You are on page 1of 11

212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 1

การเขียนแบบระบบทอ (Drawing of Piping Systems)


(Draft Version)
ทอ หรือ แปบ มาจากภาษาอังกฤษ คือ pipe (หรือบางครั้งอาจไดยินคําวา tube ซึ่งนิยมเรียกทอที่มี
เสนผานศูนยกลางขนาดเล็กๆ) คือ ชิ้นสวนที่มีลักษณะเปนทรงกระบอกกลวง ใชสําหรับลําเลียงของเหลว
หรือแกส วัสดุที่นิยมใชทําทอ ไดแก อลูมิเนียม ทองเหลือง ทองแดง เหล็ก พลาสติก ยาง แกว และซีเมนต
เปนตน [Note: ทอโลหะกลมขนาดใหญบางครั้งก็นํามาใชในงานโครงสราง เชน ใชเปนเสา (columns) หรือ
หาก dia. ไมใหญมากก็ใชเปนราวจับหรือราวบันได (handrails)]
ในการสรางโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งโรงงานผลิตอาหาร เมื่อมีการเดินระบบทอ ไมวาจะเปน
ทอน้ํา ทอของเหลวอื่นๆ ทอลมของระบบ pneumatic หรือ ทอไอน้ํา (steam pipe) จะตองใช piping diagram
ในการอธิบายการติดตั้ง นอกจากตัวทอแลวในระบบทอ (piping system) จะมีความเกี่ยวของกับ ขอตอทอ
แบบตางๆ (pipe fittings) และอุปกรณสําหรับเปด-ปด (valves) ดวย

ชนิดของทอ
ชนิดของทอแบงตามวัสดุที่ใชทําทอ ที่จะกลาวถึงในที่นี้ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ
-ทอเหล็กเหนียว (Steel or Wrought-Iron or Ductile Iron Pipe)
ทอเหล็กเหนียว นิยมใชเปนทอน้ํา ไอน้ํา น้ํามัน และแกส มีความหนา 3 ขนาด คือ แบบ
standard, extra-strong และ double-extra-strong ขนาดทอมาตรฐาน (standard pipe) ที่ใชกันมาก มีตั้งแต
ขนาด 1/8” จนถึง 6” กรณีของทอ extra-strong ก็มีตั้งแตขนาด 1/8” จนถึง 12” สวนทอ double-extra-strong
จะมีแคขนาด 1/2" ถึง 8”

การบอกขนาดของทอที่มีขนาดเล็กกวา 12” จะบอกเปน Nominal Inside Diameter ซึ่งกรณี


ของทอ standard จะเล็กวา actual inside diameter แตกรณีของ extra-strong และ double-extra-strong จะ
ใหญกวา สําหรับทอที่มีขนาดโตกวา 12” จะนิยมบอกขนาด Outside Diameter (หรือ O.D.) และความหนา
ของผนังทอ (wall thickness) การบอกขนาดทอแบบหลังนี้ ยังสามารถใชบอกขนาดทอไดทั่วไปดวย เชน ทอ
standard ขนาด 2” (ซึ่งมี O.D.=2-3/8” ผนังหนา=0.218”) สามารถเรียกอีกแบบหนึ่งไดวาทอ 2-3/8” x 0.218”

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 2

-ทอเหล็กหลอ (Cast-Iron Pipe)


เปนทอที่มีการใชงานมากอนทอเหล็กเหนียว เหล็กหลอเปนวัสดุมีความแข็งแรงสูง (high
strength) คงรูปรางไดดี (rigid) ในอดีตนิยมใชเปนทอน้ํา ทอระบายน้ํา และอื่นๆ แตในปจจุบันถูกแทนที่ดวย
ทอเหล็กเหนียว (ductile iron pipe) เนื่องจากทอเหล็กเหนียวทนทานตอการแตกราวไดดีกวา
-ทอทองเหลือง/ทองแดง (Brass and Copper Pipe)
ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะมีการใชทอทองแดงเปนทอน้ํา โดยจะพบในระบบทําน้ํารอน
ของบาน (hot water system) ในประเทศไทย จะพบทอทองแดงภายในเครื่องทําน้ําอุนที่ใชกันประจําบาน ใช
เปนทอน้ํายาเครื่องปรับอากาศ และของตูเย็น ขอดีของโลหะทองแดง หรือโลหะผสมของทองแดง ก็คือ การ
ทนตอการกัดกรอน สามารถดัดโคงได
-ทอพลาสติก (Non metal Pipe)
ในปจจุบัน ทอพลาสติก 2 ชนิดใหญๆ คือ PVC และ HDPE ถูกนํามาใชงานแทนที่ทอที่ทํา
จากโลหะ อยางแพรหลาย ทอพลาสติกที่นํามาใชเปนทอสงน้ําสะอาด และของเหลวอื่นๆ เนื่องจากมีขอดี
หลายประการ เชน มีราคาถูกกวา ทนตอการกัดกรอน บางชนิดสามารถดัดงอได

อุปกรณในระบบทอ (pipe fittings)


Pipe fittings หมายถึงขอตอชนิดตางๆ ในระบบทอ มีหนาที่เชื่อมตอทอที่มีความยาวตางๆ กัน
ขนาดเดียวกันหรือตางกันก็ได ที่วางตัวอยูในแนวเดียวกัน หรืออยูคนละแนว เขาดวยกัน หรือทําใหมีทอแยก
ออกมาจากทอหลัก วัสดุที่ใชทําขอตอก็มีหลายชนิดเชนเดียวกับวัสดุที่ใชทําทอที่ไดกลาวในหัวขอที่แลว ขอ
ตอที่ทําจากเหล็ก (ferrous fittings) จะเชื่อมตอดวยวิธีทําเกลียว เชื่อมไฟฟา และใชหนาแปลน สวนขอตอที่
ไมใชเหล็ก (nonferrous fittings) จะเชื่อมตอดวย การทําเกลียว การบัดกรี การบานปาก (flared) หรือ ทากาว
อุปกรณในระบบทอที่มีการตอแบบตางๆ ดูไดจาก Fig. 983, 984 และ 24-7 เราจะเห็นไดจากรูปดังกลาววา
อุปกรณในระบบทอมีมากมายหลากหลายรูปแบบ แตเราพอจะจําแนกเปนกลุมยอยๆ เพื่อใหจํางาย ไดดังนี้
-กลุมขอตอ มีหนาที่คือ ตอเพื่อเพิ่มความยาวของระบบทอ เชน ขอตอตรง ยูเนียน
-กลุมขอลด ใชสําหรับเปลี่ยนขนาดหนาตัด (dia.) ของทอ ไดแก ขอลดเหลี่ยม ขอลดกลม
-กลุมทางแยก เชน 3 ทาง 4 ทาง
-กลุมเปลี่ยนทิศทาง ไดแก ของอ 90 องศา ของอ 45 องศา เปนตน
-กลุมวาลวเปด-ปด (Valves) มีหนาที่ปดกั้นของที่อยูในทอไมใหไหล หรือควบคุมการไหลตาม
ปริมาณหรือในทิศทางที่ตองการ ตัวอยาง วาวล ไดแก (ดูรูปที่ 1 ประกอบ)
-Globe valves
-Check valves
-Gate valves ภาษาไทยคือคําวา ประตูน้ํา
-Ball valves

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 3

รูปที่ 1 ภาพตัดแสดงรายละเอียดภายในของวาวลชนิดตางๆ

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 4

การเรียกชื่ออุปกรณในระบบทอ (Name Convention for Pipe Fittings)


หลักในการเรียกชื่ออุปกรณและขอตอแบบตางๆ ในระบบทอ มีดังนี้ (ดู Fig. 24-8 ประกอบ)

การตอทอ (Joints)
การตอทอในปจจุบันที่นิยม มีทั้งหมด 5 แบบ
1. Bell and Spigot หรือ แบบสวม
2. Flanged หรือ แบบหนาแปลน
3. Screwed หรือ แบบเกลียว
4. Welded หรือ แบบเชื่อม
5. Soldered หรือ แบบบัดกรี

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 5

ระบบของเกลียวแปบ (Pipe Thread)


ระบบเกลียวของแปป จะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
-NPT (National Pipe Taper) หรือ เกลียวเตเปอร
-NPS (National Pipe Straight) หรือ เกลียวตรง

แตแปปน้ําโลหะในบานเรา ซึ่งก็คือ Galvanized Steel Pipe (เหล็กชุบสังกะสี) นิยมทําเกลียวแบบ


NPT หรือภาษาไทย เรียกวา เกลียวเตเปอร ซึ่งมีลักษณะเรียวที่ปลาย สวนโคนเกลียวจะมี dia.ใหญกวา ซึ่งจะ
ทําให เมื่อยิ่งขันเกลียวเขา ก็จะยิ่งแนน รูปสัญลักษณะของเกลียวเตเปอร แสดงดัง Fig. 773

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 6

การเขียนและอานแบบระบบทอ
การเขียนแบบระบบทอ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ แบบ single-line drawing และ แบบ double-
line drawing
1. การเขียนแบบทอแบบเสนคู เปนการเขียนที่มีลักษณะคลายของจริง ดังรูปที่ 2 การเขียนแบบลักษณะนี้จะ
สามารถอานแบบไดงาย แตจะเสียเวลาในการเขียนมาก ลักษณะงานที่เหมาะกับแบบประเภทนี้ สวนมากจะ
เปนพวกงานติดตั้งระบบทอที่ตองใชอุปกรณประกอบ (fittings) เปนจํานวนมาก หรือการตอเชื่อมทอกับ
อุปกรณขนาดใหญอยางอื่น เชน ปมน้ํา เครื่อง Boiler เปนตน

รูปที่ 2 การเขียนแบบทอแบบเสนคู

2. การเขียนแบบทอแบบเสนเดี่ยว เปนการเขียนแบบโดยใชสัญลักษณตางๆ แทนของจริงทั้งหมด ซึ่งทําให


การเขียนแบบทําไดสะดวกและรวดเร็ว โดยที่ถาเปนทอก็เขียนเปนเสนตรงแทนโดยใชแทนในตําแหนงเสน
ผานศูนยกลางของทอ และพวกขอตอ วาลวตางๆ ก็ใชสัญลักษณแทน การเขียนแบบเสนเดียวสามารถเขียน
ไดทั้งภาพฉาย ภาพไอโซเมตริก ภาพออบลีก ในรูปที่ 3 เปนภาพฉายแบบเสนเดียว เขียนเพียงดานเดียว

รูปที่ 3 การเขียนแบบทอแบบเสนเดี่ยว

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 7

การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย (Orthographic Piping Drawing)


แบบภาพฉายในงานทอ เขียนไดทั้งแบบเสนเดี่ยว และเสนคู ดังรูปที่ 4 และ 5 เปนการเขียนแบบ
เสนคู และเสนเดี่ยว ของภาพฉาย 3 ดาน ตามลําดับ

รูปที่ 4 การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย 3 ดาน (เสนคู)

รูปที่ 5 การเขียนแบบทอแบบภาพฉาย 3 ดาน (เสนเดี่ยว)

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 8

การเขียนแบบทอแบบภาพไอโซเมตริก และออบลีก
แบบภาพไอโซเมตริกและออบลีกในงานทอ นิยมเขียนในแบบเสนเดี่ยว ดังรูปที่ 6

a. b.

รูปที่ 6 การเขียนแบบทอ (a) แบบไอโซเมตริก และ (b) แบบออบลีก

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 9

การเขียนแบบ development ของระบบทอ


คําวา development ในการเขียนแบบ หมายถึง ภาพแผนคลี่ ฉะนั้นในการเขียนแบบ development
ของระบบทอ เปนการเขียนเพื่อตองการหาความยาวของทอที่จะใชทั้งหมด เพื่อสะดวกในการคํานวณความ
ยาวทอสําหรับจัดซื้อนั้นเอง ตัวอยางแบบ development ของระบบทอ แสดงดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 การเขียนแบบ development ของระบบทอ

ในการเขียนแบบระบบทอที่ไมใหญโตมากนัก (small-scale drawing) เชน ในการเขียนแปลน


layout ของโรงงานขนาดเล็ก เรานิยมใชการเขียนแบบไดอะแกรม (diagram drawing) ซึง่ หมายถึง การเขียน
แบบทอแบบเสนเดี่ยว และมีการใชสัญลักษณแทนอุปกรณชนิดตางๆ เพื่อแสดงการติดตั้งหรือวางตัวของ
อุปกรณแตละชิ้น ภาพตอไปนี้เปนตัวอยางการเขียนแบบทอเสนเดี่ยว และแบบเสนคูที่สอดคลองกัน

แบบทอเสนคู

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 10

แบบทอเสนเดี่ยว (ที่สอดคลองกัน กับหนาที่แลว)

สัญลักษณในงานทอ (Piping Symbols)


เพื่อใหการเขียนแบบสั่งงาน (working drawing) ของระบบทอแบบเสนเดี่ยว (Single-line Piping
Drawing) เปนไปไดงาย จึงมีการจัดทําสัญลักษณแทนอุปกรณทอพื้นฐานไวเปนหมวดหมู (ดังตารางที่ 1)

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ


212211 : การเขียนแบบเครื่องจักรกลอาหาร การเขียนแบบระบบทอ หนา 11

ตารางที่ 1

ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โสฬส จิวานุวงศ

You might also like