You are on page 1of 76

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์


บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
แสงเป็ นคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทาง
เป็ นเส้นตรง ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเราอาจใช้เส้น
ลูกศรแทนได้ เรี ยกลูกศรนี้ วา่ รังสี ของแสง ความเร็ วแสง
ในสุ ญญากาศจะมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที แต่
แต่ในตัวกลางต่างชนิดกันความเร็ วแสงจะมีค่าไม่เท่ากัน
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1 ปี
แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร
1. 9.78 x 1015 เมตร 2. 9.46 x 1015 เมตร
3. 9.77 x1015 เมตร 4. 9.88 x 1015 เมตร

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ รังสี สะท้อน
เมื่อแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ
ปกติแล้วแสงจะสะท้อนออกจากผิวของ มุมตก มุมสะท้อน
กระทบ
วัตถุน้ นั ได้ ปรากฏการณ์น้ ี เรี ยกว่าเป็ น 1 2
การสะท้อนได้ ของแสง
กฎการสะท้อนของแสง มีดังนี้
1. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบต้องมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
ข้ อควรรู้ เพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้ อนแสง แสงสะท้อน
1. ถ้ารังสี ตกกระทบตกตั้งฉากกับผิวของวัตถุ
แสงตกกระทบ
รังสี สะท้อนจะสะท้อนย้อนแนวเดิมออกมาโดยตลอด
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
2. หากรังสี สะท้อนอย่างน้อย 2 เส้น มาตัดกัน
จะเกิดภาพของวัตถุตน้ กาเนิดแสงขึ้น ณ.จุดตัดนั้น
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงวัตถุ เรี ยก
ระยะวัตถุ (s )
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงภาพ เรี ยก
ระยะภาพ ( s)
ระยะภาพ ( s)
ระยะวัตถุ (s)
อัตราส่ วนของระยะภาพต่อระยะวัตถุ หรื อขนาดภาพต่อขนาดวัตถุ ของการสะท้อน
หนึ่งๆ จะมีค่าคงที่ เรี ยกค่าคงที่น้ ีวา่ กาลังขยาย ( m )
นัน่ คือ กำลังขยำย (m) = ss = yy
เมื่อ s = ระยะภาพ s = ระยะวัตถุ
y = ขนาดภาพ y = ขนาดวัตถุ

2. กาหนดให้ภาพที่เกิดจากการสะท้อนครั้งหนึ่งมีความสู งเป็ น 10 เซนติเมตร ระยะภาพมีคา่


เท่ากับ 6 เซนติเมตร ระยะวัตถุมีค่าเท่ากับ 3 เซนติเมตร จงหาว่าขนาดของวัตถุตน้ กาเนิด
นี้มีความสู งกี่เซนติเมตร

โดยทัว่ ไปแล้วการศึกษาการสะท้อนแสง จะใช้


กระจกเป็ นอุปกรณ์ในการศึกษา กระจกโดยทัว่ ไปนั้นจะ
มี 2 ชนิด
1. กระจกราบ
2. กระจกโค้ง ( กระจกโค้งเว้า และกระจกโค้งนูน )

หลัง หน้า

กระจกโค้งเว้า กระจกโค้งนูน กระจกราบ


2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
พิจารณาตามรู ป เมื่อยิงแสง
ออกจากวัตถุตน้ กาเนิดแสง ไปตก
กระทบกระจกดังรู ป รังสี ของแสง
สะท้อนเส้นที่ 1 และ 2 จะกระ
จายออกจากกัน ดังนั้นรังสี สะท้อน
นี้จะไม่สามารถตัดกันและไม่ทาให้
ที่ดา้ นหน้ากระจกได้ แต่ถา้ เรา
ต่อแนวรังสี สะท้อนทั้งสองย้อนไป
ด้านหลังกระจก จะพบว่าเส้นสมมติที่ต่อออกไปนี้จะไปตัดกันได้ที่จุดจุดหนึ่ง การตัดกันของ
เส้นสมมติน้ ี จะทาให้เกิดภาพหลังกระจก เรี ยกภาพที่เกิดนี้ วา่ ภาพเสมือน
สาหรับภาพที่เกิดจากกระจกราบ จะได้วา่
ระยะภาพ ( s ) = ระยะวัตถุ ( s )
และ ขนาดภาพ ( y ) = ขนาดวัตถุ ( y )
ดังนั้น กาลังขยายของกระจกราบ ( m ) = ss = yy = 1
3. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะเป็ นภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจก 2. ภาพจริ งอยูห่ ลังกระจก
3. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจก 4. ภาพเสมือนอยูห่ ลังกระจก

4. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะมีลกั ษณะ
1. ขนาดวัตถุ ( y ) = ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายเท่ากับ 1
2. ขนาดวัตถุ ( y ) > ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1
3. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายมากกว่า 1
4. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
กระจกเงาทรงกลม หรื อกระจกโค้ง จะแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ดย่อย ได้แก่กระจกโค้ง
เว้า และกระจกโค้งนูน กระจกแต่ละ
แบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั เป็ นพื้น
ฐานดังรู ป R R
จากรู ป จุด C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้ง O C C O
จุด O เรี ยกจุดใจกลางบนผิวโค้ง
กระจกเว้า กระจกนูน
เส้นตรง CO เรี ยกเส้นแกนมุขสาคัญ
ระยะ CO เรี ยกรัศมีความโค้ง ( R )

ถ้าเราให้รังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ
มาตกกระทบกระจกเว้า จะพบว่ารังสี สะท้อนของรังสี
ขนานเหล่านี้ จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับ
จุด O เสมอ จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะ
ห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f )
แต่กระจกนูนจะเป็ นกระจกกระจายแสง กล่าวคือ
เมื่อรังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญไปตกกระ
ทบกระจกนูน รังสี ของสะท้อนจะกระจายออกจากกัน
ดังรู ป แต่ถา้ ต่อแนวรังสี สะท้อนย้อนไปด้านหลังกระจก
จะพบว่าเส้นสมมุติเหล่านั้น จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระ
หว่างจุด C กับจุด O ด้านหลังกระจก จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะห่างจากจุด O ถึง
จุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาวโฟกัสเสมือนเท่านั้น

ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ

5. ถ้าใช้กระจกเว้ารัศมีความโค้ง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึ่ง จะได้ภาพห่าง


จากกระจกกี่เซนติเมตร
1. 200 2. 100 3. 50 4. 25

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่ งออกไป
จากกระจกเว้านี้ ควรจะวางหลอดไฟฟ้ าไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
1. 2R 2. R 3. R2 4. R4

เกิดภาพโดยกระจกโค้งเว้ า
รู ปที่ 1 รู ปที่ 4

รู ปที่ 2 รู ปที่ 5

รู ปที่ 3

รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหน้าใกล้กระจกเว้า


รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้กระจก ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของกระจก แสงสะท้อนแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงสะท้อนแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงสะท้อนจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
การเกิดภาพโดยกระจกนูน
ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ ลังกระจก
และระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงทีเ่ กิดจากการสะท้อน ลักษณะของภาพเสมือนทีเ่ กิดจากการสะท้อน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหน้ากระจก 2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมารับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
ผ่านกระจก
7(แนว En) เมื่อเลื่ อนวัตถุ ซ่ ึ งอยูห่ น้ากระจกเว้าจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของกระจก
เว้า ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

8. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้า ณ. จุดซึ่ งใกล้กระจกมากกว่าจุดโฟกัสของกระจกเว้านั้น ภาพ


ที่เกิดจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพจริ งหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น

9. ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น
6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
10. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพจริ งได้
1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

11. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพเสมือนได้


1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยกระจกเว้า และกระจกนูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นกระจกเว้า ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้งกระจก
หากเป็ นกระจกนูน ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
12. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพจริ งขึ้นที่
ระยะห่างจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
13. วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ
ห่างจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

14. วางวัตถุหน้ากระจกเว้าเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริ งหน้ากระจกที่ระยะ 15 เซน-


ติเมตร กระจกมีรัศมีความโค้งมีค่ากี่เซนติเมตร
1. 8 2. 10 3. 12 4. 14

15. เมื่อวางวัตถุ หน้ากระจกโค้งห่ าง 30 เซนติ เมตร ปรากฏว่าได้ภาพจริ งขนาด 2 เท่าของ


วัตถุบนฉาก จงหาความยาวโฟกัสของกระจกและชนิดกระจก
1. –20 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 20 เซนติเมตร , กระจกเว้า
3. 100 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –100 เซนติเมตร , กระจกนูน

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
16. กระจกเว้ามี ความยาวโฟกัส 40 เซนติ เมตร จะต้องวางวัตถุ บ นแกนของกระจกห่ างจาก
กระจกกี่เซนติเมตรจึงจะทาให้เกิดภาพหัวตั้งที่มีขนาดเป็ น 4 เท่าของขนาดวัตถุ
1. 60 2. 50 3. 40 4. 30

17. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยูห่ ่ าง 10 เซนติเมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50 เซน–


ติเมตร จงหาขนาดของภาพ
1. 253 เซนติเมตร 2. 25 เซนติเมตร
3. 203 เซนติเมตร 4. 12.5 เซนติเมตร

18. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกโค้งเป็ นระยะ 5 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาด


สู ง 3 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสและชนิดของกระจก
1. – 7.5 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. – 8.5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. + 7.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. + 8.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
19. กระจกเว้า 2 บาน ความยาวโฟกัสแผ่นละ 10 เซนติเมตร วางหันหน้าเข้าหากันห่ างกัน
30 เซนติเมตร นาวัตถุวางห่างกระจกบานหนึ่ งระยะ 5 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งและชนิ ด
ของภาพที่เกิดจากการสะท้อนแสงระหว่างกระจกทั้งสอง ให้สะท้อนจากบานใกล้วตั ถุก่อน
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร

20. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางห่างจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 20


เซนติ เมตร กระจกราบบานหนึ่ งวางหั น หน้ า เข้า หากระจกนู น ห่ า งจากกระจกนู น 20
เซนติ เมตร จงหาตาแหน่ งของภาพซึ่ งเกิ ดจากรั งสี ข องแสง ซึ่ งสะท้อนที่ ก ระจกนู น ก่ อน
จากนั้นสะท้อนที่กระจกราบ
1. หลังกระจกนูน 30 เซนติเมตร 2. หลังกระจกราบ 26 เซนติเมตร
3. หลังกระจกราบ 30 เซนติเมตร 4. หลังกระจกนูน 26 เซนติเมตร

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
21. วางหลอดไฟฟ้ าที่ โฟกัส ของกระจกเว้าดังรู ป ถ้านากระจกเว้าอีกบานหนึ่ งมารับแสงจาก
กระจกบานแรก ภาพหลอดไฟฟ้ านี้ จะเกิดขึ้น ณ.ตาแหน่งใดและเป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน
1. เกิดภาพจริ ง ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2
2. เกิดภาพจริ ง ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2
วัตถุ
3. เกิดภาพเสมือน ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2 F
4. เกิดภาพเสมือน ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2

11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
เมื่อแสงผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ งซึ่งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทาให้
อัตราเร็ ว (v) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () ของแสงเปลี่ยนไป แต่ความถี่ (f ) จะคงที่
ในกรณี ที่แสงตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ท ะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากแสงตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกการหักเหของแสง

กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย


รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V 1 , 1 , A 1 V1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
กฎของสเนลล์
sin 1 v1 1 n2
sin 2 = v = 2
= n 21 = n1
2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่างรังสี แสงกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
v1 และ v2 คือความเร็ วแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n1 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 1 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1
n2 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 2 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1

22. แสงชนิ ด หนึ่ งมี ค วามยาวคลื่ น 450 นาโนเมตร ความเร็ ว 3 x 108 เมตร/วิน าที ใน
อากาศ เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าความยาวคลื่นเปลี่ยนเป็ น 300
นาโนเมตร ความเร็ วแสงในของเหลวชนิดนี้ มีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 7.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

23. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนีหกั เหของตัวกลาง B = 6 หากแสงเดินทางจาก


ตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B เมื่อแสงในตัวกลาง B มีความเร็ วเท่ากับ 1.2 x 108 เมตร/-
วินาที แล้วความเร็ วแสงในตัวกลาง A จะมีค่าเท่าใด
1. 2.4 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.2 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
24(แนว En) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 390 นาโนเมตร เมื่อเคลื่อนที่ผ า่ นไปในแก้วที่มีดชั นี
หักเห 1.30 จงหาความยาวคลื่นแสงในแก้วในหน่วยนาโนเมตร
( ให้ ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 )
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

25. ดรรชนีหกั เหของแสงในตัวกลางหนึ่งมีค่า 1.5 ดังนั้นอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้นมีค่า


เท่าไร ( กาหนด ดัชนีหกั เหของแสงในอากาศ = 1 , อัตราเร็วแสงในอากาศ = 3 x 10 8 เมตร/วินาที )
1. 4.5 x 107 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

26. แสงเคลื่อนที่ผา่ นของเหลวหนึ่งด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าของ


เหลวนี้มีค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.00 2. 1.25 3. 1.33 4. 1.86

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
27. แสงเคลื่อนจากของเหลวผ่านแท่งแก้วไปสู่ อากาศ
30o
ดังรู ป จงหาดรรชนีหกั เหของของเหลว ของเหลว
1. 1 2. 2
แก้ว 
3. 3 4. 4
อากาศ

28(แนว En) แสงสี หนึ่ งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ในอากาศ และมีอตั ราเร็ ว 3 x 10 8
เมตร/วินาที ถ้าดัชนี หักเหของแก้วเทียบกับอากาศเป็ น 23 จงหาอัตราเร็ วแสงในแก้วและ
ความยาวคลื่นแสงในแก้ว
1. 2 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
2. 3 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร
3. 3 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
4. 2 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร

29. ถ้า ดรรชนีหกั เหของน้ า = 43


ดรรชนีหกั เหของแก้วเมื่อเทียบกับน้ า = 89
ดรรชนีหกั เหของพลาสติกเทียบกับแก้ว = 45
จงหาดรรชนีหกั เหของพลาสติก
1. 5/86 2. 8/15 3. 15/8 4. 86/5

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
อากาศ หักเห อากาศ 90o อากาศ
ตก c > c
พลาสติก พลาสติก พลาสติก

หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแน่ นมากไปสู่ ตวั กลางที่มีความหนาแน่ นน้อยกว่า


เช่ นยิงแสงจากพลาสติกไปสู่ อากาศ จะเกิ ดการหักเหซึ่ งมุมหักเหโตกว่ามุมตกกระทบเสมอดัง
รู ป สาหรับมุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o มุมตกกระทบนั้นเรี ยกมุมกฤติ (C)
ในกรณี ที่มุมตกกระทบมีขนาดโตกว่ามุมวิกฤติ จะทาให้แสงเกิดการสะท้อนกลับเข้ามา
ภายในตัวกลางแรกทั้งหมดไม่มีการหักเหออกไปยังตัวกลางที่ 2 เราเรี ยกปรากฏการณ์น้ี วา่ เป็ น
การสะท้อนกลับหมด
30. เมื่อแสงเดิ นทางจากตัวกลางที่ มีความหนาแน่ นมากสู่ ตวั กลางที่ มีความหนาแน่ นน้อยกว่า
จะเกิดการหักเหโดย
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห
2. มุมตกหักเหมีขนาดใหญ่กว่ามุมตกกระทบ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเท่ากับมุมหักเห
4. ไม่สามารถบอกได้วา่ มุมตกกระทบและมุมหักเห มุมใดจะใหญ่กว่ากัน

31. มุมวิกฤติ ( C ) คือข้อใดต่อไปนี้


1. มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o
2. มุมหักเหซึ่งมีขนาดเป็ น 90o
3. มุมตกกระทบที่มีขนาดเป็ น 90o
4. มุมที่เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมในการหักเห

32. ปรากฏการณ์สะท้อนกลับหมดจะเกิดเมื่อ
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห 2. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมวิกฤติ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเป็ น 90o 4. มุมตกหักเหมีขนาดเป็ น 90o

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
33(แนว En) มุม วิกฤติ C ของแสงที่ เดิ นทางจากแก้วซึ่ งมี ค่าดรรชนี หักเห 1.4 ไปยังของ
เหลวซึ่งมีค่าดรรชนีหกั เห 1.2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.86) 4. sin–1(0.92)

34. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 2 และของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 43 จงหามุม


วิกฤตระหว่างผลึกใสและของเหลวนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43

35(แนว En) มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิ ดหนึ่ งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ความเร็ ว


แสงในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ ความเร็ วแสงในอากาศ = 3.0 x 108 เมตร/วินาที )
1. 1.5 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.0 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.7 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
36. มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิดหนึ่งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ดัชนีหกั เหของแสง
ในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ดชั นีหกั เหแสงในอากาศ = 1 )
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

37(แนว En) ในการส่ งพลังงานในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยใช้แสงเป็ นคลื่นพาหะไปตามเส้น


ใยนาแสง ควรมีเงื่อนไขของมุม  อย่างไร
n
1. 0o    sin –1  n1  n2
2 n1
n 
2. 0o    sin –1  n2 
1
n 1
3. sin –1 n     90o เส้นใยนาแสง
2
n
4. sin –1 n2     90o
1

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
พิจารณาตัวอย่างการมองวัตถุที่จม
อยูใ่ ต้น้ า เราจะเห็นวัตถุน้ นั อยูต่ ้ืนกว่า
ความเป็ นจริ ง ทั้งนี้ เพราะแสงที่สะท้อน
ออกมาจากวัตถุน้ นั เมื่อเคลื่อนที่ออก
จากน้ ามาสู่ อากาศแล้วเข้าตาเรานั้น แสง
จะเกิดการหักเห แต่เนื่ องจากสายตาของ
คนเราจะมองตรงเสมอ เราจึงมองเห็นวัตถุอยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ งดังแสดงในรู ป
ในกรณี ที่เรามองวัตถุลงไปตรงๆ
ตา
( มองตั้งฉากกับผิวหักเห ) เราสามารถ
คานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกปรากฏ
ลึกจริ ง = nn1 ภาพ
ลึกปรากฏ 2
ลึกจริ ง
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่ วัตถุ
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
กรณี ที่เรามองวัตถุเอียงทามุมกับผิวหักเห เราสามารถคานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกจริ ง = n1 cos 1
ลึกปรากฏ n2 cos 2
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
1 คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1
2 คือมุมหักเหในตัวกลางที่ 2

38(แนว มช) ปลาอยูใ่ นน้ ามีความลึกจริ งเป็ น 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพปลานั้นอยูล่ ึกกี่เมตร


( กาหนดดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 4 2. 3 3. 2.67 4. 2

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
39. นายเอนกยืนอยูบ่ นสะพานเห็นปลาตัวหนึ่ งอยูล่ ึก 2 เมตร ถามว่าตัวจริ งของปลาอยูล่ ึกกี่เมตร
( กาหนด ดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 1.33 2. 1.50 3. 2.50 4. 2.67

40(แนว มช) นกตัวหนึ่ งบินอยูใ่ นอากาศสู งจากผิวน้ า 3 เมตร คนที่ดาอยู่ใต้น้ าและมองดูนก


ตัวนี้ ในแนวเส้นปกติจะมองเห็ นนกไกลหรื อใกล้กว่าความจริ งเท่าใด ในหน่ วยของเมตร
กาหนด n ของน้ า = 43
1. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริ ง 1.00 2. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 1.00
3. ใกล้เข้ามากกว่าความจริ ง 2.25 4. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 2.25

41. แท่งแก้วสี่ เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีคา่ ดัชนีหกั เห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบว่า ถ้า
มองผ่านแท่งแก้วนี้ ลงไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสู งจากกระดาษขึ้ นมากี่เซน-
ติเมตร
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
42(แนว มช) มองผ่านกล้องจุลทรรศน์เห็ นจุดเล็ก ๆ บนโต๊ะชัดเจน แต่เมื่อนาแผ่นวัตถุ ใสหนา
1.00 เซนติเมตร มาวางทับจุดดังกล่าว ต้องปรับเลื่ อนกล้องให้ห่างโต๊ะจากตาแหน่ งเดิ ม
ไปเป็ นระยะ 0.40 เซนติเมตร โดยที่ โฟกัสของกล้องจุลทรรศน์ยงั คงเดิม ดัชนี หักเหของ
แผ่นวัตถุน้ ีเป็ นเท่าใด
1. 1.24 2. 1.40 3. 1.66 4. 2.50

43(แนว En) แท่งแก้วรู ปลูกบาศก์ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร มีฟองอากาศเล็กๆ อยูภ่ ายใน เมื่อ


มองทางด้านหนึ่ งจะเห็นฟองอากาศอยูท่ ี่ระยะ 6 เซนติเมตร แต่เมื่อมองทางด้านตรงกัน
ข้ามจะเห็นอยูท่ ี่ระยะ 4 เซนติเมตร จริ งๆ ฟองอากาศอยูท่ ี่ความลึกกี่เซนติเมตร จากผิวแรก
ที่มอง
1. 4 2. 6 3. 9 4. 10

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
พิจารณาส่ งแสงอาทิตย์ผา่ นแท่งแก้ว
สามเหลี่ยม(ปริ ซึม) แสงขาวของดวงอาทิตย์
นั้นมีองค์ประกอบด้วยแสงสี ต่างๆ 7 สี คือ
ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด และ
แดง เมื่อผ่านปริ ซึมแต่ละสี จะเกิดการหักเห
ออกมาได้ไม่เท่ากัน
สี แดง มีความยาวคลืน่ มากทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหน้ อยทีส่ ุ ด
สี ม่วง มีความยาวคลืน่ น้ อยทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหมากทีส่ ุ ด
ส่ วนสี อื่นๆ ซึ่ งมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ก็จะเกิดการหักเหได้ไม่เท่ากันด้วย ลักษณะนี้
จะทาให้แสงแต่ละสี ที่หักเหออกมาเกิ ดการแยกออกจากกันดังรู ป เรี ยกว่าเกิ ดการกระจายของ
แสง
44. ทาไมเมื่อให้แสงสี ขาวเช่นแสงอาทิตย์ผา่ นปริ ซึมแสงสี ขาวนั้นถูกกระจายออกเป็ นสี ต่าง ๆ กัน
1. เพราะแสงเดินเป็ นแสงตรง
2. เพราะสี ภายในวัตถุที่ใช้ทาปริ ซึม
3. เพราะแสงถูกปริ ซึมดูดคลื่นและปล่อยออกมาบางส่ วน
4. เพราะแสงแต่ละสี หกั เหไม่เท่ากัน

45. เมื่อแสงสี ขาวผ่านปริ ซึมแสงสี ใดมีการเบี่ยงเบนได้มากที่สุด


1. สี น้ าเงิน 2. สี เหลือง 3. สี ม่วง 4. สี แดง

46. มุมเบี่ยงเบนของแสงสี ใดมีค่าน้อยที่สุด


1. สี แดง 2. สี ม่วง 3. สี น้ าเงิน 4. สี เขียว

47. ปรากฏการณ์ใดไม่สามารถเกิดขึ้นได้กบั แสงสี เดี่ยว


1. การหักเห 2. การเลี้ยวเบน 3. การแทรกสอด 4. การกระจาย

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4.2 รุ้งกินนา้
หยดน้ า

รุ ้งทุติยภูมิ
แดง
ม่วง
แสงจากดวงอาทิตย์
แดง
ม่วง
รุ ้งปฐมภูมิ
ม่วง
แดง
ม่วง
แดง

รุ ้ งกิ นน้ ามักจะเกิ ดหลังฝนตกและเกิ ดในทิ ศซึ่ งตรงกันข้ามกับพระอาทิ ตย์ ทั้งนี้ เพราะ
หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ าอยูม่ าก เมื่อแสงตกกระทบเข้าไปในละอองน้ านี้ จะเกิดการ
สะท้อนกลับหมด และหักเหออกมาทาให้สีท้ งั 7 สี ของแสงขาวเกิดการกระจายออกจากกัน รุ ้ง
กินน้ ามี 2 ชนิด ซึ่ งปกติแล้วจะเกิดขึ้นพร้อมกัน ได้แก่
1) รุ ้งทุติยภูมิ เป็ นรุ ้งกิ นน้ าซึ่ งแสงจะเกิ ดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 2 ครั้ง
รุ ้งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับความสู งมากกว่ารุ ้งชนิ ดต่อไป แสงที่หกั เหออกมาจากละอองน้ าแต่ละ
ละอองนั้นแสงสี แดงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี ม่วง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี ม่วงอยูบ่ นสี แดง
2) รุ ้งปฐมภูมิ เป็ นรุ ้งกินน้ าซึ่ งแสงจะเกิดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 1 ครั้ง
รุ ้งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับต่ ากว่ารุ ้ งทุ ติยภูมิ แสงที่ หักเหออกมาจากละอองน้ าแต่ละละอองนั้น
แสงสี ม่วงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี แดง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี แดงอยูบ่ นสี ม่วง

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์

สี ม่วง สี แดง สี แดง สี ม่วง รุ ้งปฐมภูมิ รุ ้งทุติยภูมิ


11.4.3 มิราจ

ในบางครั้ งคนซึ่ งเดิ นทางในทะเลทราย จะมองเห็ นต้นไม้เป็ นสองต้นพร้ อมกัน โดย


ต้นไม้ตน้ หนึ่ งคือต้นไม้ปกติ แต่อีกต้นหนึ่ งจะเป็ นภาพหัวกลับยอดชี้ ลงใต้พ้ืนทราย ปรากฏ-
การณ์น้ ี เรี ยกมิราจ ปรากฏการณ์น้ ี เกิดขึ้นเนื่องจากพื้นทรายถูกแดดจัดเผา ทาให้อากาศบริ เวณ
ใกล้พ้ื น ทรายมี อุณ หภูมิ สู ง และมี ค วามหนาแน่ น ต่ า แต่ จุดซึ่ งสู งกว่าพื้ น ทรายขึ้ น มาเล็ ก น้อ ย
อุณหภูมิจะลดลงอย่างมาก ทาให้ความหนาแน่นอากาศบริ เวณนี้ สูงขึ้น จึงเกิดความแตกต่างของ
ความหนาแน่นของชั้นอากาศบริ เวณนั้น
และเมื่อแสงอาทิตย์สะท้อนออกจากยอดไม้ แสงบางส่ วนจะพุง่ ตรงเข้าตา ทาให้เห็นยอด
ไม้ช้ ี ข้ ึนบนอากาศเป็ นปกติ แต่แสงบางส่ วนจะพุ่งลงข้างล่างแล้วเกิ ดการหักเหตามชั้นอากาศ
ซึ่งมีความหนาแน่นต่างกันอยูแ่ ล้วย้อนขึ้นมาเข้าตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทาให้เห็น
ยอดไม้ช้ ีลงไปใต้พ้ืนทราย
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
นอกจากตัวอย่างนี้ แล้ว ยังมีปรากฏการณ์ มิราจให้เห็นได้อีก เช่ นการเห็นน้ าปรากฏบน
พื้นผิวถนนที่ร้อนทั้งๆ ที่ถนนแห้ง หรื อเห็นเรื อลอยคว่าอยูใ่ นอากาศเหนือท้องทะเลเป็ นต้น
ฝึ กทา จงวาดภาพเพื่ออธิ บายปรากฏการณ์มิราจที่เกิดกับเรื อลอยลาอยูก่ ลางท้องทะเล

11.5 เลนส์ บาง


เลนส์โดยทัว่ ไป จะมี 2 ชนิดย่อย ได้แก่เลนส์เว้า และเลนส์นูน
เลนส์แต่ละแบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั R
เป็ นพื้นฐานดังรู ป
C O C/
จุด C , C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้งของเลนส์
จุด O เรี ยกจุดกลางเลนส์ R
เส้นตรง OC เรี ยกแกนมุขสาคัญ C O C/
ระยะจาก O ถึง C เรี ยกรัศมีความโค้ง (R)
เลนส์นูนจะเป็ นเลนส์รวมแสง กล่าวคือถ้า
เราให้แสงซึ่งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์นูน แสงหักเหของแสงขนานเหล่า
นี้จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด O
ฝั่งตรงข้ามเสมอ จุดที่แสงหักเหตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F)
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f )
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เลนส์เว้าจะเป็ นเลนส์กระจายแสง กล่าวคือ
เราให้แสงซึ่ งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์เว้า แสงหักเหจะกระจายออกจาก
กันไม่สามารถมาตัดกันได้ แต่ถา้ เราลากเส้นสมมุติ
ย้อนถอยออกมาจากแสงหักเหแต่ละเส้น เส้นสมมุติ
เหล่านี้จะมาตัดกันที่จุดกึ่งกลางจุด O กับจุด C ด้านหน้าเลนส์จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F) เช่นกัน
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาว
โฟกัสเสมือนเท่านั้น
ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ
48. ลาแสงสี เดียวส่ องผ่านเลนส์ 2 อัน และรังสี เดิน
ทางดังรู ป เลนส์ I และเลนส์ II เป็ นเลนส์อะไร
1. เป็ นเลนส์นูนทั้งคู่
2. I เป็ นเลนส์นูน II เป็ นเลนส์เว้า
3. I เป็ นเลนส์เว้า II เป็ นเลนส์นูน I II

4. เป็ นเลนส์เว้าทั้งคู่

การเกิดภาพโดยเลนส์ นูนบาง รู ปที่ 4


รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

รู ปที่ 3
รู ปที่ 5

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหลังใกล้เลนส์นูน
รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้เลนส์ ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของเลนส์ แสงหักเหแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงหักเหแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงหักเหจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ าบาง
ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ น้าเลนส์
ระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากเลนส์ ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังเลนส์ 2. เกิดหน้าเลนส์
3. เอาฉากมาตั้งรับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า

49(แนว En) เมื่อเลื่อนวัตถุซ่ ึ งอยูห่ น้าเลนส์ นูนจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของเลนส์ นูน


ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

50. เมื่อวัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูนใกล้กว่าจุดโฟกัส ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
51. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ ลังเลนส์
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ อยูห่ น้าเลนส์
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่ อยูห่ ลังเลนส์
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้าเลนส์

52(แนว มช) ถ้าให้ O เป็ นจุดกึ่ งกลางความหนาของเลนส์ C เป็ นจุดศูนย์กลางของผิวโค้ง


F เป็ นจุ ดโฟกัส U เป็ นวัตถุ และ I เป็ นภาพ อยากทราบว่าการเกิ ดภาพจากเลนส์
ในรู ปข้างล่างนี้ รู ปไหนถูก
U U
I 2. I
1.

U U
3. 4.
I I

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ า และเลนส์ นูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นเลนส์นูน ต้องใช้ f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้ง
หากเป็ นเลนส์เว้า ต้องใช้ f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
53. วางวัตถุ ไว้หน้าเลนส์ นูนอันมี ความยาวโฟกัส 5 เซนติ เมตร ปรากฏว่าเกิ ดภาพจริ งขึ้ นที่
ระยะห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

54. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ เว้าอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ


ห่างจากเลนส์ 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์เว้ากี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

55. วางวัตถุ ห่ า งเลนส์ นู น 12 เซนติ เมตร ทางยาวโฟกัส เลนส์ นู น 18 เซนติ เมตร จงหา
ตาแหน่งและชนิดของภาพที่เกิด
1. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
2. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร
3. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
4. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
56. วางวัตถุห่างจากเลนส์ A เป็ นระยะทาง 15 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4 เท่า เลนส์ A ควรจะเป็ นเลนส์ชนิดใด มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 10 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 10 เซนติเมตร

57. เลนส์ อนั หนึ่ งให้ภาพเสมือนขนาด 3/4 เท่ าของวัตถุ ในขณะที่ วตั ถุ อยู่หน้าเลนส์ 10
เซนติเมตร จงหาว่าเลนส์น้ ีเป็ นเลนส์ชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 30 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 30 เซนติเมตร

58(แนว มช) วัตถุสูง 9.0 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากเลนส์ เว้า 27.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์ มีความ
ยาวโฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
59. จากรู ป จงหาตาแหน่งภาพ ถ้าความ
ยาวโฟกัสเลนส์นูน = 30 เซนติเมตร 20 cm 40 cm
ของเลนส์เว้า 50 เซนติเมตร
1. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
2. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
3. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน
4. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน

60. เลนส์ นูนและเลนส์ เว้าความยาวโฟกัสเท่ากัน 20 เซนติเมตร วางอยูใ่ นแนวแกนมุขสาคัญ


เดียวกันและห่างกัน 30 เซนติเมตร วัตถุวางอยูห่ น้าเลนส์นูนห่าง 40 เซนติเมตร จงหาชนิด
ตาแหน่งของภาพที่เกิดขึ้นหลังจากแสงหักเหผ่านเลนส์ท้ งั สองแล้ว
1. ภาพเสมือน หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือน หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
4. ภาพจริ ง หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
61(แนว มช) เลนส์นูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 20
เซนติเมตร เป็ นระยะทาง 80 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะทาง 60 เซนติ-
เมตร จะเกิดภาพจริ งหรื อภาพเสมือน ณ ตาแหน่ง ที่ห่างจากกระจกเว้าเท่าใด
1. ภาพจริ ง 10 เซนติเมตร 2. ภาพเสมือน 10 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง 20 เซนติเมตร 4. ภาพเสมือน 20 เซนติเมตร

62(แนว มช) เลนส์นูนทางยาวโฟกัส 0.5 เมตร


วัตถุ
วางห่างจากกระจกเงาราบ 2 เมตร มีวตั ถุ
วาง หน้าเลนส์นูนโดยวางห่างจากเลนส์
นูน 1 เมตร จงหาว่าเมื่อมองผ่านเลนส์
นูนจะเห็นภาพของวัตถุอยูห่ ่างจากเลนส์นูน 1 เมตร 2 เมตร
กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
สายตาของคนปกติ น้ ั นจะมองเห็ น วัต ถุ ไ ด้ ชั ด เจนเมื่ อ วัต ถุ อ ยู่ ใ นระยะใกล้ สุ ด 25
เซนติเมตร และไกลสุ ดที่ระยะอนันต์ ( Infinite ) จากตา
สาหรับคนสายตายาวหากวัตถุอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร จะเห็นไม่ชดั แต่อาจมองเห็นชัด
ที่ระยะไกลกว่านี้ ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์
นูน เพื่อนาวัตถุซ่ ึ งอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร
นั้น ไปสร้างเป็ นภาพเสมือนตรงจุดใกล้ที่
สุ ดที่เขามองเห็นได้ชดั

สาหรับคนสายตาสั้น หากวัตถุอยูไ่ กลๆ


จะเห็นได้ไม่ชดั แต่หากวัตถุอยูใ่ กล้ๆ อาจ
เห็นชัด ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์เว้า เพื่อ
นาวัตถุที่อยูไ่ กลๆ นั้น มาสร้างเป็ นภาพ
เสมือนตรงจุดไกลสุ ดที่เขา ยังสามารถเห็น
ได้ชดั เจน ดังแสดงในรู ป

63(แนว มช) ชายผูห้ นึ่ งสามารถอ่านหนังสื อได้ชัดเมื่ อหนังสื ออยู่ห่างจากเขาไม่น้อยกว่า 90


เซนติเมตร ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 15 2. 20 3. 35 4. 40

64. ชายสายตาสั้นผูห้ นึ่งสามารถมองเห็นได้ชดั เจนในระยะไกลสุ ดเพียง 5 เมตร เท่านั้น


ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 150 2. 200 3. 400 4. 500

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
ภาพเสมือน
แว่นขยายทาจากเลนส์นูนโดยอาศัยหลักการว่า เมื่อ
วางวัตถุไว้ใกล้กว่าจุดโฟกัสของเลนส์นูน จะทาให้เกิดภาพ
เสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ซึ่ งสามารถมองเห็นได้
วัตถุ
ด้วยตาเปล่าย้อนผ่านเลนส์เข้าไป
65. กล้องส่ องพระอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ต้องการส่ องดูพระสมเด็จให้เห็น
ภาพชัดที่สุดต้องวางพระห่างจากเลนส์ของกล้องส่ องเท่าไร และจะเห็นภาพมีกาลังขยายกี่เท่า
1. 4.05 เซนติเมตร , 7 เท่า 2. 5.23 เซนติเมตร , 6 เท่า
3. 4.17 เซนติเมตร , 6 เท่า 4. 4.09 เซนติเมตร , 7 เท่า

11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
เครื่ องฉายภาพนิ่งมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงจากหลอดไฟผ่านเลนส์ รวมแสงแล้วผ่านสไลด์ จากนั้นแสงจะพุ่งผ่านฉายภาพ


แล้วเกิดการหักเหไปเกิ ดเป็ นภาพจริ งหัวกลับขึ้นที่ฉากรับภาพ และเนื่ องจากภาพที่เกิดบนฉาก
เป็ นภาพหัวกลับ ดัง นั้น เวลาใส่ ฟิ ล์ม จึ งต้องกลับ หัวฟิ ล์ม ลงเพื่ อให้ ได้ภาพหัวตั้งขึ้ น บนฉาก
นัน่ เอง
66. ขนาดของฟิ ล์ม 5 มิลลิเมตร x 4 มิลลิเมตร ใช้กบั เครื่ องฉายสไลด์แล้วทาให้เกิดภาพชัด
มีขนาด 80 เซนติเมตร x 64 เซนติเมตร ที่จอซึ่งอยูห่ ่างจากเลนส์ของเครื่ องฉายเป็ นระยะ 5
เมตร กาลังขยายของเลนส์ในเครื่ องฉายสไลด์มีค่าเท่าใด
1. 5 เท่า 2. 16 เท่า 3. 80 เท่า 4. 160 เท่า
33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
กล้องถ่ายรู ปจะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป
เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุที่จะถ่ายรู ป
แสงจะพุง่ ผ่านเลนส์นูนหน้ากล้องแล้วหักเหไป
เกิดภาพจริ งหัวกลับบนฟิ ล์มในกล้อง จากนั้น
แสงจะทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีบนฟิ ล์มเกิดเป็ น
รู ปภาพที่ตอ้ งการเก็บไว้นนั่ เอง
อุปกรณ์เสริ มในกล้องถ่ายรู ปปกติจะมีดงั นี้
วงแหวนปรับความชัด ใช้ปรับเลื่อนเลนส์ ( ปรับโฟกัส ) เพื่อปรับความคมชัดของภาพ
ไดอะแฟรม เป็ นช่องกลมปรับย่อขยายขนาดได้ เพื่อปรับแต่งปริ มาณแสงให้เข้ามากน้อย
ตามความพอดี
ชัตเตอร์ เป็ นแผ่นทึบแสงคอยกั้นแสงและปิ ดเปิ ดเมื่อต้องการถ่ายรู ป
หากปริ มาณแสงมีมาก ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างรวดเร็ ว
หากปริ มาณแสงมีนอ้ ย ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างช้าๆ
67. กล้องถ่ายรู ปอันหนึ่ง ใช้เลนส์ซ่ ึ งมีความยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ถ้าต้องการถ่ายรู ปชายคน
หนึ่งซึ่งสู ง 175 เซนติเมตร โดยต้องการให้ได้ขนาดภาพบนฟิ ล์มเท่ากับ 35 มิลลิเมตร
อยากทราบว่า ชายผูน้ ้ ีควรยืนห่างจากกล้องถ่ายรู ปเป็ นระยะกี่เมตร
1. 2.55 2. 3.0 3. 25.5 4. 30.0

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุ ที่ตอ้ งการส่ องดู แสงจะพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุแล้วเกิ ดเป็ น


ภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ในกล้องจุลทรรศน์ และเมื่อจัดให้ภาพที่ เกิ ดนี้ อยู่ใกล้กว่าจุดโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตาด้านบน เมื่อแสงหักเหผ่านเลนส์ใกล้ตาจะทาให้เกิดเป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาด
ใหญ่ (ภาพ 2) สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
68. ภาพที่เกิดในกล้องจุลทรรศน์จะเป็ นภาพอะไร
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง

11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์เป็ นกล้องที่ใช้ส่องดูวตั ถุที่อยูไ่ กลๆ เช่นกล้องดูดาว กล้องส่ องทางไกล
เป็ นต้น กล้องโทรทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เมื่อแสงจากวัตถุซ่ ึ งอยูไ่ กลพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์ แสงจะเกิดการหัก
เหทาให้เกิดภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ขึ้นที่จุดโฟกัสของเลนส์ ใกล้วตั ถุน้ นั และเมื่อแสงพุ่งผ่าน
เลนส์ใกล้ตาจะหักเหแล้วทาให้เกิดภาพเสมือน (ภาพ 2) ขนาดใหญ่มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าดังรู ป
ปั จจุบนั เราสามารถทาให้ภาพเสมือนที่มองเห็นเป็ นภาพหัวตั้ง โดยใส่ เลนส์นูนตัวที่ 3
แทรกไว้ระหว่างเลนส์ใกล้วตั ถุกบั เลนส์ใกล้ตาดังรู ป

ความยาวของกล้องโทรทรรศน์ จะมีค่าประมาณ
ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วตั ถุ + ความยาวโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตา
กาลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ สามารถหาค่า
ได้จาก กาลังขยาย = ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้วัตถุ
ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้ตา
เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์จะมีขนาดที่ยาวมาก
หากเราใช้ปริ ซึมเข้าช่วยจะสามารถลดความยาวของ
กล้องได้ดงั รู ป วิธีการนี้ จะใช้กบั กล้องส่ องทางไกล
69. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
70. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้ตาของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

71. ความยาวกล้องโทรทรรศน์ จะเท่ากับ


1. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุลบความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
2. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุบวกความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
3. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุคูณความยาวโฟกัสเลนส์ ใกล้ตา
4. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุยกกาลังสอง

72. ปริ ซึมที่ใส่ แทรกเข้าไปในกล้องโทรทรรศน์ มีจุดประสงค์เพื่อข้อใดต่อไปนี้


1. เพิ่มความคมชัดของภาพ
2. ขยายขนาดของภาพ
3. ลดความยาวกล้อง
4. กลับหัวของภาพให้ต้ งั ขึ้น

73. กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน คือ A และ B มีระยะ


โฟกัส 80 เซนติเมตร และ 20 เซนติเมตร ตามลาดับในการส่ องดูดาว ข้อใดผิด
1. ความยาวกล้อง 1 เมตร
2. ภาพที่มองผ่านเลนส์ตาเป็ นภาพจริ ง
3. ภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วตั ถุมีระยะภาพ 80 เซนติเมตร
4. กาลังขยายของกล้อง 4 เท่า

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
ความสว่างบนพื้นผิวใด ๆ สามารถคานวณหาค่าได้ จากสมการ
E = AF หรือ E = I2
R
เมื่อ E คือความสว่าง (ลูเมน/เมตร2 . ลักซ์ )
F คืออัตราการให้พลังงานแสง หรื อ ฟลักซ์ส่องสว่าง (ลูเมน)
[ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส่ องออกมาจากแหล่ ง กาเนิ ด ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย เวลา ]
A คือพื้นที่รับแสง (เมตร2)
I คือความเข้มของการส่ องสว่าง (แคนเดลลา)
[ ความสามารถในการเปล่ ง แสงออกจากแหล่ ง กาเนิ ด ]
R คือระยะจากแหล่งกาเนิดแสงวัดมาตั้งฉากกับพื้นที่ ( เมตร )
74. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2700 ลูเมน จงหาความสว่าง
บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร จากหลอดไฟ 2 หลอดเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 640 ลักซ์ 4. 540 ลักซ์

75(แนว En) พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่งประสิ ทธิภาพของหลอดใน


การให้พลังงานแสงเหลือเพียง 50% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีความสว่างเฉลี่ยบนจอ 200
ลักซ์ ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 2.5 2. 3.2 3. 3.6 4. 4.0

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
76(แนว มช) หลอดไฟ 64 วัตต์ มีความเข้มแห่ งการส่ องสว่าง 36 แคนเดลา ถ้าต้องการความ
สว่างบนโต๊ะอ่านหนังสื อ 144 ลักซ์ จะต้องแขวนหลอดไฟสู งจากโต๊ะเป็ นระยะกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.67 3. 1.50 4. 2.25

11.9 แสงสี และการผสมสี


แสงสี ปฐมภูมิ คือ แสงสี พ้ืนฐานซึ่ งมี 3 สี ได้
แก่ แสงสี แดง แสงสี เขียว และแสงสี น้ าเงิน เมื่อนา
แสงสี ปฐมภูมิมาผสมกัน จะเกิดเป็ นสี อื่นๆ อีก ดังนี้
แสงสี แดง + แสงสี น้ าเงิน ได้ แสงสี แดงม่วง
แสงสี แดง + แสงสี เขียว ได้ แสงสี เหลือง
แสงสี น้ าเงิน + แสงสี เขียว ได้ แสงสี น้ าเงินเขียว
ทั้ง 3 แสงสี ปฐมภูมิรวมกัน จะได้แสงขาว
77. เมื่อฉายแสงสี เหลืองและแสงสี น้ าเงินลงบนจอภาพสี ขาวพร้อมกัน ด้วยความเข้มแสงที่
เท่า ๆ กัน แสงที่ปรากฏบนจอภาพจะเป็ นสี อะไร
1. สี ฟ้าอ่อน 2. สี เหลือง 3. สี ขาว 4. สี เทา

78. แสงสี คู่ใดที่เป็ นสี เติมเต็มของกันและกัน


1. น้ าเงิน – น้ าเงินเขียว 2. น้ าเงิน – แดงม่วง
3. แดง – แดงม่วง 4. เขียว – แดงม่วง

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
79. ถ้าตาของเรามองดูแสงสี น้ าเงินเป็ นเวลานานๆ แล้วเปลี่ยนมาดูแสงสี ขาวทันที ท่านจะมอง
เห็นเป็ นแสงสี
1. สี ขาว 2. สี เขียว 3. สี น้ าเงิน 4. สี เหลือง

สาหรับการมองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่างๆ นั้น เกิดจากการที่วตั ถุสะท้อนแสงสี น้ นั ๆ ออกมาเข้า


ตามเรา ตัวอย่างเช่น วัตถุสีแดง
น้ าเงิน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีแดง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อน เขียว
แสงสี แดงออกมาเข้าตาเรา ส่ วนแสงสี อื่นๆ จะถูกดูดกลืน แดง
หมดดังแสดงในแผนภาพ

ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีเหลือง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงสี แดงและเขียวออกมาเข้าตา


เรา แล้วแสงสี ท้ งั สองเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี เหลือง ส่ วนแสงสี น้ าเงินจะถูกดูดกลืน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีขาว แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงทุกสี ออกมาเข้าตาเรา แล้วแสงสี
ทั้งหมดเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี ขาว
ส่ วนการที่ เรามองเห็ น วัต ถุ เป็ นสี ด า เป็ นเพราะวัตถุ น้ ั น ดู ด กลื น แสงทุ ก สี จึงไม่ มี แ สง
สะท้อนมาเข้าตาเรา เราจึงมองเห็นวัตถุน้ นั มืดดานัน่ เอง
80. วัตถุหนึ่งมีสีเหลืองภายใต้แสงอาทิตย์ ถ้านาวัตถุน้ี มาไว้ในห้องที่มีแต่แสงสี น้ าเงิน จะ
ปรากฏเป็ นสี อะไร
1. เขียว 2. น้ าเงิน 3. เหลือง 4. ดา

81(แนว En) นาย ก. สวมหมวกสี เขียว เสื้ อสี ขาว กางเกงสี แดง เมื่อฉายแสงสี เขียว ตกกระทบ
นาย ก. จะเห็นเขาแต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี ดา
2. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว
3. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เหลือง
4. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยบทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 5 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2. 37. ตอบข้ อ 4.
38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2. 41. ตอบข้ อ 2.
42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 3.
46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 1.
50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 2.
54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 4.
58. ตอบ 3.6 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 3.
62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4. 65. ตอบข้ อ 3.
66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1. 77. ตอบข้ อ 3.
78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 1.



41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1
นาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร
1. 1.8 x 1010 เมตร 2. 2.8 x 1010 เมตร
3. 3.8 x 1010 เมตร 4. 4.8 x 1010 เมตร
2. สมมติวา่ ดวงอาทิตย์อยูห่ ่ างจากดาวพระเคราะห์ (A) เป็ นระยะ 20000 ล้านกิโลเมตร และ
ห่ างจากดาวพระเคราะห์ (B) เป็ นระยะ 50000 ล้านกิ โลเมตร จงหาว่าหากพระอาทิตย์ส่อง
แสงสว่างถึงทั้งสองดาวพระเคราะห์น้ ี จะใช้เวลาต่างกันเท่าไร ถ้าความเร็ วแสงเท่ากับ 3x108
เมตรต่อวินาที
1. 1.0 x 105 วินาที 2. 1.0 x 106 วินาที
3. 1.0 x 107 วินาที 4. 1.0 x 108 วินาที

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
3. เมื่อรังสี ของแสงสะท้อนตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไปมาตัดกันจะทาให้เกิดข้อใดต่อไปนี้
1. การกระเจิงแสง 2. การกระจายแสง
3. ภาพของวัตถุตน้ กาเนิ ดแสงนั้น 4. ถูกทุกข้อ
4. กาหนดให้วตั ถุ ชิ้นหนึ่ งมี ความสู ง 6 เซนติ เมตร เมื่ อเกิ ดการสะท้อนผ่านกระจกที่มีกาลัง
ขยายเท่ากับ 2 จงหาว่าภาพที่เกิดจะมีความสู งกี่เซนติเมตร
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
5. จุดโฟกัสของกระจกเว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. จุดโฟกัสของกระจกนูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
7. รังสี ของแสงจากดวงอาทิตย์ถือเป็ นรังสี ขนาน หากเรานากระจกเว้ามารองรับแสงอาทิตย์ เมื่อ
แสงสะท้อนมาตัดกัน จะทาให้เกิดภาพของดวงอาทิตย์ที่จุดใดของกระจกเว้านั้น
1. จุดโฟกัส 2. จุดศูนย์กลางความโค้ง
3. จุดใจกลางกระจก 4. จุดหลังกระจกเว้า
8. ถ้าวางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกเว้า ภาพที่เกิดขึ้นเป็ นอย่างไร
1. ภาพเสมือนขนาดเท่าวัตถุ 2. ภาพจริ งขนาดเท่าวัตถุ
3. ภาพจริ งขนาดเล็กกว่าวัตถุ 4. ภาพจริ งขนาดโตกว่าวัตถุ
9. จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกเว้าอย่างไร เราจึงมองเห็นภาพที่เกิดจากกระจกเว้าได้เลยโดย
ไม่ตอ้ งใช้ฉากรับภาพ
1. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกัส
2. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่ากับความยาวโฟกัส
3. วัตถุอยูร่ ะหว่างศูนย์กลางความโค้งกับโฟกัส
4. วัตถุอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางความโค้ง
10. กระจกในข้อใดสามารถให้ภาพเสมือนที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. กระจกเงาราบ 2. กระจกนูน
3. กระจกเว้า 4. ข้อ 2 , 3 ถูก
11. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริ งต้องใช้ฉากรับ
3. ภาพเสมือนโตเท่าวัตถุเสมอ 4. ภาพเสมือนไม่ตอ้ งใช้ฉากรับ

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
12. วางวัตถุ ไ ว้ห น้ากระจกโค้งห่ างกระจก 4 เซนติ เมตร เกิ ดภาพเสมื อ นห่ างกระจก 2
เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. –4 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. –5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. –4 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –5 เซนติเมตร , กระจกเว้า
13. เมื่อเอาวัตถุมาวางไว้ที่หน้ากระจกโค้งอันหนึ่งที่ระยะห่าง 10 เซนติเมตร พบว่าจะเกิดภาพ
ซึ่งเอาฉากรับได้ที่ระยะ 10 เซนติเมตร ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
1. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
2. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
3. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
14. ถ้า จะให้ เกิ ด ภาพหลัง จากกระจกนู น 40 เซนติ เมตร กระจกนู น มี รั ศ มี ค วามโค้ง 120
เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 80 2. 120 3. 140 4. 180
15. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏว่าใช้ฉากรับภาพได้ที่ระยะ
120 เซนติเมตร หน้ากระจก จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่าใด และได้ขนาดภาพเป็ นกี่
เท่าของขนาดวัตถุ
1. 30 เซนติเมตร , 4 เท่า 2. 30 เซนติเมตร , 2 เท่า
3. 60 เซนติเมตร , 4 เท่า 4. 60 เซนติเมตร , 2 เท่า
16. ถ้าจะให้เกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 60 เซนติ-
เมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 20 2. 40 3. 60 4. 80
17. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้ง ห่างกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างกระจก 4 เซนติ-
เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. 8 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 4 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. 8 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. 4 เซนติเมตร , กระจกเว้า

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
18. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ตอ้ งการอุดเป็ นระยะ
1.0 เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็ นกี่เท่า
1. 2 เท่า 2. 3 เท่า 3. 4 เท่า 4. 5 เท่า
19(แนว Pat) กระจกเว้า ให้ ภ าพหั ว ตั้ ง ขนาดเป็ น 2 เท่ า ของวัต ถุ เมื่ อ ระยะวัต ถุ เป็ น 20
เซนติเมตร ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้ เท่ากับกี่เซนติเมตร
1. +5 2. +10 3. +20 4. +40
20. จงหาชนิ ดและความยาวโฟกัสของกระจกโค้งที่ให้ภาพจริ งขนาด 14 เท่าของวัตถุ เมื่ อ
วัตถุ วางห่างกระจก 40 เซนติเมตร
1. กระจกเว้า f = 8 เซนติเมตร 2. กระจกเว้า f = 10 เซนติเมตร
3. กระจกนูน f = 8 เซนติเมตร 4. กระจกนูน f = 10 เซนติเมตร
21. นาวัตถุมาวางด้านหน้าของกระจกเว้าที่มี รัศมีความโค้ง 35.0 เซนติเมตร โดยวางห่ างจาก
กระจกเป็ นระยะที่ทาให้เกิดภาพจริ งขนาดใหญ่เป็ น 2.5 เท่า ของวัตถุ อยากทราบว่าวัตถุห่าง
จากกระจกเป็ นระยะเท่าไร
1. 10.50 เซนติเมตร 2. 12.25 เซนติเมตร
3. 21.00 เซนติเมตร 4. 24.50 เซนติเมตร
22. กระจกโค้งทรงกลมอันหนึ่ง เมื่อวางวัตถุไว้ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ปรากฏว่าภาพ
ที่เกิดขึ้นเป็ นภาพหัวตั้งมีขนาดโต 1.5 เท่าของวัตถุ ข้อใดกล่าวถึงกระจกอันนี้ ได้ถูกต้อง
1. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 36 เซนติเมตร
2. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 72 เซนติเมตร
3. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 90 เซนติเมตร
4. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 180 เซนติเมตร
23. วางวัตถุ ไว้ขา้ งหน้ากระจกโค้ง ซึ่ งมี ความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพ
เสมือนโดยมีกาลังขยาย 0.1 จงหาระยะวัตถุ
1. +220 cm 2. +180 cm 3. –220 cm 4. –180 cm
24. ถ้าวางวัตถุ ที่ มี ความสู ง 10 เซนติ เมตร ไว้หน้ากระจกเว้ารัศ มีค วามโค้ง 50 เซนติ เมตร
โดยวางให้ห่างจากหน้ากระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 1.00 2. 3.33 3. 4.55 4. 5.00
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
25(แนว มช) ถ้าวางวัตถุ ที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนู นซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. 25 3. 2 4. 2.5
26(แนว มช) ถ้าวางวัตถุที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. +2 3. –4 4. +5
27. วัตถุ สู ง 10 เซนติ เมตร อยู่ห่ าง 10 เซนติ เมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศ มี ความโค้ง 40
เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
28(แนว มช) วัตถุ สูง L วางอยูห่ น้ากระจกเว้าซึ่ งมี ทางยาวโฟกัส f ด้วยระยะ s จากกระจก
ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่าใด
2 2
1. Lf  f  2. L  (s - f)  3. Lf 4. L(s - f)
 (s - f)   f  (s - f) f
29. กระจกเว้า P รัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร
150 cm
กระจกเว้า Q รัศมีความโค้ง 68 เซนติเมตร P Q
วางหันหน้าเข้าหากันห่างกัน 150 เซนติเมตร
วัตถุ A
ดังรู ป เมื่อวางวัตถุเล็กๆ A ไว้ที่โฟกัสของ F
กระจกเว้า P พิจารณาแสงสะท้อนของวัตถุ A
ที่กระจก P เคลื่อนที่ไปกระจกเว้า Q แล้วสะ
ท้อนมาพบกันที่จุด B ถามว่าจุด B อยูห่ ่าง
กระจกเว้า P กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 116 3. 121 4. 133
30. กระจกที่เหมาะสมจะใช้ติดข้างรถสาหรับคนขับใช้ดูรถข้างหลังเป็ นกระจกชนิดใด
1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า 3. กระจกราบ 4. ถูกทุกข้อ

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
31. ถ้าเปลี่ยนทางเดินแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
1. แสงเปลี่ยนความเร็ วและความถี่
2. ความเร็ ว ความยาวคลื่นและความถี่ของแสงเปลี่ยนแปลง
3. เปลี่ยนเฉพาะความถี่อย่างเดียว
4. เปลี่ยนความเร็ วและความยาวคลื่น
32. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 23 ไปยังตัวกลาง (2) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 65
ด้วยมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2)
1. sin–1 25 2. sin–1 85 3. sin–1 85 4. sin–1 43
33. แสงเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าตัวกลางนี้มี
ค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.11 2. 1.22 3. 1.33 4. 1.44
34. ดัชนีหกั เหของแก้วมีคา่ 1.5 จงหาอัตราเร็ วของแสงในแก้วเป็ นเท่าใด
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
35. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่า 43 และดัชนีหกั เหของน้ ามันมีค่า 23 อัตราส่ วนระหว่าง
อัตราเร็ วของแสงในน้ ามันและน้ าเป็ นเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 4 / 3 4. 3 / 4
36(แนวA–net) แสงความถี่ 2.00 x 1014 เฮิรตซ์ ในเส้นใยนาแสงมีความยาวคลื่ นในเนื้ อเส้น
ใยเท่ากับ 4.50 x 10–7 เมตร จงหาค่าดรรชนีหกั เหของเนื้ อเส้นใยนาแสงนี้
1. 3.62 2. 3.12 3. 3.52 4. 3.33
37. ดัชนี หักเหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนี หักเหของตัวกลาง B = 6 จงหาดัชนี หักเห
ของตัวกลาง A เทียบกับ B
1. 0.5 2. 0.4 3. 0.2 4. 0.1

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
38. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B มีมุมตกกระทบ 30 o และมีมุมหักเหเป็ น 37o
จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A
1. 5 / 8 2. 8 / 15 3. 5 / 6 4. 6 / 5
39. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ า และแก้วเป็ น 43 และ 23 ตามลาดับ จงหาดัชนี หกั เหของแก้วเทียบ
กับน้ ามีค่าเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 7 / 6 4. 6 / 5
40. จากรู ป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผ่าน
ตัวกลางที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสู่ ตวั กลางที่ 4 53o (4)
C
โดยผ่านรอยต่อตัวกลาง A , B , C ซึ่งขนาน
(3)
กัน จงหาดัชนีหกั เหของของตัวกลางที่ 1 B
เทียบกับตัวกลางที่ 4 (2)
A
53o (1)
1. 3 / 4 2. 4 / 3
3. 5 / 6 4. 6 / 5
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
41. ถ้ามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็ น 30 องศา จงหาอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้น
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
42. ถ้ามุมวิกฤตในของเหลวชนิดหนึ่ง ( เมื่อแสงเดินทางผ่านไปสู่ อวกาศ ) มีค่าเป็ น 60o ถามว่า
ความเร็ วแสงในของเหลวนี้ มีค่าเป็ นเท่าใด ( c = ความเร็ วแสงในอากาศ )
1. 23 c 2. 2c 3. 42 c 4. 43 c
3
43. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากแก้วดัชนีหกั เห 23 สู่ อากาศ จงหามุมวิกฤติของแก้วนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43
44. ถ้าเพชรมีดชั นีหกั เห 2.42 มุมวิกฤตของเพชรจะมีค่าเท่าใด
1. sin–1(0.635) 2. sin–1(0.446) 3. sin–1(0.413) 4. sin–1(0.972)

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
45. จากรู ป แสงเคลื่อนที่จากผลึกใสไปสู่ ของเหลว อากาศ
แล้วเคลื่อนที่ต่อไปยังอากาศ ทาให้เกิดมุมวิกฤต
จงหาดัชนีหกั เหของผลึกใส ของเหลว
1. 2 2. 4 30o ผลึกใส
3. 6 4. 8
46. หลอดไฟเล็กๆ เปิ ดไฟสว่างอยูภ่ ายใต้ของเหลวลึก 100 เซนติเมตร ปรากฏว่าเห็นความ
สว่างบนผิวของเหลวเป็ นรู ปวงกลม ถ้าดรรชนีของเหลวเป็ น 45 จงหารัศมีของวงกลม
ของแสงไฟ
1. 100 เซนติเมตร 2. 133 เซนติเมตร
3. 150 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
47. ชายคนหนึ่งอยูบ่ นเรื อ มองลงตรงๆ ในน้ าเห็นปลาอยูล่ ึกจากผิวน้ า 27 เซนติเมตร ซึ่ งพบว่า
ผิดความจริ งไป 9 เซนติเมตร จงหาดัชนีหกั เหของน้ า
1. 3/4 2. 4/3 3. 2/7 4. 7/2
48. ปลาอยูท่ ี่พ้ืนสระน้ าซึ่ งลึก 5 เมตร ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่าเท่า 43 จะมองเห็นปลาอยูล่ ึก
จากผิวน้ ากี่เมตร
1. 154 2. 43 3. 43 4. 5
49. น้ ามันเบนซิ นและน้ าไม่ ผ สมกัน ถ้าเทน้ ามันเบนซิ นลงไปอ่างใส่ น้ า จะปรากฏว่าน้ ามัน
เบนซินลอยเป็ นชั้นสู งด้านบน ถ้าน้ าและน้ ามันเบนซิ นลึกชั้นละ 5 เซนติเมตร เท่ากัน และ
มีเหรี ยญบาทที่กน้ อ่างคนที่มองดูเหรี ยญจากด้านบนตรง ๆ จะเห็นว่าเหรี ยญอยูท่ ี่ความลึก
กี่เซนติเมตร กาหนดดรรชนีหกั เหของน้ า = 43 และของน้ ามันเบนซิ น = 45
1. 3.38 2. 5.25 3. 7.76 4. 8.86
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
11.4.2 รุ้งกินนา้
11.4.3 มิราจ
49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.5 เลนส์ บาง
50. รังสี ของแสงเบนเข้าหากันที่จุด A ถ้านาเลนส์ไปวางไว้ ที่จุด B รังสี ของแสงนี้ จะเบนไป
พบกันที่จุด C เลนส์ที่นาไปวางเป็ นเลนส์ชนิดใด
1. เลนส์เว้า
2. เลนส์นูน
3. เลนส์เว้าประกบเลนส์นูน B A C

4. เลนส์นูนครึ่ งซีก
51. จุดโฟกัสของเลนส์นูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
52. จุดโฟกัสของเลนส์เว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
53. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จาก 2F ไป F ทางด้าน A เมื่อ F ในรู ปเป็ นจุดโฟกัสของเลนส์ ภาพที่
เกิดขึ้นบนด้าน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด
1. 2F ไป F A
2. 2F ไประยะอนันต์
3. F ไป 2F 2F F F 2F
4. F ไปเลนส์
54. ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนจะมีขนาดเท่าวัตถุเมื่อ
1. วางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง 2. วางวัตถุไว้ที่จุดโฟกัส
3. วางวัตถุไว้ชิดขอบเลนส์ 4. วางวัตถุไว้ที่ระยะไกลมาก ๆ

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
55. ภาพเสมือนเป็ นภาพที่ได้จากข้อใด
a. กระจกนูน b. กระจกเว้า c. เลนส์นูน d. เลนส์เว้า
คาตอบคือ
1. ข้อ a , b , c , d 2. ข้อ a , c 3. ข้อ a , d 4. ข้อ b , c
56. ภาพเสมือนขนาดโตกว่าวัตถุเกิดจาก
1. กระจกเว้า เลนส์เว้า 2. กระจกเว้า เลนส์นูน
3. กระจกนูน เลนส์เว้า 4. กระจกนูน เลนส์เว้า
57(แนว มช) เมื่อต้องการดูของที่มีขนาดเล็กเรามักจะใช้ “ แว่นขยาย ” ซึ่งทาด้วยเลนส์ นูน
เพราะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนนั้น
1. มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
2. เป็ นภาพเสมือนเสมอ
3. เป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
4. เป็ นภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ระยะวัตถุช่วงหนึ่ง
58. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าจะเป็ นภาพในข้อใดต่อไปนี้
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง
59. เลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร มีวตั ถุอยูด่ า้ นหน้าห่ าง 20 เซนติเมตร จงหาว่า
สุ ดท้ายจะเกิดภาพห่างจากเลนส์กี่เซนติเมตร
 

60. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนซึ่ งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร


ภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ น
1. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งหัวตั้ง อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ น้าเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 103 เซนติเมตร
61. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้าห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เกิดภาพห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร
จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –30 2. +30 3. – 40 4. +40
51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
62. วัตถุสูง 6 เซนติเมตร อยูห่ ่างจากเลนส์นูน 12.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์มีความยาวโฟกัส
6.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร
63. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมื่อวางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้ห่างจากเลนส์
15 เซนติเมตร จงหาชนิ ดตาแหน่งและขนาดของภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 10 เซนติเมตร
64. วัตถุสูง 4 เซนติเมตร วางหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร ได้ภาพจริ งห่างจาก
เลนส์ 24 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพและความยาวโฟกัสของเลนส์เป็ นเซนติเมตร
1. y = 7 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
2. y = 8 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
3. y = 8 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
4. y = 7 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
65. มีเลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร อยู่ 1 อัน ถ้าต้องการภาพจริ งขยายเป็ น 2
เท่าของวัตถุจะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 5 เซนติเมตร 2. 10 เซนติเมตร
3. 15 เซนติเมตร 4. 20 เซนติเมตร
66. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูต่ าแหน่งที่กี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
67. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 13 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูท่ ี่ตาแหน่ง
1. 10.00 เซนติเมตร 2. 8.67 เซนติเมตร
3. 3.45 เซนติเมตร 4. 4.13 เซนติเมตร

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
68(แนว มช) เมื่อมองผ่านเลนส์ อนั หนึ่ งเห็นวัตถุที่วางห่ างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร มีขนาดเล็ก
ลงครึ่ งหนึ่งของขนาดจริ ง จงหาว่าเป็ นเลนส์ชนิดใด ทางยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
2. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
3. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
69. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุไว้ที่ตาแหน่งกี่เซนติเมตร จึงจะ
ให้ภาพมีขนาด 41 เท่าของวัตถุ
1. 20 2. 30 3. 50 4. 60
70. ถ้าต้องการให้ได้ภาพบนฉากมีขนาด 4 เท่าของวัตถุ และเกิดอยูห่ ่ างจากเลนส์ 100 เซน-
ติเมตร จะต้องใช้เลนส์นูนมีความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
71. แว่นขยายทาด้วยเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ถ้าต้องการใช้ส่องดูวตั ถุเพื่อให้
เห็นวัตถุใหญ่ข้ ึนควรวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 7 เซนติเมตร 2. 14 เซนติเมตร
3. 21 เซนติเมตร 4. 28 เซนติเมตร
72(แนว En) วัตถุอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์นูน
วัตถุ
(ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10
เซนติเมตร และมีเลนส์เว้า (ความยาวโฟกัส 10
เซนติเมตร) ทางด้านขวามือของเลนส์นูนนั้น 10 cm 5 cm
ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพที่เกิดเป็ นดังข้อใด
1. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 3.33 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
73. เลนส์นูน 2 อัน ความยาวโฟกัสอันละ 10 เซนติเมตร วางห่างกัน 35 เซนติเมตร อยูบ่ น
แกนมุขสาคัญเดียวกัน วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางอยูห่ น้าเลนส์ท้ งั สอง และอยูห่ ่างจากเลนส์
อันใกล้ 15 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งชนิดและขนาดของภาพที่เกิดจากแสงหักเหผ่านเลนส์
ทั้งสองแล้ว
1. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
74(แนว มช) แสงจากจุดวัตถุซ่ ึ งอยูห่ ่าง
เลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร จุดวัตถุ
เมื่อหักเหผ่านเลนส์นูนจะตัดแกนห่าง
จากเลนส์นูนเป็ นระยะ 24 เซนติเมตร
เมื่อนาเลนส์เว้ามาวางต่อจากเลนส์นูน
12 cm 6 cm
เป็ นระยะ 6 เซนติเมตร ปรากฎว่า
แสงที่หกั เหผ่านเลนส์เว้าเป็ นแสงขนาน 24 cm

กับแกนดังรู ป ทางยาวโฟกัสของเลนส์เว้าเท่ากับ
1. 6 เซนติเมตร 2. 12 เซนติเมตร
3. 18 เซนติเมตร 4. 24 เซนติเมตร
75. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 0.2 เมตร และเลนส์
เว้า ความยาวโฟกัส 0.15 เมตร วางอยูด่ งั รู ป
เมื่อให้ลาแสงขนานตกกระทบเลนส์นูนลาแสง
จะผ่านเลนส์นูนไปสู่ เลนส์เว้า ถ้าลาแสงผ่าน
เลนส์เว้าออกมาเป็ นลาแสงขนานอีกครั้งหนึ่งเลนส์ท้ งั สองจะต้องห่างกันกี่เมตร
1. 0.03 2. 0.02 3. 0.04 4. 0.05

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
76(แนว En) เลนส์แว่นตาสาหรับคนตายาวทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
77. เลนส์แว่นตาสาหรับคนตาสั้นทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด

11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
78. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
ก. ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่วา่ วัตถุ
ข. ภาพที่เกิดในระนาบฟิ ล์มของกล้องถ่ายรู ปเป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ค. ภาพที่เห็นจากแว่นขยายเมื่อระยะวัตถุส้ ันกว่าความยาวโฟกัสเป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง
ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ค 4. ข. เท่านั้น

55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
79. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2500 ลูเมน ความสว่างจาก
หลอดไฟ 4 หลอด บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร มีค่าเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 2000 ลักซ์ 4. 2540 ลักซ์
80. พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่ งประสิ ทธิ ภาพของหลอดใน การให้
พลังงานแสงเหลื อเพี ยง 60% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีค วามสว่างเฉลี่ ยบนจอ 300 ลัก ซ์
ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 4 2. 14 3. 20 4. 2
81. เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 300 ลักซ์ เมื่อฉายที่ระยะห่าง
จากจอ 5 เมตร ถ้าเลื่อนเครื่ องฉายไปเป็ น 2 เท่าของระยะเดิม ความสว่างบนจอจะเป็ นเท่าใด
1. 65 ลักซ์ 2. 70 ลักซ์ 3. 75 ลักซ์ 4. 80 ลักซ์

11.9 แสงสี และการผสมสี


82. ฉายแสงสี ขาวกระทบวัตถุ ก. และวัตถุ ข. ซึ่งวางอยูด่ ว้ ยกัน มองเห็นวัตถุ ก. สี เหลือง
ส่ วนวัตถุ ข. เห็นเป็ นสี ขาว หากฉายแสงสี เขียวแทนแสงสี ขาว จะมองเห็นเป็ นเช่นไร
1. เห็นวัตถุ ก. และ ข. สี เขียว 2. เห็นวัตถุ ก. สี เหลือง วัตถุ ข. สี ขาว
3. เห็นวัตถุ ก. สี ดา และ วัตถุ ข. สี เขียว 4. เห็นวัตถุ ทั้ง ก. และ ข. สี ดา



56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บท ที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป ก รณ์
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบ 12
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 115. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32.ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบ 20 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบ 6 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 1.



57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
12.1 การแทรกสอดของแสง

เมื่อฉายแสงอาพันธ์ผา่ นแผ่นทึบแสงที่มีช่องแคบคู่อยู่ ( สลิตคู่ ) แสงที่ลอดผ่านช่องแคบ


คู่ไปนั้นจะสร้างคลื่นแสงใหม่ข้ ึนมา 2 แสง แล้วคลื่นแสงทั้งสองนั้นจะเกิดการแทรกสอดกัน
หลังแผ่นทึบแสงนั้น โดยจะมีแนวบางแนวแสงทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีความสว่าง
มากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้ วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode,A) หรือแถบสว่าง ซึ่ งจะมีอยูห่ ลายแนว
กระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แถบสว่างที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยก
เป็ นแถบสว่างที่ 0 ( A0) หรื อแถบสว่างกลาง ถัดออกไปจะเรี ยกแถบสว่างที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
ระหว่างกลางแถบสว่าง คลื่นแสงจะเกิดการหักล้างกันทาให้มีความสว่างน้อยปกติ เรี ยก
แนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) หรือแถบมืด แถบมืดแรกที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง ( A0 )
จะเรี ยกแถบมืดที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแถบมืดที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้ง
ทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
หากนาฉากรับแสงไปรองรับแสงบริ เวณหลังสลิต เมื่อแสงที่เกิดการแทรกสอดแล้วมาตก
กระทบบนฉากจะทาให้เกิดเป็ นแถบสว่างและแถบมืดสลับกันไปบนฉากรับแสงนั้นดังรู ป
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการแทรกสอดแสง
สาหรับแนวปฏิบัพ (An) (แถบสว่าง)
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
 = nd Dx
สาหรับแนวบัพ (Nn) (แถบมืด)
S1P – S2P = (n – 12 )
d sin  = (n – 12 )
 = d 1x
(n  2 ) D
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแถบสว่างหรื อแถบมืดลาดับที่ n
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 (ช่องแคบที่ 1 ) S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 (ช่องแคบที่ 2 )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P ( เมตร ) S2P คือระยะจาก S2 ถึง P ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร ) d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างหรื อแถบมืดซึ่ งจุด P อยูบ่ นนั้น หรื อที่วดั มุม  ไปถึง
หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง

1. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่างกัน 0.2


มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 10 ทั้งสองด้านจะทามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035)
1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 4 องศา 4. 8 องศา

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
2. สลิตคู่ห่างกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่า
แถบสว่างลาดับที่ 5 อยูห่ ่างจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเป็ นกี่
นาโนเมตร
1. 320 2. 380 3. 420 4. 480

3. ช่องแคบคู่หนึ่งห่างกัน 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้ง


ฉากบนช่องแคบ แถบสว่างลาดับที่ 4 บนฉากที่ห่างออกไป 80 เซนติเมตร จะอยูห่ ่างจาก
แนวกลางกี่เซนติเมตร
1. 0.80 2. 1.92 3. 4.68 4. 6.59

4(แนว En) เมื่อใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 5.0 x 10–7 เมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูเ่ กิดภาพการแทรก


สอดบนฉากที่อยูห่ ่างออกไป 1 เมตร ถ้าระยะห่างระหว่างสลิตคู่เท่ากับ 0.1 มิลลิเมตร
แถบสว่าง 2 แถบที่ติดกันอยูห่ ่างกันกี่มิลลิเมตร
1. 1 2. 3 3. 5 4. 10

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
5. สลิ ตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิ ตเป็ น 0.10 เซนติเมตร ฉากอยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะทาง 1.0
เมตร ระยะระหว่างแถบมืดที่อยูต่ ิดกันมีค่าเป็ น 0.5 มิลลิเมตร ความยาวคลื่นแสงที่ใช้เป็ น
เท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 300 2. 400 3. 500 4. 600

6. แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 630 นาโนเมตร ตกตั้ง 6 mm


ฉากผ่านสลิตคู่อนั หนึ่ง พบว่าบนฉากที่ห่างออกไป A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6 A7
1.5 เมตร แถบสว่างลาดับที่ 3 และลาดับที่ 7 อยู่
ห่างกัน 6 มิลลิเมตร ช่องทั้งสองของสลิตคู่น้ ี อยู่
ห่างกันกี่ไมโครเมตร
1. 330 2. 450 3. 580 4. 630

7. เมื่อใช้แสงสี แดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตคู่ เกิดภาพแทรกสอด


บนฉากโดยแถบสว่าง 2 แถบติดกันอยูห่ ่างกัน 0.25 มิลลิเมตร แต่ถา้ ใช้แสงสี ม่วงความ
ยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ดงั กล่าวแถบสว่าง 2 แถบติดกันจะห่างกัน
กี่มิลลิเมตร
1. 0.10 2. 0.15 3. 0.20 4. 0.22

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
8. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง
ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D
จงหาระยะระหว่างแถบสว่างแถบแรกกับแถบมืดที่สาม
1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง


เมื่อฉายแสงผ่านแผ่นทึบแสงซึ่ ง
มี 1 ช่องแคบ ( สลิตเดี่ยว ) เมื่อแสง
ลอดผ่านช่องแคบไปแล้ว จะเกิดการ
เลี้ยวเบนโดยแถบสว่างกลางจะมีความ
กว้างมากและถัดออกไป จะมีแถบมืด
กับแถบสว่างสลับกันไป แถบมืดแรก
ที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง จะเรี ยก
แถบมืดที่ 1 ( N1 ) ถัดไปจะเป็ นแถบ
มืดที่ 2 ( N2 ) , 3 ( N3 ) ไปเรื่ อยๆ

สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับแนวบัพของการเลีย้ วเบน


d sin  = n 
และ  = nd D x
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
9. ฉายแสงผ่านสลิ ตเดี่ยวทาให้เกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเป็ นมุม 30o กาหนด
ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร จงหาความกว้างของช่องสลิตในหน่วยไมโครเมตร
1. 0.65 2. 1.3 3. 650 4. 1300

10(แนว En) ใช้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร


x = 6 mm
ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้างของช่องเท่า
กับ 50 ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลี้ ยวเบน N1 N1
บนฉาก พบว่าแถบมืดแถบแรกอยูห่ ่างจากกึ่งกลาง
แถบสว่างกลาง 6.0 มิลลิเมตร ระยะระหว่าง
สลิตเดี่ยวกับฉากเป็ นเท่าใดในหน่วยเซนติเมตร
1. 20 2. 30 d
3. 40 4. 50

11. แสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนสลิตเดี่ยวกว้าง 50 ไมโครเมตร เกิด


ภาพการแทรกสอดบนฉากห่ าง 0.6 เมตร แถบมืดที่สองอยูห่ ่างจากแถบมืดที่สี่กี่เมตร
1. 0.66 x 10–2 2. 1.32 x 10–2 3. 0.66 x 10–3 4. 1.32 x 10–3

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
12(แนว En) แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร เป็ นลาขนาน
ฉายผ่านสลิตเดี่ยว (single slit ) กว้าง 250 ไมโครเมตร แสงที่ตก
บนฉากหลังสลิตที่ระยะ 50 เซนติเมตร มีความเข้มดังรู ปในแนว
ตั้งฉากกับแนวของสลิตระยะ A จะเป็ นเท่าใด
1. 1.18 มิลลิเมตร 2. 2.36 มิลลิเมตร A
3. 3.54 มิลลิเมตร 4. 4.92 มิลลิเมตร

13. ใช้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด – สว่าง บนฉากห่ าง


ออกไป 3 เมตร ระยะห่างระหว่างจุดที่มืดที่สุดสองข้างของแถบสว่างที่กว้างที่สุดเป็ น 1.5
เซนติเมตร สลิตนั้นกว้างกี่เมตร
1. 1.2 x 10–2 2. 2.4 x 10–2 3. 1.2 x 10–4 4. 2.4 x 10–4

12.3 เกรตติง
เกรตติงเป็ นแผ่นทึ บแสงซึ่ งประกอบด้วยช่ องขนาดเล็กจานวนมากมายที่ เล็กจนมอง
ด้วยตาเปล่าไม่เห็น จานวนช่องของเกรตติงอาจมีต้ งั แต่ 1000 ถึง 10000 ช่องในช่วงความยาว
1 เซนติเมตร โดยช่องมีขนาดแคบมากและอยูห่ ่างเท่าๆ กัน
ปกติแล้วเมื่อแสงผ่านเกรตติงออกไป จะทาให้เกิดทั้งการแทรกสอดและเลี้ ยวเบนขึ้น
ควบคู่กนั ไป โดยแถบสว่างของการเลี้ยวเบนจะมีความกว้างมาก ส่ วนแถบสว่างและแถบมืดของ
การแทรกสอดจะมีขนาดเล็กแทรกอยูภ่ ายในแถบสว่างของการเลี้ยวเบนนั้น
7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ


เลีย้ วเบนโดยสลิตเดีย่ ว แทรกสอดโดยสลิตคู่

การคานวณเกี่ยวกับแถบสว่าง ( An ) ของการแทรกสอด ยังคงใช้สมการเดิมคือ


d sin  = n 
 = nd Dx
เมื่อ  คือความยาวคลื่น ( เมตร )
d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
เราหาค่า d ได้จาก
d= ความยาวเกรตติง
จานวนช่องในความยาวนัน
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วด
ั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างที่วดั มุม  ไปถึง หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง
การคานวณเกี่ยวกับแถบมืด ( Nn ) ของการเลี้ยวเบนใช้สมการ
d sin  = n 
 = nd D x
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
14(แนว มช) เกรตติงมี 2000 ช่องต่อเซนติเมตร ถ้าฉายแสงความยาวคลื่นขนาดหนึ่งไปยังเกรต
ติงนี้ แถบสว่างที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอจะอยูห่ ่างจากแนวกลางเป็ นมุม 30 องศา แสงนั้นมี
ความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 1.5x10–6 2. 2.5x10–6 3. 1500 4. 2500

15(แนว En) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของก๊าซ x


O
ไฮโดรเจน โดยใช้เกรตติงซึ่ งมีจานวนช่อง/เซนติเมตร
เท่ากับ 3000 ดังรู ป พบว่าเมื่อระยะ D เท่ากับ 1
D
เมตร จะมีแถบสว่างสี เดียวกันบนไม้เมตรห่างจาก
จุด O ทั้งทางด้านซ้ายและขวาเท่ากันคือ 0.3 เมตร เกรตติง
จงหาว่าแถบสว่างนั้น มีความยาวคลื่นประมาณ
1. 464 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร
3. 632 นาโนเมตร 4. 1000 นาโนเมตร

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
16(แนว มช) แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุง่ ผ่านเกรตติงพบว่าแนวแถบสว่างแถบที่ 4
ทามุมกับแนวแถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 30 องศา จงหาจานวนช่องสลิตต่อเซนติเมตรของ
เกรตติงนี้
1. 2000 2. 200 3. 3333 4. 2500

17(แนว En) แสงขาวตกตั้งฉากกับเกรตติง สเปกตรัมลาดับที่ 3 ของแสงสี ม่วงตรงกับสเปกตรัม


ลาดับที่ 2 ของแสงสี แดง ถ้าความยาวคลื่นของแสงสี ม่วงเป็ น 400 นาโนเมตร ความยาว
คลื่นของแสงสี แดงเป็ นกี่นาโนเมตร
1. 100 2. 300 3. 600 4. 900

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
18. เมื่อให้แสงความยาวคลื่น 1 และ 2 ผ่านสลิตคู่ซ่ ึ งห่างกัน d พบว่าแถบมืดที่ 4 ของ
แสงความยาวคลื่น 1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น 2 อัตราส่ วน
ของ 1 / 2 มีค่าเท่าใด
1. 12 2. 53 3. 35 4. 97

19(แนว En) ต้องการให้ตาแหน่ งริ้ วมืดแรกของลวดลายจากการเลี้ ยวเบนของสลิ ตเดี่ยวตรงกับ


ตาแหน่ งมืดที่ 5 ของริ้ วลวดลายจากการแทรกสอดของสลิ ตคู่ระยะระหว่างสลิ ตคู่ตอ้ งเป็ น
กี่เท่าของความกว้างของสลิต
1. 5 2. 72 3. 92 4. 112

12.4 การกระเจิงของแสง
เมื่อแสงอาทิตย์ผา่ นเข้ามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรื อ
อนุภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปล่อย
แสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกว่า การกระเจิงของแสง
ปกติแล้วแสงสี ม่วง สี น้ าเงิน ในแสงอาทิตย์จะกระเจิงได้ดีกว่าแสงสี แดง ดังนั้นในช่วง
เวลากลางวันแสงสี ม่วง สี น้ าเงินจะกระเจิงเต็มท้องฟ้ า แต่ตาคนเรารับแสงสี น้ าเงินได้ดีกว่าสี
ม่วงเราจึงมองเห็นท้องฟ้ าเป็ นสี ฟ้าในตอนกลางวัน ส่ วนในตอนเช้าซึ่งพระอาทิตย์เริ่ มขึ้น หรื อ
ตอนเย็นพระอาทิตย์ใกล้ตก สี ม่วงและสี น้ าเงินซึ่งกระเจิงได้ดี จะกระเจิงหายไปทางอื่น ทาให้
เหลือแต่สีแดงเราจึงเห็นท้องฟ้ าเป็ นสี แดงในตอนเช้าหรื อเย็น
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เฉลยบทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3.



12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
12.1 การแทรกสอดของแสง
1. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู ่ ซึ่ งมีระยะห่างระหว่างสลิตเป็ น 10
ไมโครเมตร อยากทราบว่าจุดที่เกิดการแทรกสอดแบบเสริ มกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่
ฉายแสงเป็ นมุมเท่าใด (sin 6o = 0.1)
1. 3o 2. 6o 3. 12o 4. 30o
2. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่ างกัน 0.1
มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 20 จะเอียงทำมุมกับแถบสว่ำงกลำงกี่องศา (sin 6o= 0.1)
1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 6 องศา 4. 12 องศา
3. สลิตคู่ห่างกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผ่านในแนวตั้งฉาก
จงหามุมที่แถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง
1. sin–1 0.275 2. sin–1 0.375 3. sin–1 0.460 4. sin–1 0.500
4(แนว En) ให้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ในแนวตั้งฉาก เกิ ดลวดลายการ
แทรกสอดบนฉากที่อยู่ห่างจากสลิ ต 1 เมตร วัดระยะระหว่างกึ่ งกลางของแถบสว่าง 2
แถบที่ถดั กันได้ 6 มิลลิเมตร สลิตคู่น้ ีมีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.5
5. แสงที่มีความยาวคลื่น 5 x 10–7 เมตร ส่ องกระทบสลิตคู่แคบๆ ซึ่ งมีระยะห่ างระหว่างสลิ ต
1 มิลลิเมตร ระยะห่ างระหว่างแถบสว่างจากการแทรกสอดที่เกิ ดขึ้นบนฉากซึ่ งอยู่ห่างจาก
สลิตเป็ นระยะ 2 เมตร จะเป็ นเท่าใด
1. 0.1 มิลลิเมตร 2. 0.25 มิลลิเมตร 3. 0.4 มิลลิเมตร 4. 1.0 มิลลิเมตร
6. สลิตคู่มีระยะห่ างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อส่ องด้วยแสงสี เดียวและเป็ น
แสงอาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่างจากสลิต 2.50 เมตร
วัดระยะระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้ มีความยาวคลื่นกี่
เมตร
1. 2.60 x 10–7 2. 3.20 x 10–7 3. 4.80 x 10–7 4. 5.60 x 10–7

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
7. จากการทดลองเรื่ องการแทรกสอดของแสงโดยใช้สลิตคู ่ พบว่าระยะระหว่างริ้ วสว่างที่อยู่
ติดกันเท่ากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะห่ าง
ระหว่างสลิตคู่กบั ฉากเท่ากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นของแสงในหน่วยเมตร
1. 2.11 x 10–6 2. 4.11 x 10–6 3. 2.11 x 10–7 4. 4.11 x 10–7
8. สลิ ตคู่มีระยะห่ างช่ องสลิ ตเท่ ากับ 0.40 มิ ลลิ เมตร เมื่ อส่ องด้วยแสงสี เดี ยวและเป็ นแสง
อาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างจากสลิต 2.50 เมตร วัดระยะ
ระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้ มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 380 2. 480 3. 560 4. 640
9. ในการเกิดการแทรกสอดของแสงที่มีความยาวคลื่น 7.5x10–7 เมตร โดยใช้ช่องขนาดเล็ก 2
ช่อง บนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป 1 เมตร ถ้าต้องการให้แถบสว่าง 2 แถบที่ติดกันอยูห่ ่ างกัน 1
มิลลิ เมตร ช่ องทั้งสองจะต้องอยู่ห่างกันกี่ เมตร (ให้ถือว่าตาแหน่ งแถบสว่างเบนไปจากแนว
กลางน้อยมาก)
1. 3.75 x 10–4 2. 7.50 x 10–4 3. 3.75 x 10–6 4. 7.50 x 10–6
10. แสงสี หนึ่ง เมื่อผ่านช่องแคบคู่ซ่ ึ งอยูห่ ่างกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏว่าแถบสว่างที่ 4 และที่
6 อยู่ห่างกัน 2 มิ ลลิเมตร บนฉาก ซึ่ งอยู่ห่างจากช่ องแคบคู่ 1 เมตร จงหาความยาว
คลื่นแสงนี้
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
11. ฉายแสงสองค่าความถี่ผ่านตั้งฉากกับสลิตคู่ไปยังฉากปรากฏว่าแถบสว่างลาดับที่ 2 ของ
แสงที่มีความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร ซ้อนอยูก่ บั แถบสว่างลาดับที่ 3 ของแสงสี หนึ่งแล้ว
แสงสี น้ นั จะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 250 2. 300 3. 450 4. 500
12. เมื่ อให้แสงที่ เปล่งจากหลอดบรรจุไฮโดรเจน ผ่านตั้งฉากช่ องสลิ ตคู่ขนานกันอันหนึ่ ง
ปรากฏว่าเส้นสเปกตรัมที่ เป็ นลาดับที่ 2 (second – order) เนื่ องจากแสงสี แดงซึ่ งมีความยาว
คลื่น 656 นาโนเมตร ซ้อนอยูท่ ี่เดี ยวกับสเปกตรัมอีกเส้นหนึ่ งที่เป็ นลาดับที่ 3 (third – order)
เนื่องจากแสงสี อื่นอีกสี หนึ่ง แสงสี น้ี จะมีความยาวคลื่นเท่าใด
1. 437 นาโนเมตร 2. 486 นาโนเมตร
3. 546 นาโนเมตร 4. 579 นาโนเมตร
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
13. ส่ องแสงสี แดงตั้งฉากกับช่องสลิตคู่อนั หนึ่งปรากฏแถบสว่างที่ 1 จะเบนออกจากแนวกลาง
ไปเป็ นมุม 45 องศา ถ้านาช่ องสลิตคู่อีกอันหนึ่ งที่มีระยะระหว่างช่องเป็ น 3 เท่าของอัน
แรกมาวางแทนแถบสว่างที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเป็ นมุมกี่องศา
1. 30 องศา 2. 45 องศา 3. 60 องศา 4. 90 องศา
14. ฉายแสง A และ B ให้ผา่ นช่องสลิตคูข่ นานกันไปบนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป ปรากฏว่าริ้ วมืด
ที่สี่ของแสง A อยูซ่ ้อนกับริ้ วสว่างที่ห้าของแสง B ถ้าแสง A มีความยาวคลื่น 5.8 x 10–7
เมตร แสง B จะมีความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยของเมตร
1. 2.1 x 10–6 2. 4.1 x 10–6 3. 2.1 x 10–7 4. 4.1 x 10–7
15. เมื่ อให้แสงที่ เปล่ งจากหลอดบรรจุก๊าซชนิ ดหนึ่ งตกตั้งฉากบนช่ องสลิ ตคู่ ปรากฏว่าเส้ น
สเปกตรัมลาดับที่ 2 ของแสง A และของแสง B เบนไปจากแนวกลางเป็ นระยะ 0.6
เซนติเมตร และ 0.9 เซนติเมตร บนฉากตามลาดับ ถ้าแสง A มีความยาวคลื่น 500
นาโนเมตร แสง B มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 350 2. 400 3. 550 4. 750
16. ในการทดลองเรื่ องสลิ ตคู่ของยังส์ พบว่าเมื่อให้แสงที่ ประกอบด้วยสองความยาวคลื่ น
1 = 750 นาโนเมตร , 2 = 900 นาโนเมตร ส่ อ งตั้งฉากไปยังสลิ ตคู่ ที่ มี ระยะห่ า ง
ระหว่างช่อง 2 มิลลิเมตร พบว่าแถบสว่างจากคลื่นทั้งสองที่ปรากฏบนฉากที่อยูห่ ่ างออก
ไป 2 เมตร จะซ้อนกันครั้งแรกที่ระยะห่างจากแถบสว่างตรงกลางกี่มิลลิเมตร
1. 2.0 2. 4.5 3. 5.5 4. 6.0
17. ถ้าแสงจากแหล่งกาเนิดแสงอันหนึ่งประกอบด้วยคลื่นแสง 2 ความยาวคลื่น ซึ่งมีอตั รา
ส่ วนของความยาวคลื่นเป็ น 1.2 จงคานวณหาค่า n สาหรับคลื่นที่ยาวกว่า ว่าต้องมีค่า
เท่าไร ที่จะทาให้ตาแหน่งของแถบสว่างของภาพที่เกิดจากการแทรกสอดของคลื่นนี้ ทบั กับ
ตาแหน่ งของแถบสว่างของคลื่นอันที่ส้ ันกว่าพอดี ในการทดลองเกี่ ยวกับช่องสลิตคู่ โดยให้
ตอบเพียงค่า n ที่เล็กที่สุดค่าเดียว ( n คือ ตัวเลขบอกลาดับ (order) ของแถบสว่าง )
1. 1 2. 3 3. 5 4. 6

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
18. แสงขนานความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับช่องสลิตคู่ เมื่อนาฉากมาวางห่ าง
จากช่ อ งสลิ ต คู่ 1 เมตร พบว่า แถบสว่า งแถบที่ ส องจะอยู่ห่ า งจากแถบสว่า งแรก x
เซนติเมตร ถ้าเลื่อนฉากออกไปอีก 2 เมตร แถบสว่างแถบที่สองจะอยูห่ ่ างจากแถบสว่าง
แรกกี่เซนติเมตร
1. x 2. 2 x 3. 3 x 4. 4 x
19. เมื่อให้ลาแสงขนานผ่านสลิตคู่หนึ่ง แสงสี ใดต่อไปนี้ จะให้จานวนแถบสว่างมากที่สุด
1. แสงสี น้ าเงิน 2. แสงสี เขียว 3. แสงสี แสด 4. แสงสี แดง
20. ระยะห่างระหว่างช่องสลิตควรจะมีค่าน้อย เพื่อ
1. จะได้แถบสว่างมีความสว่างมากขึ้น
2. จะทาให้แถบสว่างอยูช่ ิดกันมากขึ้น ทาให้อยูใ่ นช่วงที่เครื่ องมือวัดจะวัดได้
3. จะทาให้แถบสว่างมีขนาดเล็กกว่าเดิม
4. จะทาให้แถบสว่างอยูห่ ่างกันทาให้สะดวกในการวัด

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง


21. เมื่อให้แสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบเดี่ยว และต้องการให้แถบมืดแรก
เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกว้างของช่องแคบนี้ในหน่วยไมโครเมตร
1. 0.64 2. 1.28 3. 640 4. 1280
22. แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้าง 0.01 เซนติ-
เมตร จงหาระยะห่ างระหว่างแถบมืดลาดับที่ 1 ซึ่ งอยู่สองข้างของแถบสว่างที่ปรากฏบน
ฉากซึ่ งอยูห่ ่างออกไป 1.5 เมตร
1. 0.75 x 10–2 เมตร 2. 1.5 x 10–2 เมตร
3. 3.0 x 10–2 เมตร 4. 6.0 x 10–2 เมตร
23. แสงมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกว้าง 2 ไมโครเมตร
ปรากฏภาพ ช่องแคบที่ระยะห่างออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกว้างของแถบสว่างตรง
กลางที่เกิดขึ้นในหน่วยเซนติเมตร
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
24. แสงเลเซอร์ ความยาวคลื่น 630 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวแล้วปรากฏภาพของสลิตที่
ระยะ 3 เมตร เป็ นแถบสว่างหลายแถบระยะระหว่างจุดมื ดที่ สุด 2 ข้างของแถบสว่างที่
กว้างที่สุดเป็ น 1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกว้างเท่าไร (หน่วยเป็ นไมโครเมตร)
1. 63 2. 126 3. 189 4. 252
25. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ
แทรกสอดบนฉากที่ห่างออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสว่างกลางกว้าง 2 เซนติเมตร
จงหาความกว้างของสลิตนี้ ในหน่วยไมโครเมตร
1. 10 2. 30 3. 60 4. 90
26. สลิตเดี่ยววางห่ างจากฉาก 60 เซนติเมตร ใช้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ทาให้
เกิดแถบการเลี้ยวเบนขึ้นที่ฉากวัดความกว้างแถบสว่างอันกลางได้ 0.7 เซนติเมตร จงหา
ความกว้างช่องสลิตนี้ในหน่วยเมตร
1. 1.03 x 10–4 2. 2.06 x 10–4 3. 1.03 x 10–6 4. 2.06 x 10–6
12.3 เกรตติง
27. เกรตติงมี 10000 ช่องต่อเซนติเมตร ถ้าฉายแสงความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับเกรตติง
แถบสว่างที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ จะอยูห่ ่างจากแนวกลางเป็ นมุม 30o ค่า  มีค่าเท่าใด
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
28. เกรตติงชนิ ด 6000 ช่ อง/เซนติ เมตร มีแสงตกผ่านทาให้เกิดแถบที่สองเบนทามุ ม 37o กับ
แถบสว่างกลาง ถ้าระยะห่ างจากเกรตติงไปยังฉากเท่ากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่น
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
29(En 31) แสงสี ขาวที่ผา่ นเกรตติงที่มีจานวนช่องเท่ากับ 120 ช่องต่อความยาว 1 เซนติเมตร
ถ้าต้องการให้แสงสี เขียว ( ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ) เลี้ ยวเบนห่ างจากแถบสี ขาว
0.6 เซนติเมตร จะต้องวางฉากรับให้ห่างจากเกรตติงอย่างน้อยเป็ นระยะทางกี่เซนติเมตร
1. 50.0 2. 60.0 3. 66.7 4. 100.0
30. ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ส่ องผ่านเกรตติงอันหนึ่ งทาให้แถบสว่างที่ 2
เบนไปเป็ นมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจานวนช่อง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้
1. 2500 2. 3000 3. 4500 4. 5000
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
31. แสงความช่ วงคลื่ น 600 นาโนเมตร พุ่งผ่านเกรตติ ง พบว่าแนวแถบสว่างที่ 4 ทามุ มกับ
แนวแถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 37 องศา จงหาจานวนช่องต่อมิลลิเมตรของเกรตติงที่ใช้น้ ี
1. 250 2. 300 3. 450 4. 500
32. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงที่มีจานวนเส้น 5000 เส้นต่อ
เซนติเมตร ระหว่างมุม  = 0o ถึง  = 90o จะมีตาแหน่งสว่างได้กี่ตาแหน่ง
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
33. เกรตติงอันหนึ่งชนิด 4000 ช่อง/เซนติเมตร ถ้าให้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
ส่ องผ่านจะเห็นแถบสว่างทั้งหมดกี่แถบ
1. 4 2. 5 3. 8 4. 9
34. ให้คลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ตกกระทบช่องเปิ ดซึ่งกว้าง 6 เซนติเมตร
ในแนวตั้งฉากกับช่องเปิ ดจงหาแนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
1. 5 แนว 2. 6 แนว 3. 7 แนว 4. 8 แนว
35. คลื่นน้ าความยาวคลื่นเท่าใด ที่จะได้เกิดบัพทั้งหมด 6 บัพรอบแนวกึ่งกลางของช่องเปิ ด
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผา่ นช่องเปิ ดที่มีความกว้าง 3 เซนติเมตร
1. 0.6 เซนติเมตร 2. 1.0 เซนติเมตร
3. 1.2 เซนติเมตร 4. 1.4 เซนติเมตร
36. ถ้าฉายแสงความยาวคลื่ น 500 และ 600 นาโนเมตร ผ่านตั้งฉากกับเกรตติ งไปยังฉาก
จงหาลาดับของแสงสี ท้ งั สองที่ทาให้ริ้วสว่างซ้อนกันเป็ นครั้งแรกจากแนวกลาง
1. A6 สี แรกซ้อน A5 สี สอง 2. A4 สี แรกซ้อน A2 สี สอง
3. A5 สี แรกซ้อน A6 สี สอง 4. A2 สี แรกซ้อน A4 สี สอง

12.4 การกระเจิงของแสง

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4.ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.



19

You might also like