ้โดยไม่มอ
ี ะไรรบกวน
3 : ขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางของท่อทดลองทีนํ ามันหล่อลืนจะไหลได ้
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 162 :
ข ้อใดเป็ นวิธก
ี ําจัดนํ ามันหล่อลืนทีดี

1 : เททิงลงท่อระบายนํ า
2 : เททิงให ้ซึมลงในดิน
3 : ขายให ้กับผู ้รับซือเร่
4 : นํ าไปใช ้กับงานทีมีความต ้องการตํากว่า
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 163 :
ข ้อใดเป็ นจุดมุง่ หมายของการทดสอบนํ ามันหล่อลืนด ้วยการเผา (Burn test)

1 : เพือหาจุดวาบไฟ
2 : เพือหาโลหะทีอยูใ่ นนํ ามันหล่อลืน
3 : เพือทดสอบว่ามีนําปนเปื อนในนํ ามันหล่อลืนหรือไม่
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 164 :
ข ้อใดเป็ นจุดมุง่ หมายของการทดสอบนํ ามันหล่อลืนด ้วยแท่งไหลนํ ามัน (Flow stick)

1 : เพือตรวจว่านํ ามันหล่อลืนมีความหนืดเหมาะสมทีจะใช ้งานต่อไปได ้หรือไม่


2 : เพือตรวจหา ของแข็งหรือสิงแปลกปลอมทีปนเปื อนอยูใ่ นนํ ามันหล่อลืน
3 : เพือทดสอบว่ามีนําปนเปื อนในนํ ามันหล่อลืนหรือไม่
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 165 :
ข ้อใดเป็ นวิธท
ี ดี
ี ทสุ
ี ดในการตรวจสอบการล ้าตัว (Fatigue) ของเครืองจักร

1 : การวิเคราะห์การสันสะเทือน
2 : การฉายภาพอุณหภูม ิ
3 : การวิเคราะห์นํามันหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 166 :
ข ้อใดเป็ นหน ้าทีของปลักแม่เหล็ก (Magnetic plug)

1 : ปรับเส ้นแรงแม่เหล็กของนํ ามันหล่อลืน


2 : ดูดโลหะจากนํ ามันหล่อลืนไปเก็บไว ้
3 : ป้ องกันการรัวซึมของนํ ามันหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 167 :
ข ้อใดเป็ นสารเพิมคุณสมบัตท
ิ ช่
ี วยลดการเกิดกรดในนํ ามันหล่อลืน

1 : สารต ้านออกซิเดชัน (Oxidation Inhibitors)


2 : สารป้ องกันสนิม (Rust Inhibitors)
3 : สารรับแรงกดสูง (Extreme-pressure Additives)
4 : สารปรับปรุงดัชนีความหนืด (Viscosity Index Improver)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 168 :
ข ้อใดเป็ นสารเพิมคุณสมบัตท ี าให ้นํ ามันหล่อลืนใช ้งานได ้ดีแม ้อุณหภูมข
ิ ทํ ิ องเครืองจักรขณะทํางานจะสูงขึน

1 : สารต ้านออกซิเดชัน (Oxidation Inhibitors)


2 : สารป้ องกันสนิม (Rust Inhibitors)
3 : สารรับแรงกดสูง (Extreme-pressure Additives)
4 : สารปรับปรุงดัชนีความหนืด (Viscosity Index Improver)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 229 : 10 ระบบการหล่อลืน (Lubrication management system)

ข ้อที 169 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขทีเหมาะสมสําหรับระบบหล่อลืนทีใช ้การเติมจาระบีด ้วยมือ

1 : มีจด
ุ เติมจาระบีน ้อย เข ้าถึงได ้ยาก
2 : มีจดุ เติมจาระบีน ้อย เข ้าถึงได ้โดยสะดวก
3 : มีจด ุ เติมจาระบีมาก เข ้าถึงได ้ยาก
4 : มีจด ุ เติมจาระบีมาก เข ้าถึงได ้โดยสะดวก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 170 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขทีเหมาะสมสําหรับระบบหล่อลืนทีใช ้การเติมจาระบีโดยจ่ายแบบอัตโนมัตจิ ากศูนย์กลาง

1 : มีจดุ จาระบีเติมน ้อย เข ้าถึงได ้ยาก


2 : มีจด ุ เติมจาระบีน ้อย เข ้าถึงได ้โดยสะดวก
3 : มีจด ุ จาระบีเติมมาก เข ้าถึงได ้ยาก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 171 :
ข ้อใดเป็ นระบบหล่อลืนทีระบายความร ้อนได ้ดีเท่าทีต ้องการได ้

1 : ระบบจุม ่ หรือสาดนํ ามัน


2 : ระบบละอองนํ ามัน
3 : ระบบไหลเวียนนํ ามัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 172 :
ข ้อใดเป็ นระบบหล่อลืนทีระบายความร ้อนได ้น ้อยทีสุด

1 : ระบบเติมนํ ามันด ้วยการหยอด


2 : ระบบจุม
่ หรือสาดนํ ามัน
3 : ระบบละอองนํ ามัน
4 : ระบบไหลเวียนนํ ามัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 173 :
ข ้อใดเป็ นระบบหล่อลืนทีต ้นทุนเริมต ้นตําสุด

1 : ระบบจุม
่ หรือสาดนํ ามัน
2 : ระบบจ่ายจาระบีอต ั โนมัตจิ ากศูนย์กลาง
3 : ระบบละอองนํ ามัน
4 : ระบบไหลเวียนนํ ามัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 174 :
ข ้อใดเป็ นระบบหล่อลืนทีมีต ้นทุนด ้านสารหล่อลืนตําสุด

1 : ระบบเติมจาระบีด ้วยมือ
2 : ระบบจ่ายจาระบีอต ั โนมัตจิ ากศูนย์กลาง
3 : ระบบเติมนํ ามันด ้วยการหยอด
4 : ระบบไหลเวียนนํ ามัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 175 :
ี ารทีใช ้กันทัวไปเพือป้ องกันการสับสนปะปนในการใช ้สารหล่อลืนในโรงงานอุตสาหกรรม
ข ้อใดเป็ นวิธก

1 : ตังรหัสประจําตัวสําหรับสารหล่อลืนแต่ละชนิด
2 : ใช ้รูปสัญลักษณ์ของสารหล่อลืนแต่ละชนิด
3 : ใช ้สีทแตกต่
ี างสําหรับสารหล่อลืนแต่ละชนิด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 176 :
ข ้อใดเป็ นเหตุผลทีมีการลดความหลากหลายของสารหล่อลืนในการออกแบบระบบการจัดการหล่อลืนเครืองจักรกลอุตสาหกรรม

1 : เพือลดค่าใช ้จ่ายในการซือสารหล่อลืนให ้น ้อยลง


2 : เพือลดความยุง่ ยากซับซ ้อนในการจัดการสารหล่อลืน
3 : เพือให ้การใช ้สารหล่อลืนตรงกับความต ้องการของผู ้สร ้างเครืองจักรให ้มากทีสุด
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 177 :
ข ้อใดเป็ นเอกสารหลักในการดําเนินงานหล่อลืน

1 : แผนการหล่อลืนแม่บท
2 : รายการตรวจประเมินระบบหล่อลืน
3 : บัญชีสารหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 178 :
ข ้อใดเป็ นบุคคลทีควรได ้รับมอบหมายให ้รับผิดชอบงานหล่อลืน

1 : ช่างซ่อมเครืองกล
2 : พนักงานประจําเครืองจักร
3 : ช่างหล่อลืน หรือ ช่างนํ ามัน
4 : เลือกบุคคลใดบุคคลหนึงในสามข ้อข ้างต ้นได ้ตามความพร ้อมและความเหมาะสม
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 179 :
ข ้อใดเป็ นประโยชน์ของการให ้พนักงานประจําเครืองจักรเป็ นผู ้รับผิดชอบงานหล่อลืน

1 : ทําให ้ความเป็ นเจ ้าของสมบูรณ์ขน



2 : เพิมทักษะทางด ้านเทคนิคให ้กับพนักงานประจําเครือง
3 : ลดภาระงานหล่อลืนของฝ่ ายซ่อมบํารุง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 180 :
ข ้อใดเป็ นประโยชน์ของการให ้ช่างหล่อลืนเป็ นผู ้รับผิดชอบงานหล่อลืน

1 : ลดต ้นทุนในการหล่อลืน
2 : ทําให ้ความรับผิดชอบกับเครืองจักรมีความชัดเจน
3 : สร ้างและใช ้ความเชียวชาญของช่างหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 181 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์หลักในการตรวจประเมินระบบหล่อลืน (Lubrication system audit)

1 : เพือควบคุมการหล่อลืนให ้เป็ นไปตามแบบแผนทีกําหนดไว ้


2 : เพือลดต ้นทุนในการหล่อลืน
3 : เพือตรวจหาข ้อบกพร่องของพนักงานทีรับผิดชอบงานหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 182 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขสําคัญทีทําให ้เกิดความสัมพันธ์เชิงปฏิปักษ์ ระหว่างผู ้ขายกับผู ้ใช ้สารหล่อลืน

1 : ผู ้ใช ้ขาดความรู ้เกียวกับสารหล่อลืน


2 : ผู ้ขายไม่มคี วามรู ้เกียวกับสารหล่อลืน
3 : ทังสองฝ่ ายหวังแค่ผลประโยชน์เฉพาะหน ้า
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 183 :
ข ้อใดเป็ นเหตุผลทีผู ้ใช ้สารหล่อลืนมักเลือกส่งสารหล่อลืนไปวิเคราะห์ทห
ี ้องทดสอบของบริษัทนํ ามันผู ้จําหน่ายสารหล่อลืน

1 : บริษัทนํ ามันมักได ้มาตรฐาน ISO 17025


2 : ถือเป็ นความรับผิดชอบโดยตรงของผู ้ขายสารหล่อลืน
3 : การจัดตังห ้องทดสอบและวิเคราะห์นํามันหล่อลืนมีต ้นทุนสูง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 184 :
ข ้อใดเป็ นขันตอนทีมักเป็ นปั ญหาในการวิเคราะห์นํามันหล่อลืนทีต ้องกระทําอย่างมีทก
ั ษะดีพอ

1 : การเก็บตัวอย่างนํ ามันหล่อลืน
2 : การกําหนดตัวชีบ่งนํ ามันหล่อลืน
3 : การส่งตัวอย่างนํ ามันหล่อลืนไปห ้องทดสอบ
4 : การกําจัดนํ ามันหล่อลืน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 185 :
ข ้อใดมักเป็ นทีมาของการปนเปื อนของนํ าในนํ ามันหล่อลืน

1 : การดูดซึม
2 : การควบแน่น
3 : ตัวเปลียนถ่ายความร ้อน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 186 :
ข ้อใดเป็ นเหตุผลของการวางถังนํ ามันตามนอนแทนการวางตัง

1 : เพือความสะดวกในการถ่ายเทนํ ามันหล่อลืนไปใช ้งาน


2 : เพือป้ องกันการดูดซึมไอนํ าจากอากาศเข ้าไปปนเปื อนกับนํ ามัน
3 : เพือลดโอกาสในการเกิดอัคคีภย ั ในคลังนํ ามัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 187 :
ข ้อใดเป็ นสารเคมีทช่
ี วยปรับปรุงดัชนีความหนืดโดยช่วยลดอัตราการเปลียนแปลงความหนืดใสของนํ ามันเมืออุณหภูมเิ ปลียนไป

1 : Chlorine
2 : Sulfur
3 : Polyisobutylene
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 188 :
ข ้อใดเป็ นสารชําระล ้างและกระจายความสกปรก (Detergents and Dispersants)

1 : Metallic sulfonates
2 : Silicone polymer
3 : Polyisobutylene
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 189 :
ข ้อใดเป็ นผู ้ทีมีบทบาทในการจัดหาสารหล่อลืน

1 : ฝ่ ายซ่อมบํารุง
2 : ฝ่ ายจัดซือ
3 : ฝ่ ายวิศวกรรม
4 : ทังสามฝ่ ายร่วมกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 190 :
ี ารทีใช ้ในการทดสอบนํ ามันหล่อลืนอย่างง่าย
ข ้อใดเป็ นวิธก

1 : การทดสอบความหนืดโดยแท่งไหลนํ ามัน
2 : การทดสอบด ้วยขวดทดสอบ
3 : การทดสอบด ้วยการเผา
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 191 :
ข ้อใดเป็ นผลทีน่าจะได ้จากความร่วมมือกับผู ้จําหน่ายสารหล่อลืน

1 : การลดความหลากหลายของสารหล่อลืน
2 : การกรองนํ ามันหล่อลืนเพือใช ้งานอืน
3 : การทดสอบสภาพสารหล่อลืน
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 192 :
ข ้อใดมักเป็ นทีมาของการปนเปื อนของนํ าในนํ ามันหล่อลืน

1 : นํ าจากภายนอก
2 : การควบแน่น
3 : การสันดาปและปรับสภาพเป็ นกลาง
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 230 : 11 ระบบการแจ ้งซ่อมและการรายงาน

ข ้อที 193 :
ข ้อมูลสําคัญทีจําเป็ นต ้องมีในใบแจ ้งซ่อม คือข ้อใด

1 : วันเวลาทีแจ ้ง
2 : แผนกทีแจ ้งซ่อม
3 : ตําแหน่งทีตังของเครืองทีเสีย
4 : ความเร่งด่วนของงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 194 :
ผู ้ทีจะเขียนใบแจ ้งซ่อมได ้นัน จะต ้องเป็ นใครจึงจะเหมาะสม
1 : หัวหน ้าแผนกผลิต
2 : หัวหน ้าแผนกบํารุงรักษา
3 : maintenance inspector
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 195 :
ข ้อมูลทีนํ ามาจากรายงานการซ่อม และ เอามาบันทึกไว ้ในประวัตเิ ครืองจักร คือข ้อใด

1 : วันเวลาทีเครืองเสีย
2 : รหัสหมายเลขเครือง
3 : ผู ้จําหน่ายอะไหล่
4 : ผู ้ผลิตเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 196 :
ข ้อมูลทีนํ ามาจากรายงานการซ่อม และ เอามาบันทึกไว ้ในประวัตเิ ครืองจักร คือข ้อใด

1 : วันเวลาทีซ่อมเครืองเสร็จ
2 : รหัสหมายเลขเครือง
3 : ผู ้จําหน่ายอะไหล่
4 : ผู ้ผลิตเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 197 :
ข ้อมูลทีนํ ามาจากรายงานการซ่อม และ เอามาบันทึกไว ้ในประวัตเิ ครืองจักร คือข ้อใด

1 : รหัสหมายเลขเครือง
2 : ผู ้จําหน่ายอะไหล่
3 : สาเหตุทเครืี องจักรเสีย
4 : ผู ้ผลิตเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 198 :
ข ้อมูลทีนํ ามาจากรายงานการซ่อม และ เอามาบันทึกไว ้ในประวัตเิ ครืองจักร คือข ้อใด

1 : รหัสหมายเลขเครือง
2 : ผู ้จําหน่ายอะไหล่
3 : ระยะเวลาทีต ้องรออะไหล่ (ถ ้ามี)
4 : ผู ้ผลิตเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 199 :
ข ้อมูลทีนํ ามาจากรายงานการซ่อม และ เอามาบันทึกไว ้ในประวัตเิ ครืองจักร คือข ้อใด

1 : รหัสหมายเลขเครือง
2 : ผู ้จําหน่ายอะไหล่
3 : วันเวลาทีเริมทํางานซ่อม
4 : ผู ้ผลิตเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 200 :
ระบบข ้อมูลทีสําคัญในการจัดการบํารุงรักษา นอกจาก ระบบการแจ ้งซ่อมและสังงาน ระบบบันทึกประวัตเิ ครืองจักรแล ้ว ยังมีอะไรอีก

1 : ระบบการสังซืออะไหล่
2 : ระบบการวางแผนshutdown
3 : ระบบการเก็บเอกสารซ่อมบํารุง
4 : ระบบข ้อมูลรายละเอียดเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 201 :
ข ้อใดเป็ นรายละเอียดทีจําเป็ นต ้องมีในใบสังงานบํารุงรักษา

1 : ผู ้ทีจะติดต่อในการซืออะไหล่
2 : หมายเลขรหัสเครืองจักรทีต ้องบํารุงรักษา
3 : ประวัตเิ ครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 202 :
ข ้อใดเป็ นรายละเอียดทีจําเป็ นต ้องมีในใบสังงานบํารุงรักษา

1 : ตําแหน่งทีตังเครืองจักร
2 : ผู ้ทีจะติดต่อในการซืออะไหล่
3 : ประวัตเิ ครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 203 :
ข ้อใดเป็ นรายละเอียดทีจําเป็ นต ้องมีในใบสังงานบํารุงรักษา

1 : ผู ้ทีจะติดต่อในการซืออะไหล่
2 : รายละเอียดของงานบํารุงรักษา
3 : ประวัตเิ ครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 204 :
ข ้อใดเป็ นรายละเอียดทีจําเป็ นต ้องมีในใบสังงานบํารุงรักษา

1 : ผู ้ทีจะติดต่อในการซืออะไหล่
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : ข ้อแนะนํ าเกียวกับความปลอดภัย (ถ ้ามี)
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 205 :
เมือทํางานบํารุงรักษาตามใบสังงานแล ้ว รายละเอียดทีต ้องรายงานกลับมาในใบสังงานควรเป็ นข ้อใด

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : บริษัททีได ้ติดต่อซืออะไหล่
3 : วันเวลาทีเริมงานจริง
4 : หมายเลขเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 206 :
เมือทํางานบํารุงรักษาตามใบสังงานแล ้ว รายละเอียดทีต ้องรายงานกลับมาในใบสังงานควรเป็ นข ้อใด

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : บริษัททีได ้ติดต่อซืออะไหล่
3 : วันเวลาทีงานเสร็จ
4 : หมายเลขเครืองจักร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 207 :
เมือทํางานบํารุงรักษาตามใบสังงานแล ้ว รายละเอียดทีต ้องรายงานกลับมาในใบสังงานควรเป็ นข ้อใด

1 : บริษัททีได ้ติดต่อซืออะไหล่
2 : รายการอะไหล่ทใช ี ้ไปในการทํางาน
3 : หมายเลขเครืองจักร
4 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 208 :
เมือทํางานบํารุงรักษาตามใบสังงานแล ้ว รายละเอียดทีต ้องรายงานกลับมาในใบสังงานควรเป็ นข ้อใด

1 : หมายเลขเครืองจักร
2 : บริษัททีได ้ติดต่อซืออะไหล่
3 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
4 : เลขทีอ ้างอิงของใบเบิกวัสดุและอะไหล่
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 209 :
เมือทํางานบํารุงรักษาตามใบสังงานแล ้ว รายละเอียดทีต ้องรายงานกลับมาในใบสังงานควรเป็ นข ้อใด

1 : หมายเลขเครืองจักร
2 : บริษัททีได ้ติดต่อซืออะไหล่
3 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
4 : รายชือพนักงานบํารุงรักษาทีทํางานนัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 210 :
ข ้อมูลทีควรเก็บไว ้ในรายการเกียวกับเครืองจักรได ้แก่

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : ผู ้ขายอะไหล่
4 : วิธก ี ารบํารุงรักษาป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 211 :
ข ้อมูลทีควรเก็บไว ้ในรายการเกียวกับเครืองจักรได ้แก่

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : ตําแหน่งทีตังของเครืองจักร
4 : วิธก
ี ารบํารุงรักษาป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 212 :
ข ้อมูลทีควรเก็บไว ้ในรายการเกียวกับเครืองจักรได ้แก่

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : รายการอ ้างอิงเกียวกับแบบ (drawing) ของเครืองจักร
4 : วิธก
ี ารบํารุงรักษาป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 213 :
ข ้อมูลทีควรเก็บไว ้ในรายการเกียวกับเครืองจักรได ้แก่

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : คูม
่ อื การใช ้งาน (Manual) ของเครืองจักร
4 : วิธกี ารบํารุงรักษาป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 214 :
ข ้อมูลทีควรเก็บไว ้ในรายการเกียวกับเครืองจักรได ้แก่

1 : รายชือพนักงานผู ้ควบคุมเครืองจักรนัน
2 : ประวัตเิ ครืองจักร
3 : รหัสของเครืองจักร
4 : วิธก
ี ารบํารุงรักษาป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 215 :
เอกสารในข ้อใดทีวิศวกรซ่อมบํารุงใช ้บันทึกการวิเคราะห์ ประเมินงานซ่อม และจัดงานซ่อม

1 : ใบสังงานซ่อม
2 : ใบแจ ้งซ่อม
3 : รายงานซ่อมบํารุง
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 216 :
เอกสารในข ้อใดทีหัวหน ้างานซ่อมใช ้สําหรับบันทึกการส่งมอบงานซ่อมหลังจากช่างซ่อมทําการซ่อมเรียบร ้อยแล ้ว

1 : ใบแจ ้งซ่อม
2 : ใบสังงานซ่อม
3 : รายงานซ่อมบํารุง
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 231 : 12 ระบบ P.M. (P.M. Standard and check sheet)

ข ้อที 217 :
ข ้อใดทีถือว่าเป็ นงานซ่อมบํารุงป้ องกันทางอ ้อม (Indirect PM)

1 : การเปลียนชินส่วนของเครืองจักรทีหมดอายุ
2 : การยกเครือง
3 : การตรวจสอบสภาพเครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 218 :
ข ้อใดเป็ นสิงทีพนักงานตรวจสอบเครืองจักร (PM Inspector) ควรทําเมือพบข ้อบกพร่องเล็กน ้อยทีสามารถแก ้ไขได ้โดยง่าย

1 : แก ้ไขข ้อบกพร่องนันแล ้วทํารายงาน


2 : ออกใบแจ ้งซ่อม
3 : สังให ้หยุดเครือง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 219 :
ข ้อใดเป็ นสิงทีพนักงานตรวจสอบเครืองจักร (PM Inspector) ควรทําเมือพบข ้อบกพร่องทีต ้องมีการวินจ
ิ ฉั ยสาเหตุหรือต ้องเปลียนชินส่วนอะไหล่

1 : แก ้ไขข ้อบกพร่องนันแล ้วทํารายงาน


2 : ออกใบแจ ้งซ่อม
3 : สังให ้หยุดเครือง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 220 :
ข ้อใดเป็ นเอกสารทีมักระบุวธิ ก
ี ารและความถีในการซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : มาตรฐานงานซ่อมบํารุงป้ องกัน
2 : กําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน
3 : ใบสังงานซ่อมบํารุงป้ องกัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 221 :
ข ้อใดเป็ นประโยชน์ของการซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : ลดการชํารุดขัดข ้องของเครืองจักรและการสูญเสียผลผลิต
2 : ลดงานซ่อมฉุกเฉิน งานซ่อมใหญ่
3 : ลดการใช ้อะไหล่และขนาดคงคลังอะไหล่
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 222 :
ข ้อใดเป็ นถือว่าเป็ นงานซ่อมบํารุงประจํา (Routine maintenance)
1 : การหล่อลืนและการตรวจสอบสภาพเครืองจักร
2 : การหล่อลืนและการเปลียนชินส่วนทีหมดอายุ
3 : การทําความสะอาดและการหล่อลืนเครืองจักร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 223 :
ั (Objective inspection)
ข ้อใดเป็ นการตรวจสอบแบบภาวะวิสย

1 : การฟั งเสียงของเครืองจักรขณะทํางาน
2 : การวัดและวิเคราะห์การสันสะเทือนของเครืองจักร
3 : ถูกทังข ้อ 1 และ 2
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 224 :
ข ้อใดเป็ นงานทีช่วยให ้ระบบซ่อมบํารุงป้ องกันมีประสิทธิผล

1 : การตรวจสอบสภาพเครืองจักร
2 : การเปลียนชินส่วนตามระยะเวลาทีกําหนดไว ้
3 : การยกเครืองหรือทําการซ่อมใหญ่ทกุ ปี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 225 :
ข ้อใดเป็ นเวลาทีเป็ นโอกาสในการตรวจสอบสภาพเครืองจักร

1 : ขณะเดินเครือง
2 : ขณะหยุดเครือง / ปิ ดซ่อม
3 : ขณะทําการซ่อมใหญ่
4 : ทังสามข ้อประกอบกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 226 :
ข ้อใดเป็ นบุคลากรทีควรได ้รับมอบหมายให ้ตรวจสอบสภาพเครืองจักร

1 : พนักงาน หรือ หัวหน ้างานในผ่ายผลิต


2 : ช่างซ่อมบํารุง
3 : พนักงานตรวจสภาพเครืองจักร
4 : จัดตามความเหมาะสมจากสามข ้อข ้างต ้น
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 227 :
ข ้อใดเป็ นข ้อดีของการตรวจวัดสภาพแบบใช ้ประสาทสัมผัสและความชํานาญ (Subjective Condition Monitoring)

1 : ได ้ผลแน่นอนกว่า
2 : เก็บประวัตไิ ด ้ง่ายกว่า
3 : ใช ้เงินลงทุนน ้อย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 228 :
ข ้อใดเป็ นเงือนไขทีทําให ้ต ้องติดเครืองมือตรวจสอบสภาพเครืองไว ้ประจําเครืองจักรทีมีความสําคัญ

1 : เครืองจักรมีราคาแพง
2 : ช่วงเวลาบอกเตือนเหตุขด ั ข ้องล่วงหน ้าสัน
3 : ไม่มพ ี นักงานอยูป
่ ระจําเครืองจักรนัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 229 :
ข ้อใดเป็ นเอกสารในระบบซ่อมบํารุงป้ องกันทีอาจจัดทําในรูปของรายการตรวจสอบได ้

1 : มาตรฐานซ่อมบํารุงป้ องกัน
2 : กําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน
3 : ใบสังงานซ่อมบํารุงป้ องกัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 230 :
ข ้อใดเป็ นเอกสารอ ้างอิงรายการแรกทีควรใช ้ในการจัดทํามาตรฐานซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : คูม
่ อ
ื บํารุงรักษาเครืองจักร
2 : ประวัต ิ / บันทึกการซ่อมบํารุงเครืองจักร
3 : ตําราทางเทคนิค
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 231 :
ข ้อใดไม่เป็ นวัตถุประสงค์ในการจัดทํากําหนดการบํารุงรักษา (PM Schedule)

1 : เพือกําหนดเวลาในการบํารุงรักษาเครืองจักร
2 : เพือกระจายภาระงาน
3 : เพือให ้ได ้งานตรงตามมาตรฐานทีกําหนด
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 232 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ในการประเมินงานบํารุงรักษาป้ องกัน (PM Appraisal)ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ในการประเมินงานบํารุงรักษาป้ องกัน (PM Appraisal)

1 : เพือกระจายภาระงาน
2 : เพือให ้ได ้งานตรงตามมาตรฐานทีกําหนด
3 : เพือแสดงสารสนเทศในการปรับปรุง
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 233 :
ข ้อใดเป็ นการตรวจวัดสภาพแบบใช ้ประสาทสัมผัสและความชํานาญ (Subjective Condition Monitoring)

1 : การตรวจสอบความตึงของสายพานตัววี
2 : การตรวจวัดการสันสะเทือน
3 : การตรวจวัดตัวแปรร่วมของกระบวนการ
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 234 :
ข ้อใดเป็ นการตรวจวัดสภาพแบบใช ้ประสาทสัมผัสและความชํานาญ (Subjective Condition Monitoring)

1 : การตรวจสอบความตึงของสายพานตัววี
2 : การตรวจหารอยรัวซึมของหม ้อนํ า
3 : คําตอบข ้อ 1 และ 2 ถูก
4 : คําตอบข ้อ 1 และ 2 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 235 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของใบรายการเครืองจักร (Machine List)

1 : เพือแสดงภาพรวมของเครืองจักร และอุปกรณ์
2 : เพือบ่งชีกิจกรรมซ่อมบํารุงรักษา
3 : เพือแสดงรายละเอียดงานซ่อมบํารุงรักษา
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 236 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของใบมาตรฐานงานซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Standard)

1 : เพือบ่งชีกิจกรรมซ่อมบํารุงรักษา
2 : เพือแสดงรายละเอียดงานซ่อมบํารุงรักษา
3 : เพือเป็ นเอกสารระบบทีเป็ นเครืองมือปรับปรุง
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 237 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของใบรายการซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : เพือแสดงภาพรวมของเครืองจักร และอุปกรณ์
2 : เพือแสดงรายละเอียดงานซ่อมบํารุงรักษา
3 : เพือแสดงโครงสร ้างและส่วนประกอบหลัก
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 238 :
ข ้อใดเป็ นข ้อมูลทีมักจะระบุในใบรายการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM List)

1 : ชือเครืองจักร
2 : รหัสเครืองจักร
3 : อุปกรณ์ และชุดส่วนหลัก
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 239 :
ข ้อใดเป็ นข ้อมูลทีมักจะไม่ถก
ู ระบุในใบรายการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM List)

1 : ชือเครืองจักร
2 : อุปกรณ์ และชุดส่วนหลัก
3 : เวลามาตรฐานในการซ่อมบํารุงรักษา
4 : รายการมาตรฐานงานซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Standards) ทีจะใช ้งาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 240 :
ข ้อใดไม่เป็ นกิจกรรมซ่อมบํารุงป้ องกัน

1 : การทําความสะอาด
2 : การหล่อลืน
3 : การเปลียนชินส่วน
4 : คําตอบข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 232 : 13 ระบบงาน P.M. (Scheduling and Planning)


ข ้อที 241 :
ข ้อใดเป็ นช่วงเวลาทีกําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM schedule) มักจะครอบคลุม

1 : 1 สัปดาห์
2 : 1 เดือน
3 : 1 ปี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 242 :
ข ้อใดเป็ นความถีในการทํางานซ่อมบํารุงป้ องกันทีไม่เป็ นทีนิยมใช ้กัน

1 : ทุก 1 สัปดาห์
2 : ทุก 2 สัปดาห์
3 : ทุก 3 สัปดาห์
4 : ทุก 4 สัปดาห์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 243 :
ข ้อใดเป็ นสัปดาห์ทจะต
ี ้องตรวจสภาพเครืองจักรทีต ้องทําเป็ นประจําทุก 4 สัปดาห์ หากกําหนดให ้เริมทํางานนีครังแรกของปี ในสัปดาห์ท ี 3

1 : สัปดาห์ท ี 31
2 : สัปดาห์ท ี 32
3 : สัปดาห์ท ี 33
4 : สัปดาห์ท ี 34
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 244 :
ข ้อใดเป็ นสัปดาห์ทจะต
ี ้องตรวจสภาพเครืองจักรทีต ้องทําเป็ นประจําทุกไตรมาส หากกําหนดให ้เริมทํางานนีครังแรกในสัปดาห์ท ี 3

1 : สัปดาห์ท ี 27
2 : สัปดาห์ท ี 29
3 : สัปดาห์ท ี 31
4 : สัปดาห์ท ี 33
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 245 :
ข ้อใดเป็ นสัปดาห์ทจะต
ี ้องตรวจสภาพเครืองจักรทีต ้องทําเป็ นประจําทุก 4 สัปดาห์ เป็ นครังแรกของปี หากมีกําหนดให ้มีการทํางานนีในสัปดาห์ท ี 34 รวมอยูด
่ ้วย

1 : สัปดาห์ท ี 1
2 : สัปดาห์ท ี 2
3 : สัปดาห์ท ี 3
4 : สัปดาห์ท ี 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 246 :
ข ้อใดเป็ นสัปดาห์ทจะต
ี ้องตรวจสภาพเครืองจักรทีต ้องทําเป็ นประจําทุกไตรมาสเป็ นครังแรกของปี หากกําหนดให ้ทํางานนีสัปดาห์ท ี 37 รวมอยูด
่ ้วย

1 : สัปดาห์ท ี 5
2 : สัปดาห์ท ี 7
3 : สัปดาห์ท ี 9
4 : สัปดาห์ท ี 11
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 247 :
ข ้อใดเป็ นต ้นทุนรวมทีต ้องนํ ามาคํานวณเพือกําหนดช่วงเวลาทีประหยัดทีสุดในการทํางานซ่อมบํารุงป้ องกัน (Optimum PM interval)

1 : ต ้นทุนในงานซ่อมบํารุงป้ องกัน กับ ต ้นทุนอะไหล่และอุปกรณ์


2 : ต ้นทุนในงานซ่อมบํารุงป้ องกัน กับ ต ้นทุนค่าเสือมราคาของเครืองจักร
3 : ต ้นทุนในงานซ่อมบํารุงป้ องกัน กับ ต ้นทุนในการเกิดเหตุชาํ รุดขัดข ้อง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 248 :
ข ้อใดเป็ นภาระงานตลอดทังปี ของงานซ่อมบํารุงป้ องกันทีต ้องทําทุกสัปดาห์ และแต่ละครังจะต ้องใช ้เวลา 10 นาที

1 : 8 ชัวโมง 20 นาที
2 : 8 ชัวโมง 30 นาที
3 : 8 ชัวโมง 40 นาที
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 249 :
ข ้อใดเป็ นภาระงานตลอดทังปี ของงานซ่อมบํารุงป้ องกันทีต ้องทําทุก 4 สัปดาห์ และแต่ละครังจะต ้องใช ้เวลา 15 นาที

1 : 3 ชัวโมง 15 นาที
2 : 3 ชัวโมง 30 นาที
3 : 3 ชัวโมง 45 นาที
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 250 :
ข ้อใดเป็ นภาระงานตลอดทังปี ของงานซ่อมบํารุงป้ องกันทีต ้องทําทุกไตรมาส และแต่ละครังจะต ้องใช ้เวลา 25 นาที 15 วินาที
1 : 1 ชัวโมง 11 นาที
2 : 1 ชัวโมง 21 นาที
3 : 1 ชัวโมง 31 นาที
4 : 1 ชัวโมง 41 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 251 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีนิยมใช ้ในการทําจัดทํากําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Schedule)

1 : C Chart
2 : Flow Chart
3 : Gantt Chart
4 : P Chart
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 252 :
ข ้อใดคือสิงทีต ้องจัดทําขึนโดยอ ้างอิงจาก กําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Schedule)

1 : คําสังงานซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Work order)


2 : รายงานซ่อมบํารุงป้ องกัน(PM report)
3 : มาตรฐานว่อมบํารุงป้ องกัน(PM standard)
4 : ใบตรวจสอบงานซ่อมบํารุงป้ องกัน(PM Check sheet)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 253 :
ข ้อใดคือสิงทีควรเป็ นข ้อมูลพืนฐานหรืออ ้างอิงในการจัดทํา กําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Schedule)

1 : คําสังงานซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Work order)


2 : รายงานซ่อมบํารุงป้ องกัน(PM report)
3 : มาตรฐานซ่อมบํารุงป้ องกัน(PM standard)
4 : ใบตรวจสอบงานซ่อมบํารุงป้ องกัน(PM Check sheet)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 254 :
ข ้อใดคือสิงทีต ้องคํานึงในการจัดทํากําหนดการซ่อมบํารุงป้ องกัน (PM Schedule)

1 : ผังงานและเส ้นทางการทํางาน
2 : ชนิดและประเภทของงาน
3 : ภาระงานซ่อมบํารุงป้ องกัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 255 :
ชินส่วนสินเปลืองของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 500 ชัวโมง ควรจัดเปลียนอย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีโอกาสชํารุดน ้อยกว่าครึงหนึง หากเครืองจักรถูก
ใช ้งานสัปดาห์ละ 100 ชัวโมง

1 : ทุกเดือน
2 : ทุกไตรมาส
3 : ทุกครึงปี
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 256 :
ชินส่วนสินเปลืองของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 1,000 ชัวโมง ควรจัดเปลียนอย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีโอกาสชํารุดน ้อยกว่าครึงหนึง หากเครืองจักร
ใช ้งานทุกสัปดาห์ละ 100 ชัวโมง

1 : ทุกเดือน
2 : ทุกไตรมาส
3 : ทุกครึงปี
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 257 :
ชินส่วนสินเปลืองของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 2,000 ชัวโมง ควรจัดเปลียนอย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีโอกาสชํารุดน ้อยกว่าครึงหนึง หากเครืองจักร
ถูกใช ้งานสัปดาห์ละ 100 ชัวโมง

1 : ทุกเดือน
2 : ทุกไตรมาส
3 : ทุกครึงปี
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 258 :
ชินส่วนสินเปลืองของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 5,000 ชัวโมง ควรจัดเปลียนอย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีโอกาสชํารุดน ้อยกว่าครึงหนึง หากเครืองจักร
ถูกใช ้งานสัปดาห์ละ 100 ชัวโมง

1 : ทุกเดือน
2 : ทุกไตรมาส
3 : ทุกครึงปี
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 259 :
ี ดทีจะใช ้ในการจัดทํากําหนดการบํารุงรักษาป้ องกันขันเริมต ้น
ข ้อมูลจากแหล่งใดดีทสุ
1 : คูม
่ อ
ื การบํารุงรักษาจากผู ้ผลิต
2 : สถิตก ิ ารชํารุดขัดข ้อง
3 : ความเห็นช่างชํานาญการ
4 : ตําราทางเทคนิคและวิศวกรรม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 260 :
ี ดทีจะใช ้ในการปรับปรุงกําหนดการบํารุงรักษาป้ องกันทีได ้ใช ้ไปแล ้วระยะหนึง (อย่างน ้อย 1 ปี )
ข ้อมูลจากแหล่งใดดีทสุ

1 : คูม
่ อ
ื การบํารุงรักษาจากผู ้ผลิต
2 : สถิตก ิ ารชํารุดขัดข ้อง
3 : ความเห็นช่างชํานาญการ
4 : ตําราทางเทคนิคและวิศวกรรม
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 261 :
ข ้อมูลจากแหล่งใดดีทสุี ดทีจะใช ้ในการจัดทํากําหนดการบํารุงรักษาป้ องกันสําหรับอุปกรณ์มาตรฐาน เช่น มอเตอร์ เครืองสูบ ฯลฯ ในขันเริมต ้น ในกรณีทไม่
ี มคี ม
ู่ อ

การบํารุงรักษาจากผู ้ผลิต

1 : สถิตกิ ารชํารุดขัดข ้อง


2 : ความเห็นช่างชํานาญการ
3 : ตําราทางเทคนิคและวิศวกรรม
4 : แบบเขียนของอุปกรณ์ (drawing)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 262 :
ข ้อมูลจากแหล่งใดดีทสุี ดทีจะใช ้ในการจัดทํากําหนดการบํารุงรักษาป้ องกันสําหรับอุปกรณ์เฉพาะ เช่น มอเตอร์ เครืองสูบ ฯลฯ ในขันเริมต ้น ในกรณีทไม่
ี มคี ม
ู่ อ

การบํารุงรักษาจากผู ้ผลิต

1 : สถิตกิ ารชํารุดขัดข ้อง


2 : ความเห็นช่างชํานาญการ
3 : ตําราทางเทคนิคและวิศวกรรม
4 : แบบเขียนของอุปกรณ์ (drawing)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 263 :
ชินส่วนหลัก(อะไหล่ประกัน)ของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 10,000 ชัวโมง ควรกําหนดช่วงเวลาในการตรวจสอบย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีความน่าจะ
เป็ นทีป้ องกันเหตุชาํ รุดขัดข ้องได ้ไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 95 หากเครืองจักรถูกใช ้งานสัปดาห์ละ 100 ชัวโมง

1 : ทุกสัปดาห์
2 : ทุกเดือน
3 : ทุกไตรมาส
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 264 :
ชินส่วนหลัก(อะไหล่ประกัน)ของเครืองจักรทีมีอายุการใช ้งานเฉลีย 10,000 ชัวโมง ควรกําหนดช่วงเวลาในการตรวจสอบย่างไรให ้ประหยัดทีสุดและมีความน่าจะ
เป็ นทีป้ องกันเหตุชาํ รุดขัดข ้องได ้ไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 95 หากเครืองจักรถูกใช ้งานสัปดาห์ละ 168 ชัวโมง ต่อเนืองตลอดทังปี

1 : ทุกสัปดาห์
2 : ทุกเดือน
3 : ทุกไตรมาส
4 : ปี ละครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 233 : 14 Organization of maintenance

ข ้อที 265 :
ข ้อใดเป็ นลักษณะของการจัดฝ่ ายซ่อมบํารุงแบบรวมศูนย์ (Centralization)

1 : จัดให ้มีชา่ งซ่อมบํารุงประจําเครือง


2 : จัดให ้มีชา่ งซ่อมประจําพืนที
3 : จัดให ้ช่างซ่อมทํางานทดแทนกันได ้
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 266 :
ข ้อใดเป็ นการจัดฝ่ ายซ่อมบํารุงแบบกระจายศูนย์ (Decentralization)

1 : จัดให ้ช่างไฟฟ้ าทังหมดสังกัดอยูใ่ นแผนกเดียวกัน


2 : จัดให ้มีชา่ งซ่อมประจําพืนที
3 : จัดให ้ช่างซ่อมทํางานทดแทนกันได ้
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 267 :
ข ้อใดทีไม่ใช่ข ้อดีของการจัดฝ่ ายซ่อมบํารุงแบบรวมศูนย์ (Centralization)

1 : ช่างซ่อมบํารุงสามารถทํางานทดแทนกันได ้
2 : การควบคุมงานทางด ้านเทคนิคทําได ้ดีขน

3 : ความชํานาญในงานซ่อมบํารุงเฉพาะเครือง ของช่าง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 268 :
ข ้อใดเป็ นข ้อดีของการให ้ช่างซ่อมเครืองกลอยูใ่ นสังกัดหน่วยเดียวกัน

1 : การประสานงานระหว่างช่างซ่อมเครืองกลกับช่างอืนๆ ทําได ้ดีขน



2 : การควบคุมดูแลทางด ้านเทคนิคทําได ้ดีขน ึ
3 : การเข ้าพืนทีเพือทํางานซ่อมทําได ้อย่างรวดเร็ว
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 269 :
ข ้อใดเป็ นข ้อดีของการให ้ช่างซ่อมบํารุงไฟฟ้ าอยูใ่ นสังกัดร่วมกับช่างอืนๆในพืนทีเดียวกัน

1 : การประสานงานซ่อมในพืนทีทําได ้ดีขน

2 : การควบคุมดูแลทางด ้านเทคนิคทําได ้ดีขน

3 : การพัฒนาทักษะในงานซ่อมไฟฟ้ าทําได ้ดีขนึ
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 270 :
ข ้อใดเป็ นงานซ่อมบํารุงทีสามารถมอบหมายให ้เป็ นความรับผิดชอบของฝ่ ายผลิตได ้

1 : งานฟื นฟูสภาพเครืองจักรหรือยกเครือง
2 : งานซ่อมแซมเครืองจักรทีชํารุดขัดข ้อง
3 : งานตรวจสอบสภาพเครืองจักรประจําวัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 271 :
ข ้อใดเป็ นประเภทของงานงานซ่อมบํารุงทีควรเป็ นภารกิจหลักของโรงงาน

1 : งานฟื นฟูสภาพเครืองจักรหรือยกเครือง
2 : งานซ่อมแซมเครืองจักรทีชํารุดขัดข ้อง
3 : งานเปลียนทดแทนเครืองจักรทีชํารุดขัดข ้องบ่อยๆ
4 : งานซ่อมบํารุงป้ องกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 272 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีใช ้ชีบ่ง โครงสร ้าง สายการบังคับบัญชา และความสัมพันธ์ในการทํางานระหว่างหน่วยงาน

1 : พรรณาลักษณะงาน
2 : คุณลักษณะเฉพาะของงาน
3 : แผนภูมอ ิ งค์กร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 273 :
ข ้อใดเป็ นเครืองมือทีใช ้ชีบ่งหน ้าทีและความรับผิดชอบในการทํางาน

1 : พรรณาลักษณะงาน
2 : คุณลักษณะเฉพาะของงาน
3 : แผนภูมอ ิ งค์กร
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 274 :
หลักการจ่ายค่าตอบแทนช่างซ่อมบํารุงทีดี คืออะไร

1 : เพียงพอสําหรับการครองชีพ
2 : แข่งขันได ้ในตลาด
3 : เป็ นธรรมกับค่าของงาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 275 :
ข ้อใดเป็ นวิธก
ี ารทีจะช่วยให ้กําหนดค่าตอบแทนช่างซ่อมบํารุงได ้อย่างเป็ นธรรม

1 : การคัดเลือกช่างซ่อมบํารุง
2 : การประเมินค่าของงาน
3 : การประเมินผลปฏิบต ั งิ าน
4 : การให ้คําปรึกษาแนะนํ า
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 276 :
ข ้อใดทีไม่ใช่เงือนไขของงานซ่อมบํารุงทีสมควรจะดําเนินการโดยใช ้การจ ้างเหมา

1 : งานทีไม่ปลอดภัยหรือเสียงต่อการเกิดอุบตั ภ
ิ ย

2 : งานทีขาดช่างทีมีความชํานาญ
3 : งานทีขาดเครืองมือหรืออุปกรณ์ทจํ
ี าเป็ นในการดําเนินงาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 277 :
ข ้อใดทีเป็ นประโยชน์ของงานซ่อมบํารุงทีใช ้การจ ้างเหมา

1 : ทําให ้ควบคุมคุณภาพงานซ่อมได ้ดีขน



2 : ทําให ้งานซ่อมบํารุงมีความปลอดภัยขึน
3 : ทําให ้ภาระงานซ่อมลดน ้อยลง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 278 :
ข ้อใดเป็ นประโยชน์ทสํ
ี าคัญของสนับสนุนงานซ่อมบํารุง เช่น งานวางแผนงานซ่อมบํารุง งานระบบสารสนเทศงานซ่อมบํารุง งานต ้นทุนและงบประมาณซ่อมบํารุง
ฯลฯ

1 : ทําให ้งานซ่อมมีประสิทธิภาพ
2 : ทําให ้มีข ้อมูล สารสนเทศ ทีทําให ้ตัดสินใจได ้ดีขน

3 : ทําให ้ควบคุมงานซ่อมบํารุงได ้ดี
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 279 :
ข ้อใดเป็ นงานสนับสนุนงานซ่อมบํารุงทีมีความสําคัญ ทีมีสว่ นช่วยงานซ่อมบํารุงดําเนินไปได ้อย่างมีประสิทธิผล

1 : งานวางแผนการซ่อมบํารุง
2 : งานซ่อมบํารุงไฟฟ้ า
3 : งานซ่อมบํารุงเครืองกล
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 280 :
เครืองจักรมีงานซ่อมบํารุงป้ องกันประจําวันๆละ 15 นาที จะมีภาระงานนีตลอดทังปี เท่าไร หากโรงงานทีเปิ ดทํางาน ปี ละ 365 วัน

1 : 54.75 ชัวโมง-คน
2 : 91.25 ชัวโมง-คน
3 : 5,475 ชัวโมง-คน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 281 :
เครืองจักรกลุม
่ หนึงจํานวนสิบเครืองของโรงงานมีงานซ่อมบํารุงป้ องกันประจําวันๆ ละ 12 นาที จะมีภาระงานนีตลอดทังปี เท่าไร หากโรงงานทีเปิ ดทํางาน ปี ละ
340 วัน

1 : 408 ชัวโมง-คน
2 : 680 ชัวโมง-คน
3 : 782 ชัวโมง-คน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 282 :
งานหล่อลืนเครืองจักรควรเป็ นภาระงานของหน่วยงานใด

1 : แผนกผลิต
2 : แผนกบํารุงรักษาเครืองกล
3 : แผนกบํารุงรักษาป้ องกัน (P.M.)
4 : อาจเป็ นได ้ทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 283 :
แผนกงานใดในฝ่ ายบํารุงรักษาทีมีลก
ั ษณะการวางแผนเช่นเดียวกับลักษณะการจัดการงานผลิต

1 : แผนกเครืองกําเนิดไอนํ า(Boiler)
2 : แผนกบํารุงรักษาป้ องกัน (P.M.)
3 : แผนกบํารุงรักษาเครืองกล
4 : แผนกเครืองมือวัดและควบคุม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 284 :
หน่วยงานบํารุงรักษาใดทีจัดว่าเป็ นหน่วยงานซึงจัดองค์การตามลักษณะหน ้าทีงาน (function)

1 : หน่วยซ่อมประจํากะ
2 : หน่วยช่างบํารุงรักษาเครืองกล
3 : แผนกซ่อมบํารุงโรงงานที 1
4 : หน่วยบํารุงรักษาสํานักงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 285 :
การจัดองค์การบํารุงรักษาแบบกระจายศูนย์ (Decentralized organization) เหมาะกับหน่วยงานทีมีลก
ั ษณะสําคัญในข ้อใด

1 : รับผิดชอบพืนทีกว ้าง
2 : ต ้องใช ้ความเชียวชาญของช่างแต่ละด ้านมาก
3 : มีชา่ งจํานวนไม่มาก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 286 :
การจัดองค์การบํารุงรักษาแบบรวมศูนย์ (centralized organization) เหมาะกับหน่วยงานทีมีลก
ั ษณะสําคัญในข ้อใด

1 : รับผิดชอบพืนทีทีไม่กว ้างมาก
2 : ต ้องใช ้ความเชียวชาญของช่างแต่ละด ้านมาก
3 : มีชา่ งจํานวนไม่มาก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 287 :
ควรมีชา่ งซ่อมบํารุงป้ องกันกีคนสําหรับกลุม่ เครืองจักรจํานวน 10 เครืองทีทํางาน 365 วันตลอดทังปี และมีภาระงานซ่อมบํารุงป้ องกันทีแสดงในตาราง หากช่าง
ทํางานเฉลียปี ละ 2,000 ชัวโมง และมีการทํางานช่างทางตรงร ้อยละ 70
ภาระงานซ่อมบํารุงป้ องกัน (man-hours)
เครืองจักร จํานวน
D W M A
A 10 1 8 24 24

1:6
2:8
3 : 10
4 : 12
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 288 :
ควรมีชา่ งซ่อมกีคนหากมีความต ้องการช่างซ่อมบํารุงในแต่ละวันตามทีแสดงในตารางข ้างท ้ายนี หากจัดให ้ช่างทํางานได ้สัปดาห์ละ 5 วัน

จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์


16 16 16 13 13 8 6

1 : 16
2 : 17
3 : 18
4 : 19
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 234 : 15 แนวคิดในการจัดการวัสดุบํารุงรักษา (อะไหล่ เครืองมือช่าง และสารหล่อลืน)

ข ้อที 289 :
สายพาน v-belt จะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 290 :
Relay จะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลื อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 291 :
นํ ามันเครืองจะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลื อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 292 :
จาระบีจะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลื อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 293 :
กระดาษทรายจะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 294 :
ดอกสว่าน จะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลื อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 295 :
valve จะจัดไว ้ในวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : อะไหล่เครืองกล
2 : อะไหล่อป ุ กรณ์ไฟฟ้ า
3 : เครืองมือ

4 : วัสดุสนเปลื อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 296 :
ในการพิจารณาว่าจัดเก็บ stock ของวัสดุไว ้ ถ ้าเป็ นวัสดุประเภท c ต ้องนํ าค่าใช ้จ่ายใดมาพิจารณา

1 : ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษา
2 : ค่าใช ้จ่ายในการสังซือ
3 : ค่าใช ้จ่ายเมือเครืองจักรเสียและต ้องใช ้ชินส่วนนัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 297 :
ในการพิจารณาว่าจัดเก็บ stock ของชินส่วนอะไหล่ไว ้ ถ ้าเป็ นวัสดุประเภท A ต ้องนํ าค่าใช ้จ่ายใดมาพิจารณา

1 : ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษา
2 : ค่าใช ้จ่ายในการสังซือ
3 : ค่าใช ้จ่ายเมือเครืองจักรเสียและต ้องใช ้ชินส่วนนัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 298 :
วัสดุทจั
ี ดว่าเป็ นวัสดุประเภท C นัน มีลก
ั ษณะตรงกับข ้อใด

1 : อยูใ่ นกลุม
่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 80% ของมูลค่าสต็อกทังหมดและมีจํานวนรายการเพียง 20 %ของจํานวนวัสดุทงหมด

2 : อยูใ่ นกลุม่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 60% และมีจํานวนรายการเพียง 40 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
3 : อยูใ่ นกลุม ่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 40% และมีจํานวนรายการ 60 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
4 : อยูใ่ นกลุม ่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 20% และมีจํานวนรายการ 80 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 299 :
วัสดุทจั
ี ดว่าเป็ นวัสดุประเภท A นัน มีลก
ั ษณะตรงกับข ้อใด

1 : อยูใ่ นกลุม
่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 80% ของมูลค่าสต็อกทังหมดและมีจํานวนรายการเพียง 20 %ของจํานวนวัสดุทงหมด

2 : อยูใ่ นกลุม่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 60% และมีจํานวนรายการเพียง 40 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
3 : อยูใ่ นกลุม ่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 40% และมีจํานวนรายการ 60 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
4 : อยูใ่ นกลุม ่ ทีมีมล ู ค่าในสต็อก 20% และมีจํานวนรายการ 80 %ของมูลค่าสต็อกทังหมด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 300 :
วัสดุประเภทใดทีควรจัดเก็บในคลังทีแยกต่างหากจากวัสดุประเภทอืน

1 : ชินส่วนอะไหล่ไฟฟ้ า
2 : ชินส่วนอะไหล่เครืองกล
3 : นํ ามันหล่อลืน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 301 :

วัสดุสนเปลื
อง ควรกําหนดรหัสจําแนกตามข ้อใด

1 : รหัสของผู ้ผลิต
2 : ประเภทเครืองจักรทีใช ้วัสดุนัน
3 : แผนกผลิต
4 : เนือวัสดุ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 302 :
วัสดุใดทีเหมาะทีจะควบคุมด ้วยวิธ ี 2-bin method

1 : เฟื องเกียร์
2 : นํ ามันเกียร์
3 : สายพาน
4 : นอตสกรู
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 303 :
ในการควบคุมวัสดุโดยใช ้ระบบ 2-bin นัน จะมีการสังวัสดุเมือระดับวัสดุคงคลังมีคา่ เท่ากับข ้อใด

1 : ปริมาณทีสังในแต่ละครัง
2 : ครึงหนึงของระดับสินค ้าคงคลังเฉลีย
3 : สองเท่าของระดับสินค ้าคงคลังเฉลีย
4 : ศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 304 :
ในการควบคุมวัสดุโดยใช ้ระบบ 2-bin นัน จะมีระดับจุดสังซือ เท่ากับเท่าใด
1 : ปริมาณทีสังในแต่ละครัง
2 : ครึงหนึงของระดับสินค ้าคงคลังเฉลีย
3 : สองเท่าของระดับสินค ้าคงคลังเฉลีย
4 : ศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 305 :
ความแตกต่างทีสําคัญประการหนึง ระหว่างการตัดสินใจในการควบคุมวัสดุในการผลิตกับการควบคุมวัสดุอะไหล่ประเภท A และ B คือข ้อใด

1 : วัสดุอะไหล่สามารถเก็บได ้นานกว่า
2 : วัสดุอะไหล่มรี าคาสูงกว่าวัสดุในการผลิตมาก
3 : การควบคุมวัสดุอะไหล่ต ้องพิจารณาถึงความสูญเสียเมือขาดชินส่วนนันเวลาทีเครืองเสีย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 306 :
ความแตกต่างทีสําคัญประการหนึง ระหว่างการตัดสินใจในการควบคุมวัสดุในการผลิตกับการควบคุมวัสดุอะไหล่ประเภท A และ B คือข ้อใด

1 : วัสดุอะไหล่สามารถเก็บได ้นานกว่า
2 : วัสดุอะไหล่มรี าคาสูงกว่าวัสดุในการผลิตมาก
3 : อัตราการใช ้วัสดุอะไหล่ไม่แน่นอน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 307 :
วัสดุมอ ั ราการใช ้เฉลีย ชินละ 12 วัน และมีระยะเวลาในการสัง 30 วัน ควรสังวัสดุนเมื
ี ต ี อระดับวัสดุคงคลังลดลงเหลือเท่าใด

1 : 30 หน่วย
2 : 12 หน่วย
3 : 3 หน่วย
4 : 2 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 308 :
วัสดุใดทีเหมาะทีจะควบคุมด ้วยวิธ ี 2-bin method

1 : เฟื องเกียร์
2 : นํ ามันเกียร์
3 : สายพาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 309 :
ี างอาจเบิกมาเก็บไว ้ใช ้ได ้มากกว่าจํานวนทีต ้องใช ้ในแต่ละงานควรเป็ นวัสดุประเภทใด
วัสดุทช่

1 : วัสดุประเภท A
2 : วัสดุประเภท B
3 : วัสดุประเภท C
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 310 :
วัสดุใดทีไม่เหมาะทีจะควบคุมด ้วยวิธ ี 2-bin method

1 : นอต
2 : กระดาษทราย
3 : ประแจขันนอต
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 311 :
องค์ประกอบในการพิจารณาสังเครืองมือช่าง ได ้แก่ข ้อใด

1 : ค่าใช ้จ่ายในการบํารุงรักษา
2 : ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษา
3 : ความจําเป็ นในการใช ้งาน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 312 :
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะทีจะใช ้ในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

1 : นํ ามันหล่อลืน
2 : ชินส่วนอะไหล่ทมีี ความสําคัญ
3 : ชินส่วนอะไหล่ประเภท A
4 : ชินส่วนอะไหล่ทผลิี ตใช ้เอง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 313 :
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะทีจะใช ้ในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

ี ตใช ้เอง
1 : ชินส่วนอะไหล่ทผลิ
2 : ชินส่วนอะไหล่ทมี
ี อตั ราการใช ้น ้อย
3 : ชินส่วนอะไหล่ประเภท A
4 : ชินส่วนอะไหล่ทมีี อตั ราการใช ้มาก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 314 :
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะทีจะใช ้ในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

ี ตใช ้เอง
1 : ชินส่วนอะไหล่ทผลิ
2 : เครืองมือช่าง
3 : ชินส่วนอะไหล่ประเภท A
4 : ชินส่วนอะไหล่ทมี ั ราการใช ้ค่อนข ้างคงที
ี อต
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 315 :
ตัวแบบ Economic order quantity (EOQ) เหมาะทีจะใช ้ในการตัดสินใจกับวัสดุบํารุงรักษาประเภทใด

ี ตใช ้เอง
1 : ชินส่วนอะไหล่ทผลิ
2 : เครืองมือช่าง
3 : ชินส่วนอะไหล่ประเภท C
4 : ชินส่วนอะไหล่ทมี ั ราการใช ้ไม่แน่นอน
ี อต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 316 :
องค์ประกอบทีไม่ต ้องนํ ามาพิจารณาในการตัดสินใจเกียวกับชินส่วนอะไหล่ประเภท A และ B คือข ้อใด

1 : ค่าใช ้จ่ายในการเก็บรักษา
2 : อัตราการหมุนเวียน
3 : ค่าใช ้จ่ายในการสังซือ
4 : ความสูญเสียเมือขาดอะไหล่ตอนทีเครืองเสีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 317 :
วัสดุมอ ั ราการใช ้เฉลีย หน่วยละ 12 วัน และมีระยะเวลาในการสัง 30 วัน ถ ้าต ้องการให ้ระดับวัสดุคงคลังตําสุด (safety stock) = 10 หน่วย ควรสังวัสดุนเมื
ี ต ี อระดับ
วัสดุคงคลังลดลงเหลือเท่าใด

1 : 30 หน่วย
2 : 13 หน่วย
3 : 10 หน่วย
4 : 3 หน่วย
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 318 :
อุปกรณ์สําคัญของเครืองจักรชุดหนึงมีอายุใช ้งานโดยเฉลีย 40 ปี และมี อัตราการชํารุดข ้ดข ้อง (Failure rate) คงที หากกําหนดอายุการใช ้งานอุปกรณ์นไว
ี ้ 20 ปี
โดยไม่มอี ะไหล่ของอุปกรณ์นในคลั
ี ง จะทําให ้มีระดับความพร ้อมเท่าใด (ความน่าจะเป็ นทีอุปกรณ์นจะไม่
ี ขดั ข ้องระหว่างใช ้งาน)

1 : 60.65%
2 : 70.65%
3 : 80.65%
4 : 90.65%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 319 :
ข ้อใดเป็ นหลักการจัดหาอะไหล่ประกันทีดี

1 : จัดหาตามจํานวนสังซือทางเศรษฐกิจ (Economic order quantity)


2 : จัดหาตามจํานวนทีทําให ้ได ้ส่วนลด (Discount quantity)
3 : จัดหาตามจํานวนทีจ่ายออกไปใช ้งาน
4 : จัดหาตามเมือมีการชํารุดขัดข ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 320 :

ควรเลือกซืออไหล่ชนใด (หระหว่าง A, B or C) จากข ้อมูลต ้นทุนทีทีแสดงในตาราง
ที รายการ หน่วย A B C
1 ราคาอะไหล่ บาท 20,000 80,000 200,000
2 อายุการใช ้งานเฉลีย ชัวโมง 8,000 9,000 10,000
3 เวลาเปลียนอะไหล่เฉลีย ชัวโมง 4 4 4
4 ต ้นทุนสูญเสียผลผลิต บาท/ชัวโมง 100,000 100,000 100,000
5 ต ้นทุนสูญเสียผลผลิต บาท 400,000 400,000 400,000

1:A
2:B
3:C
4 : เลือกชินใดก็ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 235 : 16 แนวคิดการวางแผนบํารุงรักษาประจําปี และการวางแผนงานระยะสัน

ข ้อที 321 :
ข ้อใดเป็ นสาเหตุททํ
ี าให ้เกิดเวลารอคอยในงานซ่อมบํารุง

1 : อะไหล่ขาดมือ
2 : มีชา่ งน ้อยกว่าภาระงานซ่อมบํารุง
3 : ขาดการวางแผนงานซ่อมทีมีประสิทธิผล
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 322 :
ข ้อใดเป็ นข ้อทีมีความสําคัญสูงสุดในการวางแผนและจัดงานซ่อมบํารุง

1 : ผลผลิตทีสูญเสียระหว่างเครืองหยุดทํางาน
2 : เวลาทีเครืองหยุดทํางาน
3 : เวลารอคอยระหว่างงานซ่อมบํารุง
4 : เวลาทีใช ้ในงานซ่อมบํารุง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 323 :
เครืองจักรทีหยุดการเดินเครืองเพราะเหตุชาํ รุดขัดข ้องเวลา 09.00 น. เริมทําการซ่อมเวลา 13.00 น. ใช ้เวลาในการซ่อม 3 ชัวโมง จะเสียเวลาทีเครืองหยุด

1 : 4 ชัวโมง
2 : 5 ชัวโมง
3 : 7 ชัวโมง
4 : ไม่มคี ําตอบทีถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 324 :
ข ้อใดคือปริมาณผลผลิตทีสูญเสียของเครืองจักรทีมีกําลังการผลิต2 ตัน/ชัวโมง ทีต ้องหยุดการเดินเครืองเพราะเหตุชาํ รุดขัดข ้องเวลา 08.00 น. เริมต ้นทําการซ่อม
เมือเวลา 13.00 น. และใช ้เวลาในงานซ่อม 3 ชัวโมง

1 : 6 ตัน
2 : 10 ตัน
3 : 16 ตัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 325 :
ควรทําการซ่อมเครืองจักรใดก่อนในเครืองจักรเหมือนกันสามเครือง (A, B, C) หากเวลาทีเกิดการชํารุด เวลาซ่อมทีต ้องใช ้เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง เมือสามารถ
ทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร เวลาทีเครืองเสีย (น.) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 04.00 5
B 05.00 3
C 06.00 4

1:A
2:B
3:C
4 : เครืองใดก็ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 326 :
ควรจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอย่างไรสําหรับเครืองจักรเหมือนกันสามเครือง (A, B, C) หากเวลาทีเกิดการชํารุด เวลาซ่อมทีต ้องใช ้เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง เมือ
สามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร เวลาทีเครืองเสีย (น.) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 04.00 5
B 05.00 3
C 06.00 4

1 : A-B-C
2 : B-C-A
3 : C-A-B
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 327 :
จะเสียเวลาในการเดินเครืองโดยรวมเท่าไร หากจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอย่างไรสําหรับเครืองจักรเหมือนกันสามเครืองตามลําดับ A-B-C หากเวลาทีเกิดการ
ชํารุด เวลาซ่อมทีต ้องใช ้เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง และสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครืองโดยเริมงานซ่อมเวลา 08.00 น.
เครืองจักร เวลาทีเครืองเสีย (น.) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 04.00 3
B 05.00 1
C 06.00 2

1 : 6 ชัวโมง
2 : 13 ชัวโมง
3 : 22 ชัวโมง
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 328 :
จะเสียผลผลิตโดยรวมเท่าไร หากจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอย่างถูกต ้อง สําหรับเครืองจักรเหมือนกันสามเครืองทีมก
ี ําลังการผลิตเครืองละ 2 ตัน/ชัวโมง หาก
เวลาทีเกิดการชํารุด เวลาซ่อมทีต ้องใช ้เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง และสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร เวลาทีเครืองเสีย (น.) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 04.00 3
B 05.00 1
C 06.00 2

1 : 32 ตัน
2 : 38 ตัน
3 : 44 ตัน
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 329 :
ควรทําการซ่อมเครืองจักรใดก่อนในเครืองจักรอิสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครือง (A, B, C) หากกําลังการผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง
เมือสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3

1:A
2:B
3:C
4 : เครืองใดก็ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 330 :
ควรจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอิสสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครือง (A, B, C) อย่างไร หากกําลังการผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง เมือ
สามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3

1 : A-B-C
2 : B-C-A
3 : C-A-B
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 331 :
จะเสียผลผลิตโดยรวมเท่าไรนับจากเริมทํางานซ่อม หากจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอิสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครืองตามลําดับ A-B-C ตามข ้อมูลกําลัง
การผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ข ้างล่าง เมือสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3

1 : 21 หน่วย
2 : 51 หน่วย
3 : 63 หน่วย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 332 :
จะเสียผลผลิตโดยรวมเพิมขึนเท่าไรนับจากเริมทํางานซ่อม หากจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอิสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครือง ตามลําดับ A-B-C แทนการจัด
งานซ่อมตามลําดับทีถูกต ้อง ตามข ้อมูลกําลังการผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ข ้างล่าง เมือสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 3
B 2 3
C 4 3

1 : 36.36 %
2 : 48.48 %
3 : 54.55 %
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 333 :
ควรทําการซ่อมเครืองจักรใดก่อนในเครืองจักรอิสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครือง (A, B, C) หากกําลังการผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ เป็ นตามข ้อมูลข ้างล่าง
เมือสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 1.5
B 2 2
C 3 6

1:A
2:B
3:C
4 : เครืองใดก็ได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 334 :
จะเสียผลผลิตโดยรวมเท่าไรนับจากเริมทํางานซ่อม หากจัดลําดับงานซ่อมเครืองจักรอิสระทีทํางานแบบเดียวกันสามเครืองตามลําดับทีถูกต ้อง ตามข ้อมูลกําลัง
การผลิตและเวลาซ่อมทีต ้องใช ้ข ้างล่าง เมือสามารถทําการซ่อมได ้ครังละหนึงเครือง
เครืองจักร กําลังการผลิต (หน่วย/ชัวโมง) เวลาซ่อมทีต ้องใช ้(ชัวโมง)
A 1 1.5
B 2 2
C 3 6

1 : 14.5 หน่วย
2 : 36 หน่วย
3 : 37 หน่วย
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 335 :
ชินส่วนทีมีการชํารุดแบบ random failure ควรทีจะวางแผนการบํารุงรักษาแบบใด

1 : เปลียนตามอายุการใช ้งาน
2 : ใช ้งานจนชํารุดแล ้วจึงซ่อม
3 : ทํา preventive maintenance
4 : เปลียนเมือมีการ shut down
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 336 :
ชินส่วนมีอายุใช ้งานเฉลีย 100 วัน และมี standard deviation ของอายุใช ้งาน 10 วันโดยมีลก
ั ษณะการชํารุดเป็ นแบบ random failure ควรวางแผนเปลียนชินส่วนนี
ทุกๆ กีวันจึงจะเหมาะสม

1 : 80 วัน
2 : 100 วัน
3 : 120 วัน
4 : ควรรอให ้ชํารุดแล ้วจึงเปลียน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 337 :
ชินส่วนมีอายุใช ้งานเฉลีย 100 วัน และมี standard deviation ของอายุใช ้งาน 10 วันโดยมีลก
ั ษณะการชํารุดเป็ นแบบ wearout failure จากข ้อมูลทีมีอยูน
่ ี ควร
วางแผนเปลียนชินส่วนนีทุกๆ กีวันจึงจะเหมาะสม

1 : 80 วัน
2 : 100 วัน
3 : 110 วัน
4 : 120 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 338 :
ชินส่วนทีมีราคาถูก และ การชํารุดไม่มผ
ี ลกระทบต่อการผลิตส่วนอืนๆ ควรวางแผนการบํารุงรักษาแบบใด

1 : เปลียนตามอายุการใช ้งาน
2 : ใช ้งานจนชํารุดแล ้วจึงซ่อม
3 : ทํา preventive maintenance
4 : ตรวจสอบและเปลียนเมือใกล ้เสือมสภาพ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 339 :
ชินส่วนทีมีอายุใช ้งานสัน ควรวางแผนการบํารุงรักษาอย่างไร

1 : ออกแบบใหม่ให ้อายุใช ้งานอยูใ่ นช่วงทียอมรับได ้


2 : เปลียนตามอายุการใช ้งาน
3 : ตรวจสอบและเปลียนเมือใกล ้เสือมสภาพ
4 : ใช ้งานจนชํารุดแล ้วจึงซ่อม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 340 :
งาน corrective maintenance ควรกําหนดไว ้ช่วงเวลาใด

1 : ช่วงเวลา shut down


2 : ช่วงเวลาทีเปลียน batch การผลิต
3 : ช่วงเวลาทีแผนกบํารุงรักษามีภาระงานตํา
4 : ไม่สามารถวางแผนกําหนดเวลาได ้ล่วงหน ้า
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 341 :
การวางแผนงานประจําปี ควรเริมกําหนดเวลาการทํางานบํารุงรักษาไว ้ในช่วงเวลาใดก่อนช่วงเวลาอืนๆ

1 : ช่วงเวลาเปลียนกะการผลิต
2 : ช่วงเวลาเปลียน batch การผลิต
3 : ช่วงเวลา shutdown
4 : ข ้อใดก็ได ้ไม่แตกต่างกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 342 :
ชินส่วนทีมีการชํารุดแบบ wearout failure ซึงมีคา่ standard deviation ของอายุใช ้งานน ้อยควรใช ้การวางแผนบํารุงรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม

1 : ตรวจสอบสภาพ
2 : ใช ้งานจนเสียแล ้วจึงเปลียน
3 : เปลียนตามอายุใช ้งาน
4 : ข ้อใดก็ได ้ไม่แตกต่างกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 343 :
ชินส่วนทีมีการชํารุดแบบ random failure ซึงมีคา่ standard deviation ของอายุใช ้งานมากกว่า 30% ของอายุใช ้งาน และไม่มวี ธิ ก
ี ารในการตรวจสอบ ควรใช ้การ
วางแผนบํารุงรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม

1 : ตรวจสอบสภาพ
2 : ใช ้งานจนเสียแล ้วจึงเปลียน
3 : เปลียนตามอายุใช ้งาน
4 : ข ้อใดก็ได ้ไม่แตกต่างกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 344 :
ชินส่วนทีมีการชํารุดแบบ wearout failure ซึงมีคา่ standard deviation ของอายุใช ้งานมากกว่า30 %ของอายุใช ้งาน เฉลียและไม่มวี ธิ ก
ี ารในการตรวจสอบ ควรใช ้
การวางแผนบํารุงรักษาแบบใดจึงจะเหมาะสม

1 : เปลียนก่อนทีจะเสีย
2 : ใช ้งานจนเสียแล ้วจึงเปลียน
3 : เปลียนตามอายุใช ้งาน
4 : ต ้องพิจารณาจาก cost model ว่าวิธใี ดดีทสุ
ี ด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

เนือหาวิชา : 236 : 17 แนวคิดการวางแผนงาน shutdown และ major overhual (ด ้วย Critical Path Method)

ข ้อที 345 :
เวลาทีใช ้ในการทํางาน shutdown ทังหมดมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : ผลรวมของเวลาทีใช ้ของกิจกรรมย่อยทังหมดรวมกัน
2 : ผลรวมของเวลาทีใช ้ใน critical path สายทางใดสายทางหนึง
3 : ค่าเฉลียของเวลาทีใช ้ของกิจกรรมย่อย + 3 เท่าของ standard deviation
4 : เวลาทีใช ้ของกิจกรรมย่อยทีมากทีสุด x จํานวนกิจกรรมย่อยทังหมด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 346 :
ถ ้างาน shut down ทีวางแผนไว ้ใช ้เวลานานกว่าเวลาทีมีอยู่ จะต ้องทํางานใดให ้เสร็จเร็วขึน

1 : งานทีเป็ น critical path


2 : งานทีทําในวันแรกของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีใช ้เวลาทํานานทีสุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 347 :
ในการเร่ง critical path ให ้สันลง ควรเริมจากการเร่งงานแบบใดให ้สันลง

1 : งานทีใช ้เวลาน ้อย


2 : งานทีทําในช่วงกลางๆ ของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีเสียค่าใช ้จ่ายในการเร่งตํา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 348 :
ในการเร่ง critical path ให ้สันลง ควรเริมจากการเร่งงานแบบใดให ้สันลง

1 : งานทีทําง่าย
2 : งานทีทําในช่วงกลางๆของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีเสียค่าใช ้จ่ายในการทํางานสูง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 349 :
งานทีสามารถขยายเวลาการทํางานออกไปได ้โดยไม่มผ
ี ลกระทบในทันที ได ้แก่งานใด

1 : งานทีทําง่าย
2 : งานทีทําในวันแรกของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีไม่อยูใ่ น critical path
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 350 :
งานทีสามารถขยายเวลาการทํางานออกไปได ้โดยไม่มผ
ี ลกระทบในทันที ได ้แก่ข ้อใด

1 : งานทีทําง่าย
2 : งานทีทําในวันแรกของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีมี float
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 351 :
เทคนิคทีใช ้ในการกําหนดเวลาทีใช ้ในการทํางานแต่ละงานซึงเป็ นเทคนิคทีใช ้กับการวางแผน shut down คือข ้อใด

1 : Time study
2 : Work sampling
3 : Time estimation
4 : ใช ้ได ้ทุกวิธ ี
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 352 :
งานทีสามารถโยกย ้ายช่างไปทํางานอืนได ้โดยไม่มผ
ี ลกระทบในทันที คืองานใด

1 : งานทีทําง่าย
2 : งานทีทําในวันแรกของการ shut down
3 : งานทีทําในวันสุดท ้ายของการ shut down
4 : งานทีไม่เป็ น critical path
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 353 :
งานทีเป็ น critical path คืองานทีมีลก
ั ษณะใด

1 : งานทีไม่ม ี float
2 : งานทีถ ้าเสร็จช ้าจะทําให ้การ shut down ล่าช ้าไปด ้วย
3 : ถูกทังข ้อ 1 และ 2
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 354 :
งานทีเป็ น critical path คืองานทีมีลก
ั ษณะใด

1 : งานทีไม่ม ี float
2 : งานทีมี ES=LS, EF=LF
3 : ถูกทังข ้อ 1 และ 2
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 355 :
งานทีเป็ น critical path คืองานทีมีลก
ั ษณะใด

1 : งานทีถ ้าเสร็จช ้าจะทําให ้การ shut down ล่าช ้าไปด ้วย


2 : งานทีมี ES=LS, EF=LF
3 : ถูกทังข ้อ 1 และ 2
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 356 :
กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D=เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด, LS = Latest start = เวลา
ทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด, EF จะมีคา่ เท่ากับข ้อใด

1 : ES - D
2 : ES + D
3 : LS - D
4 : LS + D
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 357 :
กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D=เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด, LS = Latest start = เวลา
ทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด
ในการคํานวณ forward calculation ของ network จะสามารถหาค่าใดได ้

1 : EF
2 : ES
3 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 358 :
กําหนดให ้ งาน A มีคา่ เวลาต่างๆ ดังนี
D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน = 12 ชัวโมง
ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด = 5
LS = Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด = 7
งาน A จะมีคา่ EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด เท่ากับเท่าใด

1 : 12
2 : 17
3 : 19
4 : 24
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 359 :
กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด, LS= Latest start =
เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด
ในการคํานวณ backward calculation ของ network จะสามารถหาค่าใดได ้

1 : LS
2 : LF
3 : ข ้อ 1 และ 2 ถูก
4 : ข ้อ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 360 :
เทคนิคทีไม่เหมาะสมทีจะใช ้ในการวางแผน shut down คือข ้อใด

1 : PERT
2 : BAR CHART
3 : GANTT CHART
4 : CPM
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 361 :
กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด LS = Latest start =
เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด ในการคํานวณ จะหาค่า LS ได ้จาก
1 : LS = EF + D
2 : LS = EF - D
3 : LS = LF + D
4 : LS = LF - D
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 362 :
ถ ้ามีงาน 2 งาน A และ B ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย B จะเริมได ้ A จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10, ES = 2 ค่าเวลา B มีคา่ D = 5 ดังนัน ES
ของ B เป็ นเท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด LS =
Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1:2
2:5
3 : 12
4 : 17
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 363 :
ถ ้ามีงาน 2 งาน A และ B ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย B จะเริมได ้ A จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา่ D = 5 ดังนัน EF
ของ B เป็ นเท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด, LS
= Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1:2
2:5
3 : 12
4 : 17
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 364 :
ถ ้ามีงาน 2 งาน A และ B ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย B จะเริมได ้ A จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา่ D = 5, LF = 40
ดังนัน LS ของ B เป็ นเท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็ว
ทีสุด, LS = Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1 : 10
2 : 22
3 : 35
4 : 45
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :
ถ ้ามีงาน 2 งาน A และ B ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย B จะเริมได ้ A จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10, ES = 22 เวลา ของ B มีคา่ D = 5, LF = 40
ดังนัน LS ของ A เป็ นเท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES = Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็ว
ทีสุด, LS = Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish = เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1 : 35
2 : 32
3 : 25
4 : 22
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 366 :
ถ ้ามีงาน 3 งาน A B และ C ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย C จะเริมได ้ A และ B จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10, ES = 22 เวลาของ B มีคา่ D = 5,
ES = 15 เวลาของ C มีคา่ D = 6 ดังนัน EF ของ C จะมีคา่ เท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน, ES =
Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด, LS = Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด, EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด, LF = Latest finish =
เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1 : 15
2 : 20
3 : 32
4 : 38
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 367 :
ถ ้ามีงาน 3 งาน A B และ C ซึงจะต ้องทําตามลําดับโดย B และ C จะเริมได ้ A จะต ้องเสร็จแล ้วเท่านัน เวลาของ A มีคา่ D = 10 เวลาของ B มีคา่ D = 5, LF = 32
เวลาของ C มีคา่ D = 6, LF = 35 ดังนัน LS ของ A จะมีคา่ เท่าใด กําหนดให ้ งานทีจะต ้องทํามีคา่ เวลาต่างๆ ใช ้สัญลักษณ์ดงั นี D = เวลาทีใช ้ในการทํางาน ES =
Earliest start = เวลาทีจะเริมงานเร็วทีสุด LS = Latest start = เวลาทีจะเริมงานช ้าทีสุด EF = Earliest finish = เวลาทีจะเสร็จงานเร็วทีสุด LF = Latest finish =
เวลาทีจะเสร็จงานช ้าทีสุด

1 : 17
2 : 19
3 : 27
4 : 29
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 368 :
งานทีจะต ้องทําในการ Shut down จํานวน 4 งานคือ งาน A B C D มีคา่ เวลาหลังจากทําการวิเคราะห์ network แล ้ว ดังนี
งาน A D=2 ES=2 EF=4 LS=3 LF=7
งาน B D=8 ES=7 EF=15 LS=7 LF=15
งาน C D=2 ES=6 EF=8 LS=6 LF=10
งาน D D=10 ES=6 EF=16 LS=9 LF=19
งานทีเป็ นงานใน critical path คืองานใด

1:A
2:B
3:C
4:D
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 237 : 18 การประเมินผลด ้วยดัชนีแบบ ก.การคิดประสิทธิผลเชิงรวม ข.ต ้นทุนการบํารุงรักษา และ ค.ประสิทธิภาพงานซ่อมบํารุง

ข ้อที 369 :
อัตราส่วนความถีการชํารุดฉุกเฉิน หาได ้จากข ้อใด

1 : จํานวนครังของการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครือง
2 : เวลาทีเครืองเสียจากการชํารุดทุกประเภท / ระยะเวลาเดินเครือง
3 : เวลาทีเครืองเสียจากการชํารุดฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครือง
4 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในการซ่อมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครือง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 370 :
อัตราส่วนงานบํารุงรักษาทีวางแผนไว ้ หาได ้จากข ้อใด

1 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในการซ่อมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครือง


2 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนไว ้ / ระยะเวลาเดินเครือง
3 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนไว ้ / จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานบํารุงรักษาทังหมด
4 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนซึงปฏิบต ั ไิ ด ้จริง / จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานบํารุงรักษาทังหมด
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 371 :
อัตราส่วนงานบํารุงรักษาทีวางแผนทีปฏิบต
ั จิ ริง หาได ้จาก

1 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในการซ่อมฉุกเฉิน / ระยะเวลาเดินเครือง


2 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนไว ้ / ระยะเวลาเดินเครือง
3 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนไว ้ / จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานบํารุงรักษาทังหมด
4 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานทีวางแผนซึงปฏิบต ั ไิ ด ้จริง / จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในงานบํารุงรักษาทีวางแผนทังหมด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 372 :
อัตราส่วนความถีการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืน หาได ้จากข ้อใด

1 : จํานวนครังของการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืน / จํานวนครังของการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืนทังหมด


2 : เวลาทีเครืองเสียจากการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืน / จํานวนครังของการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืนทังหมด
3 : เวลาทีเครืองเสียจากการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืน / ระยะเวลาเดินเครือง
4 : จํานวนชัวโมงคนทีใช ้ในการซ่อมจากการขาดนํ ามันหล่อลืน / ระยะเวลาเดินเครือง ระดับความยากง่าย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 373 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ อัตราส่วนความถีการชํารุดฉุกเฉิน ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 374 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ อัตราส่วนเวลาการชํารุดฉุกเฉิน ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 375 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ อัตราส่วนงานบํารุงรักษาทีวางแผนไว ้ ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 376 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ อัตราส่วนงานบํารุงรักษาวางแผนทีปฏิบต
ั จิ ริง ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 377 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ เวลาทีเครืองจักรเสีย ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 378 :
เมือจํานวนช่างซ่อมบํารุง มีแนวโน ้มเพิมขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงาน ควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 379 :
เมืออัตราการใช ้นํ ามันหล่อลืน มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 380 :
่ มบํารุงต่อช่างซ่อม มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
เมืออัตราค่าวัสดุซอ ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 381 :
เมืออัตราค่าบํารุงรักษาต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 382 :
เมืออัตราค่าบํารุงรักษาต่อหน่วยของเวลาเดินเครือง มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 383 :
เมืออัตราค่าบํารุงรักษาต่อหน่วยพลังงานไฟฟ้ าทีใช ้ (kWh) มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 384 :
เมืออัตราค่าบํารุงรักษาต่อต ้นทุนผลิตภัณฑ์ มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 385 :
เมืออัตราค่าบํารุงรักษาต่อมูลค่าเครืองจักร มีแนวโน ้มทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 386 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือนเป็ นดังนี
เครืองจักร 1 เสีย 5 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 8 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 4 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 9 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง
ช่างซ่อมชุดใดมีผลการปฏิบต ั งิ านในรอบ 3 เดือนนีดีทสุ
ี ด

1 : ช่างซ่อมของเครืองที 1
2 : ช่างซ่อมของเครืองที 2
3 : ช่างซ่อมของเครืองที 3
4 : ช่างซ่อมของเครืองที 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 387 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือนเป็ นดังนี
เครืองจักร 1 เสีย 5 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 8 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 4 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 9 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง
ช่างซ่อมชุดใดมีผลการปฏิบต ั งิ านในรอบ 3 เดือนนีตําทีสุด

1 : ช่างซ่อมของเครืองที 1
2 : ช่างซ่อมของเครืองที 2
3 : ช่างซ่อมของเครืองที 3
4 : ช่างซ่อมของเครืองที 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 388 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราความถีการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร 1 มีคา่ เท่ากับเท่าไร
เครืองจักร 1 เสีย 35 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 12 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 24 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 19 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง

1 : 2 ครังต่อ 100 ชัวโมง


2 : 3.17 ครังต่อ 100 ชัวโมง
3 : 4 ครังต่อ 100 ชัวโมง
4 : 5.83 ครังต่อ 100 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 389 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราเวลาการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร 1 มีคา่ เท่ากับเท่าไร
เครืองจักร 1 เสีย 35 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 12 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 24 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 19 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง

1 : 1.72 ชัวโมง
2 : 2.75 ชัวโมง
3 : 3.68 ชัวโมง
4 : 3.83 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 390 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราความถีการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร 2 มีคา่ เท่ากับเท่าไร
เครืองจักร 1 เสีย 35 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 12 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 24 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 19 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง

1 : 2 ครังต่อ 100 ชัวโมง


2 : 3.17 ครังต่อ 100 ชัวโมง
3 : 4 ครังต่อ 100 ชัวโมง
4 : 5.83 ครังต่อ 100 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 391 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราเวลาการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร 2 มีคา่ เท่ากับเท่าไร เครืองจักร 1 เสีย 35 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง เครืองจักร 2
เสีย 12 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง เครืองจักร 3 เสีย 24 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง เครืองจักร 4 เสีย 19 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง

1 : 1.72 ชัวโมง
2 : 2.75 ชัวโมง
3 : 3.68 ชัวโมง
4 : 3.83 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 392 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราความถีการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร 3 มีคา่ เท่ากับเท่าไร
เครืองจักร 1 เสีย 35 ครัง รวมเวลา 16.5 ชัวโมง
เครืองจักร 2 เสีย 12 ครัง รวมเวลา 22.1 ชัวโมง
เครืองจักร 3 เสีย 24 ครัง รวมเวลา 10.3 ชัวโมง
เครืองจักร 4 เสีย 19 ครัง รวมเวลา 23 ชัวโมง

1 : 2 ครังต่อ 100 ชัวโมง


2 : 3.17 ครังต่อ 100 ชัวโมง
3 : 4 ครังต่อ 100 ชัวโมง
4 : 5.83 ครังต่อ 100 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 393 :
เครืองจักรในแผนกผลิตจํานวน 4 เครือง มีชา่ งดูแลบํารุงรักษาประจําเครืองแต่ละเครือง สถิตก ั
ิ ารเสียของเครืองจักรในรอบ 3 เดือน ซึงมีชวโมงทํ างานของโรงงาน
รวม 600 ชัวโมงเป็ นดังนี จงหาอัตราความถีการชํารุดต่อ 100 ชัวโมงของเครืองจักร4 มีคา่ เท่ากับเท่าไร

1 : 2 ครังต่อ 100 ชัวโมง


2 : 3.17 ครังต่อ 100 ชัวโมง
3 : 4 ครังต่อ 100 ชัวโมง
4 : 5.83 ครังต่อ 100 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 394 :
สถิตอ
ิ ต
ั ราการหยุดโรงงาน (downtime) เฉลีย คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ ของโรงงาน 4 แห่งเป็ นเวลา 5 ปี ตามลําดับจากปี แรกจนถึงปี ท ี 5 เป็ นดังนี จงหาว่าโรงงานใดทีมี
ผลการปฏิบต ั งิ านบํารุงรักษาทีดีทสุ
ี ด
โรงงานที 1 12.5 13.4 12.4 13.9 13.1
โรงงานที 2 11.5 10.2 9.4 8.6 6.2
โรงงานที 3 13.2 12.8 12.4 12.7 12.6
โรงงานที 4 12.2 13.6 15.8 15.6 17.9

1 : โรงงานที 1
2 : โรงงานที 2
3 : โรงงานที 3
4 : โรงงานที 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 395 :
สถิตอ
ิ ต
ั ราการหยุดโรงงาน (downtime) เฉลีย คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ ของโรงงาน 4 แห่งเป็ นเวลา 5 ปี ตามลําดับจากปี แรกจนถึงปี ท ี 5 เป็ นดังนี จงหาว่าโรงงานใดทีมี
ผลการปฏิบต ั งิ านบํารุงรักษาทีตําทีสุด
โรงงานที 1 12.5 13.4 12.4 13.9 13.1
โรงงานที 2 11.5 10.2 9.4 8.6 6.2
โรงงานที 3 13.2 12.8 12.4 12.7 12.6
โรงงานที 4 12.2 13.6 15.8 15.6 17.9

1 : โรงงานที 1
2 : โรงงานที 2
3 : โรงงานที 3
4 : โรงงานที 4
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 396 :
เมือผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานมีแนวโน ้มทีดีขน
ึ อัตราการชํารุดจากการขาดนํ ามันหล่อลืนควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : เพิมขึน
2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่แน่นอน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 397 :
เมือมีการจัดทํามาตรฐานการตรวจสอบเครืองจักรเป็ นจํานวนทีมากขึน ผลการปฏิบต
ั งิ านบํารุงรักษาของหน่วยงานควรทีจะมีแนวโน ้มแบบใด

1 : ดีขน

2 : คงที
3 : ลดลง
4 : ไม่สามารถบอกได ้จากองค์ประกอบเพียงอย่างเดียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 398 :
สัดส่วนของต ้นทุนงานซ่อมบํารุงฉุกเฉินเป็ นเท่าใดหากต ้นทุนงานซ่อมบํารุงเป็ นตามทีแสดงในตารางข ้างล่างนี
ซ่อม ซ่อม ซ่อม
ที ต ้นทุน (หน่วย: ล ้านบาท) ซ่อมฉุกเฉิน
ตามแผน ป้ องกัน ปรับปรุง
ก อะไหล่และวัสดุซอ ่ มบํารุง 90 10 20 10
ข ค่าตอบแทนช่างซ่อมบํารุง 20 6 2 2
ค ค่าโสหุ ้ย 5 3 2 2
ง งานซ่อมบํารุงจ ้างเหมา 0 0 2 4

1 : 44.61 %
2 : 54.61 %
3 : 64.61 %
4 : 74.61 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 399 :
สัดส่วนของต ้นทุนอะไหล่และวัสดุซอ ่ มบํารุงเป็ นเท่าใดหากต ้นทุนงานซ่อมบํารุงเป็ นตามทีแสดงในตารางข ้างล่างนี
ซ่อม ซ่อม ซ่อม
ที ต ้นทุน (หน่วย: ล ้านบาท) ซ่อมฉุกเฉิน
ตามแผน ป้ องกัน ปรับปรุง
ก อะไหล่และวัสดุซอ ่ มบํารุง 90 10 20 10
ข ค่าตอบแทนช่างซ่อมบํารุง 20 6 2 2
ค ค่าโสหุ ้ย 5 3 2 2
ง งานซ่อมบํารุงจ ้างเหมา 0 0 2 4

1 : 71.03 %
2 : 73.03 %
3 : 75.05 %
4 : 77.05 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 400 :
สัดส่วนของต ้นทุนงานซ่อมบํารุงป้ องกันเป็ นเท่าใดหากต ้นทุนงานซ่อมบํารุงเป็ นตามทีแสดงในตารางข ้างล่างนี
ซ่อม ซ่อม ซ่อม
ที ต ้นทุน (หน่วย: ล ้านบาท) ซ่อมฉุกเฉิน
ตามแผน ป้ องกัน ปรับปรุง
ก อะไหล่และวัสดุซอ ่ มบํารุง 90 10 20 10
ข ค่าตอบแทนช่างซ่อมบํารุง 20 6 2 2
ค ค่าโสหุ ้ย 5 3 2 2
ง งานซ่อมบํารุงจ ้างเหมา 0 0 2 4

1 : 14.64 %
2 : 18.56 %
3 : 22.24 %
4 : 26.48 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

You might also like