You are on page 1of 16

บทที่ 10

สัญนิยมของการเขียนภาพตัด
เนื้อหาในบทนี้จะเปนการกลาวถึงสัญนิยมสําหรับการเขียนภาพตัด ซึ่งประกอบไปดวยการ
เขียนภาพตัดสําหรับสวนประกอบที่มีลักษณะเฉพาะภายในวัตถุ เชน rib, web, spoke และ lug รวมถึง
การผสมผสานสัญนิยมสําหรับการเขียนภาพออโธกราฟกที่ไดกลาวไปแลวในบทที่ 8 เขากับเทคนิคการ
เขียนภาพตัด เพื่อใหไดภาพออโธกราฟกที่มีความสมบูรณและสามารถทําความเขาใจไดงายยิ่งขึ้น สวน
หัวขอสุดทายที่จะไดกลาวถึงในบทนี้เปนเทคนิคการลดขนาดความยาวของรูปเพื่อใหมีขนาดที่เหมาะสม
กับขนาดของกระดาษเขียนแบบ

10.1 การเขียนภาพตัดสําหรับ rib, web, spoke และ lug


กอนจะกลาวถึงเทคนิคการเขียนภาพตัดสําหรับ rib, web, spoke และ lug ผูเรียนควรทํา
ความรูจักกับสวนประกอบตาง ๆ เหลานี้เสียกอน โดยจะขอเริ่มจาก rib และ web กอน ลักษณะของ rib
นั้นจะเปนแผนบางที่ยื่นออกจากวัตถุเพื่อยึดสวนที่เปนมุมฉากเขาดวยกัน ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่
10.1 ซึ่งแผนบางที่ยื่นออกมานี้มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเสริมความแข็งแรงใหกับวัตถุนั่นเอง

Rib Rib

รูปที่ 10.1 ลักษณะของ rib ที่มีคุณสมบัติเพื่อเสริมความแข็งแรงของวัตถุ


276  Fundamental of En
ngineering Drawing 
 

สวน weeb ก็มีลักษณ


ณะเปนแผนบางที
บ ่ยื่นออกกมาจากวัตถุเชนเดียวกันแต น จะมีลักษษณะที่ยาวกวา ใชยึด
สวนประะกอบของวัตถุถเขาไวดวยกกันเพื่อเสริมความแข็
ค งแรงงเหมือนกับ rib
r ดังตัวอยาางที่แสดงในรูรูปที่ 10.2

Web

รูปที่ 10.2
1 ลักษณ
ณะของ web ที่มีคุณสมบัตเพื
ิ ่อเสริมควาามแข็งแรงขอองวัตถุ

สวนประะกอบของวัตถุถัดไปที่จะกกลาวถึงก็คือ spoke ชิ้นสวนนี้มีลักษณะเปนแททงที่ยื่นออกจจากดุมลอ


(hub) ไปเชื
ไ ่อมกับขอบของลอ (rrim) ดังแสดงงในรูปที่ 10.33 จากรูปจะเหห็นวา ในบางงครั้งเราก็อาจจะเรียก
spoke นี้วาซี่ลอ หรือถ
อ าเปนสวนขของพวงมาลััยรถยนต เราาก็จะเรียก sppoke วากานนพวงมาลัย เปปนตน

Hub
Hub

Spo
oke Rim

Rim Spoke

รูปที่ 10.33 ลักษณะของ spoke

สวนประะกอบชิ้นสุดททายก็คือ lugg ชิ้นสวนนี้จะมี


ะ ลักษณะเปปนแผนเล็ก ๆ ที่ยื่นออกมาจากวัตถุคล
ค ายหู มี
วัตถุประะสงคเพื่อใชในการจั
น บยึดชิน้ สวนเขาดวยกั
ว น ดังแสดดงในรูปที่ 100.4

Lug
Lug

Lug
g

รูปที่ 100.4 ลักษณะะของ lug และะการใชในกาารจับยึด

Niphon Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 
Convention  in  Section  277 
 

เมื่อทราบรูปรางหนาตาของ rib, web, spoke และ lug แลว เราก็จะกลับมาที่การเขียนภาพตัดสําหรับ


วัตถุที่มีสวนประกอบเหลานี้กัน โดยสัญนิยมของภาพตัดสําหรับ rib และ web ก็คือ ถา cutting plane
ที่ใชตัดวัตถุนั้น ตัดผานความบางของ rib หรือ web แลว ใหยกเวนการเขียนเสนแรเงา (section
lines) ในสวนที่เปน rib หรือ web นั้น เพื่อใหเขาใจขอยกเวนนี้ไดดียิ่งขึ้น ขอใหศึกษาจากตัวอยางที่
แสดงในรูปที่ 10.5 – 10.7 โดยรูปที่ 10.5 จะแสดงภาพพิคทอเรียลพรอมทั้งภาพออโธกราฟกของวัตถุที่
ยังไมไดใชเทคนิคภาพตัด ซึ่งถานําเทคนิคภาพตัดมาประยุกตใชแตไมนําสัญนิยมมาใชดวย ก็จะไดภาพ
ออโธกราฟกดังที่แสดงในรูปที่ 10.6 ซึ่งจากรูปจะเห็นวาภาพตัดที่ไดนั้นอาจทําใหผูอานแบบเขาใจรูปราง
ของวัตถุผิดไปได เพราะไมสามารถแยกแยะสวนที่เปน rib (แผนบาง ๆ เฉพาะตําแหนง) กับสวนที่เปน
เนื้อวัตถุที่กระจายตัวอยูโดยรอบ แตถานําสัญนิยมที่กลาววา ใหยกเวนการเขียน section lines ใน
บริเวณที่เปน rib หรือ web มาประยุกตใชแลว เราก็จะไดภาพออโธกราฟกดังที่แสดงในรูปที่ 10.7 คราว
นี้จะเห็นไดวาภาพออโธกราฟกที่ได สามารถชวยผูอานแบบในการแยกแยะสวนที่เปน rib ออกจากสวนที่
เปนเนื้อวัตถุปกติได

รูปที่ 10.5 ภาพพิคทอเรียลและภาพออโธกราฟกของวัตถุตวั อยาง

?? 

รูปที่ 10.6 ภาพตัดของวัตถุตวั อยางที่มี rib แตไมไดใชสัญนิยมสําหรับภาพตัด

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


278  Fundamental of Engineering Drawing 
 

รูปที่ 10.7 ภาพตัดที่ใชสญ


ั นิยมสําหรับ rib

สวนถัดไปจะเปนกรณีเมื่อ cutting plane ตัดผานสวนบางของ web บาง ดังวัตถุตัวอยางที่แสดงในรูปที่


10.8 – 10.9 โดยรูปที่ 10.8 จะเปนภาพตัดที่ไมไดใชสัญนิยม ในขณะที่รูปที่ 10.9 นั้นเปนภาพตัดเมื่อ
นําสัญนิยมมาประยุกตใช จะเห็นไดวาถาไมนําสัญนิยมมาประยุกตใช ภาพตัดที่ไดจะทําใหผูอานแบบ
เขาใจวา วัตถุที่พิจารณาอยูนั้นประกอบไปดวยแทงสี่เหลี่ยมตันสองแทงที่ตั้งอยูบนฐาน ทั้งที่ความเปน
จริงแลวแทงที่ตั้งอยูบนฐานนั้นไมไดเปนแทงสี่เหลี่ยมตันอยางที่คิด แตเมื่อนําสัญนิยมมาประยุกตใชกับ
ภาพตัดของวัตถุที่มี web แลว ภาพออโธกราฟกที่ไดจะแสดงใหเห็นสวนที่เปนแกนของแทงนั้น และสวน
ที่เปนแผนบางยื่นออกมา (web) เพื่อชวยเสริมความแข็งแรง

รูปที่ 10.8 ภาพตัดของวัตถุที่ไมไดประยุกตใชเทคนิคสัญนิยม

รูปที่ 10.9 ภาพตัดของวัตถุตวั อยางที่ผา นการใชสัญนิยมสําหรับ web

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


Convention  in  Section  279 
 

แตถา cutting plane ตัดทางขวางของ rib หรือ web แลว ก็ใหลงเสน section lines ตามปกติ ดัง
ตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 10.10

รูปที่ 10.10 ภาพตัดของวัตถุในกรณีที่ cutting plane ตัดทางขวางของ web

การสรางภาพตัดในบางครั้งนั้น เราอาจใช cutting plane มากกวาหนึ่งระนาบในการตัดวัตถุชิ้นเดียวกัน


ก็ได ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 10.11 จากรูปจะเห็นวาภาพดานหนานั้นมีเสน cutting plane line อยู
สองเสนดวยกัน โดยแตละเสนนั้นก็ทําใหเกิดภาพตัดปรากฎอยูในทิศทางที่ตั้งฉากกับ cutting plane line
นั้น ๆ เชน cutting plane line ที่ลากในแนวดิ่ง ก็จําทําใหเกิดภาพตัดไปปรากฎเปนภาพดานขวา สวน
cutting plane line ที่ลากในแนวนอนนั้น ก็จะไปทําใหเกิดภาพตัดในภาพดานบน ดังที่แสดงในรูป

รูปที่ 10.11 ตัวอยางภาพตัดของวัตถุในกรณีที่มี cutting plane มากกวาหนึ่งระนาบ

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


280  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สัญนิยมสําหรับสวนประกอบถัดไปก็คือ สัญนิยมสําหรับ spoke ซึ่งมีขอกําหนดวา ถา cutting plane


ตัดผานตามความยาวของตัว spoke แลว ใหยกเวนการเขียนเสนแรเงา (section lines) ในสวน
ที่เปน spoke นั้น ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 10.12 – 10.13 โดยรูปที่ 10.12 เปนภาพพิคทอเรียลของ
วัตถุที่ถูก cutting plane ตัดผานพรอมกับภาพออโธกราฟกที่ไดเมื่อไมไดใชสัญนิยมของภาพตัด จาก
ภาพจะเห็นวาภาพตัดที่ไดจะทําใหผูอานแบบเขาใจรูปรางของวัตถุไมถูกตองตามความเปนจริง คืออาจ
เขาใจไปไดวาสวนที่เชื่อมตอระหวางดุมลอตรงกลางกับขอบดานนอกมีลักษณะเปนแผนตอเนื่อง ดังที่
แสดงในรูป แตถานําสัญนิยมมาประยุกตใชในการสรางภาพตัด ก็จะทําใหไดภาพออโธกราฟกดังที่แสดง
ในรูปที่ 10.13

?? 

รูปที่ 10.12 ภาพตัดของวัตถุที่มี spoke แตไมไดใชสญ


ั นิยม

รูปที่ 10.13 ภาพตัดของวัตถุที่มี spoke เมื่อใชสัญนิยม

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


Convention  in  Section  281 
 

สัญนิยมสําหรับสวนประกอบแบบสุดทายก็คือ สัญนิยมสําหรับ lug ในกรณีของ lug นั้น ไมวา cutting


plane จะตัดผาน lug ในลักษณะใด (ตัดขวางหรือตัดตามความบางของ lug) ก็กําหนดใหยกเวนการ
เขียนเสนแรเงา (section lines) ในสวนที่เปน lug นั้น ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 10.14ก-ข จากรูปที่
10.14ก จะเห็นวาวัตถุตัวอยางนั้นมีลักษณะเปนทรงกระบอก และมีแผนขนาดเล็กยื่นออกมาจากตัว
ทรงกระบอกคลายกับหูของแกวน้ํา ซึ่งเมื่อมี cutting plane ตัดผานหูเหลานี้ ภาพตัดที่วาดก็ใหยกเวน
การแรเงาในสวนที่เปนหู ทําใหไดภาพออโธกราฟกของวัตถุเปนดังรูปที่ 10.14ข

รูปที่ 10.14 ภาพตัดของวัตถุที่มี lug โดยใชสัญนิยม

10.2 การใชสัญนิยม align กับการเขียนภาพตัด


เราไดเรียนสัญนิยม align มาแลวในบทที่เกี่ยวกับสัญนิยมในการเขียนภาพออโธกราฟก
สวนในหัวขอนี้ เราจะนําเอาสัญนิยม align มาประยุกตใชกับการเขียนภาพตัด ซึ่งหลักการของสัญนิยม
แบบ align ก็คือ ใหจินตนาการวาเราสามารถหมุนบางสวนของวัตถุที่วางตัวอยูอยางสมมาตรกับแกนใด
แกนหนึ่งในวัตถุ โดยหมุนใหสวนนั้นแสดงระยะหางที่แทจริงของตนเองกับแกนสมมาตรนั้นออกมา รูปที่
10.15 เปนตัวอยางของวัตถุที่นํามาสรางภาพตัดโดยไมใชสัญนิยมแบบ align ซึ่งภาพตัดที่ไดจะทําให
ผูอานแบบมีความรูสึกวา วัตถุนี้ถูกเจาะรูโดยมีระยะหางของรูนั้นไมสมมาตรรอบแกน แตเมื่อนําสัญนิยม
แบบ align มาประยุกตเขากับการเขียนภาพตัดแลวก็จะทําใหไดภาพดังที่แสดงในรูปที่ 10.16ก-ข จาก
รูปที่ 10.16ก-ข นั้นจะเห็นวาเราสามารถเขียนรูปแบบของเสน cutting plane line ไดสองแบบ ซึ่งทั้งสอง
แบบนี้อาศัยแนวคิดในการสรางภาพตัดและการใชสัญนิยม align ที่ตางกัน แตอยางไรก็ดีภาพตัดที่ได
จากทั้งสองแบบนี้ก็จะมีลักษณะที่เหมือนกัน โดยแบบแรกจะใชเสน cutting plane line ลากตัดผานรูเจาะ

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


282  Fundamental of Engineering Drawing 
 

ที่ตองการจะแสดงรายละเอียด แลวใชเทคนิค align ในการหมุนภาพของรูที่ถูกตัดนี้จนกระทั่งสามารถ


แสดงระยะหางที่แทจริงระหวางรูและแกนสมมาตรได สวนแบบที่สองจะใชเสน cutting plane line ลาก
ยาวตลอดวัตถุเลย แลวคอยใชเทคนิค align ในการหมุนรูใหมาอยูในแนวที่เสน cutting plane line ตัด
ผานตัววัตถุ ผูเรียนสามารถลากเสน cutting plane line รูปแบบใดก็ได สวนรูปที่ 10.17 – 10.20 เปน
ตัวอยางของภาพตัดที่ใชเทคนิค align มาประยุกตใช

รูปที่ 10.15 ภาพตัดของวัตถุที่ไมใชสัญนิยม align

(ก) (ข)
รูปที่ 10.16 ภาพตัดของวัตถุทใี่ ชสัญนิยม align

รูปที่ 10.17 ภาพตัดแบบ align (1)

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


Convention  in  Section  283 
 

รูปที่ 10.18 ภาพตัดแบบ align (2) รูปที่ 10.19 ภาพตัดแบบ align (3)

รูปที่ 10.20 ภาพตัดแบบ align (4)

10.3 การยอภาพใหสั้นลงเพื่อความเหมาะสมกับกระดาษเขียนแบบ (convectional break)


ในกรณีที่เราตองเขียนภาพออโธกราฟกของวัตถุที่มีความยาวมาก ๆ เชน รางรถไฟ หรือ
ไมตีกอลฟ ลงบนกระดาษเขียนแบบ เราจําเปนตองยอขนาดของวัตถุลงอยางมาก เพื่อที่จะสามารถบรรจุ
ภาพของวั ต ถุ นั้ น ลงไปในกระดาษเขี ย นแบบได ซึ่ ง การย อ ขนาดลงมาก ๆ นี้ จ ะทํ า ให ร ายละเอี ย ด
บางอยางของวัตถุ เชน รายละเอียดของหัวไมกอลฟ มีขนาดที่เล็กลงไปอีก ซึ่งจะทําใหการอานแบบทํา
ไดยากมากขึ้นดวย ขอแนะนําในการแกปญหาเชนนี้ก็คือ ใหตัดสวนที่ทําใหรูปมีความยาวออก ซึ่งโดย
ปกติแลวสวนที่ทําใหรูปมีความยาวนี้ มักจะไมมีรายละเอียดใด ๆ เปนพิเศษ เชน สวนที่เปนกานของไมตี
กอลฟ เปนตน แลวลากเสน break line เพื่อแสดงวาเรายอภาพของวัตถุในบริเวณดังกลาวใหสั้นลง
เพื่อใหเขาใจการยอภาพนี้ไดมากขึ้นขอใหศึกษาจากตัวอยางในรูปที่ 10.21 – 10.22 โดยรูปที่ 10.21
เปนการแสดงตัวอยางของภาพออโธกราฟกของวัตถุที่มีความยาว ซึ่งวาดดวยสเกล 1:1 อยู จากรูปจะ
เห็นวาสวนกลางของวัตถุนั้นเปนสวนที่ทําใหรูปที่วาดมีความยาว แตสวนดังกลาวไมมีรายละเอียดใด ๆ
เปนพิเศษเลย อีกทั้งภาพที่ไดยังใหรายละเอียดที่ปลายทั้งสองขางไมชัดเจนดวย แตถาเราใชเทคนิค
convectional break กับภาพดังกลาว โดยตัดสวนกลางของวัตถุออกไปบางสวน แลวทําการขยายภาพที่

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


284  Fundamental of Engineering Drawing 
 

เขียนใหมีขนาดที่ใหญขึ้น ก็จะทําใหเราไดภาพออโธกราฟกของวัตถุที่สามารถเห็นรายละเอียดที่ปลาย
ทั้งสองขางไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น ดังที่แสดงในรูปที่ 10.22

SCALE 1:1

รูปที่ 10.21 ภาพวัตถุตวั อยางที่มีความยาวมาก

SCALE 2:1

รูปที่ 10.22 ภาพวัตถุตวั อยางที่ใชเทคนิค convectional break

สําหรับลักษณะของเสน break line ดังที่แสดงในรูปที่ 10.22 นั้นจะขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุ และรูปราง


ของวัตถุที่จะทํา conventional break โดยตัวอยางของเสน break line สําหรับวัสดุบางชนิดและรูปรางที่
พบเห็นไดบอย ๆ ไดแสดงไวในรูปที่ 10.23

Wood
Rectangular
cross section
Metal

Cylindrical
cross section

Tubular
cross section

รูปที่ 10.23 ภาพวัตถุตวั อยางที่ใชเทคนิค convectional break

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


Convention  in  Section  285 
 

การลงขนาดใหกับภาพออโธกราฟกที่เขียนโดยใชเทคนิค conventional break เชนนี้ ตองใชขนาดของ


วัตถุจริง ๆ หามใชขนาดของรูปที่ถูกขยายขึ้นมาแลว ดังที่แสดงตัวอยางไวในรูปที่ 10.24
φ16

Typical method 800

φ16

800

Use not to scale dimensions

รูปที่ 10.24 การลงขนาดกับภาพออโธกราฟกที่ใชเทคนิค conventional break

10.4 บทสรุป
เนื้อหาในบทนี้เปนการนําเสนอสัญนิยมสําหรับการเขียนภาพตัด โดยเริ่มจากการแนะนํา
สวนประกอบที่มักจะพบเห็นไดในวัตถุ ซึ่งไดแก rib, web, spoke และ lug พรอมทั้งสัญนิยมเมื่อตอง
เขียนภาพตัดสําหรับวัตถุที่มีสวนประกอบเหลานี้ โดยรายละเอียดของสัญนิยมนี้ก็คือจะยกเวนการเขียน
เสน section lines เมื่อใช cutting plane ตัดผานสวนประกอบเหลานั้น หัวขอถัดไปเปนการนําสัญนิยม
แบบ align มาประยุกตใชกับการเขียนภาพตัด และสุดทายก็เปนเทคนิค convectional break ซึ่งจะชวย
ตัดสวนที่ไมสําคัญของวัตถุออก ทําใหภาพโดยรวมสั้นลงและเขียนรายละเอียดในสวนอื่น ๆ ไดมากขึ้น

Niphon Wansophark  July 2007  Version 0.5 


286  Fundamental of En
ngineering Drawing 
 

แบบฝกหัด

1. จากกภาพออโธกราฟกที่กําหนนดให จงวาดดภาพดานหนนาใหมใหอยูในรูปแบบ fuull section

Niphon Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 
Con
nvention  in  SSection  28
87 
 

2. จากกภาพออโธกรราฟกที่ให จงงวาดภาพดานหน
า าใหมในรูปแบบ hallf section

Niphon W
Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 
288  Fundamental of En
ngineering Drawing 
 

3. จากกภาพพิคทอเรียลที่ให จงงเขียนภาพออโธกราฟก โดยหนึ


โ ่งในภภาพนั้นใชเทคคนิค full secction และ
ประะยุกตใชเทคนินิค align เขากั
า บภาพเพื่อให
อ เห็นขนาดดของ rib ที่แทจริง

Niphon Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 
Con
nvention  in  SSection  28
89 
 

4. จงววาดภาพออโธธกราฟกตามมเสน cutting plane lines A–A และ B–B ที่กําหนดดให

Niphon W
Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 
290  Fundamental of En
ngineering Drawing 
 

5. จงววาดภาพออโธธกราฟกตามมเสน cutting plane lines A–A และ B–B ที่กําหนดดให

Niphon Wansopharkk  July 2007 Ve
ersion 0.5 

You might also like