You are on page 1of 11

ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.

ต้ น

ทัศนอุปกรณ์
การเคลื่อนที่ของแสง : แสงเป็ นได้ ท้งั คลืน่ และอนุภาค เมือ่ แหล่ งกาเนิดเช่ น ดวงอาทิตย์ หลอดไฟ ตะเกียง แสงจะ
เคลือ่ นทีอ่ อกจาก แหล่ งกาเนิดเป็ นเส้ นตรงทุกเส้ นทาง และใช้ รังสี ของแสง แสดงทิศทางการเคลือ่ นทีข่ องแสง

1.ภาพในกระจกเงาราบ

S = ระยะวัตถุ วัดจากวัตถุถงึ กระจกในแนวตังฉากกั


้ บกระจก

S’ = ระยะภาพ วัดจากภาพถึงกระจกในแนวตังฉากกั
้ บกระจก

y = ความสูง หรื อขนาดของวัตถุ

y’ = ความสูง หรื อขนาดของภาพ

สรุ ป

1. ระยะภาพ (s’) เท่ากับระยะวัตถุ (s)

2.ขนาดภาพ (y’) เท่ากับขนาดวัตถุ (y)

3.ภาพที่เกิดขึ้นเป็ นภาพเสมือน อยูห่ ลังกระจก สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า ไม่สามารถเอาฉากมารับได้


ภาพเสมือนไม่ได้เกิดจากแนวแสงตัดกันจริ งๆ แต่เกิดจากการต่อแนวรังสี สะท้อนมาตัดกันที่หลังกระจก
1
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

1.ชายคนหนึ่งมีความสูง 180 เซนติเมตร เขาต้องการซื้อกระจกเงาราบมาใช้ที่บา้ น นักเรี ยนช่วยแนะนา


ชายคนนี้วา่ เขาควรซื้อกระจกเงาที่มีความสูงเท่าไร โดยที่เขายังสามารถดูภาพจากกระจกได้ท้ งั ตัวและ
เพื่อเป็ นการประหยัดเงินเขาด้วย

หลักการ

CD คือ ความสูงของกระจกที่จาเป็ นเพื่อมองเห็นภาพให้ได้เต็มรู ปความสูงเดิมคือ AB

2
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

2.ภาพจากการสะท้ อนของแสงบนกระจกผิวโค้ งทรงกลม

C เป็ นศูนย์กลางความโค้งของกระจก

R เป็ นรัศมีความโค้งของกระจก

CV เป็ นเส้นแกนมุขสาคัญ

F เป็ นจุดโฟกัส คือจุดที่แนวรังสี สะท้อน ตัดแกนมุขสาคัญโดยแนวรังสี ตกกระทบ ขนานเส้นแกนมุขสาคัญ


R
f เป็ นความยาวโฟกัส โดยที่ f 
2

3
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

ภาพที่เกิดจากกระจกเว้า
1) เมื่อ S = 

เกิดภาพจริงขนาดเล็กที่จดุ โฟกัส

2) เมื่อ S > R

เกิดภาพจริงหัวหลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ

3) เมื่อ S = R

เกิดภาพจริงหัวหลับขนาดเท่ากับวัตถุ

4) เมื่อ f < S < R

เกิดภาพจริงหัวหลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

5) เมื่อ S = f

รังสีสะท้ อนขนานกันเกิดภาพที่ระยะอนันต์

6) เมื่อ S < f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดใหญ่
้ กว่าวัตถุ

7) เมื่อ วัตถุอยูต่ ิดกระจก

ได้ ภาพเสมือนหัวตังขนาด
้ ขนาดเท่าวัตถุ อยูท่ ี่เดียวกับวัถตุ
4
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

ภาพที่เกิดจากกระจกนูน
1) เมื่อ S = 

เกิดภาพเสมือนขนาดเล็กที่จดุ
โฟกัส
2) เมื่อ S > R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

3) เมื่อ S = R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

4) เมื่อ f < S < R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

5) เมื่อ S = f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

6) เมื่อ S < f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

7) เมื่อ วัตถุอยูต่ ิดกระจก

ได้ ภาพเสมือนหัวตังขนาด
้ ขนาดเท่าวัตถุ อยูท่ ี่เดียวกับวัถตุ
5
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

สรุ ป

1.ภาพจากกระจกเว้า เกิดได้ท้ งั ภาพจริ งและภาพเสมือน ภาพจริ งมีหลายขนาด ส่ วนภาพเสมือนจะมีขนาดใหญ่


กว่าวัตถุเสมอ ยกเว้นวางวัตถุชิดกระจกจะได้ภาพเสมือน ขนาดเท่าวัตถุ

2.ภาพจากกระจกนูน เกิดภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ ยกเว้นวางวัตถุชิดกระจก จะได้ภาพเสมือนขนาด


เท่าวัตถุ

3.การหักเหของแสงเมื่อผ่ านเลนส์ บาง

เลนส์ทาด้วยแก้วหรื อพลาสติกที่มีผวิ โค้งทรงกลมสองข้างไม่ขนานกัน มี 2 ชนิดคือ เลนส์นูน


และเลนส์เว้า เลนส์บางเป็ นเลนส์ที่มีความหนาน้อยเมื่อเทียบกับระยะวัตถุ ระยะภาพ และรัศมีความโค้ง
ของทรงกลม ผิวโค้งทรงกลมทั้งสองเลนส์จะอยูใ่ กล้กนั มาก

C1 และ C2 เป็ นศูนย์กลางความโค้ งของผิวทังสอง


O เรี ยกว่า ศูนย์กลางเลนส์ ซึง่ รังสีตกกระทบที่ผา่ นจุด O แนวรังสีหกั เหที่ออกจากเลนส์จะอยูใ่ นแนวเดิม ไม่เบนออกไป

F1 และ F2 เป็ นจุดโฟกัส คือ จุดที่แนวรังสีหกั เห ตัดแกนมุขสาคัญ โดยแนวรังสีตกกระทบขนานแกนมุขสาคัญ

f เป็ นความยาวโฟกัส
6
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

ภาพที่เกิดจากเลนส์นูน
1) เมื่อ S = 

เกิดภาพจริงขนาดเล็กที่จดุ โฟกัสด้ านหลังเลนส์

2) เมื่อ S > R

เกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ

3) เมื่อ S = R

เกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กเท่ากับวัตถุ

4) เมื่อ f < S < R

เกิดภาพจริงหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

5) เมื่อ S = f

รังสีหกั เหขนานเกิดภาพที่ระยะอนันต์

6) เมื่อ S < f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดใหญ่
้ กว่าวัตถุ

7) เมื่อวางวัตถุไว้ชิดเลนส์ (S=0)

เกิดภาพเสมือนหัวตังเท่
้ าวัตถุอยูท่ ี่เดียวกับวัตถุ
7
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า
1) เมื่อ S = 

เกิดภาพเสมือนขนาดเล็กที่จดุ โฟกัสหน้ าเลนส์

2) เมื่อ S > R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

3) เมื่อ S = R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

4) เมื่อ f < S < R

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

5) เมื่อ S = f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

6) เมื่อ S < f

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเล็
้ กกว่าวัตถุ

7) เมื่อวางวัตถุไว้ชิดเลนส์ (S=0)

เกิดภาพเสมือนหัวตังขนาดเท่
้ าวัตถุอยูท่ ี่เดียวกับวัตถุ
8
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

ความสั มพันธ์ ระหว่ าง ความยาวโฟกัส(f) ระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ (s’)

กระจกโค้ง/เลนส์
f
1 1 1
  M 
s f
f s s'
y ' s'
M 
y s

การกาหนดเครื่องหมาย

สั งเกต***เลนส์ นูน=กระจกเว้ า ส่ วน เลนส์ เว้ า=กระจกนูน

9
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

2.กระจกเว้าบานหนึ่งมีรัศมีความโค้ง 40 cm จงหาตาแหน่ง ชนิด และกาลังขยายของภาพเมื่อวางวัตถุไว้


ณ ตาแหน่งที่ห่างจากกระจก ก)ไกลมากๆ ข) 40 cm

3.วางวัตถุหน้ากระจกโค้งที่มีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร พบว่าให้ภาพจริ ง กาลังขยาย 0.5 เท่า จงหา


ชนิดกระจก ตาแหน่งวัตถุและตาแหน่งภาพ

10
Page

Credit: www.DekPhysics.Com
ฟิ สิ กส์ พนื้ ฐานสาหรับ ม.ต้ น

4.ถ้าระยะจากเลนส์ตาถึงเรตินาของดวงตาชายคนหนึ่งมีค่า 2 เซนติเมตร พบว่าชายคนนี้จะอ่านหนังสื อ


ได้ชดั เจนเมื่อเขาให้หนังสื อห่างจากตัวเขาเป็ นระยะ 1 ฟุต จงหาว่าเลนส์ตาของชายคนนี้มีความยาวโฟกัส
เท่าไร

5.เครื่ องฉายสไลด์ ขนาด 2.5 x 3.5 cm ให้ภาพปรากฎชัดเจนบนจอภาพซึ่งห่างออกไป 5 m โดยเลนส์ฉาย


ภาพ มีความยาวโฟกัส 25 cm จะได้ภาพมีขนาดขยายเท่าไร และภาพมีพ้นื ที่เท่าไร

11
Page

Credit: www.DekPhysics.Com

You might also like