You are on page 1of 67

รวบรวมโดย...

::[MoDErN_SnC®]::
ฉบับหนังสือออนไลน์บน http://www.thai-mathpaper.net
ระบบจํานวนจริง
Real Number System
ฉบับหนังสือออนไลน์ http://www.thai-mathpaper.net
จัดทําเสร็จสิ้น วันที่ 26 สิงหาคม 2549

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นายศุภณัฐ ชัยดี , นามปากกา ::[MoDErN_SnC®]::

คํานํา
หนังสือออนไลน์เรื่อง ระบบจํานวนจริง เป็นเอกสารที่รวบรวมเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ สอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ในช่วงชั้นที่ 4 ภายในเอกสารประกอบไปด้วยเนื้อหาภาคบรรยาย
และมีตัวอย่างจํานวนหลายข้อเพื่อให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจในเนื้อหาเรื่องระบบจํานวนจริง ซึ่งเป็นพื้นฐานใน
การเรียนคณิตศาสตร์เรื่องต่อ ๆ ไป นอกจากนั้น ผู้จัดทําจัดรูปแบบให้อ่านได้ง่าย ซึ่งเนื้อหาสาระได้รวบรวม
จากเอกสารต่า ง ๆ หลายๆ แหล่งข้อ มูล ที่เชื่ อถือ ได้ เพื่อ ให้ข้อ มูล เกิ ด ความสมบูรณ์มากที่ สุด และเกิด
ประโยชน์ต่อการศึกษาสูงสุด ซึ่งได้มุ่งเน้นกระบวนการการให้เหตุผลและการพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ อันเป็น
พื้นฐานของการศึกษาคณิตศาสตร์ขั้นสูงต่อไป ซึ่งเอกสารชุดนี้ได้รวบรวมมาตั้งแต่ปี 2548 โดยผ่านการใช้
งานในการสอนรุ่นน้องมา 2 ปีการศึกษา และได้มีการปรับปรุงมาโดยตลอด จนได้เอกสารที่สําเร็จชุดนี้
ผู้จัดทําคาดหวังว่า หนังสือดังกล่าวจะก่อเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ศึกษาทุกท่าน อนึ่ง เอกสารฉบับนี้
เผยแพร่เพื่อประโยชน์การศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ทําเพื่อการค้าหรือทางพาณิชย์ หากเอกสารฉบับนี้มี
ข้อบกพร่องประการใด ก็ขออภัยมา ณ.ที่นี้ด้วย และสามารถแจ้งข้อผิดพลาดเพื่อนําไปแก้ไขต่อไปได้ผ่านทาง
E-mail Address : schaidee@gmail.com จักเป็นพระคุณอย่างยิ่ง
คุณงามความดีของหนังสือเล่มนี้ ขอมอบให้แก่บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติสนิทมิตรสหายทุกท่าน

นายศุภณัฐ ชัยดี
26 สิงหาคม 2549
สารบัญ
เรื่อง หน้า
1. ประวัติความเป็นมาของจํานวนจริง 1
- ประวัติความเป็นมา 1
- แผนผังของระบบจํานวนจริง 2
2. จํานวนตรรกยะ 2
3. จํานวนอตรรกยะ 4
4. สมบัติของระบบจํานวนจริง 5
- การเท่ากันในระบบจํานวนจริง 5
- สมบัติของศูนย์ 6
- การบวกและการคูณในระบบจํานวนจริง 8
- การลบและการหารในระบบจํานวนจริง 12
- แบบทดสอบ ระบบจํานวนจริง 15
- การสร้างตัวดําเนินการของระบบจํานวนจริง 16
- ตัวอย่างข้อสอบ 18
5. พหุนาม 20
- พหุนามและการแยกตัวประกอบ 20
- ทฤษฎีบทเศษเหลือ 20
- ทฤษฎีบทตัวประกอบ 21
- ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ 23
- การหารสังเคราะห์ 23
- สมการพหุนาม 26
- สมการพหุนามกําลังสอง 26
- สมการพหุนามดีกรีมากกว่าสอง 27
- ความสัมพันธ์ระหว่างรากของพหุนาม 28
- สมการพหุนามที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น 30
- ตัวอย่างข้อสอบ 34
6. สมบัติของการไม่เท่ากัน 35
- สมบัติไตรวิภาค และสมบัติการไม่เท่ากัน 36
7. ช่วงและการแก้อสมการ 41
- ช่วง 41
- การแก้อสมการ 42
- การแก้อสมการโดยอาศัยวงเล็บ 48
- ตัวอย่างข้อสอบ 50
8. ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง 52
- สมบัติพื้นฐานของค่าสัมบูรณ์ 52
- การแก้สมการค่าสัมบูรณ์ 53
- การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ 56
- ตัวอย่างข้อสอบ 58
9. สัจพจน์ความบริบูรณ์ 60
10. บรรณานุกรม 63

22
ค่า π เป็นจํานวนอตรรกยะ ค่าประมาณ 3.14 หรือ ประมาณ
7
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 1

[ ระบบจํานวนจริง : Real Number System ]

¤ÇÒÁe»š¹ÁÒ¢o§¨íҹǹ¨Ãi§
เมื่อกล่าวถึงระบบจํานวนจริง เราคงจะทราบว่า ระบบจํานวนจริงมีวิวัฒนาการต่าง ๆ มาช้านาน ตั้งแต่จํานวนนับ หรือที่
เราเรียกว่าจํานวนธรรมชาติ ซึ่งก็เคยได้ศึกษากันตั้งแต่เกิดมาแล้ว เมื่อศึกษาถึงระดับประถมศึกษาตอนปลายก็เริ่มรู้จักกับ
เศษส่วน ทศนิยม อัตราส่วนและร้อยละ เมื่อเติบโตขึ้นมาจนถึงชั้นมัธยมศึกษา ก็เริ่มเรียนรู้ระบบจํานวนที่เป็นจํานวนเต็มลบ
และจัดแบ่งจํานวนเหล่านี้เป็นระบบย่อย และเราก็ยังรู้จักกับจํานวนอตรรกยะซึ่งเขียนอยู่ในรูปเศษส่วนไม่ได้อีกด้วย
จํานวนธรรมชาติ อาจหมายถึง จํานวนเต็ม บวก (1, 2, 3, 4, ...) หรือ จํานวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4, ...)
จํานวนธรรมชาติมีการใช้งานหลักอยู่สองประการ กล่าวคือเราสามารถใช้จํานวนธรรมชาติในการนับ ("มีส้มอยู่ 3 ผลบนโต๊ะ")
หรือเราอาจใช้สําหรับการจัดอันดับ ("เมืองนี้เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ในประเทศ")
จํานวนเต็ม ประกอบไปด้วยจํานวนธรรมชาติ (1, 2, 3, …) จํานวนลบ (-1, -2, -3, ...) และจํานวนศูนย์ เซตของ
จํานวนเต็มมักเขียนอยู่ในรูป Z (หรือ ในรูปตัวใหญ่บนกระดานดํา ), ซึ่งมาจากคําว่า Zahlen (ภาษาเยอรมัน). สาขาของ
คณิตศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบจํานวนเต็มนี้คือ ทฤษฎีจํานวน
ในทางคณิตศาสตร์, จํานวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน) คืออัตราส่วนของจํานวนเต็มสองจํานวน มักเขียนอยู่ในรูป
a
เศษส่วน เมื่อ a และ b เป็นจํานวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์
b
3 2 1
จํานวนตรรกยะแต่ละจํานวนสามารถเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น = = รูปแบบที่เรียกว่า
6 4 2
เศษส่วนอย่างต่ํา a และ b นั้น a และ b จะต้องไม่มีตัวหารร่วม และจํานวนตรรกยะทุกจํานวนสามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน
อย่างต่ํานี้
ทศนิยม เป็นรูปแบบที่แผ่ขยายออกมา และต่อเนื่องไปเรื่อยๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ยกเว้นกรณีซ้ําศูนย์ เราสามารถละ
โดยไม่ต้องเขียนได้) ข้อความนี้เป็นจริงสําหรับจํานวนตรรกยะทุกจํานวน
จํานวนจริงที่ไม่ใช่จํานวนตรรกยะ เรียกว่า จํานวนอตรรกยะ
ในทางคณิตศาสตร์ "...ตรรกยะ" หมายถึง เราจํากัดขอบเขตให้อยู่ในระบบจํานวนตรรกยะเท่านั้น เช่น พหุนามตรรกยะ
เซตของจํานวนตรรกยะทั้งหมดเราใช้สัญลักษณ์ Q หรือตัวใหญ่บนกระดานดํา โดยใช้เซตเงื่อนไข ได้ดังนี้ (ตัว
มาจากคําว่า Quotient คือ เป็นผลหารนั่นเอง)
⎧m ⎫
= ⎨ : m ∈ , n ∈ , n ≠ 0⎬
⎩n ⎭
จํานวนจริง คือ เซตของจํานวนที่เกิดจากการนําเซตของจํานวนตรรกยะ มารวมกันกับเซตของจํานวนอตรรกยะ

จํานวน (number) คือวัตถุนามธรรมที่ใช้สําหรับอธิบายปริมาณ จํานวนมีหลายแบบ จํานวนที่เป็นที่คุ้นเคยก็คือ


™ จํานวนธรรมชาติ : Natural Number (อาจเรียกว่าจํานวนเต็มบวก : Positive Integer, จํานวนนับ : Counting Number)
{1,2,3,...} ในหลายครั้งอาจจัดให้ 0 เป็นจํานวนธรรมชาติด้วย เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
™ ถ้าเรายอมให้มีจํานวนเต็มลบ : Negative Integer เราจะได้ จํานวนเต็ม หรือที่เขียนแทนด้วย
™ อัตราส่วนระหว่างจํานวนเต็มเรียกว่า จํานวนตรรกยะ : Rational Number หรือเศษส่วน โดยที่เซตของจํานวนตรรกยะ
ทั้งหมดเขียนแทนด้วย
™ ในการแสดงจํานวนด้วยระบบตัวเลขทศนิยม ถ้าเรารวม จํานวนที่มีจํานวนหลักไม่จํากัดและไม่จําเป็นต้องมีการซ้ํากันของ
ทศนิยม เข้าไปด้วย เราจะได้จํานวนจริง : Real Number หรือ
™ จํานวนจริงที่ไม่เป็นจํานวนตรรกยะเรียกว่า จํานวนอตรรกยะ : Irrational Number ′
™ จํานวนจริงสามารถขยายเป็น จํานวนเชิงซ้อน : Complex Number เป็นการขยายการหาคําตอบที่ได้จากสมการ
พีชคณิตที่ทุก ๆ พหุนาม ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจํานวนเชิงซ้อน เพื่อให้สามารถแยกตัวประกอบได้อย่างสมบูรณ์
™ จํานวนเชิงซ้อนที่เป็นรากหรือคําตอบของสมการพหุนาม ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจํานวนตรรกยะ เรียกว่า จํานวนเชิงพีชคณิต
™ จํานวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่จํานวนเชิงพีชคณิตเรียกว่า จํานวนอดิศัย : transcendental number

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 2

จํานวนเชิงซ้อน

จํานวนจริง จํานวนจินตภาพ

จํานวน จํานวน
อตรรกยะ ตรรกยะ

จํานวนเต็ม จํานวนไม่เต็ม

จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ จํานวนเต็มศูนย์ เศษส่วน ทศนิยม

ทศนิยมรู้จบ ทศนิยมไม่รู้จบ

ทศนิยมไม่รู้จบ ทศนิยมไม่รู้จบ
แบบซ้ํา ไม่ซา้ํ
ทศนิยมไม่รู้จบไม่ซ้ํา จัดอยู่ในจํานวนอตรรกยะ ในที่นี้ต้องการจัดกลุ่มกับทศนิยมจึงอยู่ในกลุ่มอตรรกยะ

¨íҹǹµÃáÂa
จากจํานวนนิยามของจํานวนตรรกยะ เราพบว่า มีระบบจํานวนย่อยที่เกี่ยวข้องกับจํานวนตรรกยะ ดังนี้
- จํานวนเต็ม : Integer ได้แก่ {…, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, …}
3 22 14 2
- เศษส่วน : Fraction เช่น , , , 3 , ... เป็นต้น
2 7 9 3
การเขียนเศษส่วน เราจะเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ํา (Lowest term) กรณีที่ตัวเศษมากกว่าตัวส่วน เรา
จะเรียนในรูปเศษเกิน
- ทศนิยม : Decimal เช่น 3.2, 4.223, 1.0, 3.010203..., 0.3 เป็นต้น
เราสามารถแบ่งทศนิยมเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. ทศนิยมรู้จบ เช่น 3.2, 2.4 เป็นต้น
2. ทศนิยมไม่รู้จบ ซึ่งสามารถแบ่งทศนิยมไม่รู้จบเป็นอีก 2 กลุ่ม คือ
ทศนิยมไม่รู้จบแต่ซ้ํา : Repeating Decimal
ทศนิยมไม่รู้จบและไม่ซ้ํา : Non-Repeating Decimal
เราสามารถเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วนได้ โดยขอบเขตเฉพาะทศนิยมรู้จบ และทศนิยมที่ไม่รู้จบแต่ซ้ํา ในทํานองกลับกัน
เราสามารถเขียนเศษส่วนใด ๆ ให้เป็นทศนิยมได้

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 3

การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเป็นเศษส่วน
ทําได้โดยการแก้ระบบสมการ ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยนทศนิยมซ้ํา 0.11111... ให้เป็นเศษส่วน
วิธีทํา กําหนดให้ x = 0.111111... -----n
คูณ 10 ทั้งสมการ จะได้ว่า
10x = 1.11111... ----- o
o-n 9x = 1
1
x =
9
1
ดังนั้น เศษส่วนของ 0.111... คือ a
9
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยนทศนิยมซ้ํา 0.25252525... ให้เป็นเศษส่วน
วิธีทํา กําหนดให้ x = 0.25252525.... -----n
คูณ 100 ทั้งสมการ จะได้ว่า
100x = 25.25252525... ----- o
o-n 99x = 25
25
x =
99
25
ดังนั้น เศษส่วนของ 0.252525… คือ a
99

จากวิธีทําดังกล่าว จึงอาจสังเกตความสัมพันธ์ และสรุปออกมาเป็นสูตรได้ว่า


เศษ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมทังหมด – ตัวเลขทีรู้จบ
=
ส่วน 9 ซึ่งมีจํานวนเท่ากับทศนิยมทีไ่ ม่รู้จบ × 10n
เมื่อ n คือ จํานวนของตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่ไม่ซ้ํา

แบบฝึกหัดที่ 1
จงเปลี่ยนทศนิยมซ้ําต่อไปนี้ให้เป็นเศษส่วน
1. 0.42
2. 5.42
3. 14.0310
4. 38.9
5. 48.025
6. 37.24

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 4

¨íҹǹoµÃáÂa
จํานวนอตรรกยะ เป็นทศนิยมที่ไม่รู้จบและไม่ซ้ํา ทําให้เราไม่สามารถทราบค่าที่แน่นอนได้ ดังนั้น ในการใช้ค่าของมัน
จึงใช้เพียงแค่ค่าประมาณของมันเท่านั้น เช่น
2 ≈ 1.414, 3 ≈ 1.732, 5 ≈ 2.236 , π = 3.14159265... , e = 2.7182818...
ค่าประมาณของมันเราใช้ตามที่เราต้องการว่ากี่หลัก (ส่วนใหญ่จะใช้ 3 หลัก)
กรณีที่เราต้องการค่าของรากต่าง ๆ เรายังสามารถใช้เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือช่วยคิดคํานวณได้ด้วย โดย
ปัจจุบันสามารถหาเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ที่ราคาถูกได้แล้ว
22
สําหรับค่า π ที่เท่ากับ นั้น เป็นเพียงแค่ค่าประมาณเท่านั้นเพื่อให้ช่วยในการคํานวณสะดวกขึ้น.
7
อนึ่ง เทคโนโลยีปัจจุบันเกื้อหนุนให้มีการหาความรู้ทางคณิตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น มีความพยายามที่จะหาค่าของ π ที่เป็น
ทศนิยมรู้จบ ผู้สนใจลองไปดูได้ที่เว็บไซต์ http://3.14.maxg.org/pi/pi2.html ได้

การแสดงค่ารากที่สองบนเส้นจํานวน
อาศัยเส้นจํานวนและทฤษฎีบทปีทากอรัสเข้าช่วย โดยเริ่มต้น เริ่มสร้าง 1 หน่วย โดยด้านประกอบมุมฉากอีกด้านหนึ่ง
ยาว 1 หน่วยเสมอ จะได้ด้านตรงข้ามมุมฉาก ใช้วงเวียนลากตัดเส้นจํานวน
1 หนวย

1 หนวย

B'

1 หนวย

E: (2.00, 0.00)
-0.5 A 0.5 1 B C 1.5 D 2E 2

C: (1.41, 0.00) D: (1.73, 0.00)

พบว่า จากการสร้างเป็นรูปขดหอย แสดง Fractal (รูปเรขาคณิตสาทิสรูป)


ความรู้เสริม รูปเรขาคณิตสาทิสรูป คือ วัตถุทางเรขาคณิต ที่มีคุณสมบัติ self-similar คือ ดูเหมือนกันไป หมด
(เมื่อพิจารณาจากแง่ใดแง่หนึ่ง) ไม่ว่าจะดูที่ระดับความละเอียด (โดยการส่องขยาย) หรือ สเกลใด ๆ ก็ตาม
นอกเหนือจากจํานวนจริงแล้ว ยังมีจํานวนอีกจํานวนหนึ่งซึ่งไม่เป็นจํานวนจริง เช่นจํานวนที่เป็นคําตอบของสมการ
x2 = −1
จํานวนเหล่านี้มีข้อแตกต่างไปจากจํานวนจริงประการหนึ่ง คือ ไม่มีลําดับความมากน้อย กล่าวคือ ไม่สามารถบอกได้ว่า
จํานวนนี้มากหรือน้อยกว่าจํานวนนั้น เซตของจํานวนดังกล่าวนี้เมือนํามายูเนียนกับเซตของจํานวนจริงจะได้เซตที่เรียกว่า เซตของ
จํานวนเชิงซ้อน ( Complex Numbers )
โดยเราจะกําหนดนิยามไว้ว่า −1 = i สําหรับรายละเอียดจะกล่าวในเรื่องจํานวนเชิงซ้อนต่อไป

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 5

ÊÁºaµi¢o§Ãaºº¨íҹǹ¨Ãi§
การเท่ากันในระบบจํานวนจริง
คุณสมบัติเหล่านี้เป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์
กําหนดให้ a, b และ c เป็นจํานวนจริงใด ๆ
1. สมบัติการสะท้อน (Reflexive Property)
a=a
2. สมบัติการสมมาตร (Symmetric Property)
ถ้า b = a แล้ว a = b
3. สมบัติถ่ายทอด (Transitive Property)
ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
4. สมบัติการแทนค่า (Substitution Property)
ถ้า a = b แล้ว จะสามารถแทน a ด้วย b ในข้อความที่เกี่ยวข้องกับ b ได้
5. สมบัติการบวกด้วยจํานวนที่เท่ากัน (Addition Property of equality)
ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c
6. สมบัติการคูณด้วยจํานวนที่เท่ากัน (Multiplication Property of equality)
ถ้า a = b แล้ว ac = bc

ตัวผกผัน (อินเวอร์ส) และเอกลักษณ์


¾ เอกลักษณ์การบวก
ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่มีคุณสมบัติว่า เมื่อบวกกับจํานวนใดๆ แล้ว ได้ผลลัพธ์เป็นจํานวนจริงจํานวนนั้น
ว่า “เอกลักษณ์การบวก”
5+ =5 24 + = 24 -7 + = -7
1 1
-36 + = -36 0+ =0 + =
4 4
(x+y) + = (x+y)
จํานวน ( ) คือ ……… ซึ่งเราจะเรียกว่าเป็น “เอกลักษณ์การบวก” นั่นเอง
¾ อินเวอร์สการบวก
ในระบบจํานวนจริง “อินเวอร์สการบวก”ของจํานวนจริงจํานวนใด หมายถึง จํานวนจริงจํานวนหนึ่งซึ่งบวกกับจํานวนจริง
จํานวนนั้น จะมีผลลัพธ์ เท่ากับ เอกลักษณ์การบวก
5+ =0 อินเวอร์สการบวกของ 5 คือ - 5
-7 + = 0 อินเวอร์สการบวกของ -7 คือ 7
0+ =0 อินเวอร์สการบวกของ 0 คือ ………….
1 1
+ = 0 อินเวอร์สการบวกของ คือ ………….
4 4
(x+y) + = 0 อินเวอร์สการบวกของ (x+y) คือ ………….
¾ เอกลักษณ์การคูณ
ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ ซึ่งมีคุณสมบัติว่าเมื่อคูณกับจํานวนจริงจํานวนใดก็ตาม ผลคูณจะ
เท่ากับจํานวนจริงจํานวนนั้นว่า เอกลักษณ์การคูณ
5× =5 24 × = 24
-7 × = -7 -36 × = -36
1 1
0× =0 × =
4 4
(x+y) × = (x+y)
จํานวน ( ) คือ ……… ซึ่งเราจะเรียกว่าเป็น “เอกลักษณ์การคูณ” นั่นเอง

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 6

¾ อินเวอร์สการคูณ
ในระบบจํานวนจริง อินเวอร์สการคูณของจํานวนจริง a ≠ 0 หมายถึง จํานวนจริงที่คูณกับ a แล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1
( เอกลักษณ์การคูณ )
1
5× =1 อินเวอร์สการคูณของ 5 คือ
5
1
24 × = 1 อินเวอร์สการคูณของ 24 คือ
24
-7 × = 1 อินเวอร์สการคูณของ -7 คือ ………….
-36 × = 1 อินเวอร์สการคูณของ -36 คือ ………….
0× =1 อินเวอร์สการคูณของ 0 คือ ………….
1 1
× =1 อินเวอร์สการคูณของ คือ ………….
4 4
(x+y) × = 1 อินเวอร์สการคูณของ (x+y) คือ ………….

สมบัติของศูนย์
กําหนดให้ a เป็นจํานวนจริงใด ๆ
1. a⋅0 = 0
0
2. =0 ;a≠0
a
3. 0n = 0 ; n ∈ +
4. a + a =a ; a = 0 เท่านั้น
5. a + 0 =a =0+a
a
6. ไม่นิยาม
0
7. 00 ไม่นิยาม
0
8. ไม่นิยาม
0
9. อินเวอร์สการบวกของ 0 คือ 0
10. อินเวอร์สการคูณของ 0 คือ ไม่มี

เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้ศูนย์เป็นตัวหาร ?
กําหนดให้ a ≠ b
a a
สมมติว่า หาค่าได้ และ =x ……………………..(1)
0 0
b b
ในทํานองเดียวกัน สมมติว่า หาค่าได้ และ =y ……………………..(2)
0 0
จาก (1) จะได้ว่า a = 0⋅x
a =0
จาก (2) จะได้ว่า b = 0⋅y
b =0
ดังนั้น a =b
ซึ่งขัดแย้งกับทีก่ ําหนดไว้ตอนแรก ดังนั้น ไม่ใช้ 0 เป็นตัวหาร
การพิสูจน์รูปแบบนี้เรียกว่า การพิสูจน์แบบหาข้อขัดแย้ง จะได้ศึกษาอย่างละเอียดในภายหลัง

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 7

จับผิดคณิตศาสตร์
นายบอยต้องการพิสูจน์ให้เห็นว่า 1 = 2 เขาจึงเขียนพิสูจน์ดังนี้
สมมติให้ A = B
A =B
B2 = AB ∵ A=B
2 2 2
A –B = A – AB
(A + B)(A – B) = A(A – B)
หารด้วย A – B ทั้งสองข้าง
(A + B) =A
2A =A ∵ A=B
2 =1
ข้อนี้นายบอยพิสูจน์ถูกหรือไม่ หากไม่ถูกต้องแล้ว เขาพิสูจน์ผิดในส่วนใด?

สังยุคของกรณฑ์
ก่อนที่จะรู้จักสังยุค ขอให้ทําความรู้จักกับกรณฑ์เสียก่อน ซึ่งนิยามและความหมายเราคงจะทราบกันดีมาพอสมควรแล้ว
สําหรับรายละเอียดจะกล่าวอีกครั้งหนึ่งในเรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ

สมบัติของกรณฑ์
1. n
an = a เมื่อ n เป็นจํานวนเต็มคู่
2. n
an = a เมื่อ n เป็นจํานวนเต็มคี่
3. a จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ a ≥ 0
4. ab = a × b ก็ต่อเมื่อ a,b ≥ 0
a a
5. = ก็ต่อเมื่อ a ≥ 0, b > 0
b b
6. n
1=1

จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเป็นเท็จ กําหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็นจํานวนจริง
.............. 1. 72 = 7
.............. 2. (−8)2 = −8
.............. 3. 3
−8 = −2
.............. 4. 4
−54 = 5
.............. 5. 8
(−3)8 = 3
.............. 6. (−2)(−7) = −2 × −7

.............. 7. x2 = x
.............. 8. (1 − x)2 = 1 − x
−8 −8
.............. 9. =
−2 −2
.............. 10. if x2 = 5 then x = 5

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 8

สังยุคของกรณฑ์ (Conjugate)
สังยุคของ a + b คือ a-b
สังยุคของ a - b คือ a+b
ตัวอย่างเช่น
สังยุคของ 5 − 3 คือ ..................................................
สังยุคของ 2 3 + 2 คือ ..................................................
สังยุคของ − 2 − 7 คือ ..................................................
สังยุคของ 4 + 8 คือ ..................................................
สังยุคของ −3 2 + 3 + 5 คือ ..................................................
สังยุคของ 2 5 − 2 + 3 7 คือ ..................................................
สังยุคของ 8 คือ ..................................................
สังยุคของ −11 คือ ..................................................
สังยุคนั้นมีประโยชน์ในการทําให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ โดยการคูณกรณฑ์ทั้งเศษและส่วน ขอให้พิจารณาตามตัวอย่าง
15 15 2 15 2
ตัวอย่าง = × =
2 2 2 2
3 3 2+ 3
= ×
2− 3 2− 3 2+ 3
3( 2 + 3)
=
( 2)2 − ( 3)2
3( 2 + 3)
=
4−3
= 3 2 +3 3
หากตัวส่วนเป็น 3 พจน์ เราต้องเลือกจัดกลุ่มให้เหมาะสม ซึ่งจะกล่าวอีกครั้งในเรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็น
จํานวนตรรกยะ

การบวกและการคูณจํานวนจริง
ระบบจํานวนจริงประกอบด้วยเซตของจํานวนจริง กับการบวกและการคูณ ซึ่งมีสมบัติดังนี้
กําหนดให้ a,b และ c เป็นจํานวนจริงใด ๆ
สมบัติ การบวก การคูณ
ปิด 1. a + b ∈ 2. ab ∈
การสลับที่ 3. a + b = b + a 4. ab = ba
การเปลี่ยนหมู่ 5. (a + b) + c = a + (b + c) 6. (ab)c = a(bc)
การมีเอกลักษณ์ 7. มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง 0 + a = a = a + 0 8. มีจํานวนจริง 1, 1 ≠ 0 ซึ่ง 1⋅a = a = a⋅1
การมีอินเวอร์ส 9. สําหรับ a จะมีจํานวน –a โดยที่ 10. สําหรับ a ที่ไม่เป็น 0 จะมีจํานวนจริง a-1
(-a) + a = 0 = a + (-a) เรียก –a ว่า โดยที่ a-1⋅a = 1 = a⋅ a-1 เรียกว่าอินเวอร์ส
อินเวอร์สการบวก หรือ ตัวผกผันการบวก การคูณหรือตัวผกผันการคูณของ a
ของ a
การแจกแจง a(b + c) = ab + ac
เซตใดที่มีคุณสมบัติครบทั้ง 11 ข้อเราจะเรียกว่า ฟิลด์ (Field) หรือ สนามของเซตนั้น

ซึ่งจากสมบัติดังกล่าว สามารถนํามาสรุปทฤษฎีบทต่อไปนี้ได้
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 9

ทฤษฎีบทที่ 1 กฎการตัดออกสําหรับการบวก
เมื่อ a, b และ c เป็นจํานวนจริงใด ๆ
(i) ถ้า a + c = b + c แล้ว a = b
(ii) ถ้า a + b = a + c แล้ว b = c
พิสูจน์ (i) a+c =b+c กําหนดให้
- c + (a + c) = - c + (b + c) การบวกด้วยจํานวนที่เท่ากันทางซ้ายมือ
(- c + c) + a = (- c + c) + b การเปลี่ยนกลุ่มการบวก
0+a =0+b อินเวอร์สการบวก
a =b เอกลักษณ์การบวก
(ii) พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ (i)
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
ข้อสังเกต ในการให้เหตุผลประกอบการพิสูจน์ พยายามเขียนให้ละเอียด เช่นการบวกด้วยจํานวนที่เท่ากัน ต้องระบุว่า
ทางขวาหรือทางซ้าย ถึงแม้ว่าคูณทางไหนก็จะไม่เปลี่ยนผลไป เพราะหากศึกษาในเรื่องอื่น ๆ เช่น เมตริกซ์
หรือความสัมพันธ์ หากสลับทีก่ ัน ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที
ทฤษฎีบทที่ 2 กฎการตัดออกสําหรับการคูณ
เมื่อ a, b และ c เป็นจํานวนจริงใด ๆ
(i) ถ้า a⋅c = b⋅c และ c ≠ 0 แล้ว a = b
(ii) ถ้า a⋅b = a⋅c และ c ≠ 0 แล้ว b = c
พิสูจน์ (i) a⋅c = b⋅c กําหนดให้
c (a⋅c) = c (b⋅c)
-1 -1
การคูณด้วยจํานวนที่เท่ากันทางซ้ายมือ
(c ⋅c) ⋅a = (c ⋅c) ⋅b
-1 -1
การเปลี่ยนกลุ่มการคูณ
1⋅a = 1⋅b อินเวอร์สการคูณ
a=b เอกลักษ์การคูณ
(ii) พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ (i)
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
ทฤษฎีบทที่ 3 เมื่อ a เป็นจํานวนจริงใด ๆ แล้ว a⋅0 = 0
พิสูจน์ 0+0 =0 เอกลักษณ์การบวก
a(0 + 0) = a⋅0 การคูณด้วยจํานวนที่เท่ากันทางซ้ายมือ
(a⋅0) + (a⋅0) = a⋅0 การแจกแจง
(a⋅0) + (a⋅0) = a⋅0 + 0 เอกลักษณ์การบวก
(a⋅0) =0 การตัดออกการบวก
ทฤษฎีบทที่ 4 เมื่อ a เป็นจํานวนจริงใด ๆ แล้ว (-1)a = -a
พิสูจน์ 1 + (-1) =0 อินเวอร์สการบวก
a⋅ [1 + (-1)] = a⋅0 การคูณด้วยจํานวนที่เท่ากันทางซ้ายมือ
[a⋅1] + [a⋅(-1)] = a⋅0 การแจกแจง
a + a⋅(-1) = a⋅0 เอกลักษณ์การคูณ
a + a⋅(-1) =0 จากทฤษฎีบทที่ 3
a + a⋅(-1) = a + (-a) อินเวอร์สการบวก
a⋅(-1) = -a การตัดออกการบวก
(-1)⋅a = -a การสลับที่การคูณ
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 10

ข้อสังเกต เราสามารถใช้ทฤษฎีบทก่อนหน้ามาอ้างอิงเพิ่มเติมได้

ตั้งแต่ทฤษฎีบทที่ 5 เป็นต้นไป ให้ผู้อ่านลองพิสูจน์เป็นแบบฝึกการให้เหตุผล


ทฤษฎีบทที่ 5 เมื่อ a,b เป็นจํานวนจริงใด ๆ ถ้า ab = 0 แล้ว a = b หรือ b = 0
พิสูจน์ 1. ถ้า a = 0 แล้ว ab = 0
2. ถ้า a ≠ 0 ∴ a-1 ∈R เมื่อ a ∈R
a⋅b = 0 …………………………………………
a (a⋅b) = a ⋅0
-1 -1
…………………………………………
(a ⋅a) ⋅b = a ⋅0
-1 -1
…………………………………………
1⋅b = a ⋅0 -1
…………………………………………
b =0 …………………………………………
ทฤษฎีบทที่ 6 เมื่อ a,b เป็นจํานวนจริงใด ๆ
1. a(- b) = -ab
2. (-a)b = -a⋅b
3. (-a)(-b) = ab
พิสูจน์ 1. a(- b) = -ab
(-1)a = -a …………………………………………
b[(-1)a] = b(-a) …………………………………………
[b(-1)]a = b(-a) …………………………………………
(-b)a = b(-a) …………………………………………
a(-b) = (-a)b …………………………………………
a(-b) = [(-1)a]b …………………………………………
a(-b) = (-1)[ab] …………………………………………
a(-b) = -(ab) …………………………………………
2. (-a)b = -ab พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ 1
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
3. (-a)(-b) = ab
a + (-a) =0 …………………………………………
(-b)[a + (-a)] = (-b) ⋅0 …………………………………………
(-b) ⋅a + (-b)(-a) = (-b) ⋅0 …………………………………………
-ba + (-b)(-a) = (-b) ⋅0 …………………………………………
-ab + (-a)(-b) = 0⋅ (-b) …………………………………………
-ab + (-a)(-b) = 0 …………………………………………
-ab + (-a)(-b) = ab + (-ab) …………………………………………
(-a)(-b) = ab …………………………………………
ทฤษฎีบทที่ 7 เมื่อ a เป็นจํานวนจริงใด ๆ แล้ว –(- a) = a
พิสูจน์ - (- a) = - (- a) + 0 …………………………………………
- (- a) = - (- a) + [(- a) + a] …………………………………………
- (- a) = [- (- a) + (- a)] + a …………………………………………
- (- a) =0+a …………………………………………
- (- a) =a …………………………………………

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 11

แบบฝึกหัดที่ 2
1. จงพิสูจน์ว่า
1. (-1)(-1) = 1
2. ถ้า x + a = a แล้ว x = 0
ถ้า a + x = a แล้ว x = 0
3. ถ้า x + a = 0 แล้ว x = -a
ถ้า a + x = 0 แล้ว x = -a
4. a(b + c) = ab + ac
5. ถ้า x⋅a = a แล้ว x = 1
พิสูจน์ x⋅a =a …………………………………………
a (x⋅a) = a ⋅a …………………………………………
-1 -1

x(a-1⋅a) = a-1⋅a …………………………………………


x⋅1 = 1 …………………………………………
x =1 …………………………………………
ถ้า ax = a แล้ว x = 1 พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับตอนบน
พิสูจน์ ..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
6. ถ้า x⋅a = 1 แล้ว x = a-1
พิสูจน์ x⋅a =1 …………………………………………
(x⋅a)⋅a = 1⋅a …………………………………………
-1 -1

x(a-1⋅a) = 1⋅a-1 …………………………………………


x⋅1 = 1⋅a-1 …………………………………………
x = a-1 …………………………………………
-1
ถ้า ax = 1 แล้ว x = a พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับตอนบน
พิสูจน์ ..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
7. สําหรับจํานวนจริง a ทุกตัวที่ไม่เท่ากับศูนย์ จะได้ (a-1)-1 = a
พิสูจน์ a⋅a-1 = 1 …………………………………………
a = (a-1)-1 …………………………………………
8. สําหรับจํานวนจริง a,b ใด ๆ ซึ่งไม่เท่ากับ จะได้ (ab)-1 = a-1⋅b-1
พิสูจน์ 1⋅1 = 1 …………………………………………
(a⋅a )(b⋅b ) = 1
-1 -1
…………………………………………
(a⋅b)(a ⋅b ) = 1
-1 -1
…………………………………………
(a ⋅b ) = (a⋅b)
-1 -1 -1
…………………………………………

การพิสูจน์ในแบบฝึกหัด สามารถใช้อ้างอิงกับการพิสูจน์อื่น ๆ ได้

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 12

พิจารณาการให้เหตุผลประกอบการหาผลบวกของจํานวนต่อไปนี้
การหาผลบวกของ 3 + 3 หาได้จาก
3 + 3 = (2 + 1) + 3 3=2+1
= 2 + (1 + 3) การเปลี่ยนกลุ่มการบวก
=2+4 1+3=3+1=4
= 1 + (1 + 4) 2 = 1 + 1 และการเปลี่ยนกลุ่มการบวก
=1+5 1+4=4+1=5
=1+6 1+5=5+1=6
ที่เราต้องเริ่มพิสูจน์จาก 1 เพราะว่า มนุษย์เรารู้จักจํานวน 1 ก่อนเป็นจํานวนแรก

การลบและการหารจํานวนจริง
บทนิยามการลบ เมื่อ a และ b เป็นจํานวนจริงใดๆ
a – b = a + (-b)
จากบทนิยาม a – b คือผลบวกของ a กับอินเวอร์สการบวกของ b นั่นเอง
จากนิยามการลบและสมบัติของจํานวนจริงทั้ง 11 ข้อ สามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทต่อไปนี้ได้
ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้า a, b และ c เป็นจํานวนจริงแล้ว
1. a(b – c) = ab – ac
2. (a – b)c = ac –bc
3. (-a)(b – c) = -ab + ac
พิสูจน์ 1. a(b – c) = ab – ac
b–c = b + (-c) นิยามการลบ
a(b – c) = a[b + (-c)] การคูณด้วยจํานวนที่เท่ากันทางด้านซ้าย
a(b – c) = ab + a(-c) การแจกแจง
a(b – c) = ab + (-ac) ทฤษฎีบทที่ 6 ข้อ 4
a(b – c) = ab - ac นิยามการลบ
2. (a – b)c = ac –bc พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ 1
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
3. (-a)(b – c) = -ab + ac พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ 1
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
บทนิยามการหาร เมื่อ a และ b เป็นจํานวนจริงใดๆ โดยที่ b ≠ 0
a
= a ⋅ b −1
b
a
จากบทนิยาม คือผลคูณของ a กับอินเวอร์สการคูณของ b นั่นเอง
b
1
เนื่องจาก = 1(b-1) นิยามการหาร
b
= b-1 เอกลักษณ์การคูณ
a
จาก = a⋅b-1 นิยามการหาร
b
a 1
จะได้ = a⋅ นิยามการหาร
b b
ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้า a ≠ 0 จะได้ a-1 ≠ 0

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 13

⎛a⎞
⎜b⎟
1. ⎝ ⎠
a
ทฤษฎีบทที่ 3 = เมื่อ b, c ≠ 0
c bc
a ac
2. = เมื่อ b, c ≠ 0
b bc
a c a
3. + = เมื่อ b, d ≠ 0
b d bc
⎛ a ⎞⎛ c ⎞ ac
4. ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ = เมื่อ b, d ≠ 0
⎝ b ⎠⎝ d ⎠ bd
−1
⎛b⎞ c
5. ⎜c⎟ = เมื่อ b, c ≠ 0
⎝ ⎠ b
a ac
6. = เมื่อ b, c ≠ 0
⎛b⎞ b
⎜c⎟
⎝ ⎠
⎛a⎞
⎜b⎟
7. ⎝ ⎠ =
ad
เมื่อ b, c, d ≠ 0
⎛c⎞ bc
⎜d⎟
⎝ ⎠

พิสูจน์ 1.
( ba ) =
a
เมื่อ b, c ≠ 0
c bc
( ba ) =
a ⋅ b −1
นิยามการหาร
c c
= (a⋅b-1) ⋅c-1 นิยามการหาร
= a⋅(b-1 ⋅c-1) การเปลี่ยนกลุ่มการคูณ
= a⋅(b⋅c)-1 แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อที่ 10
a
= นิยามการหาร
bc
a ac
2. = เมื่อ b, c ≠ 0
b bc
ac
= (ac)(bc)-1 นิยามการหาร
bc
= (ac)(b-1⋅c-1) แบบฝึกหัดที่ 2 ข้อที่ 10
= (a⋅b-1)(c⋅c-1) การเปลี่ยนกลุ่มการคูณ
= (a⋅b-1)⋅1 อินเวอร์สการคูณ
= a⋅b-1 เอกลักษณ์การคูณ
a
= นิยามการหาร
b
ตั้งแต่ข้อที่ 3 ให้ผู้อ่านลองพิสูจน์ด้วยตนเอง

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 14

a c a
3. + = เมื่อ b, d ≠ 0
b d bc
ad + bc
= (ad + bc)⋅(bd)-1 …………………………………………
bd
(ad)⋅(bd)-1+ (bc)⋅(bd)-1
= …………………………………………
(ad)⋅(b-1d-1) + (bc)⋅(b-1d-1)
= …………………………………………
(a⋅b-1)⋅(d⋅d-1) + (c⋅d-1)⋅(b⋅b-1)
= …………………………………………
(a⋅b-1)⋅1 + (c⋅d-1)⋅1
= …………………………………………
(a⋅b-1) + (c⋅d-1)
= …………………………………………
a c
= + …………………………………………
b d
⎛ a ⎞ ⎛ c ⎞ ac
4. ⎜ b ⎟ ⎜ d ⎟ = bd เมื่อ b, d ≠ 0
⎝ ⎠⎝ ⎠
⎛ a ⎞⎛ c ⎞
⎜ b ⎟ ⎜ d ⎟ = (a⋅b )⋅(c⋅d )
-1 -1
…………………………………………
⎝ ⎠⎝ ⎠
= (a⋅c) ⋅(b-1⋅d-1) …………………………………………
= (a⋅c) ⋅(b⋅d)-1 …………………………………………
ac
= …………………………………………
bd
−1
⎛b⎞ c
5. ⎜ ⎟ = เมื่อ b, c ≠ 0
⎝c⎠ b
−1
⎛b⎞
⎜c⎟ = (b⋅c-1)-1 …………………………………………
⎝ ⎠
= b-1(c-1)-1 …………………………………………
= b-1⋅c …………………………………………
= c⋅b-1 …………………………………………
c
= …………………………………………
b
a ac
6. = เมื่อ b, c ≠ 0
( bc ) b
a a
= …………………………………………
( bc ) b ⋅ c−1
= a⋅(b⋅c-1) -1 …………………………………………
= a⋅b-1⋅(c-1)-1 …………………………………………
= a⋅b-1⋅c …………………………………………
= a⋅c⋅b-1 …………………………………………
= (a⋅c)⋅b-1 …………………………………………
ac
= …………………………………………
b
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 15

7.
( ba ) =
ad
เมื่อ b, c, d ≠ 0
( dc ) bc
( ba ) =
a ⋅ b −1
…………………………………………
( dc ) c ⋅ d−1
= (a⋅b-1) ⋅(c⋅d-1)-1 …………………………………………
= (a⋅b-1) ⋅(c-1⋅d) …………………………………………
= (a⋅ d) ⋅( b-1⋅c-1) …………………………………………
= (a⋅ d) ⋅( b⋅c) -1 …………………………………………
ad
= …………………………………………
bc

แบบทดสอบเรื่อง สมบัติของระบบจํานวนจริง
ตอนที่ 1 ให้เหตุผลการพิสูจน์ : อภิชญาภาได้โพยมาจากเทวดาองค์หนึ่ง ซึ่งเทวดาได้ให้แต่เหตุผลการพิสูจน์ กับ
ข้อความเพียงบางข้อ ให้เติมข้อความที่ขาดหายไป แล้วบอกว่า การพิสูจน์นี้ พิสูจน์ทฤษฎีอะไร เมื่อกําหนดตัว
แปร เป็น a และ b เพียงสองตัวเท่านั้น
a + (-a) =0 อินเวอร์สการบวก
....................................................................... การคูณด้วยจํานวนที่เท่ากันทางด้านซ้าย
....................................................................... แจกแจง
- ba + (-b)(-a) = (-b)⋅0 .......................................................................
....................................................................... การสลับที่การคูณ
....................................................................... ทฤษฎีบทข้อที่ 3
....................................................................... อินเวอร์สการบวก
....................................................................... การตัดออกการบวกทางด้านซ้าย
สรุป ทฤษฎีบทนี้ กล่าวไว้ว่า...........................................................................................................

ตอนที่ 2 จับผิดคณิตศาสตร์ : ให้เติมเหตุผลโดยใช้สมบัติของระบบจํานวนจริง ถ้าผิดที่บรรทัดใดให้หยุดพิสูจน์ที่บรรทัด


นั้น แล้วให้เหตุผลที่บรรทัดนั้นว่า ผิดตรงไหนเพราะอะไร....หลังจากบรรทัดที่อธิบายเหตุผล ให้ทําเครื่องหมาย
“-“ จนสิ้นสุดการพิสูจน์
นายบ๊อบต้องการพิสูจน์ให้เห็นว่า 0 = 2 โดยเขาสมมติให้ a = b
ข้อความ เหตุผล
1. a = b
2. a - b - 2 = a - b - 2
3. a(a - b - 2) = b(a - b - 2)
4. a2 - ab - 2a = ab - b2 - 2b
5. a2 - ab - 2a + 2a = ab - b2 - 2b + 2a
6. a2 - ab + (- 2a + 2a) = ab - b2 - 2b + 2a
7. a2 - ab + 0 = ab - b2 - 2b + 2a
8. a2 - ab = ab - b2 - 2b + 2a
8. a2 - ab = (ab + 2a) + (- b2 - 2b)
9. a(a - b) = a(b + 2) - b(b + 2)
10. a(a - b) = (a - b)(b + 2)
11. a = b + 2
12. b = b + 2
13. ดังนั้น 0 = 2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 16

การสร้างตัวดําเนินการของระบบจํานวนจริง
ระบบจํานวนจริงมีตัวดําเนินการ (Operation) ของจํานวนสองจํานวนพื้นฐานคือ บวก (+), ลบ (-), คูณ (×), หาร
(÷) หรือกระทั่งการยกกําลังและถอดราก ซึ่งเราสามารถกําหนดตัวดําเนินการได้เอง เป็นสัญลักษณ์ใดๆก็ได้ โดยจะมีการ
กําหนดนิยามจากตัวดําเนินการพื้นฐานที่มีอยู่
กําหนดให้  เป็นตัวดําเนินการของเซต A และ a, b, c, x ∈A เซต A กับ  จะมี
คุณสมบัติ ก็ต่อเมื่อ
1. คุณสมบัติปิด เมื่อนําสมาชิกในเซต A มากระทํากันภายใต้ตัวดําเนินการ  แล้วผลทีได้
จากการกระทํายังเป็นสมาชิกของเซต A กล่าวคือ a, b ∈A
2. คุณสมบัติสลับที่ ab=ba
3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม (a  b)  c = a  (b  c)
3. คุณสมบัติมีเอกลักษณ์ มีสมาชิกตัวเดียวที่ไป  กับสมาชิกอื่น ๆ แล้วผลที่ได้จากการกระทํา 
ได้เป็นสมาชิกตัวนั้นเสมอ
ถ้าให้ x เป็นสมาชิกเอกลักษณ์ของ  ในเซต A แล้ว
ax=xa=a
4. คุณสมบัติมีสมาชิกของตัวผกผัน ถ้าสมาชิกคู่หนึ่ง  แล้วได้ผลเป็นเอกลักษณ์ สมาชิกคู่นั้นเป็นตัวผกผันซึ่ง
กันและกัน
ถ้าให้ a-1 แทนตัวผกผันของ a และ x เป็นสมาชิกเอกลักษณ์แล้ว
a  a-1 = a-1  a = x
หมายเหตุ
1. สําหรับตัวดําเนินการหนึ่ง ๆ ถ้าสมาชิกมีเอกลักษณ์จะมีเพียงตัวเดียวเท่านั้น
2. คุณสมบัติการมีเอกลักษณ์ของตัวดําเนินการ ต้องมีคุณสมบัติการสลับที่ก่อน
3. ตัวดําเนินการทุกตัวดําเนินการไม่จําเป็นต้องมีสมาชิกเอกลักษณ์เสมอไป อาจมีหรือไม่ก็ได้
4. สมาชิกของเอกลักษณ์ของเซตใดต้องอยู่ในเซตนั้นด้วย ถ้าไม่อยู่ในเซตนั้นถือว่าไม่มีสมาชิกเอกลักษณ์
5. ตัวดําเนินการใดที่ไม่มีสมาชิกเอกลักษณ์จะไม่มีตัวผกผันสมาชิกในเซตนั้น

การดําเนินการเป็นการเกี่ยวโยงสมาชิกของเซตเข้าด้วยกัน ในบางครั้งอาจเป็นการเกี่ยวโยงสมาชิกของเซตหนึ่ง กับอีก


เซตหนึ่งก็ได้ การดําเนินการแบ่งออกเป็น
1. การดําเนินการเชิงเดี่ยว (Unary Operation) เป็นการดําเนินการที่เกี่ยวกับสมาชิกเพียงตัวเดียว ซึ่งอาจพิจารณา
การดําเนินการแบบเดี่ยวเป็นเครื่องๆ หนึ่งที่รับสมาชิกตัวหนึ่งเข้าไป แล้วผลิตสมาชิกตัวหนึ่งออกมา
2. การดําเนินการแบบคู่ (Binary Operation) เป็นการดําเนินการที่เกี่ยวกับสมาชิกสองตัวในเวลาเดียวกัน เราอาจ
พิจารณาการดําเนินการแบบคู่เป็นเครื่อง ๆ หนึ่งที่รับสมาชิกคู่หนึ่งเข้าไป แล้วผลิตสมาชิกอีกตัวออกมา

การหาค่าของตัวดําเนินการ
ตัวอย่าง : ถ้ากําหนดนิยามของ Operation เป็น a♥b = a + b + 2
จงหาค่าของ 1. 1♥3
2. -3♥2
3. b♥-b
วิธีทํา 1. จาก a♥b = a + b + 2
1♥3 = 1 + 3 + 2
=6
2. จาก a♥b = a + b + 2
-3♥2 = -3 + 2 + 2
=1
3. จาก a♥b = a + b + 2
b♥-b =b + (-b) + 2
=2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 17

เอกลักษณ์และตัวผกผันของตัวดําเนินการ
ก่อนอื่นเราต้องหาเอกลักษณ์ของตัวดําเนินการเสียก่อน แล้วจึงค่อยหาตัวผกผันของตัวดําเนินการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง : กําหนดนิยามของ Operation เป็น a♥b = a + b – 3 จงหาเอกลักษณ์และตัวผกผันของ 2
วิธีทํา การหาเอกลักษณ์ เราจะหาเอกลักษณ์ตัวใดตัวหนึ่งในนิยาม ซึ่งเมื่อหาออกมาแล้วค่าจะเท่ากันเสมอ
หาเอกลักษณ์ เมื่อ b เป็นเอกลักษณ์ของ a
สมมติให้ b แทนด้วย …
จากนิยามเอกลักษณ์ จะได้ว่า a♥… =a
แทนในนิยาม a +… - 3 =a
… =3
ดังนั้น ได้เอกลักษณ์เป็น 3
หาตัวผกผัน ให้ 2 ทํากับ z แล้วได้เอกลักษณ์ เท่ากับ 3
จากนิยามเอกลักษณ์ จะได้ว่า 2♥z =3
แทนในนิยาม 2+z-3 =3
z =4
ดังนั้น ได้ตัวผกผันของ 2 เท่ากับ 4

หมายเหตุ 1. ระมัดระวังว่า ตัวดําเนินการของเราต้องมีคุณสมบัติการสลับที่ด้วย


2. ถ้าโจทย์ต้องการให้หาตัวผกผัน โจทย์จะกําหนดจํานวนที่เราต้องการให้หาตัวผกผันเสมอ
3. ถ้าเอกลักษณ์ติดตัวแปร เราจะถือว่าไม่มีเอกลักษณ์ ส่งผลให้ไม่มีตัวผกผันด้วย

แบบฝึกหัดที่ 3

1. กําหนดให้ a, b และ c เป็นจํานวนจริงใดๆ และนิยาม Operation คือ ab = a × b – 3 จงหาค่า


1. 15 2. -2-4
3. 0-8 4. 10-1
1
5. a 6. (a+2)-a
a
2. จงแสดงให้เห็นว่า ตัวดําเนินการต่อไปนีม้ ีคุณสมบัติการสลับที่หรือไม่
1. ab = a × b + 3 2. aΘb = a + 2b
a−b
3. a&b = ab – 1 4. aΦb =
2
3. จงหาเอกลักษณ์ของการ Operation ต่อไปนี้
1. ab = a + b - 3
2. a.b = a+b - ab
3. a<b = ab - 2
4. จงหาอินเวอร์สของการ Operation ต่อไปนี้
1. ab = a + b - 3
จงหาอินเวอร์สการ  ของ 4
จงหาอินเวอร์สการ  ของ 0
2. a.b = a+b - ab
จงหาอินเวอร์สการ . ของ -3
จงหาอินเวอร์สการ . ของ 1
3. a<b = ab - 2
จงหาอินเวอร์สการ < ของ 0

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 18

5. กําหนด นิยาม Operation ดังตารางต่อไปนี้


E a b c

a a b c

b b c a

c c a b

จงหา 1. เอกลักษณ์ของ Operation E


2. อินเวอร์สการ E ของ b

6. กําหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็นจํานวนเต็มบวก กําหนด Operation “@” ดังนิยาม


2@3 =9 2 @ 4 = 12 3 @ 3 = 12
3 @ 5 = 20 4 @ 4 = 20 4 @ 7 = 35 …
จงหา 1. 12@ 10 2. a @ b

7. กําหนด x, y เป็นจํานวนเต็ม โดย x ⊕ y = x + y - 2


1. จงหาเอกลักษณ์ของ ⊕ 2. จงพิสูจน์ว่า ทุกจํานวนเต็ม x มีตัวผกผันเพียงตัวเดียว

ตัวอย่างข้อสอบ
โอลิมปิกวิชาการ สสวท.
1. ถ้า a ∗ b = 2a + 2b แล้ว เซตของจํานวนจริงกับ ∗ ไม่มีคุณสมบัติข้อใดบ้าง
I คุณสมบัติปิด
II คุณสมบัติเปลี่ยนกลุ่ม
III คุณสมบัติการสลับที่
IV คุณสมบัติการมีเอกลักษณ์
ก. I, II ข. II, III
ค. II, IV ง. III, IV
2. ถ้า x ∗(x – y) = x + y แล้ว 5 ∗ 3 เท่ากับเท่าไร
2 2

ข้อสอบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
3. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) มีจํานวนจริงบางจํานวนที่เป็นจํานวนตรรกยะและอตรรกยะ
(2) สามารถหาจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดแต่น้อยกว่า 3 ได้
(3) an = a เมื่อ n เป็นจํานวนเต็มบวก
n

ข้อใดสรุปถูกต้อง
ก. ถูก 1 ข้อ ข. ถูก 2 ข้อ ค. ถูกทุกข้อ ง. ผิดทุกข้อ
4. ให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง เมื่อ A ⊂ R และ A ≠ φ จงพิจารณาข้อต่อไปนี้
(1) เซต A มีสมบัติปิดการบวก
(2) เซต B มีสมบัติการสลับที่ได้ของการบวก
ข้อใดสรุปถูก
ก. ข้อ 1 ผิด ข. ข้อ 2 ผิด ค. ผิดทั้งหมด ง. ถูกทั้งหมด

5. ให้ a เป็นจํานวนตรรกยะ และ b เป็นจํานวนอตรรกยะ ข้อใดสรุปถูก


-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 19

5. ให้ a เป็นจํานวนตรรกยะ และ b เป็นจํานวนอตรรกยะ ข้อใดสรุปถูก


ก. ab เป็นจํานวนอตรรกยะ ข. a + b เป็นจํานวนอตรรกยะ
a
ค. ab เป็นจํานวนตรรกยะ ง. เป็นจํานวนอตรรกยะ
b
6. กําหนดให้ a Δ b = a + b + 4ab เมื่อ a, b ∈ R จงพิจารณา
(1) มีสมบัติปิดภายใต้ Δ
(2) มีสมบัติการสลับที่ภายใต้ Δ
(3) มีเอกลักษณ์ภายใต้ Δ เป็น 0
2
(4) มีอินเวอร์สของ 2 ภายใต้ Δ คือ −
9
ข้อใดสรุปถูกต้อง
ก. ถูก 1 ข้อ ข. ถูก 2 ข้อ ค. ถูก 3 ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
7. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) มีจํานวนตรรกยะที่เขียนได้ในรูปทศนิยมซ้ํา
(2) มีจํานวนอตรรกยะที่เขียนได้ในรูป x2
ข้อใดสรุปถูก
ก. ข้อ 1 ถูก ข. ข้อ 2 ถูก ค. ถูกทั้งหมด ง. ผิดทั้งหมด
8. ให้ A = { -1, 0, 1} พิจารณาข้อความ
(1) เซต A มีสมบัติปิดการบวก
(2) เซต A มีเอกลักษณ์การบวก
(3) สมาชิกทุกตัวของเซต A มีอินเวอร์สการบวก
ข้อใดสรุปถูก
ก. ข้อ 1, 2 ผิด ข. ข้อ 1, 3 ผิด ค. ข้อ 2,3 ผิด ง. ผิดทุกข้อ
9. กําหนดให้ a, b ∈ R จงพิจารณาข้อความ
a+b
(1) ถ้า a ⊕ b = แล้ว a ⊕ b ≠ b ⊕ a
2
(2) ถ้า a ⊕ b = ab แล้ว a ⊕ 1 = a = 1 ⊕ a
(3) ถ้า a ⊕ b = a + b + 2 แล้ว -2 เป็นเอกลักษณ์ของ ⊕
(4) ถ้า a ⊕ b = a + b – 8 แล้ว อินเวอร์สการ ⊕ ของ 5 คือ 11
ข้อใดสรุปถูกต้อง
ก. ถูก 4 ข้อ ข. ถูก 3 ข้อ ค. ถูก 2 ข้อ ง. ถูก 1 ข้อ
10. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
22 1
(1) , , 7 เป็นจํานวนอตรรกยะทุกจํานวน
7 π
(2) 4.999..., 0.000, 3 (−64) เป็นจํานวนจริงทุกจํานวน
(3) (−5)2 , 4 − 9, 3 − 5 เป็นจํานวนตรรกยะทุกจํานวน
ข้อใดสรุปถูก
ก. ข้อ 1, 2 ถูก ข. ข้อ 2, 3 ถูก ค. ข้อ 1 ถูกเท่านั้น ง ข้อ 2 ถูกเท่านั้น
11. บทนิยาม ให้ a, b เป็นจํานวนเต็มใด ๆ, a ∗ b คือเศษเหลือจากการหาร ab
จงพิจารณาข้อความ
(1) a ∗ b = b ∗ a
(2) มี k อย่างน้อย 1 ค่าที่ทําให้ 8 ∗ k = 5
ข้อใดสรุปถูก
ก. ผิดทั้ง 2 ข้อ ข. ข้อ 1 ผิด ข้อ 2 ถูก ค. ข้อ 2 ผิด ข้อ 1 ถูก ง. ถูกทุกข้อ

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 20

12. กําหนดให้ a ⊕ b = a + b + 2 โดยที่ a, b ∈ R แล้วจํานวนใดต่อไปนี้เป็นอินเวอร์สของ 4 ภายใต้การ ⊕


ก. 0 ข. -8 ค. -4 ง. -2
13. กําหนดให้ a, b, c ∈ R ที่มี a เป็นอินเวอร์สการบวกของ b จงหา c ที่ทําให้ 4a + 4b – 2c = 12 ว่ามีค่าเท่าไร

14. ให้ R แทนสัญลักษณ์ของจํานวนจริง


Q แทนสัญลักษณ์ของจํานวนตรรกยะ
Q′ แทนสัญลักษณ์ของจํานวนอตรรกยะ
I แทนจํานวนเต็ม
+
I แทนจํานวนเต็มบวก
I− แทนจํานวนเต็มลบ
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูก
ก. Q′ ∩ I + = I ∩ Q ข. I + ∪ I − = I
ค. Q′ ∪ I + = I + ∪ Q ง. ( I + ∩ Q ) ⊂ I

¾Ëu¹ÒÁ
พหุนาม
รูปทั่วไปของพหุนาม anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0
เรียก an ว่า สัมประสิทธิ์นํา (leading Coefficient)
ถ้า an ≠ 0 เราจะเรียก n ว่า กําลัง (Degree) เขียนแทนด้วย deg P(x)
ถ้าพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์นํา = 1 เรียกว่า พหุนามโมนิก (Monic Polynomial)
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามใด ๆ (Factoring of Polynomials) คือ การเขียนพหุนามอยู่ในรูปการคูณของพหุนามที่
ต่ํากว่า ซึ่งเราได้ศึกษาการแยกตัวประกอบของพหุนามมาตั้งแต่ช่วงชั้นที่ 3 แล้ว ในการแยกตัวประกอบพหุนามมีหลายรูปแบบ
เช่น การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติแจกแจง - การจับคู่พจน์ รูป ax2+bx+c กําลังสองสมบูรณ์ ผลต่างกําลังสอง ทําเป็นกําลัง
สองสมบูรณ์ และการนําวิธีการทั้งหมดมาร่วมด้วย
ในเอกสารฉบับนี้ จะนําเสนอทฤษฎีบทเพิ่มเติมที่ใช้ในการแยกตัวประกอบ นั่นคือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ ทฤษฎีบทตัว
ประกอบ และทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
 ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ทฤษฎีบทขั้นตอนวิธีการหาร (Division Algorithms)
ถ้า P(s) และ S(x) เป็นพหุนาม โดยที่ S(x) ≠ 0 จะมีพหุนาม Q(x) และ R(x) ซึ่ง P(x)=Q(x)⋅s(x)+r(x)
โดยที่ r(x) จะเท่ากับศูนย์ หรือ deg r(x) < deg P(x)
ทฤษฎีบทเศษเหลือ (Remainder Theorem)
เมื่อ p(x) คือพหุนาม anxn + an-1xn-1 + an-2n-2 + … + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจํานวนเต็มบวก และ an, an-1, an-2 , …,
a1, a0 เป็นจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0 ถ้าหารพหุนาม p(x) ด้วยพหุนาม x-c เมื่อ c เป็นจํานวนจริงแล้ว เศษเหลือจะเท่ากับ p(c)
พิสูจน์ ให้ p(x) หารด้วย x-c แล้วได้ผลหารเป็นพหุนาม q(x) และเศษเหลือเป็นพหุนาม r(x)
ดังนั้น p(x) = (x-c)q(x) + r(x) ------------- (1)
ซึ่ง r(x) เป็นศูนย์ หรือเป็นพหุนามที่มีดีกรีต่ํากว่าดีกรีของ x-c นั่นคือ มีดีกรีศูนย์
สรุปได้ว่า r(x) เป็นค่าคงตัว
ให้ r(x) = d เมื่อ d เป็นค่าคงตัว
เขียนสมการ (1) ใหม่ได้เป็น
p(x) = (x-c)q(x) + d ------------- (2)
สมการ (2) เป็นจริงสําหรับทุกค่าของ x ที่เป็นจํานวนจริง
ถ้าให้ x =c
จะได้ p(x) = (c-c)q(c) + d = d
นั่นคือ เศษเหลือจะเท่ากับ p(c)

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 21

ตัวอย่าง ถ้า x – 2 หาร x3 + ax2+ 5x + a แล้ว เหลือเศษ 3 จงหา a


วิธีทํา P(x) = x3 + ax2+ 5x + a
P(2) = 23 + a x 22 + 5 x 2 + a
= 8 + 4a + 10 + a
= 5a + 18
∴ x – 2 หาร P(x) เหลือเศษ 5a + 18
∴ 5a + 18 =3
∴ a = -3
ตัวอย่าง จงหาเศษของ x3 – 2x2 – x + 5 เมื่อหารด้วย x – 2
วิธีทํา P(x) = x3 – 2x2 – x + 5
P(2) = 23 – 2 x 22 – 2 + 5
=8–8–2+5 =3
∴ x – 2 หาร P(x) เหลือเศษ 3

แบบฝึกหัดที่ 4
1. จงหาเศษเหลือจากการหารต่อไปนี้ เมื่อหารด้วย x - c
1. p(x) = x3 + 2x + 4 c = 2
2. p(x) = - 2x4 + x3 – 6 c = -1
3. p(x) = 5x3 – 11x2 – 14x – 10 c = 3
4. p(x) = 2x3 – 6x2 + 6x – 18 c = -3
5. p(x) = 4x3 – 13x – 6 c = 2
6. p(x) = 2x3 – 5x2 – 2x + 5 c = -1
7. p(x) = 2x3 – 3x + 2 c = 2
8. p(x) = 4x4 + 3x2 – 2x + 5 c = -3
9. p(x) = 2x3 – 3x + 2 c = 2
10. p(x) = 5x3 + 2x2 – x + 1 c = 3
2. จงหาค่า k ที่ทําให้
1. x – 1 หาร x3 – 3x2 + 4x + 2k เหลือเศษ -2
2. x – 2 หาร x3 + kx2 + (k – 1)x + 5 เหลือเศษ 5
3. 2x - 1 หาร 2x4 + 3kx + x – k ได้ลงตัว
4. x + k หาร x3 – 5x2 – 8x + 10 เหลือเศษ -2
5. x – 3 หาร 2x3 + x2 – 18x + k เหลือเศษเป็นครึ่งหนึ่งของเศษจากการหาร – 2x3 + 5x2 + kx + 17ด้วย x – 3

 ทฤษฎีบทตัวประกอบ
ทฤษฎีบทตัวประกอบ (Factor Theorem)
เมื่อ p(x) คือพหุนาม anxn + an-1xn-1 + an-2n-2 + … + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจํานวนเต็มบวก
และ an, an-1, an-2 , …, a1, a0 เป็นจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0
พหุนาม p(x) นี้จะมี x - c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p(c) = 0
พิสูจน์ ต้องแสดงให้เห็นจริงว่า
1) ถ้า x - c เป็นตัวประกอบของ p(x) แล้ว p(c) = 0 และ
2) ถ้า p(c) = 0 แล้ว x - c จะเป็นตัวประกอบของ p(x)
1) x – c เป็นตัวประกอบของ p(x) ดังนั้น x - c หาร p(x) ได้ลงตัว
∴x - c หาร p(x) ต้องเศษ 0
และ x - c หาร p(x) แล้วต้องเหลือเศษ p(c)
2) ให้ p(c) = 0
ถ้า x - c หาร p(x) ได้ผลลัพธ์ q(x) เหลือเศษ r
∴ p(x) = (x - c)q(x) + r
x – c หาร p(x) เหลือเศษ p(c)
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 22

∴ p(c) = r
0 =r
นั่นแสดงว่า x - c หาร p(x) แล้วเศษ 0 ; x - c หาร p(x) ลงตัว
∴ x - c เป็นตัวประกอบของ p(x)

ในทฤษฎีบทตัวประกอบ เราสามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้ในแง่ของการหาจํานวนที่หาเพื่อทําการแยกตัวประกอบใน
ทฤษฎีบทเศษเหลือหรือทฤษฎีบทตัวประกอบ เพื่อโยงไปสู่การแยกตัวประกอบ
ขอให้พิจารณาทําความเข้าใจจากตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงแสดงว่า x + 3 เป็นตัวประกอบของ P(x) = 3x3 + 5x2 – 6x + 18
วิธีทํา x – c = x – (- 3) ดังนั้น c = - 3
เศษ = P(-3)
= 3(−3)3 + 5(−3)2 − 6(−3) + 18
= - 81 + 45 + 18 + 18
= 0
จาก P(- 3) แสดงว่า x + 3 เป็นตัวประกอบของ P(x)
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนาม x3 + 2x2 – 5x – 6
วิธีทํา กําหนดให้ p(x) = x3 + 2x2 – 5x – 6
เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร -6 ลงตัว คือ ±1, ±2, ±3, ±6
พิจารณา p(-1)
P(-1) = (-1)3 + 2(-1)2 – 5(-1) – 6
= -1 + 2 + 5 – 6
=0
จากทฤษฎีบทตัวประกอบ จะได้ว่า x + 1 เป็นตัวประกอบของ p(x)
นํา x + 1 ไปหาร p(x) จะได้ผลหารเป็น x2 + 2x – 6
ดังนั้น x3 + 2x2 – 5x – 6 = (x + 1)( x2 + 2x – 6)
= (x + 1)(x + 3)(x – 2)
ได้ตัวประกอบทั้งหมดคือ (x + 1)(x + 3)(x – 2)

แบบฝึกหัดที่ 5
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1. x3 + 6x2 + 11x + 6 2. – x3 + 4x2 – 5x + 2
3. x3 – x2 + x – 1 4. x3 – x2 – 8x + 12
5. x3 + 4x2 – 7x – 10 6. x4 – 5x2 + 4
7. x4 – 10x3 + 3x2 – 50x + 24 8. x4 + 5x3 – 10x2 – 80x - 96
9. x5 – 5x4 + 10x3 – 10x2 + 5x – 1 10. x6 + 3x5 + 2x4 + x2 + 3x + 2
2. กําหนดพหุนาม p(x) = 3x3 – 4x2 – 3x + 4
1. จงแสดงว่า x + 1 เป็นตัวประกอบของ p(x)
2. จงแยกตัวประกอบของ p(x)
3. กําหนดพหุนาม p(x) = x3 – 6x2 + 11x - 6 จงแสดงว่า x - 4 ไม่เป็นตัวประกอบของ p(x)
4. กําหนดพหุนาม p(x) = 2x4 + 3x3 – 16x2 – 8x + 24
1. จงแสดงว่า x – 2 เป็นตัวประกอบของ p(x)
3
2. จงแสดงว่า x + เป็นตัวประกอบของ p(x)
2
5. กําหนดพหุนาม p(x) = 2x4 – 9x3 + ax2 + bx + 10
จงหาจํานวนจริง a, b ซึ่งทําให้ x2 – 3x + 2 เป็นตัวประกอบของ p(x)

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 23

 ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
ทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
เมื่อ p(x) คือพหุนาม anxn + an-1xn-1 + an-2n-2 + … + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจํานวนเต็มบวก และ an, an-1, an-2 ,
…, a1, a0 เป็นจํานวนจริง ซึ่ง an ≠ 0 พหุนาม p(x) นี้จะมี x - c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p(c) = 0
k
ถ้า x - เป็นตัวประกอบของพหุนาม p(x) โดยที่ m และ k เป็นจํานวนเต็มซึ่ง m ≠ 0
m
และ ห.ร.ม. ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว
m เป็นตัวประกอบของ an
k เป็นตัวประกอบของ a0
k k
ในกรณีที่ไม่มี ซึ่งทําให้ p ( ) = 0 แสดงว่าพหุนาม p(x) ไม่มีตัวประกอบที่เป็นพหุนามดีกรีหนึ่ง
m m
k
ในรูป x - ซึ่งจะเรียกว่า ตัวประกอบจํานวนตรรกยะ
m
เพื่อให้เข้าใจ ขอให้ศึกษาวิธีทําจากตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบ 6x4 + 7x3 – 13x2 – 4x + 4


วิธีทํา กําหนดให้ p(x) = 6x4 + 7x3 – 13x2 – 4x + 4
จากทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
จํานวนเต็มที่หาร 4 ลงตัว คือ ±1, ±2, ±4
จํานวนเต็มที่หาร 6 ลงตัว คือ ±1, ±2, ±3, ±6
k k 1 1 2 4 1
จํานวนตรรกยะ ที่ทําให้ p ( ) = 0 คือ ±1, ±2, ±4, ± , ± , ± , ± , ±
m m 2 3 3 3 6
4 3 2
พิจารณา p(1) = 6(1) + 7(1) – 13(1) – 4(1) + 4
= 6 + 7 – 13 – 4 + 4
=0
ดังนั้น จะได้ตัวประกอบคือ (x – 1)(6x3 + 13x2 – 4)
ต่อมาแยกตัวประกอบ กําหนดให้ q(x) = 6x3 + 13x2 – 4
พิจารณา q(-2) = 6(-2)3 + 13(-2)2 – 4
= 6(-8) + 13(4) – 4
=0
ดังนั้น จะได้ตัวประกอบคือ (x – 1)(x + 2)(6x2 + x – 2)
ได้ตัวประกอบทั้งหมดคือ = (x – 1)(x + 2)(6x2 + x – 2)
= (x – 1)(x + 2)(3x - 2)(x + 1)

 การหารสังเคราะห์ (Synthetic Division)


การหารสังเคราะห์เป็นการลดรูปในการหารพหุนามปกติให้สั้นลงมากและกระทัดรัดมากที่สุด ซึ่งถือว่ามีประโยชน์มาก
พอสมควร
3x 3 +5x2 +7x+6
4 3 2
ตัวอย่าง จงหาร 3x + 2x + 2x - x - 6 ด้วย x – 1 x-1 3x 4 +2x 3 +2x2 -x-6
3x 4 -3x 3
+5x 3 +2x2
+5x 3 -5x2
+7x2 -x
+7x2 -7x
+6x-6
+6x-6
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 24

เมื่อเราลัดขั้นตอน โดยการรวมพหุนามที่มีดีกรีเท่ากันเข้าด้วยกัน จะได้เป็น

3x 3 + 5x2 + 7x + 6
x − 1 3x 4 + 2x 3 + 2x2 − x − 6
−3x 3 − 5x2 − 7x − 6
+5x 3 + 7x2 + 6x 0

ต่อมา เราจะเขียนแต่สัมประสิทธิ์เพียงอย่างเดียว จะได้เป็น

3 +5 +7 +6
−1 3 +2 +2 −1 −6
−3 −5 −7 −6
3 +5 +7 +6 0

การหารสังเคราะห์เราจะเขียนแต่สัมประสิทธิ์ ถ้าเราสังเกตการหารต่อไปนี้ดีๆ จะพบว่า ค่าของแถวล่างจะเท่ากับแถวบน


(จากด้านบน) เราจึงนํามาเขียนในรูปแบบดังด้านล่าง

3 2 2 −1 −6
x−1
−3 −5 −7 −6
3 5 7 6 0

สรุปขั้นตอนการหารสังเคราะห์
1. เรียงดีกรีของตัวตั้ง เรียงให้ครบ ถ้าขาดให้เติมให้ครบ (เติมเลข 0)
2. ดึงสัมประสิทธิ์ลงมาในช่อง
3. ดึงพจน์แรกลงมา นําตัวหารคูณตัวที่ดึง แล้วผลลัพธ์ใส่ที่ (2) แล้วบวก ได้ผลลัพธ์เท่าไรคูณกับตัวหาร ผลลัพธ์ในช่องด้าน
ล่างสุด
4. ทําไปเรื่อยๆ จนครบ ตัวเลขขวาสุด คือเศษ ส่วนเลขที่เหลือเป็นสัมประสิทธิ์ของผลหารตามดีกรี
5. ทําการหารสังเคราะห์เรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงพหุนามดีกรีสองแล้วจึงดําเนินการตามแนวทางการแก้สมการดีกรีสองต่อไป
6. เวลาตอบ ให้ลดดีกรีตัวที่ตรงกันมา 1 ดีกรี ตัวหาร เราเรียกว่า เป็นตัวประกอบ
ตัวอย่าง จงใช้การหารสังเคราะห์หา (3x 4 − x 3 + 5x2 − x + 1) ÷ (x − 2)
วิธีทํา
3 −1 5 −1 1
2
6 10 30 58
3 5 15 29 59
59
ดังนั้น (3x 4 − x 3 + 5x2 − x + 1) ÷ (x − 2) = 3x 3 + 5x2 + 15x + 29 +
x−2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 25

คําอธิบายการหารสังเคราะห์
1. ดึง 3 ลงมา
2. นํา 3 (สัมประสิทธิ์ตัวแรกของพหุนาม) มาคูณกับตัวหาร (มาจาก x - c = 0) แล้วทแยงขึ้นไปข้างบน
(2×3=6)
3. หาผลบวก
4. นํา 5 ไปคูณกับ 2 ทําเช่นเดียวกับขั้นตอนที่ 2
5. ทําไปเรื่อย ๆ จนสิ้นสุด เศษ คือตัวสุดท้ายทางขวามือ ส่วนที่เหลือจะเป็นสัมประสิทธ์ของพหุนามชุดต่อไป คือ 3x3 + 5x +
15 + 29

สรุปหลักการนําไปใช้เมื่อเจอโจทย์พหุนาม
1. ให้ทําการแยกตัวประกอบโดยใช้ทฤษฎีบทตัวประกอบ กล่าวคือ ในรูปพหุนาม anxn + an-1xn-1 + an-2n-2 + … + a1x + a0 ให้
หาตัวประกอบของ a0 ทั้งหมด ส่วนด้วย ตัวประกอบของ an แล้วทดลองโดยการหารสังเคราะห์หรือทฤษฎีบทเศษเหลือ
2. ใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือเข้ามาช่วย หรือใช้การหารสังเคราะห์ช่วย ถ้าเศษเท่ากับ 0 แสดงว่าเป็นตัวประกอบ
3. จะได้ตัวประกอบ พหุนามที่เหลือก็ให้แยกตัวประกอบที่เหลืออีก จนอยู่ในรูปการคูณกันของพหุนามทั้งหมด

แบบฝึกหัดที่ 6
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1. 2x3 + 3x2 – 5x - 6
2. 12x3 + 16x2 – 5x - 3
3. 4x5 + 16x4 + 9x3 – 31x2 – 40x – 12
4. 2x4 + 3x3 – 16x2 – 8x + 24
5. 12x3 + 16x2 – 5x - 3
6. 6x5 + 11x4 – 9x3 – 13x2 + 3x + 2
7. 2x3 – 3x2 – 8x + 12
8. 2x4 – 2x3 – 7x2 + 8x - 4
9. 4x4 – 4x3 – 25x2 + x + 6
10. 6x4 + 5x3 – 14x2 + x + 2
11. 6x5 + 13x4 – 20x3 – 10x2 + 14x - 3
12. 3x3 – 10x2 + 9x – 2
13. 3x4 – 8x3 + x2 + 8x – 4
2. จงหารพหุนามต่อไปนี้
1. x2 + 5x + 6 หารด้วย x +2
2. x2 + 4x + 7 หารด้วย x -3
3. 2x2 – 7x + 8 หารด้วย x +2
4. 3x3 – x2 2x + 7 หารด้วย x –1
5. 5x3 – 11x2 – 14x – 10 หารด้วย x –3
6. 4x3 – 13x – 6 หารด้วย x +1
7. 4x4 – 5x + 10 หารด้วย x –5
8. 4x4 – 3x2 – 2x + 5 หารด้วย x +3

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 26

 สมการพหุนาม
สมการ (Equation) คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจํานวน โดยมีสัญลักษณ์ “= “ บอก
ความสัมพันธ์ระหว่างจํานวน ราก (หรือคําตอบ) ของสมการ คือ ค่าหรือสิ่งหรือจํานวนที่สอดคล้องกับสมการ นั่นคือ ทําให้
สมการเป็นจริง
ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต (Fundamental Theorem of Algebra)
ถ้า P(x) เป็นพหุนามใน C[x] ที่มีดีกรีมากกว่า 0 แล้ว P(x) จะมีรากใน
ทําให้ได้ว่า
สมการอันดับ n จะมีรากได้ไม่เกิน n รากที่ต่างกัน
กําหนด p(x) = an xn + an − 1xn − 1 + ... + a1x + a0 โดยที่ a0, ..., an-1 ∈ / จะมีจํานวน-เชิงซ้อน z1, ..., zn
(ไม่จําเป็นต้องแตกต่างกัน) ที่ทาํ ให้ p(x) = (m1x − k 1)(m2 x − k2 )...(mn x − k n ) โดยที่ m คือตัวประกอบของ an และ k คือ
ตัวประกอบของ a0
ผลพลอยได้ของทฤษฎีนี้คือ “ทุกสมการพหุนามกําลัง n จะมีรากเชิงซ้อนเท่ากับ n ราก (นับรากที่ซ้ํากันด้วย)” ดังนั้น
สรุปได้ว่า จํานวนคําตอบทั้งหมดของสมการพหุนาม จะเท่ากับดีกรีของพหุนามนั้น ๆ (รวมคําตอบที่ซ้ําและคําตอบที่เป็น
จํานวนเชิงซ้อนด้วย) ทําให้เราได้ทราบว่า การสร้างจํานวนเชิงซ้อน เป็นการสร้างเพื่อรองรับจํานวนรากพหุนามตามทฤษฎีบท
k
มูลฐานของพีชคณิต และสรุปได้อีกว่า เป็นคําตอบของของสมการ p(x) ก็ต่อเมื่อ mx – k เป็นตัวประกอบของ p(x)
m
 สมการพหุนามกําลังสอง (Quadratic Equation)
นิยาม พหุนามกําลังสอง (Quadratic Polynomials) คือพหุนามที่มีรูปแบบเขียนทั่วไปคือ
ax2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0, b และ c เป็นค่าคงที่
สมบัติเบือ้ งต้นของพหุนามกําลังสอง
รูปมาตรฐาน ax2 + bx + c = 0 ; a, b, c ∈ R, a ≠ 0
จาก ax2 + bx + c =0
bx c
÷ a; x2 + + =0
a a
⎡ 2 b ⎛b⎞⎤ ⎛b⎞ c
2 2

⎢x + 2 ⋅ x ⋅ + ⎜ ⎟ ⎥ − ⎜ ⎟ + =0
⎢⎣ 2a ⎝ 2a ⎠ ⎥⎦ ⎝ 2a ⎠ a
2
⎛ b⎞ b2 c
⎜ x + 2a ⎟ − 2 + a =0
⎝ ⎠ 4a
2
⎛ b ⎞ b2 − 4ac
⎜ x + 2a ⎟ − =0
⎝ ⎠ 4a2
2
b ⎞ ⎛ b2 − 4ac ⎞
2

⎜ x + 2a ⎟ − ⎜⎜ 2
⎟ =0

⎝ ⎠ ⎝ 4a ⎠
⎛ b b2 − 4ac ⎞ ⎛ b b2 − 4ac ⎞
⎜x + − ⎟⎜x + + ⎟ =0
⎜ 2a 2a ⎟⎜ 2a 2a ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
−b b2 − 4ac −b b2 − 4ac
x = + , −
2a 2a 2a 2a
−b ± b2 − 4ac
หรือ x =
2a
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 27

−b ± b2 − 4ac
จาก x=
2a
เราเรียก b – 4ac ว่า ดีสคริมิแนนต์ (Discriminant) = Δ
2

ถ้า Δ > 0 แสดงว่ารากทั้งสองเป็นรากจริง


ถ้า Δ < 0 แสดงว่ารากทั้งสองเป็นรากเชิงซ้อน
b
ถ้า Δ เป็นกําลังสองสมบูรณ์ รากทั้งสองเป็นรากตรรกยะ (มีคําตอบเดียวคือ − )
2a

การแก้สมการกําลังสองที่มีรูปแบบพิเศษ
1 1 1
ตัวอย่าง จงแก้สมการ − =
x(x + 2) (x + 1) 2
12
2
วิธีทํา สมมติให้ a = x(x + 2) = x + 2x
จาก (x + 1)2 = x2 + 2x + 1 ดังนั้น จะได้ a+1
1 1 1
สมการที่กําหนดจึงเปลี่ยนเป็น + =
a a+1 12
a −1−a 1
=
a(a + 1) 12
2
a + a – 12 =0
แยกตัวประกอบ (a +4)(a – 3) = 0
a = -4, 3
เปลี่ยนสมการกลับคืน จะได้ x2 + 2x = 3 หรือ x2 + 2x = -4
2 2
x + 2x – 3 = 0 หรือ x + 2x + 4 = 0
−2 ± 4 − 16
(x + 3)(x – 1) = 0 หรือ x=
2
x = -3, 1 หรือ ไม่มีจํานวนจริงเป็นคําตอบ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการ คือ {-3, 1}
จากตัวอย่าง สังเกตว่ามีการเปลี่ยนตัวแปรเพื่อให้สามารถแก้สมการและมองภาพได้ง่ายขึ้น

 สมการทีม่ ีดีกรีมากกว่าสอง
เราจะอาศัยการแยกตัวประกอบเป็นพื้นฐาน โดยใช้ทฤษฎีบทต่าง ๆ และการหารสังเคราะห์เข้าช่วย โดยการแก้สมการ
นั้นจะต้องจัดให้นิพจน์ทางซ้ายประกอบด้วยพจน์พหุนาม และนิพจน์ทางขวาเป็นศูนย์ แล้วทําการแยกตัวประกอบ ตามสมบัติของ
ระบบจํานวนจริงที่ว่า ถ้า a × b = 0 จะได้ว่า a = 0 หรือ b = 0
ตัวอย่าง จงแก้สมการ x4 – 8x3 + 17x2 + 2x – 24 = 0
วิธีทํา เราพบว่า มีจํานวนเต็มที่หาร -24 ลงตัว คือ ±1, ±2, ±3, ±4, ±6, ±8, ±12, ±24
เลือกมาทดสอบ โดยใช้ทฤษฎีตัวประกอบ โดยพิจารณา P(1) โดยการหารสังเคราะห์

1 8 17 2 −24
−1
−1 9 −26 24
1 −9 26 −24 0

จากทฤษฎีบทตัวประกอบ ทําให้ได้ว่า – 1 เป็นรากของสมการ และได้ผลหารคือ x3 – 9x2 + 26x – 24

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 28

นําผลหารมาพิจารณาต่อด้วย p(2)
1 −9 26 −24
2
2 −14 24
1 −7 12 0
จากทฤษฎีบทตัวประกอบ ทําให้ได้ว่า 2 เป็นรากของสมการ และได้ผลหารคือ x2 – 7x + 12
ทําให้ได้ตัวประกอบ คือ (x + 1)(x – 2)(x2 – 7x + 12) =0
(x + 1)(x – 2)(x – 3)(x – 4) =0
x = -1, 2, 3, 4
ดังนั้น รากของสมการ คือ -1, 2, 3, 4

ในจุดนี้เราจะพบว่า การใช้วิธีการหารสังเคราะห์จะมีความสะดวกสบายกว่าทฤษฎีบทเศษเหลือ เพราะทําครั้งเดียวได้ทั้ง


ตัวประกอบและพหุนามที่เหลือ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับว่าใครถนัดกับวิธีใดมากกว่า

ตัวอย่าง ถ้ายอมรับว่า 2 เป็นจํานวนจริง จงแสดงว่า 2 เป็นจํานวนอตรรกยะ


วิธีทํา เราทราบว่า 2 เป็นคําตอบของสมการ x = 2
2
ยกกําลังสองทั้งสองข้าง จะได้ x =2
2
จัดให้สมการอยู่ข้างเดียวกัน จะได้ x –2 =0
จากทฤษฎีบทตัวประกอบ คําตอบของสมการที่เป็นจํานวนตรรกยะจะอยู่ในเซต {±1, ±2} ซึ่ง 2 ไม่ได้อยู่ในเซตนี้
ดังนั้น 2 จึงไม่เป็นจํานวนตรรกยะ แต่เนื่องจากว่า 2 เป็น จํานวนจริง ดังนั้น 2 เป็นจํานวนอตรรกยะ

ตัวอย่าง ถ้ายอมรับว่า 2, 5 เป็นจํานวนจริง จงแสดงว่า 2 + 5 เป็นจํานวนอตรรกยะ


วิธีทํา เราทราบว่า 2 + 5 เป็นคําตอบของสมการ x = 2+ 5
ดังนั้น 2 + 5 เป็นคําตอบของสมการ x - 2 = 5
และเป็นคําตอบของสมการ x2 - 2 2 x + 2 = 5
และเป็นคําตอบของสมการ x2 - 3 = 2 2 x
และเป็นคําตอบของสมการ x4 - 6x2 + 9 = 8x2
4 2
และเป็นคําตอบของสมการ x - 14x + 9 =0
จากทฤษฎีบทตัวประกอบ คําตอบของสมการที่เป็นจํานวนตรรกยะจะอยู่ในเซต {±1, ±3, ±9} ซึ่งผลบวกของ
2 + 5 ไม่ได้อยู่ในเซตนี้ ดังนั้น 2 + 5 จึงไม่เป็นจํานวนตรรกยะ
แต่เนื่องจากว่า 2, 5 เป็นจํานวนจริง จะได้ 2 + 5 เป็นจํานวนจริงตามสมบัติปิดของการบวก ดังนั้น
2 + 5 เป็นจํานวนอตรรกยะ

 ความสัมพันธ์ระหว่างรากของพหุนาม
กําหนด P(x) = p(x) = an xn + an − 1xn − 1 + ... + a1x + a0 และ an ≠ 0
an − 1
ผลบวกของราก = −
an
n
ผลคูณของราก = (-1) a0 เมื่อ n คือดีกรีสูงสุดของพหุนาม

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 29

แบบฝึกหัดที่ 7
จงหารากของสมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาผลบวกและผลคูณรากสมการ
1. x3 – 2x2 + x + 4 = 0
2. x3 – 5x2 – 2x + 10 = 0
3. 2x3 – 3x2 – 7x – 6 = 0
4. x3 – 2x2 – 5x + 6 = 0
5. x3 + 2x2 – 5x – 6 = 0
6. 2x3 – 7x2 + 7x – 2 = 0
7. 3x3 – 19x2 + 30x – 8 = 0
8. 3x3 – 16x2 + 25x – 12 = 0
9. x4 – x3 – 7x2 – 14x – 24 = 0
10. x4 – x3 – 19x2 + 49x – 30 = 0
11. x4 – 5x3 – 3x2 + 17x – 10 = 0
12. x4 – 2x3 + 2x – 1 = 0
13. x4 – 16x3 + 86x2 – 176x + 105 = 0
14. x4 – 4x3 + 6x2 – 4x + 1 = 0
15. x5 + x3 – 2x2 – 12x – 8 = 0
จงพิสูจน์ขอ้ ความต่อไปนี้
16. จงแสดงว่า 2 + 3 ไม่เป็นจํานวนตรรกยะ
1
17. จงแสดงว่า เป็นจํานวนอตรรกยะ
2
2 −1
18. จงแสดงว่า เป็นจํานวนอตรรกยะ
2 +1
3 6
19. จงแสดงว่า เป็นจํานวนอตรรกยะ
5

แบบฝึกหัดที่ 8

จงแก้สมการพหุนามต่อไปนี้โดยใช้วิธีการที่ง่ายและกระชับ
4 5
1. + 2 =2
x +4 x +5
2

2. x4 – 13x2 + 36 =0
x + 2x + 1 x + 2x + 2 7
2 2
3. + =
x2 + 2x + 2 x2 + 2x + 3 6
4. (x2 – 6x)2 – 2(x – 3)2 = 81
21
5. - x2 + 4x = 6
x − 4x + 10
2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 30

 สมการพหุนามที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น
เราได้เรียนรู้ในทฤษฎีบทที่แก้สมการพหุนามที่เป็นพื้นฐานมาบ้างแล้ว ในหัวข้อนี้จะนําเสนอพหุนามที่มีรูปแบบที่พิเศษ
และน่าสนใจ ซึ่งช่วยลดระยะเวลาในการหารากของสมการได้พอสมควร ซึ่งผู้เขียนคิดว่าน่าจะมีประโยชน์ในการศึกษาขั้นสูงต่อไป
อนึ่ง ผู้ที่ไม่ได้มีความสนใจก็สามารถข้ามหัวข้อนี้ไปได้

การแก้สมการกําลังสี่บางรูปแบบ
สมการรูปแบบ (x – a)(x – b)(x – c)(x – d) = e ; a, b, c, d, e เป็นค่าคงที่ โดยที่ a + b = c + d
สามารถจัดสมการที่กําหนดได้ในรูป
[x2 + (a + b)x + ab][x2 + (c + d)x + cd] = e
ดําเนินการหารากของสมการ โดยการเปลี่ยนตัวแปรใหม่ โดยให้ y = x2 + (a + b)x
จะได้สมการในรูป (y + ab)(y + cd) =0
ซึ่งจะเป็นสมการพหุนามกําลังสองที่สามารถหาคําตอบได้

ตัวอย่าง จงหารากของสมการ (x – 5)(x – 7)(x + 6)(x – 4) = 504


วิธีทํา จับคู่ (x – 5) กับ (x + 4) และ (x – 7) กับ (x + 6) จะได้
504 = (x2 – x – 20)(x2 – x – 42)
504 = [(x2 – x) – 20][(x2 – x) – 42]
ให้ y = x2 – x
504 = (y – 20)(y – 42)
504 = y2 – 62y + 840
0 = y2 – 62y + 336
0 = (y – 6)(y – 56)
เปลี่ยนสมการกลับคืน จะได้
0 = (x2 – x – 6)(x2 – x – 56)
0 = (x – 3)(x + 2)(x – 8)(x + 7)
x = 3, -2, 8, -7
ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ {-7 , -2, 3, 8}

สมการในรูปแบบ (x + a)4 + (x + b)4 = c ; a, b, c เป็นค่าคงที่


หลักการการแก้สมการ 1) สร้างความสมดุลระหว่างพจน์
2) ใช้เอกลักษณ์พีชคณิตที่ว่า (a + b)2 + (a – b)2 = 2(a2 + b2)

พิสูจน์เอกลักษณ์ (a + b)2 + (a – b)2 = (a2 + 2ab + b2) + (a2 – 2ab + b2)


= 2a2 + 2b2
= 2(a2 + b2)

ตัวอย่าง จงหารากของสมการ (1 – x)4 + (1 + x)4 = 82


วิธีทํา 82 = [(1 – x)2]2 + [(1 + x)2]2
= [x2 – 2x + 1]2 + [x2 + 2x + 1]2
= [(1 + x2) – 2x]2 + [(1 + x2) + 2x]2
ใช้เอกลักษณ์พีชคณิต (a – b)2 + (a + b)2 = 2(a2 + b2)
= 2[(1 + x2)2 + 4x2]
41 = x4 + 2x2 + 1 + 4x2
0 = x4 + 6x2 – 40
0 = (x2 + 10)(x2 – 4)
x2 + 10 = 10 หรือ x2 – 4 = 0
2
x = -10 หรือ x2 = 4
x = ± 10i หรือ x = ±2
ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ { ±2, ± 10i }
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 31

จากตัวอย่าง เราจําเป็นต้องใช้ความสมดุลระหว่างพจน์ (1 - x) กับ (1 + x) คือมีระยะทางเท่ากัน ทําให้ใช้เอกลักษณ์


ไม่ได้ ถ้าเราจะแก้สมการ (x + 1)4 + (x - 3)4 = 256 ไม่ได้ ดังนั้นถ้าจะหารากของสมการในรูปแบบ (x + a)4 + (x + b)4 =
c โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงตัว เราต้องเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูปสมดุล โดยการหาค่าคงตัว d ที่ทําให้
y + d = x + a และ y - a = x + b
a−b
เราจะได้ d=
2
1
หรือ y = ⎡⎣(x + a) + (x + b)⎤⎦
2
คือ y เป็นค่าเฉลี่ยของ (x + a) และ (x + b) ทําให้ได้สมการใหม่ คือ
(y + d)4 + (y – d)4 = e

ตัวอย่าง จงหารากของสมการ (x + 1)4 + (x - 3)4 = 256


วิธีทํา เราหาสมการใหม่ y โดยหาค่าเฉลี่ยของ x + 1 กับ x – 3
1
y = ⎡⎣(x + 1) + (x − 3)⎤⎦
2
1
y = ⎡⎣(2x − 2)⎤⎦ = x − 1
2
ทําให้ได้ x = y + 1 เมื่อแทนในสมการที่กําหนด จะได้สมการในรูปสมดุล
ได้เป็น [(y + 1) + 1]4 + [(y + 1) – 3]4 = 256
หรือ (y + 2)4 + (y – 2)4 = 256
22 22
256 = [(y + 2) ] + [(y - 2) ]
= [y2 + 4y + 4]2 + [y2 – 4y + 4]2
= [(y2 + 4) + 4y]2 + [(y2 + 4) – 4y]2
ใช้เอกลักษณ์พีชคณิต (a – b)2 + (a + b)2 = 2(a2 + b2)
= 2[(y2 + 4)2 + 16y2]
128 = y4 + 8y2 + 16 + 16y2
0 = y4 + 24y2 - 112
0 = (y2 + 28)(y2 – 4)
y2 + 28 =0 หรือ y2 - 4 = 0
2
y = -28 หรือ y2 = 4
y = ±2 7i หรือ y = ±2
แทนค่ากลับคืน จาก y = x – 1 ; x = y + 1
x = ±2 + 1 , ±2 7i + 1
ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ { 3, -1, 1 ±2 7i }

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 32

พหุนามส่วนกลับ (Reciprocal Polynomials)


สังเกตว่าเราอาจหารากของพหุนาม x4 + x3 + x2 + x + 1 โดยสังเกตจากความสมมาตรของสัมประสิทธิ์ช่วยลดงาน
การหารากของพหุนาม โดยการจัดรูปสมการ
⎛ 1 1⎞
x4 + x3 + x2 + x + 1 = x2 ⎜ x2 + x + 1 + + 2 ⎟
⎝ x x ⎠
⎡⎛ 1⎞ ⎛ 1⎞ ⎤
= x2 ⎢⎜ x2 + 2 ⎟ + ⎜ x + ⎟ + 1⎥
⎣⎝ x ⎠ ⎝ x⎠ ⎦
⎡⎛ 1⎞ ⎛ 1⎞ ⎤
= x 2 ⎢⎜ x 2 + 2 + 2 ⎟ + ⎜ x + ⎟ + 1 − 2 ⎥
⎣⎝ x ⎠ ⎝ x⎠ ⎦
⎡⎛ 2
1⎞ ⎛ 1⎞ ⎤
= x ⎢⎜ x + ⎟ + ⎜ x + ⎟ − 1⎥
2

⎣⎢⎝ x⎠ ⎝ x ⎠ ⎥⎦

−b ± b2 − 4ac
และใช้สูตร x =
2a
นิยาม เรียกพหุนาม P(x) = anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0 ว่าพหุนามส่วนกลับ ถ้า a1 = an-1 สําหรับทุก I = 0, 1, …, n
นั่นคือ พหุนามส่วนกลับ คือ พหุนามที่มีความสมมาตรของสัมประสิทธิ์ และเราจะเรียกสมการ P(x) = 0 ว่า สมการ
ส่วนกลับ (Reciprocal Equation) ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับ
ตัวอย่าง x2 + 1, x5 + 3x3 + 3x2 + 1
สมบัติของพหุนามส่วนกลับ
⎛ 1⎞
1. ถ้า P(x) เป็นพหุนามกําลัง n ซึ่ง a0 ≠ 0 แล้ว P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับ ก็ต่อเมื่อ P(x) = x nP⎜ ⎟
⎝x⎠
1
2. ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกําลังเป็นกําลังคู่ 2n แล้ว P(x) = xng(z) โดยที่ z = x +
x
3. ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกําลังเป็นจํานวนคี่แล้ว (x + 1)⏐P(x) และผลหารจะเป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกําลัง
เป็นจํานวนคู่
1
4. ถ้า a เป็นรากของสมการส่วนกลับแล้ว a ≠ 0 และ ก็จะเป็นรากของสมการส่วนกลับนั้นด้วย
a
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบและหารากของพหุนาม x5 – 4x4 + 3x3 + 3x2 – 4x + 1
วิธีทํา เนื่องจากเป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกําลังเป็นกําลังคี่
เราทราบว่า (x + 1)⏐ x5 – 4x4 + 3x3 + 3x2 – 4x + 1
∴ x5 – 4x4 + 3x3 + 3x2 – 4x + 1 = (x + 1)(x4 – 5x3 + 8x2 – 5x + 1)
⎛ 5 1⎞
x4 – 5x3 + 8x2 – 5x + 1 = x2 ⎜ x2 − 5x + 8 − + 2 ⎟
⎝ x x ⎠
⎡⎛ 1⎞ ⎛ 5⎞ ⎤
= x2 ⎢⎜ x2 + 2 ⎟ − ⎜ 5x + ⎟ + 8 ⎥
⎣⎝ x ⎠ ⎝ x⎠ ⎦
⎡⎛ 1⎞ ⎛ 1⎞ ⎤
= x 2 ⎢⎜ x 2 + 2 + 2 ⎟ − 5 ⎜ x + ⎟ + 8 − 2 ⎥
⎣⎝ x ⎠ ⎝ x⎠ ⎦
⎡⎛ 1⎞
2
⎛ 1⎞ ⎤
= x 2 ⎢⎜ x + ⎟ − 5 ⎜ x + ⎟ + 6 ⎥
⎢⎣⎝ x⎠ ⎝ x ⎠ ⎥⎦

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 33

⎡⎛ 1 ⎞ ⎤ ⎡⎛ 1⎞ ⎤
= x 2 ⎢⎜ x + ⎟ − 3 ⎥ ⎢⎜ x + ⎟ − 2 ⎥
⎣⎝ x ⎠ ⎦ ⎣⎝ x⎠ ⎦
2 ⎡ x − 3x + 1 ⎤ ⎡ x − 2x + 1 ⎤
2 2
= x ⎢ ⎥⎢ ⎥
⎣ x ⎦⎣ x ⎦
= (x2 – 2x + 1)(x2 – 3x + 1)
= (x – 1)2(x2 – 3x + 1)
ดังนั้น ตัวประกอบของพหุนาม x5 – 4x4 + 3x3 + 3x2 – 4x + 1 คือ (x + 1)(x – 1)(x – 1) (x2 – 3x + 1)

3± 5
และเซตของรากสมการ คือ {1, -1, }
2
พิจารณาพหุนาม ax4 + bx3 + cx2 – bx + a ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่พหุนามส่วนกลับ แต่เราอาจใช้วิธีการแยกตัวประกอบ
หรือการหารากของพหุนามส่วนกลับได้
⎛ b a⎞
ax4 + bx3 + cx2 – bx + a = x2 ⎜ ax2 + bx + c − + 2 ⎟
⎝ x x ⎠
⎡ ⎛ 1⎞ ⎛ 1 ⎞⎤
= x2 ⎢ a ⎜ x2 + 2 ⎟ + c − b ⎜ x − ⎟ ⎥
⎣ ⎝ x ⎠ ⎝ x ⎠⎦
⎡ ⎛ 1⎞ ⎛ 1 ⎞⎤
= x2 ⎢ a ⎜ x2 − 2 + 2 ⎟ + 2 + c − b ⎜ x − ⎟ ⎥
⎣ ⎝ x ⎠ ⎝ x ⎠⎦
⎡ ⎛ 1⎞
2
⎛ 1⎞ ⎤
= x ⎢a ⎜ x − ⎟ − b ⎜ x − ⎟ + 2 + c ⎥
2

⎢⎣ ⎝ x⎠ ⎝ x⎠ ⎥⎦

แบบฝึกหัดที่ 9
จงแก้สมการต่อไปนี้
1. (x + 3)(x + 5)(x – 2)(x – 4) = 120
2. (x – 2)(x + 3)(x + 6)(x +1) + 56 = 0
3. (2x – 7)(x2 – 9)(2x – 5) – 91 = 0
4. (x + 1)4 + (x + 5)4 = 82
5. (2x – 1)4 + (2x + 1)4 = - 8
6. (x – 12)4 + (x – 7)4 = 96
7. x4 + 2x3 – x2 + 2x + 1 = 0
8. 8x4 – 42x3 + 29x2 + 42x + 8 = 0 (ใช่พหุนามส่วนกลับหรือไม่)
9. x5 + 3x3 + 3x2 + 1 = 0
10. จงหาเซต A เมื่อ A = {x | x∈I+, (x + 1)(x2 + 1)(x3 + 1) = 30x3}
11. 6x4 – 25x3 + 12x2 + 25x + 6 = 0
12. 4x7 – 20x6 + 33x5 – 16x4 – 16x3 + 33x2 – 20x + 4 = 0
13. 10(x4 + 1) – 63x(x2 – 1) + 52x2 = 0
14. 5x8 – 2x6 + 4x5 + 4x3 – 2x + 5 = 0
x 4 + y 4 = 56
15. จงแก้ระบบสมการ
x −y =2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 34

ตัวอย่างข้อสอบ
โอลิมปิกวิชาการ สอวน. ศูนย์ ร.ร. สวนกุหลาบวิทยาลัย
1. (2543) ให้ P(x) เป็นพหุนาม ถ้าหารพหุนาม P(x) ด้วย x – 1 จะเหลือเศษเท่ากับ 3 และถ้าหาร P(x) ด้วย x – 3
จะเหลือเศษเท่ากับ 5 ถ้า r(x) = ax + b คือเศษที่เหลือจากการหาร P(x) ด้วย
(x – 1)(x – 3) แล้ว 3a + 2b เท่ากับเท่าไร

( )
2
⎡1 3 3 ⎤
2. 43) ให้ α และ β เป็นรากทั้งสองของสมการ x + 7x – 1 = 0 ค่าของ ⎢
2
α + β ⎥ เท่ากับเท่าไร
⎢ 25 ⎥
3 2
3. (2544) กําหนด x – 1 และ x + 1 เป็นตัวประกอบของ P(x) = 2x + 3x + ax – b โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงที่
เศษเหลือจากการหาร P(x) ด้วย x + a + 2b คือเท่าไร
4. (2544) กําหนดให้สมการ (x + 1)(x2 + 1)(x3 + 1) = 30x3 แล้วคําตอบ x ที่เป็นจํานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ
และ x มีค่ามากกว่า 1 คือ เท่าไร
5. (2544) ให้ α, β และ γ เป็นรากทั้งสามของสมการ x3 – 9x + 5 = 0 ค่าของ (1 - α)2(1 - β)2(1 - γ)2 เท่ากับ
เท่าไร
6. (2546) ให้ a, b ∈ R ถ้า a2 – 2b2 = 17 แล้ว ค่าของ (2a + 3b)2 – (3a + 4b)2 เท่ากับเท่าไร
7. (2546) จงหาค่า p ทุกค่าที่ทําให้เศษที่เกิดจากการหาร x3 – 2x2 – 3x – 11 ด้วย x + p เท่ากับเศษที่เกิดจากการ
หาร x3 – x2 – 9 ด้วย x + p
8. (2546) จงหาจํานวนเต็มบวก k ทุกจํานวนที่ทําให้สมการ x2 – k(x – 1) – 3 = 0 มีคําตอบเป็นจํานวนจริงบวกหนึ่ง
คําตอบและจํานวนจริงลบหนึ่งคําตอบ

สมาคมคณิตศาสตร์
9. (2543) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
a. ถ้า A = { x | x ∈ R และ 2x4 + x2 – x – 2 = 0} แล้ว {{1}} ∈ P(P(A))
b. ถ้า B = { 0, {0}} แล้ว P(B) – B มีสมาชิก 2 ตัว
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. ข้อ 1 และ 2 จริง ข. ข้อ 1 เท่านั้นจริง
ค. ข้อ 2 เท่านั้นจริง ง. ข้อ 1 และ 2 เท็จ
10. (2543) ให้ a และ b เป็นจํานวนเต็มซึ่ง x + 1 หาร 3x3 + 4ax2 – 6bx + 5 เหลือเศษเท่ากับ 4 ห.ร.ม. ของ a
และ b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

โอลิมปิกวิชาการ สสวท.
11. (2533) ถ้า (x + 1)(x + 2)(x + 3)(x + 4) + 1 = (Ax2 + Bx + C)2 แล้ว A2 + B2 + C2 เท่ากับเท่าไร
ก. 14 ข. 36 ค. 51 ง. 62
12. (2534) ให้ A เป็นเซตคําตอบที่เป็นจํานวนจริงของสมการ x4 – 2x3 + 2x2 – 2x + 1 = 0 แล้ว จํานวนสมาชิกของ
P(A) เท่ากับเท่าไร
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
13. (2535) กําหนดให้ S = { x | x ∈ Q | 4x – 16x - 5x + 36x + 9 = 0} แล้ว ผลคูณของสมาชิกทั้งหมดของ
4 3 2

S มีค่าเท่ากับเท่าไร
9 99
ก. − ข. -9 ค. ง. 9
4 44
1 1
14. (2535) ให้ x > 0 และ x2 + 2 = 7 แล้ว x5 + 5 เท่ากับเท่าไร
x x
ก. 63 ข. 123 ค. 140 ง. 143
2 3 2
15. (2537) ถ้า 3x – 13x + 4 เป็นตัวประกอบของ 3x + ax + bx – 8 ค่าของ a + b ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ก. - 49 ข. - 11 ค. 22 ง. 49

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 35

16. (2538) กําหนดให้ A เป็นเซตคําตอบของสมการ (x2 + 3x – 4)3 + (2x2 – x – 1)3 = (3x2 + 2x – 5)3 แล้ว ผล
คูณของสมาชิกทุกตัวของ A เท่ากับเท่าไร
10 40 50 80
ก. − ข. − ค. − ง. −
3 3 3 3
5 2
17. (2543) ถ้า x = a และ y = b สอดคล้องกับสมการ 5x – 2xy + 2y – 2x – 2y + 1 = 0 แล้ว ค่าของ
10a – 2b เท่ากับเท่าไร
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
+
18. (2543) กําหนดให้ a, b ∈ I ซึ่ง a b + ab + a + b + 8ab = 83 แล้ว a + b เท่ากับเท่าไร
2 2 3 3

19. (2545) จงหาค่า k ที่ทําให้สมการพหุนาม x2 – (4k + 3)x + (3k2 + 3k + 2) = 0 มีรากจริงทั้งสองราก และ


ผลบวกของกําลังสองของรากทั้งสองมีค่าน้อยที่สุด

ข้อสอบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
20. กําหนดให้ A = { x | x4 – 10x3 + 35x2 – 50x + 24 = 0}
3n − 1
B= {x∈ |x= เมื่อ n ∈ I , 0 ≤ n < 6}
2
C = { x | x3 – 5x2 + 2x + 8 = 0}
ข้อใดถูกต้อง
ก. (A – B) ∩ C = {2} ข. (A ∪ B) - C = {1, 3}
ก. (A ∩ B) ∪ B= {1, 2, 4} ง. ถูกทุกข้อ
21. กําหนดให้ A = { x ∈ R | x – 5x + 4 = 0}
4 2

B = { x ∈ R | x3 – 2x2 – 5x + 6 = 0}
จงหาว่าผลบวกของสมาชิกใน B มากกว่าผลบวกของสมาชิกใน A เท่าไร
22. กําหนดให้ A = {x ∈ R |12x3 + 16x2 – 5x – 3 = 0} จงหาว่าสมาชิกของ A ที่มีค่าน้อยที่สุดและมีค่ามากที่สุด
ต่างกันเป็นเท่าไร
23. ให้ S = { p2 | p เป็นคําตอบของสมการ x4 + 6x3 + 7x2 – 12x – 18 = 0} ผลบวกของสมาชิกทุกตัวใน S มีค่า
เท่าไร

ÊÁºaµi¢o§¡ÒÃäÁ‹e·‹Ò¡a¹
ในหัวข้อสมบัติของการเท่ากัน ได้พูดถึงสมบัติทั่วไปของระบบจํานวนจริงแล้ว ในหัวข้อนี้ นี้จะมีสมบัติเพิ่มขึ้นอีก 3
สมบัติ แต่ก่อนอื่น ขอทบทวนสมบัติการเท่ากันก่อน ดังนี้
ถ้า a ,b ,c เป็นจํานวนจริงใดๆ
สมบัติ การบวก การคูณ
ปิด 1. a + b ∈ 6. ab ∈
สลับที่ 2. a + b = b + a 7. ab = ba
เปลี่ยนกลุ่ม 3. ( a + b ) + c = a + ( b + c ) 8. ( ab )c = a( bc )
การมีเอกลักษณ์ 4. มี 0 ซึ่ง a + 0 = a = 0 + a 9. มี 1 ซึ่ง a 1 = a = 1 a
การมีอินเวอร์ส 5. a + (-a) = 0 = (-a) + a 10. a (a-1) = 1 = (a-1) a
การแจกแจง 11. a( b + c ) = ab + ac
ในระบบจํานวนจริงจะมีระบบย่อย + ซึ่ง +
⊂ มีสมบัติเพิ่มเติมอีก 3 ประการ คือ
12. สมบัติไตรวิภาค ( Trichotomy ) ถ้า a เป็นจํานวนจริงใดๆ แล้ว ข้อต่อไปนี้ข้อใดข้อหนึ่งและเพียง
ข้อเดียวจะต้องเป็นจริง คือ
1. a = 0 2. a ∈ + 3. -a ∈ +
13. ถ้า a , b ∈ + แล้ว a + b ∈ +
14. ถ้า a , b ∈ + แล้ว a b ∈ +
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 36

สมบัติของจํานวนจริงที่มีชื่อว่า “สมบัติไตรวิภาค (Trichotomy Property)” เป็นพื้นฐานในการให้ความหมายคําว่า


“มากกว่า”, “น้อยกว่า” และเป็นพื้นฐานในการสร้างแนวในการแก้อสมการ

สมบัติไตรวิภาค (Trichotomy Property)


ถ้า a เป็นจํานวนจริงใดๆ ข้อใดข้อหนึ่งและเพียงข้อเดียวจะต้องเป็นจริงคือ
1. a = 0 2. a ∈ R+ 3. – a ∈R+
นิยาม เรียก a ว่าจํานวนจริงศูนย์ ก็ต่อเมื่อ a=0
เรียก a ว่าจํานวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ a ∈ R+
เรียก a ว่าจํานวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ – a ∈R+
ถ้ากําหนดจํานวนจริง a และ b โดยที่ a – b∈ R จากสมบัติไตรวิภาค จะได้ว่าข้อใดข้อหนึ่งและเพียงข้อเดียวต่อไปนี้เป็นจริง
1. a – b = 0 2. a – b ∈ R+ 3. – (a – b) ∈ R+ แต่ –(a – b) = b – a
ดังนั้น –(a – b) ∈ R+ ก็ต่อเมื่อ b – a ∈R+

นิยาม เรียก a เท่ากับ b ก็ต่อเมื่อ a – b = 0


เรียก a มากกว่า b ก็ต่อเมื่อ a – b ∈R+
เรียก a น้อยกว่า b ก็ต่อเมื่อ b – a ∈R+
a เท่ากับ b เขียนแทนด้วย a = b a มากกว่า b เขียนแทนด้วย a > b
a น้อยกว่า b เขียนแทนด้วย a < b
∴ a > b ก็ตอ่ เมื่อ a – b ∈R+ a < b ก็ต่อเมื่อ b – a ∈R+

ตัวอย่าง จงพิสูจน์ว่า a2 + b2 ≥ 2ab


พิสูจน์ จาก (a2 + b2) – 2ab = a2 – 2ab + b2
= (a – b)2
แต่ (a – b)2 ≥ 0 เสมอ ดังนั้น (a2 + b2) – 2ab ≥ 0
ในกรณีที่ (a2 + b2) – 2ab = 0 จะได้ว่า (a2 + b2) = 2ab
ในกรณีที่ (a2 + b2) – 2ab > 0 จะได้ว่า (a2 + b2) > 2ab
ดังนั้น a2 + b2 ≥ 2ab

 สมบัติไตรวิภาคของสองจํานวน (Trichotomy Property)


ถ้า a และ b เป็นจํานวนจริงสองจํานวนใด ๆ แล้ว ข้อต่อไปนี้ข้อใดและเพียงข้อเดียวเท่านั้นจะต้องเป็นจริง
1. a = b 2. a > b 3. a < b

 ทฤษฎีบทของการไม่เท่ากันบางประการ
ทฤษฎีบท สมบัติการถ่ายทอด
ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c
พิสูจน์ a>b และ b > c กําหนดให้
a – b ∈R +
และ b – c ∈R+ สมบัติไตรวิภาค
(a – b) + (b – c) = R+ สมบัติปิด
(a – b) + (b – c) = [a + (- b)] + [b + (- c)] นิยามการลบ
(a – b) + (b – c) = a + [(- b) + b] + (- c) การเปลี่ยนกลุ่มการบวก
(a – b) + (b – c) = a + 0 + (- c) ตัวผกผันการบวก
(a – b) + (b – c) = a + (- c) เอกลักษณ์การบวก
(a – b) + (b – c) =a–c นิยามการลบ
∴a–c ∈R+ สมบัติปิด
a>c นิยามของสมบัติไตรวิภาค

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 37

ตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ให้ผู้อ่านลองพิสูจน์ด้วยตนเอง

ทฤษฎีบท การบวกด้วยจํานวนที่เท่ากัน
ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c เมื่อ c เป็นจํานวนจริงใดๆ
พิสูจน์ a>b ………………………………………..
a-b>0 ………………………………………..
(a + c) - (b + c) = (a + c) + (-1)(b + c) ………………………………………..
= a + c + (-1)b + (-1)c ………………………………………..
= a + c + (- b) + (-c) ………………………………………..
= a + (- b) + c + (-c) ………………………………………..
= a + (- b) + 0 ………………………………………..
= a + (- b) ………………………………………..
=a–b ………………………………………..
∴ (a + c) - (b + c) > 0 ………………………………………..
∴a+b>b+c ………………………………………..

ทฤษฎีบท จํานวนบวกและจํานวนลบเปรียบเทียบกับ 0
1. a เป็นจํานวนจริงบวก ก็ต่อเมื่อ a > 0
2. a เป็นจํานวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ a < 0
พิสูจน์ 1. a เป็นจํานวนจริงบวก ก็ต่อเมื่อ a ∈ R+
a ∈ R+ ก็ต่อเมื่อ a – 0 ∈ R+
a – 0 ∈ R+ ก็ต่อเมื่อ a > 0
ดังนั้น a เป็นจํานวนจริงบวก ก็ต่อเมื่อ a > 0
2. a เป็นจํานวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ – a ∈ R+
- a ∈ R+ ก็ต่อเมื่อ 0 – a ∈ R+
0 – a ∈ R+ ก็ต่อเมื่อ a < 0
ดังนั้น a เป็นจํานวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ a < 0

ทฤษฎีบท สมบัติการคูณด้วยจํานวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์
1. ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc
2. ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc
พิสูจน์ 1. a > b และ c > 0 ………………………………………..
a - b ∈ R+ และ c ∈ R+ ………………………………………..
(a – b)c ∈ R+ ………………………………………..
ac – bc ∈ R+ ………………………………………..
∴ ac > bc ………………………………………..
2. a > b และ c < 0 ………………………………………..
a - b ∈ R+ และ - c ∈ R+ ………………………………………..
(a – b)(- c) ∈ R+ ………………………………………..
- ac + bc ∈ R+ ………………………………………..
bc - ac ∈ R+ ………………………………………..
bc > ac ………………………………………..
∴ ac < bc ………………………………………..

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 38

ทฤษฎีบท สมบัติการตัดออกสําหรับการบวก
ถ้า a + c > b + c แล้ว a > b
พิสูจน์ a+c >b+c ………………………………………..
a + c + (-c) > b + c + (-c) ………………………………………..
a+0 >b+0 ………………………………………..
a>b ………………………………………..

ทฤษฎีบท การตัดออกสําหรับการคูณ
1. ถ้า ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b
2. ถ้า ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b

พิสูจน์ 1. ac > bc และ c > 0 ………………………………………..


c > 0 และ c > 0 -1
………………………………………..
(ac)c > (bc)c
-1 -1
………………………………………..
a(c⋅c ) > b(c⋅c )
-1 -1
………………………………………..
a(1) > b(1) ………………………………………..
∴a>b ………………………………………..
2. พิสูจน์ในทํานองเดียวกันกับข้อ 1
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

นิยาม a ≤ b หมายถึง a ไม่มากกว่า b


a ≥ b หมายถึง a ไม่น้อยกว่า b
a<b<c หมายถึง a < b และ b < c
a≤b≤c หมายถึง a ≤ b และ b ≤ c
a<b≤c หมายถึง a < b และ b ≤ c
ทฤษฎีบท ถ้า r และ s เป็นจํานวนจริง และ r < s จะมีจํานวนอตรรกยะ c ซึ่ง r < c < s

 ทฤษฎีบทต่อไปนี้เป็นจริงเสมอ (ไม่พิสจู น์ให้ดู) กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงใด ๆ


1. สมบัติการบวก ถ้า a < b และ c < d แล้ว a + c < b + d
2. สมบัติการลบ ถ้า a < b และ c < d แล้ว a – d < b – c
3. สมบัติการคูณ 3.1 ถ้า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ว ac < bd
3.2 ถ้า a < b < 0 และ c < d < 0 แล้ว ac > bd
1 1
4. การยกกําลังด้วย I − 4.1 ถ้า ab > 0 และ a < b แล้ว a-1 > b-1 หรือ > (inverse)
a b
4.2 ถ้า a > b แล้ว an > bn ; a, b ∈ − และ n∈ I −
a b
5. สมบัติการหาร 5.1 ถ้า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ว หรือ <
d c
a b
5.2 ถ้า a < b < 0 และ c < d < 0 แล้ว >
d c
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 39

6. การยกกําลังสอง 6.1 ถ้า a > 0 และ b > 0 และ a < b แล้ว a2 < b2
6.2 ถ้า a < 0 และ b < 0 และ a < b แล้ว a2 > b2
6.3 ถ้า a < 0 และ b > 0 และ |a| < |b| แล้ว 0 ≤ a2 < b2
6.4 ถ้า a < 0 และ b > 0 และ |a| > |b| แล้ว 0 ≤ a2 < b2
1
10. ถ้า a + > 2 แล้ว a > 1 ; a ∈ I −
a
a+b
11. ถ้า a < b แล้ว a < <b
2
a+b
11. ≥ ab (อสมการค่าเฉลี่ยเลขคณิต – เรขาคณิต : AM – GM Inequalities)
2

อสมการค่าเฉลี่ยเลขคณิต – เรขาคณิต
+ a+b
ให้ a, b ∈ จะได้ว่า ≥ ab และสมการเป็นจริงก็ต่อเมื่อ a = b
2
a+b
เรียก ว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)
2
เรียก ab ว่า ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean)

พิสูจน์ ให้ a ≥ 0 และ b ≥ 0 เราทราบว่า


( )
2
a− b ≥0
∴ a - 2 ab + b ≥0
a+b
≥ ab
2
( )
2
และ a− b = 0 ก็ต่อเมื่อ a = b คือ a = b
a+b
และสมการจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อ = ab ก็ต่อเมื่อ a = b
2
นอกจากนี้ ยังสามารถพิสูจน์ได้โดยใช้เรขาคณิต แต่ในที่นี้จะไม่กล่าวถึง

 การบวก ลบ คูณ หาร เครื่องหมายไม่เท่ากัน


คุณสมบัติการบวก ลบ ของจํานวนที่ไม่เท่ากัน
กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงใด ๆ
ถ้า a < x < b และ c < y < d
จะได้ว่า 1) a + c < x + y < b + d
และ 2) a – d < x – y < b – c
พิสูจน์ 1) a+b <x+y และ x + y < b + d
จาก a<x และ x < b
c<y และ y < d
a+c<x+y และ x + y < b + d
ดังนั้น a+c<x+y<b+d

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 40

2) จาก a < x และ x< b


c < y และ y<d
หรือ y < d และ c<y
a–d < x–y และ x–y<b–c
ดังนั้น a–d <x–y <b–c

คุณสมบัติการคูณของจํานวนที่ไม่เท่ากัน
กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงบวก กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงลบ
ถ้า a < x < b และ c < y < d ถ้า a < x < b และ c < y < d
จะได้ว่า ac < xy < bd จะได้ว่า ac > xy > bd
พิสูจน์ จาก a < x และ x < b พิสูจน์ จาก a < x และ x<b
c < y และ y < d c < y และ y<d
ac < xy และ xy < bd ac > xy และ xy > bd
∴ ac < xy < bd ∴ ac > xy > bd

คุณสมบัติการหารของจํานวนที่ไม่เท่ากัน
กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงบวก กําหนดให้ a, b, c, d เป็นจํานวนจริงลบ
ถ้า a < x < b และ c < y < d ถ้า a < x < b และ c < y < d
a x b a x b
จะได้ว่า < < จะได้ว่า > >
d y c d y c
พิสูจน์ จาก a < x และ x < b พิสูจน์ จาก a < x และ x<b
c < y และ y < d c < y และ y<d
หรือ y < d และ c < y หรือ y < d และ c<y
a x x b a x x b
< และ < > และ >
d y y c d y y c
a x b a x b
∴ < < ∴ > >
d y c d y c

แบบฝึกหัดที่ 10
x
1. กําหนดให้ 2 < x < 5 และ 3 < y < 8 จงหา x + y, x – y, xy และ
y
x
2. กําหนดให้ -5 < x < -1 และ -4 < y < -2 จงหา 2x + y, x – 2y, xy และ
y
x 2 2
3. กําหนดให้ 2 < x < 5 และ -7 < y < -2 จงหา x + y, x –y, xy, ,x +y
y
4. กําหนดให้ -5 < x < 3 และ 2 < y < 4 จงหา 2x + y, x2 –y, xy

5. จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. จริงหรือไม่ที่ ถ้า a > b แล้ว a2 > b2
1 1
2. จริงหรือไม่ที่ ถ้า a, b ≠ 0 และ a > b แล้ว <
a b

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 41

1 1
3. กรณีใดบ้างที่ a > b แล้ว <
a b
1 1
4. กรณีใดบ้างที่ a > b แล้ว >
a b
5. จริงหรือไม่ที่ ถ้า a > b แล้ว –a < -b
6. จงเปรียบเทียบ สมบัติของ “>” , “≥” กับสมบัติการเท่ากัน
7. จงให้ความหมายของ a ≤ b < c

ª‹Ç§æÅa¡ÒÃ桌ÊÁ¡ÒÃ
 ช่วง (Intervals)
ช่วง (interval) เป็นขอบเขตที่ระบุว่า อสมการนี้จะมีคําตอบเป็นเท่าไรบ้าง
บทนิยาม เมื่อเอกภพสัมพันธ์เป็นเซตของจํานวนจริง และ a < b
ช่วงเปิด (a, b) หมายถึง {x|a < x < b}
ช่วงปิด [a, b] หมายถึง {x|a ≤ x ≤ b}
ช่วงครึ่งเปิด (a, b] หมายถึง {x|a < x ≤ b}
ช่วงครึ่งเปิด [a, b) หมายถึง {x|a ≤ x < b}
ช่วง (a, ∞) หมายถึง {x|x > a}
ช่วง [a, ∞) หมายถึง {x|x ≥ a}
ช่วง (-∞, a) หมายถึง {x|x < a}
ช่วง (-∞, a] หมายถึง {x|x ≤ a}
ช่วง (-∞,∞) หมายถึง เซตของจํานวนจริง
หมายเหตุ ช่วง ∞ เป็นที่ตกลงว่า จะใช้ช่วงเปิดเสมอ
( , ) คือ ช่วงเปิด (จุดโปร่ง แสดงว่าไม่รวมจํานวนนั้น)
[ , ] คือ ช่วงปิด (จุดทึบ แสดงว่ารวมจํานวนนั้นด้วย)
ตัวอย่าง จงเขียนช่วงด้วยกราฟบนเส้นจํานวน
ช่วง (2,5)
0 1 2 3 4 5
ช่วง [2,5]
0 1 2 3 4 5
ช่วง (2,5]
0 1 2 3 4 5
ช่วง [2,5)
0 1 2 3 4 5
ช่วง (2, ∞)
0 1 2 3 4 5
ช่วง [2, ∞)
0 1 2 3 4 5
ช่วง (-∞,5)
0 1 2 3 4 5
ช่วง (-∞,5]
0 1 2 3 4 5

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 42

แบบฝึกหัดที่ 11
1. จงเขียนช่วงต่อไปนี้ในรูปของเซต และแสดงช่วงโดยเส้นจํานวน
1) [-3,1) 6) [1, ∞)
2) (-2, ∞) 7) (-1,4]
3) [4,7] 8) (-∞,1]
4) (-3,0) 9) (-10,-8)
5) (-∞,-3) 10) [2.5,4]
2. ถ้า A = (-1,2) , B = [0,4] จงหาเซตต่อไปนี้
1) A ∪ B 4) B – A
2) A ∩ B 5) A’
3) A – B 6) B’
3. ถ้า A = {x|2 ≤ x ≤ 5} B = {x|-1 < x < 3} C = {x|x < x ≤ 4} จงหาเซตต่อไปนี้
1) B∪C
2) A∩C
3) A∪B∪C
4) A∩B∩C
5) A’ ∩ B
6) B’ ∩ C
7) (A ∪ B) ∩ C
8) (A ∩ C) ∪ (B ∩ C)

 การแก้อสมการ
อสมการ (Inequality) คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของจํานวน โดยมีสัญลักษณ์ < (น้อยกว่า)
> (มากกว่า) ≤ (น้อยกว่าหรือเท่ากับ) ≥ (มากกว่าหรือเท่ากับ) ≠ (ไม่เท่ากับ) บอกความสัมพันธ์ระหว่างจํานวน
เซตคําตอบของอสมการใน x หมายถึง เซตที่มีสมาชิกเป็นจํานวนจริง โดยที่จํานวนเหล่านี้เมื่อนํามาแทน x แล้ว ทําให้อสมการ
เป็นจริง
การแก้อสมการ คือ การหาเซตคําตอบของอสมการ การแก้อสมการจึงนิยมใช้สมบัติ 2 ข้อดังต่อไปนี้
1. การบวกทั้งสองข้างของอสมการด้วยจํานวนจริง
2. การคูณทั้งสองข้างของอสมการด้วยจํานวนจริงบวก
ถ้าจะใช้สมบัติอื่นต้องระมัดระวังให้ดี เป็นต้นว่าการคูณทั้งสองข้างของอสมการด้วยจํานวนจริงลบ การกลับตัวเศษเป็นตัวส่วน
การยกกําลังสองทั้งสองข้าง ต้องระมัดระวังการเปลี่ยนเครื่องหมายของการไม่เท่ากัน
♠ อสมการเชิงเส้น
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ 9x –2 < - 20
วิธีทํา 9x –2 < - 20
(นํา 2 มาบวกทั้งสองข้าง); 9x –2 + 2 < - 20 + 2
9x < - 18
1 9x 18
(นํา คูณกันทัง้ สองข้าง) ; < −
9 9 9
∴ x < -2
ดังนั้น ค่าของ x ที่สอดคล้องอสมการที่กําหนดเป็นจํานวนจริงที่น้อยกว่า -6
เซตคําตอบของอสมการ คือ {x|x < -6}
เนื่องจากอสมการนั้น เราได้ศึกษากันเมื่อช่วงชั้นที่ 3 แล้ว ดังนั้น ในที่นี้จึงขอไม่พูดอีก
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 43

♠ อสมการกําลังสองและมากกว่าสอง
เรามีวิธีการในการแก้อสมการ คือ เราจะจัดให้พจน์ทั้งหมดที่ไม่เป็นศูนย์อยู่ทางซ้ายของอสมการ ให้ทางขวาเป็นศูนย์
(ให้สอดคล้องกับสมบัติการไม่เท่ากัน) แล้วพิจารณาว่าแยกตัวประกอบได้หรือไม่ ถ้าแยกตัวประกอบได้ ให้พิจารณาเครื่องหมาย
ของแต่ละพจน์ ขอให้ลองพิจารณาตามตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x2 – 20 < x


จัดนิพจน์ให้อยู่ข้างเดียวกัน จะได้ x2 – x - 20 <0
แยกตัวประกอบพหุนาม จะได้ (x + 4)(x – 5) < 0
จากตัวประกอบที่แยกได้ เราต้องพิจารณาหาค่า x ที่ทําให้สอดคล้องตามอสมการ คือ เครื่องหมายของ
วงเล็บ (x + 4) และ (x – 5) ต้องมีเครื่องหมายต่างกัน

การพิจารณาเครื่องหมายแต่ละพจน์
ในการตรวจสอบแต่ละตัวประกอบว่าค่านั้นจะเป็นบวก หรือลบ หรือศูนย์เมื่อใด จุดที่แต่ละตัวประกอบเป็นศูนย์ เรียกว่า
จุดวิกฤต (Critical Point) และเรียกค่านี้ว่า ค่าวิกฤต (critical value)
เริ่มต้นนี้ เราจะวิเคราะห์เครื่องหมายของวงเล็บ (x + 4) ก่อน
ค่าวิกฤต x + 4 จะเป็นบวกเมื่อ x + 4 จะเป็นลบเมื่อ
x+4=0 x+4>0 x+4<0
x=4 x > -4 x < -4
นําค่าวิกฤตมาลงในเส้นจํานวน
- +
-4
จึงสรุปได้ว่า x +4 จะเป็นบวกเมื่อ x มากกว่า -4
จะเป็นลบเมื่อ x น้อยกว่า -4
จะเป็นศูนย์เมื่อ x เท่ากับ - 4
ในทํานองเดียวกัน พิจารณาเครื่องหมายของ (x – 5)
ค่าวิกฤต x – 5 จะเป็นบวกเมื่อ x – 5 จะเป็นลบเมื่อ
x-5=0 x– 5 > 0 x–5 <0
x=5 x>5 x <5
นําค่าวิกฤตมาลงในเส้นจํานวน
- +
5
จึงสรุปได้ว่า x -5 จะเป็นบวก เมื่อ x มากกว่า 5
จะเป็นลบ เมื่อ x น้อยกว่า 5
จะเป็นศูนย์เมื่อ x เท่ากับ 5
เนื่องจากสองวงเล็บนี้ต่างแสดงเครื่องหมายและคูณกัน ดังนั้น เราจึงนํามาพิจารณาร่วมกันเมื่อนํามาคูณกันแล้ว
เครื่องหมายของ x + 4 - + +
เครื่องหมายของ x – 5 - - +
เครื่องหมายของ (x + 4)(x – 5) + - +
-4 5
สังเกตว่า เครื่องหมายของสองวงเล็บคูณกัน เครื่องหมายจะเปลี่ยนไป เมื่อพิจารณาจากอสมการ เราจะพบว่า อสมการ
น้อยกว่าศูนย์ แสดงว่าอสมการนี้แสดงค่าลบ ดังนั้น เราจึงตอบค่าช่วงเปิด คือ (-4, 5)
เขียนกราฟแสดงคําตอบได้เป็น

-4 5

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 44

ข้อสังเกตที่ต้องนํามาปฏิบัติได้
- กรณีที่อสมการ เป็นเครื่องหมายที่ มากกว่าหรือเท่ากับ ให้เราตอบในช่วงปิด เพราะว่าเรารวมค่าที่มีโอกาสจะเป็นศูนย์ด้วย

วิธีของช่วง (The Method of Intervals)


Consider the sign of the expression f(x) = (x -a1)(x -a2) ... (x -an) where a1 < a2 < ... < an.

On the real number line, mark points a1, a2, ..., a n. Start with a positive sign for x > an; -ve for an -1 < x
< an; and then alternating +ve and -ve signs. The logic is that when x> an; all factors x -a1, x -a2, ..., x -a n are
+ve and hence f(x) is +ve; when an-1 < x < an, only one factor x -an is -ve, and so f(x) is -ve, and so on.

จากวิธีของช่วง สรุปได้ดังต่อไปนี้
1. หาจุด x ที่ทําให้ (x – a1)(x – a2)(x – a3)…(x – an) = 0 จะได้ x = a1, a2, a3, …, an
2. นําค่า a1, a2, a3, …, an กําหนดลงบนเส้นจํานวน ซึ่งค่าเหล่านี้จะแบ่งเส้นจํานวนเป็นช่วงๆ (ให้เราเรียงจากน้อยไปหา
มากบนเส้นจํานวน)
3. ใส่เครื่องหมาย + และ - สลับกัน โดยเริ่มที่บวกก่อนทางด้านช่องขวาสุด
4. เลือกช่วงที่มีเครื่องหมายตามที่โจทย์ต้องการไปตอบ
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x2 – 2x – 3 ≤ 0
วิธีทํา แยกตัวประกอบ จะได้ (x -3)(x + 1) ≤ 0
จากวิธีของช่วง จะได้
+ - +
-1 3
ดังนั้น เซตคําตอบคือ [-1, 3]
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ x(x + 2)(x + 1)(3x − 5) < 0
5
วิธีทํา สมการนี้ได้แยกตัวประกอบแล้ว ได้ค่าวิกฤตเป็น = - 1 , - 2 , 0 ,
3

+ - + - +
-2 -1 0 5
5 3
เซตคําตอบของอสมการคือ (−2 , -1 ) ∪ (0 , )
3

♠ อสมการตรรกยะ (Rational Inequalities)


อสมการอตรรกยะเป็นอสมการที่อยู่ในรูปเศษส่วนโดยมีพจน์ที่ไม่ทราบค่าว่าจะเป็นบวก หรือลบ หรือศูนย์เมื่อใด ดังนั้น
เราจะไม่ใช้วิธีการคูณทแยง แต่เราอาจแก้อสมการได้ 2 วิธี คือการใช้วิธีของช่วง คือเราต้องให้ความสําคัญกับส่วนของเศษส่วน
ให้นิพจน์ที่ไม่ทราบค่าไม่เป็นศูนย์ (ค่าวิกฤตต้องไม่ทําให้เป็นศูนย์) และอีกวิธีคือ เราจะยกกําลังสองของพจน์เป็นส่วนแล้วคูณทั้ง
อสมการ (เพื่อทําให้มีการตัดทอนไปหนึ่งครั้งและมีค่าให้นํามาคิดหนึ่งครั้ง) แต่อย่าลืมตั้งเงื่อนไขไว้เบื้องต้นว่า ค่าวิกฤตนั้นต้องไม่
เป็นศูนย์
1 1
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ <
x 2
1 1
วิธีทํา จาก <
x 2
1 1
- < 0
x 2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 45

2−x
< 0
2x
2−x 2
( )(2x ) < 0(2x2) เมื่อ x ≠ 0
2x
(2 – x)x < 0
-x(x – 2) < 0
x(x-1) >0
ใช้วิธีการของช่วง

+ - +
0 1
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการคือ (-∞, 0) ∪ (2, ∞)
ขอให้สังเกตว่า การใช้วิธีการของช่วงกับการคูณด้วยพจน์ที่ยกกําลังสองก็ให้ความหมายเท่ากัน

x 2
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ ≥
x+2 x−1
วิธีทํา จากอสมการที่กําหนดให้ จะได้
x 2

x+2 x−1
x 2
− ≥0
x+2 x−1
x(x − 1) − 2(x + 2)
≥0
(x + 2)(x − 1)
x2 − x − 2x − 4
≥0
(x + 2)(x − 1)
x2 − 3x − 4
≥0
(x + 2)(x − 1)
(x + 1)(x − 4)
≥0
(x + 2)(x − 1)
จากวิธีการของช่วง จะได้ค่าวิกฤตเป็น -2, -1, 1, 4 (x + 2, x – 1 ต้องไม่เป็นศูนย์)

+ - + - +
-2 1 4

เซตคําตอบของอสมการคือ ( −∞, - 2 ) ∪ ⎣⎡−1 , 1) ∪ ⎣⎡4, − ∞ )

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 46

♠ อสมการอตรรกยะ (Irrational Inequalities)


เป็นอสมการที่นิพจน์ที่ไม่ทราบค่าอยู่ภายใต้เครื่องหมายกรณฑ์ เราสามารถหาเซตคําตอบได้โดยการยกกําลังสองทั้งสอง
ข้าง ให้เป็นจํานวนเต็มบวกหรือเต็มศูนย์ โดยอสมการใหม่ต้องสมมูลกับอสมการเก่า การยกกําลังทั้งสองข้างของอสมการด้วย
จํานวนเต็มบวกคี่ จะได้อสมการที่สมมูลกับอสมการขั้นต้น ถ้ายกกําลังสองทั้งสองข้างของอสมการด้วยจํานวนเต็มบวกคู่ จะได้
อสมการซึ่งสมมูลกับอสมการขั้นต้นถ้าทั้งสองข้างมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ แต่ก่อนอื่นให้เราพิจารณาเงื่อนไขค่าที่อยู่ในกรณฑ์ให้
มากว่าหรือเท่ากับศูนย์ และพิจารณาเพิ่มเติมถ้ากรณฑ์เป็นส่วน ส่วนต้องไม่เท่ากับศูนย์
2x − 1 1
ตัวอย่าง จงแก้อสมการ <
2 x −2
วิธีทํา ก่อนอื่นพิจารณาเงื่อนไขที่เป็นเทอมของตัวแปรที่อยู่ในกรณฑ์
2x − 1 ; 2x – 1 ≥ 0
1
x ≥
2
x−2; x -2 >0
x >2
จัดอสมการโดยอาจจะไม่ให้อยู่ในกรณฑ์ โดยการยกกําลังสองทั้งสองข้าง
2x − 1 1
<
2 x −2
2x − 1 1
<
2 x−2
จัดให้อยู่ข้างเดียวกัน จะได้
2x − 1 1
- < 0
2 x−2
(2x − 1)(x − 2) − 2
< 0 ;x≠2
2(x − 2)
2x2 − 5x
< 0
2(x − 2)
x(2x − 5)
< 0
2(x − 2)
5
จากวิธีของช่วง จะได้ค่าวิกฤตเป็น 0,2, ; x ≠ 2
2

+ +
0 2 5
2
Intersect กับเงื่อนไขแรก จึงได้ว่า
5
ดังนั้น เซตคําตอบคือ (2, )
2
ข้อควรทราบเกี่ยวกับการแก้อสมการ
- อสมการที่เป็นเลขยกกําลัง เช่น (x – a)2(x – b)3(x + c) > 0 กรณีที่เป็นกําลังคู่ ให้เราตัดการพิจารณาทิ้งได้เลยเพราะ
เสมือนว่า หารด้วยกําลังคู่ตลอด ยกเว้นกรณีที่มีตัวหาร ยังคงต้องนํามาพิจารณาไม่ให้ตัวหารเป็นศูนย์ หากว่ากรณีกําลังเป็น
กําลังคี่ ก็ให้นํามาพิจารณาโดยลดทอนกําลังเป็นหนึ่งแล้วนํามาคิด และแก้อสมการต่อไป
- กรณีทีเป็นอสมการสองชั้น เช่น x < y < z ให้หาแยกกรณีก่อน แล้วนําแต่ละกรณีมา Intersect กัน

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 47

แบบฝึกหัดที่ 12
จงแก้อสมการต่อไปนี้
1. 3x + 1 < 2x – 1 1 1
26. ≥
2. 4y + 7 > 2(y + 1) x+2 2x − 3
3. 2(3x – 1) > 3(y – 1) x 1
27. >
4. 4 – (3 – x) < 3x – (3 – 2x) x+2 x
5. x2 – x – 6 ≤ 0 x+1 1
6. 2x2 + 7x + 3 ≥ 0 28. <
2x − 3 x−3
7. 6x – x2 ≥ 5 (x + 3x − 10)(x2 + x − 6)
2
8. 2x < 3 – x2 29. ≥0
x2 + 2x − 15
9. x2 + 2x < 15
3x2 + 2 ≥ 7x (2x2 + x − 1)(3x2 − 5x)
10. 30. ≤0
11. x3 – 3x2 ≤ 10x 3x2 − 2x − 1
12. x3 – x2 – x + 1 ≥ 0 31. 0 ≤ x2 + 1 ≤ 5
13. x3 – x > 2x2 – 2 2 3
32. ≤x≤
14. x(x2 + 4) < 5x2 x −1 x−2
x2 + 12 2x + 1
15. >7 33. 1≤ ≤3
x x−4
(1 − x)(1 + 2x)
x2 + 6 34. >0
16. ≤5 x+1
x
2x + 1
(x − 1)(x + 3) 35. >0
17. −2 ≤ 0 (x − 4)2 (x − 3)3
x
2x − 3 x+3
18. >0 36. ≤0
(x + 2)(x − 5) (x + 2)2 (x − 7)9
6 8x2 − 11x − 10
19. >1 37. ≥0
x−1 (x + 4)(x2 − 2x − 63)
2x − 4 18 − 15x
20. <1 38. > x −6
x−1 x + 2x − 3
2

6 4 2
21. ≤x+1 39. ≥
x−4 x−2 x+1
8
22. ≥x 40. 2x2 + 7x + 3 < 7
x+2
5−x 41. −x(x2 + x − 2) < 2x
23. 2 <1
x − 3x + 2 42. x2 − 8x + 12 > x − 4
x+6
24. <6
x(x + 1)
1 1
25. ≥
x+1 x+4

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 48

 การแก้อสมการโดยอาศัยวงเล็บ
วงเล็บเปรียบเสมือนลูกกุญแจที่จะช่วยไขปัญหาในการแก้อสมการให้ง่ายขึ้น โดยมีหลักการคือ เราจะพิจารณา
เครื่องหมายของวงเล็บว่าจะเป็นบวก เป็นลบ และเป็นศูนย์เมื่อใด
วงเล็บมี 3 ลักษณะ คือ
- วงเล็บที่มีโอกาสเป็นได้ทั้งบวก ลบ และศูนย์ เช่น x – 3, (x – 4)3, x3 – 8 ฯลฯ
- วงเล็บที่มีโอกาสเป็นได้ทั้งบวก และศูนย์ เช่น (x + 1)10, (x – 2)500 ฯลฯ
- วงเล็บที่มีโอการเป็นบวกเพียงอย่างเดียว เช่น 4x2 + 5, (3x – 2)4 + 8 ฯลฯ
เพื่อความเข้าใจ ขอให้ดูตัวอย่างต่อไปนี้
(2x − 3)(x2 + 1)
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้อสมการ >0
(x6 + 8)
วิธีทํา เนื่องจากว่า x2 + 1 > 0 และ x6 + 8 > 0 อยู่แล้ว ไม่นํามาพิจารณา
ดังนั้น จะได้ว่า 2x – 3 > 0
3
x>
2
⎛3 ⎞
ดังนั้น เซตคําตอบคือ ⎜ , ∞ ⎟
⎝2 ⎠
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้อสมการ (4x − 3)7 (3x2 + 6) ≤ 0
วิธีทํา เนื่องจากว่า (4x – 3)7 = (4x – 3)6(4x – 3)
ซึ่ง (4x – 3)6 ≥ 0 และ 3x2 + 6 > 0 อยูแ่ ล้ว ไม่นํามาพิจารณา
ดังนั้น จะได้ว่า 4x - 3 ≤ 0
3
x≤
4
⎛ 3⎤
ดังนั้น เซตคําตอบคือ ⎜ −∞, ⎥
⎝ 4⎦
(x − 5)5(x2 − 1)(x2 − 4)
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้อสมการ ≥0
(x + 2)7
(x − 5)(x − 1)(x + 1)(x − 2)(x + 2)
วิธีทํา แยกตัวประกอบ และพิจารณาค่า จะได้ว่า ≥0
(x + 2)
ข้อสังเกต
ในการแก้อสมการ ถ้ามีพจน์ที่สามารถตัดทอนได้ เราจะทําการตัดทอนพหุนามได้เลยในขั้นต้น แต่เมื่อนําไป
พิจารณาตามวิธีของช่วง ให้เรานําค่าวิกฤตตัวทีต่ ัดทอนไปพิจารณาหลังจากดําเนินการตามวิธีของช่วงแล้ว โดยให้พิจารณา
ตามเงื่อนไข
จากเงื่อนไข จะได้ว่า x ≠ 2 นําไปคิดตามวิธีของช่วง จะได้

+ - + - +
-2 -1 1 2 5
ดังนั้น เซตคําตอบคือ (−∞, −2) ∪ (2, −1] ∪ [1, 2] ∪ [5, ∞)
− 5
ตัวอย่างที่ 4 จงแก้อสมการ ≥0
( 3x − 2)2
วิธีทํา เซตคําตอบคือเซตว่าง φ เพราะไม่มีจํานวนเต็มลบที่มากกว่าจํานวนเต็มบวกและเต็มศูนย์

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 49

8
ตัวอย่างที่ 5 จงแก้อสมการ ≥0
4x + 9
2

วิธีทํา เซตคําตอบคือจํานวนจริงใด ๆ ( ) +

(x − 3)2
ตัวอย่างที่ 6 จงแก้อสมการ >0
x2 + 4x + 5
วิธีทํา พิจารณา x2 + 4x + 5 พบว่าไม่สามารถแยกตัวประกอบแบบธรรมดาได้ ให้เราแยกตัวประกอบในรูป
กําลังสองสมบูรณ์ ซึ่งเท่ากับ (x + 2)2 + 1 ดังนั้นวงเล็บนี้ไม่นํามาพิจารณา
ทําให้ได้ว่า พิจารณาเฉาะวงเล็บ (x – 3)2 ซึ่ง (x – 3)2 ∈ + , {0}
ดังนั้น ต้องพิจารณาเงื่อนไขไม่ให้ x = 3 นั่นคือ x≠3
ดังนั้น เซตคําตอบคือ − {3}
(3x − 5)2
ตัวอย่างที่ 7 จงแก้อสมการ ≤0
x2 + 3
วิธีทํา จากการพิจารณา พบว่า x2 + 3 > 0 และ (3x – 5)2 ≥ 0
แต่จากโจทย์ ต้องการให้น้อยกว่าหรือเท่ากับ
ดังนั้น เงื่อนไขทีเป็นไปได้ คือ 3x – 5 = 0
5
x =
3
⎧5 ⎫
ดังนั้น เซตคําตอบคือ ⎨ ⎬
⎩3 ⎭
4x + 7
2
ตัวอย่างที่ 8 จงแก้อสมการ <0
(2x + 3x + 5)13
2

4x2 + 7
วิธีทํา ลดทอนวงเล็บ จะได้ว่า <0
2x2 + 3x + 5
ไม่พิจารณา 4x2 + 7
2
⎡ 3 2 ⎤ 31
2
วงเล็บ 2x + 3x + 5 = ⎢ 2x + ⎥ + >0
⎣ 4 ⎦ 8
ดังนั้น เซตคําตอบคือเซตว่าง φ
ตัวอย่างที่ 9 จงแก้อสมการ x−2 < 0
วิธีทํา เซตคําตอบคือเซตว่าง φ
ตัวอย่างที่ 10 จงแก้อสมการ 4x + 1 = −2
วิธีทํา เซตคําตอบคือเซตว่าง φ

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 50

แบบฝึกหัดที่ 13
จงแก้อสมการต่อไปนี้
(x + 3)(x + 1)(x − 5) (x2 + 3x − 10)(x2 − x − 12)
1. ≤0 5. ≥0
(x − 4)2 (x − 2) x2 + x − 20
(x − 5)5(x + 9)8(x − 10)10 6. (2x + 1)3(x + 1)5 < 0
2. ≤0
(x + 7)9 (x + 2)4 (x − 4)100 7. (x − 2)11(x − 3)24 (x − 4)53 ≥ 0
(x − 3)2 (x + 4)4 8. (x − 1)4 (x − 2)9 (x − 3)27 (x − 4)100 ≤ 0
3. >0
(x − 7)6
(x + 7)3 (x + 4)4 (x + 2)2
4. ≥0
(x2 − 1)(x2 + 2)

ตัวอย่างข้อสอบ
โอลิมปิกวิชาการ สสวท.
8
1. (2533) อินเตอร์เซคชันระหว่างเซตคําตอบของอสมการ + 3 ≤ x กับเซตข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
x−1
ก. ⎡⎣1, 5⎤⎦ ข. ⎡⎣1, 5 )
ค. ( −∞, 5) ง. [−1, 1) ∪ [5, ∞)
2x 3 + x2 − 2x − 1
2. (2533) เซตในข้อใดเป็นเซตคําตอบของอสมการ ≥0
x2 − 2x − 3
⎡ 1 ⎞
ก. (−3, −1) ∪ ⎢ − , 1 ⎟ ∪ (1, ∞)
⎣ 2 ⎠
⎡ 1 ⎞
ข. (−3, −1] ∪ ⎢ − , ∞ ⎟
⎣ 2 ⎠
⎡ 1⎤
ค. (−∞, −3) ∪ ⎢ −1, − ⎥ ∪ (1, ∞)
⎣ 2⎦
⎡ 1 ⎤
ง. (−3, −1] ∪ ⎢ − , 1⎥
⎣ 2 ⎦
3. (2533) กําหนดให้ a และ b เป็นจํานวนจริง โดยที่ a, b ≥ 0 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
a+b a+b
ก. = ab ข. ≠ ab
2 2
a+b a+b
ค. ≤ ab ง. ≥ ab
2 2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 51

1
4. (2535) กําหนด x + y < และ x2 + y2 < 2 ข้อใดถูก
2
ก. − 2 < x < x + 15
4
1
( )
1
ข. −1 < x < x − 15
4
( )
ค.
1
4
( 1
x − 15 < x < x + 15
4
) ( )
1
ง. 0 < x < x + 15
4
( )
⎧a a3 − 5a2b + 6ab2 ⎫
5. (2538) กําหนดให้ A = ⎨ ∈ | ab > 0 และ ≥ 0 ⎬ A เท่ากับสับเซตใดของ
⎩ b (a − b)3

{
6. (2545) ถ้า S = x ∈ | x8 − 5x5 + x2 − x + 1 > 0 แล้ว R - S คือเซตใด }
ข้อสอบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
⎡3 ⎞
7. กําหนดช่วงของจํานวนจริงโดยนิยาม An = ⎢ n , 3n ⎟ เมื่อ n เป็นจํานวนเต็มบวก จงหาว่า
⎣ ⎠
(A1 ∪ A4) – (A2 ∩ A3) คือข้อใด
⎡3 3 ⎞ ⎡3 ⎞
ก. ⎢ , ⎟ ∪ ⎣⎡6, 12 ) ข. ⎢ 4 , 6 ⎟ ∪ ⎣⎡7, 12 )
⎣4 2 ⎠ ⎣ ⎠
⎡3 ⎞ ⎡ 3 ⎞
ค. ⎢ , 6 ⎟ ง. ⎢− 4 , 6 ⎟
⎣2 ⎠ ⎣ ⎠
x2 (x − 3)
8. เซตคําตอบของอสมการ ≥ 0 คือข้อใด
x+4
ก. { x | x ≥ 3 หรือ x ≤ -4} ข. { x | x ≥ 3 หรือ x < -4 หรือ x ≠ 0}
ค. { x | x ≥ 3 หรือ x < -4 หรือ x = 0} ง. { | x ≥ 3 หรือ x ≤ -4 หรือ x = 0}
9. เซตคําตอบของ 3x-2 – 5x-1 – 2 > 0 คือข้อใด
⎛ 1⎞
( −3, 0 ) ∪ ⎛⎜ 0,
1⎞
ก. ⎜ −3, − ⎟ ข. ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠
⎛1 ⎞ ⎡1 ⎞
ค. ( −∞, −3 ) ∪ ⎜ , ∞ ⎟ ง. ( −∞, −3⎤⎦ ∪ ⎢ , ∞ ⎟
⎝2 ⎠ ⎣2 ⎠
⎧ 2x + 1 ⎫
10. กําหนดให้ A = {x |3x2 + 5x + 2 < 0} และ B = ⎨x | ≥ 0⎬
⎩ x−3 ⎭
⎡ 2⎞
ก. φ ข. ⎢ −1, − ⎟
⎣ 3⎠
⎛ 1 ⎤ ⎡ 2 1⎞
ค. ⎜ − , 3 ⎥ ง. ( −∞, 1⎤⎦ ∪ ⎢ − , − ⎟ ∪ ⎡⎣3, ∞ )
⎝ 2 ⎦ ⎣ 3 2⎠

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 52

¤‹ÒÊaÁºÙó¢o§¨íҹǹ¨Ãi§
นิยาม กําหนดให้ a แทนจํานวนจริงใด ๆ
ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง (Absolute Value of Real Number) หมายถึง ระยะห่างระหว่างจุดแทน 0 กับจุดแทน a
บนเส้นจํานวน ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วย |a|
เงื่อนไขของค่าสัมบูรณ์
⎧a when a > 0

a = ⎨0 when a = 0
⎪ −a when a < 0

จากบทนิยามของค่าสัมบูรณ์ ขอให้พิจารณาตามตัวอย่างต่อไปนี้
|5| = 5 เพราะ 5 > 0 |-5| = -(-5) เพราะ -5 < 0
|0| = 0 เพราะ 0 =0
คําว่าค่าสัมบูรณ์ เป็นความหมายเชิงเรขาคณิต เมื่อค่าสัมบูรณ์เป็นระยะทาง แสดงว่าต้องมีค่าเป็นบวกเสมอ
ดังนั้น จากบทนิยาม จึงนําไปสรุปเป็นทฤษฎีบทบางข้อเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ได้ดังนี้ (ไม่พิสูจน์ให้ดู) ซึ่งมีประโยชน์มากในการ
แก้สมการและอสมการ

 คุณสมบัติพื้นฐานของค่าสัมบูรณ์
⎧a when a ≥ 0
1. a =⎨
⎩−a when a < 0
2. a ≥ 0
3. a = −a
4. a − b = b−a
5. ab = a⋅b
a a
6. = โดยที่ b ≠ 0
b b
2
7. a = a2
3
8. a ≠ a3
9. a + b ≤ a+b (เรียกว่า อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม)
- ถ้า ab > 0 (a, b มีเครื่องหมายเหมือนกัน) แล้ว a + b = a+b
- ถ้า ab < 0 (a, b มีเครื่องหมายต่างกัน) แล้ว a + b < a+b
10. a − b ≥ a−b
- ถ้า ab > 0 (a, b มีเครื่องหมายเหมือนกัน) แล้ว a − b = a−b
- ถ้า ab < 0 (a, b มีเครื่องหมายต่างกัน) แล้ว a − b > a−b
11. กําหนด p(x) เป็นพหุนามใดๆ ถ้า a > 0 และ p(x) = a แล้ว x = a หรือ x = - a
12. ถ้า p(x) = q(x) แล้ว p(x) = q(x) หรือ p(x) = - q(x)
-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 53

 การแก้สมการค่าสัมบูรณ์
สามารถแบ่งวิธีการแก้สมการได้ 3 วิธีคือ
1. การใช้คุณสมบัติของค่าสัมบูรณ์
2. การยกกําลังสองทั้งสองข้าง
3. การพิจารณาตามนิยามของค่าสัมบูรณ์
ในการเลือกว่าจะทําขั้นตอนใด อย่างไร ให้พิจารณาจากโจทย์และขั้นตอนในการแก้โจทย์ปัญหา โดยวิธีที่ง่ายทีส่ ุด
คือการใช้คุณสมบัติของค่าสัมบูรณ์
รูปแบบของค่าสัมบูรณ์ในการแก้สมการ
ถ้า p(x) = a โดยที่ a ≥ 0 แล้ว p(x) = a หรือ p(x) = -a
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3x + 2 = 7
วิธีทํา จากนิยามของค่าสัมบูรณ์ จะได้ว่า
3x + 2 = 7 หรือ 3x + 2 = -7
3x = 5 หรือ 3x = -9
5
x= หรือ x = -3
3
5
และ -3
ดังนั้น คําตอบของสมการคือ
3
ตัวอย่าง จงแก้สมการ x2 + 3x − 2 = 3x + 7
วิธีทํา จากนิยามของค่าสัมบูรณ์ จะได้ว่า
x2 + 3x – 2 = 3x + 7 หรือ x2 + 3x – 2 = - (3x + 7)
2
x –9=0 หรือ x2 – 6x + 5 = 0
(x – 3)(x + 3) = 0 หรือ (x – 5)(x – 1) = 0
x = 3, -3 หรือ x = 5, 1
หลังจากตรวจคําตอบแล้ว ดังนั้น คําตอบของสมการคือ 3,5 และ 1
ตัวอย่าง จงแก้สมการ x2 + 3x − 1 = − 4
วิธีทํา จากนิยามของค่าสัมบูรณ์ ทําให้ทราบว่า ค่าสัมบูรณ์จะต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 เสมอ
ดังนั้น เซตคําตอบของสมการคือ เซตว่าง
ถ้า p(x) = a q(x) โดยที่ a > 0 แล้ว p(x) = a[q(x)] หรือ p(x) = -a[q(x)]
นอกจากจะพิจารณาตามนิยามแล้ว อาจนําไปยกกําลังสองทั้งสองข้างก็ได้ เมื่อนําไปยกกําลังสองทั้งสองข้าง ก็จะ
ทําให้เข้ารูปแบบของเลขยกกําลัง คือ จะทําให้เป็นบวกเสมอ ซึ่งหลังจากนั้น เราจะใช้รูปแบบผลต่างกําลังสองในการแก้
สมการได้เช่นเดียวกัน
ทบทวน... ผลต่างกําลังสอง = ……………………………………………………….

2x − 1
ตัวอย่าง จงแก้สมการ = 3
x+3
วิธีทํา ในตัวอย่างนี้ สามารถทําได้ในรูปแบบแรกเช่นเดียวกัน แต่ทํานองกลับกัน ก็สามารถใช้สมบัติ
ของค่าสัมบูรณ์ให้อยู่ในรูปแบบที่ได้กล่าวถึงไว้ก็ได้ โดยที่
2x − 1
= 3 ดังนั้น 2x − 1 = 3 x + 3
x+3
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ จะได้ว่า
2x – 1 = 3( x + 3) หรือ 2x – 1 = -3(x + 3)
2x – 1 = 3x + 9 หรือ 2x – 1 = - 3x – 9

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 54

8
x = -10 หรือ x= −
5
8
ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ -10 และ −
5
ในทํานองเดียวกัน เราสามารถใช้การยกกําลังสองทั้งสองข้างก็ได้ ดังนี้
(2x − 1)2 = 3(x + 3)2
(2x − 1)2 - 3(x + 3)2 = 0
[(2x − 1) + (3x + 9)][(2x − 1) − (3x + 9)] =0
(5x + 8)(x + 10) = 0
8
ดังนั้น คําตอบของสมการ คือ -10 และ −
5
1. p(x) = p(x) หรือ p(x)2 = p(x)
2. p(x) = −p(x) หรือ p(x)2 = −p(x)
⎧p(x) when p(x) ≥ 0
แก้โดยนิยามค่าสัมบูรณ์ คือ p(x)2 = p(x) = ⎨
⎩p(x) when p(x) ≤ 0
สรุป จาก 1. จะเป็นจริง เมื่อ p(x) ≥ 0
2. จะเป็นจริง เมื่อ p(x) ≤ 0
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2x2 + 5x − 3 = 3 − 5x − 2x2
วิธีทํา สังเกตว่า ตรงกับรูปแบบที่ 2 คือ 2x2 + 5x − 3 = −(2x2 + 5x − 3)
ดังนั้น จะได้ว่า2x2 + 5x – 3 ≤ 0
(2x – 1)(x + 3) ≤ 0
1
ดังนั้น เซตคําตอบคือ [-3, ]
2
a p(x) ± b q(x) = c r(x) โดยที่ a, b, c มากกว่า 0 หรือนอกเหนือจาก 3 กรณีแรก สามารถแก้ได้โดย
วิธีการ
1. ยกกําลังสองทั้งสองข้าง
2. แยกพิจารณาเป็นช่วง ตามนิยามของค่าสัมบูรณ์
เนื่องจากการแก้สมการประเภทนี้ หากใช้วิธีการยกกําลังสอง ผลที่ได้จะออกมาค่อนข้างยุ่งยากพอสมควร ดังนั้น
ในที่นี้จะนําเสนอการแก้สมการโดยการใช้การพิจารณาเป็นช่วงแทน ขอให้พิจารณาตามตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2x − 1 − 3 − x = 3
1
วิธีทํา จากสมการดังกล่าว เพื่อต้องการปลดค่าสัมบูรณ์ ก่อนอื่นหาค่าวิกฤตคือ และ 3
2
นําค่าวิกฤตมาเขียนลงบนเส้นจํานวน เรียงจากน้อยไปมาก แล้วพิจารณาค่าต่าง ๆ ในช่วง

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 55

1
2
≤X≤3
X< 1
2
X>3

1
2
3
จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ
- (2x – 1) – (3 – x) = 3 (2x – 1) – (3 – x) =3 (2x – 1) – [-(3 – x)] = 3
- 2x + 1 – 3 + x =3 2x – 1 – 3 + x =3 (2x – 1 ) + (3 – x) =3
-x =5 3x =7 x =1
x =-5 X = 37
แต่ 1 ไม่อยู่ในช่วงดังกล่าว
- 5 อยู่ในช่วงดังกล่าว 7
ดังนั้น ไม่มีคําตอบในช่วงนี้
ดังนั้น ในช่วงนี้ x = - 5 3
อยู่ในช่วงดังกล่าว
ดังนั้น ในช่วงนี้ x = 37

7
ดังนั้น เซตคําตอบคือ {-5, }
3

สรุปขั้นตอนการแก้สมการค่าสัมบูรณ์โดยพิจารณาเงื่อนไข
1. หาค่าวิกฤตในค่าสัมบูรณ์ทั้งหมด เขียนบนเส้นจํานวน เรียงจากน้อยไปหามาก
2. พิจารณาถอดวงเล็บ โดยอาศัยนิยามของค่าสัมบูรณ์เป็นช่วง ๆ ไป
3. คําตอบแต่ละช่วง ให้ตรวจสอบว่าคําตอบที่ได้จากการแก้สมการอยู่ในช่วงหรือไม่
4. นําเซตคําตอบแต่ละช่วงที่ใช้ได้จากข้อ 3 มายูเนียนกัน

แบบฝึกหัดที่ 14
จงหาเซตคําตอบของสมการต่อไปนี้
1. 2x + 1 = 4 12. 1 − x = x − 1
2. −3x + 4 = 1 13. x − 1 = x − 1
3. 4 − 2x = 3 14. x − 1 = 1 − x
4. x2 − 20 = 5 15. 2x + 1 = 2x + 1
1 16. 2x + 1 = −2x − 1
5. x + =5
3 17. 2x + 3 = x − 5
x+2 18. 5x + 2 = 2(x + 3)
6. =3
x+5
19. 2x − 5 = 2x + 1
7. 5x + 2 = −5
20. 3x + 1 = −1 − 3x
8. 3x − 5 = 7x − 2
21. x + 2 − 1 = 2x − 3
9. x − 6 = 3 − 2x
22. x − 1 + 2 = 3x + 1
10. 2x + 4 = x − 5
23. x + 1 + x + 2 + x − 1 = 5
11. 1 − x = 1 − x
24. x − 4 + x − 3 = 1

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 56

25. 2x − 1 + 1 = 2 28. 3x + 7 = 5(1 − x)


26. x − 2x + 1 = − x 5x − 1
29. + 4x = 0
27. x − 4 + x − 3 = 1 5x − 1

30. (2x − 1) − (x + 2x + 3) = 2x − 1 + x + 2x + 3
2 2

 การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
คุณสมบัติของอสมการค่าสัมบูรณ์ กําหนดให้ a > 0
1. ถ้า |p(x)| < a แล้ว – a < p(x) < a
2. ถ้า |p(x)| ≤ a แล้ว – a ≤ p(x) ≤ a
3. ถ้า |p(x)| > a แล้ว p(x) > a หรือ p(x) < - a
4. ถ้า |p(x)| ≥ a แล้ว p(x) ≥ a หรือ p(x) ≤ - a
5. ถ้า |p(x)| > |q(x)| แล้ว [p(x)]2 > [q(x)]2
6. ถ้า |p(x)| > |q(x)| แล้ว [p(x)]3 ไม่จําเป็น > [q(x)]3

หลักการแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
1. ใช้ตามหลักคุณสมบัติ 6 ข้อที่กล่าวมา กรณีที่เป็นอสมการสองชั้น อย่าลืมนําคําตอบทีไ่ ด้จากเงื่อนไขทั้งสองมา
Intersection กัน
2. นอกเหนือจาก 6 ข้อ ให้ใช้การพิจารณาเป็นช่วง เหมือนกับการแก้สมการค่าสัมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตคําตอบของอสมการ |x2 – 9| ≥ 6


กรณีที่ 1 x2 – 9 ≥ 6
x2 – 15 ≥ 0
(x - 15 )(x + 15 ) ≥ 0 เซตคําตอบคือ ( −∞, − 15 ⎤ ∪ ⎡ 15, ∞
⎦ ⎣ )
กรณีที่ 2 x2 – 9 ≤ - 6
x2 – 3 ≤ 0
(x - 3 )(x + 3) ≤0 เซตคําตอบคือ ⎡ − 3, 3 ⎤
⎣ ⎦
นําคําตอบทั้งหมดมา Union กัน
(
จะได้เซตคําตอบทั้งหมดคือ −∞, − 15 ⎤ ∪ ⎡ −
⎦ ⎣
3, 3 ⎤ ∪ ⎡ 15, ∞
⎦ ⎣ )
ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตคําตอบของอสมการ |x + 4| ≥ x - 3
จากคุณสมบัติ เราจะได้ว่า
-( x – 3) ≤ x + 4 ≤ x –3
-x+3 ≤ x+4 ≤ x –3
จะได้ว่า - x + 3 ≤ x + 4 และ x + 4 ≤x–3
-2x ≤ 1 และ 4 ≤-3
1
x≥ − และ เซตว่าง
2
ดังนั้น เซตคําตอบคือ เซตว่าง

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 57

3x + 1
ตัวอย่างที่ 3 จงหาเซตคําตอบของอสมการ ≤5
x+3
เนื่องจาก |x + 3| เป็นบวกเสมอ ดังนั้น
|3x + 1| ≤ 5|x + 3| โดยที่ x≠-3
(3x + 1) 2
≤ 25(x + 3)2 x≠-3
(3x + 1)2 - 25(x + 3)2 ≤ 0
[3x + 1 – 5x – 15][3x + 1 + 5x + 15] ≤ 0
(8x + 16)(- 2x – 14) ≤ 0
(x + 7)(x + 2) ≥
ดังนั้น เซตคําตอบของอสมการคือ ( −∞, −7 ⎤⎦ ∪ ⎡⎣−2, ∞ )

ตัวอย่าง จงหาเซตคําตอบของอสมการ x − 1 + x + 4 < 6


วิธีทํา จากอสมการ ต้องการปลดค่าสัมบูรณ์ ก่อนอื่นหาค่าวิกฤต คือ 1 และ – 4 แล้วพิจารณาช่วง
-4≤X≤1
X<-4 X>1

จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ - 4จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ 1 จากนิยามค่าสัมบูรณ์ ปลดวงเล็บ


- (x - 1) – (x + 4) <6 -(x – 1) + (x + 4) <6 x-1+x+4 <6
-x+1–x-4 <6 -x+1+x-4 <6 2x + 3 < 6
- 2x – 3 <6 -3 <9 2x < 3
- 2x < 9 3
เซตคําตอบในช่วงนี้คือ x<
9 2
x < − Intersection กับช่วงที่พิจารณา
2 เซตคําตอบคือ [-4, 1] 3
เซตคําตอบในช่วงนี้คือ (-∞, )
9 2
เซตคําตอบในช่วงนี้คือ (-∞, − )
2 Intersection กับช่วงที่พิจารณา
Intersection กับช่วงที่พิจารณา 3
เซตคําตอบคือ (1, )
9 2
เซตคําตอบคือ (-∞, − )
2
9 3
ดังนั้น เซตคําตอบคือ (-∞, − ) ∪ [-4, 1] ∪ (1, )
2 2

แบบฝึกหัดที่ 15
จงหาเซตคําตอบของอสมการต่อไปนี้
1. x+1 <4 3 − 2x
5. <4
2. 2x + 5 < 3 x+2
x−1
3.
1
−7 <2 6. ≤4
x −8
4. 12x + 5 ≤ 1 7. x2 − x − 1 < 5

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 58

8. x(x + 1) < x + 4 25. 3x + 7 > 5(1 − x)


9. x + 2 ≤ 3 − x + 3 26. 3x − 1 + 2 > x + 1
x 27. x − 4 + 2x − 1 > 4
10. ≤2
x −1 x +1
28. >1
11. x2 − 5x < 6x x
2x + 1 3x − 2
12. ≤1 29. >5
2x − 1 x+1 −1
13. 4x + 3 ≤ 5x − 3 5x − 1
30. + 4x ≥ 0
14. 2x + 3 < x < 3x + 8 5x − 1
31. x − 5 > x − 1 + 3
15. x − 2 + x + 3 < 6
x+3
16. x − 1 x − 2 ≤ x + 2 32. +2 >0
x−4
3 1− x
17. < −x 33. 7x − 1 ≥ 6
x−1
34. 3 − 2x ≥ x + 4
18. 2x − 5 < 3x − 2
2x + 1
19. 2x + 3 − x + 4 < 2 35. >3
x−1
1 + 2x − 1
20. ≤3 36. x − 1 x + 3 ≥ 5
x+3
37. x − 1 + 2x + 3 > 5
21. x + 1 > x + x − 1
4−x
x+2 38. −2 ≥ x+3
22. ≥4 x−4
2x − 3
39. 8x + 2 > 3x − 2
23. 2x − 3 ≥ 7x − 1
40. x − 1 − x + 2x + 3 > 2x + 4
24. 2x + 10 ≥ 2x + 10

ตัวอย่างข้อสอบ
โอลิมปิกวิชาการ สอวน. ศูนย์ ร.ร. สวนกุหลาบวิทยาลัย
1. (2545) ให้ A = {-4, -3, -2, -1, 0 ,1 ,2 ,3 ,4}
A = { x ∈ A | ⏐x⏐≤ 1}
B = { x ∈ A | x2 – 4 ≤ 0}
C = { y | y = 2x, x ∈ B}
จะได้ (A ∪ B′) ∩ C เท่ากับเท่าไร
2. (2545) กําหนดเซต A = { x ∈ R | (⏐x⏐- 2)(⏐x⏐- 3) ≤ 0}
และ B = { x ∈ R | 1 <⏐x⏐< 2}
จะได้ A ∪ B เท่ากับเท่าไร

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 59

3 5
3. (2546) กําหนดให้ A = { x ∈ R | x − ≤ }
2 2
A = { x ∈ A | x2 – 2x – 3 = 0}
B = { x ∈ A | x4 – 2x2 - 3 = 0}
จะได้ จํานวนสมาชิกของ A , B และ A ∪ B เท่ากับเท่าไร

สมาคมคณิตศาสตร์
4. (2541) เซตคําตอบของอสมการ x3 – 6x2 + 12x – 5 >⏐x + 1⏐ เป็นสับเซตของเซตใดต่อไปนี้
⎛ 1⎞
ก. ⎜ −∞, ⎟ ∪ ( 4, ∞ ) ข. ( 0, 2 ) ∪ ( 3, ∞ )
⎝ 2 ⎠
⎛1 ⎞ ⎛ 3⎞
ค. ( −∞, 0 ) ∪ ⎜ , 4 ⎟ ง. ⎜ 1, ⎟ ∪ ( 4, ∞ )
⎝2 ⎠ ⎝ 2⎠
5. (2541) จงหาจํานวนจริง a และ b ทั้งหมดที่ทําให้อสมการ ⏐2x2 + ax + b⏐≤ 1 มีเซตคําตอบเป็นเซต [-1, 1]
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

โอลิมปิกวิชาการ สสวท.
6. (2544) กําหนดให้ x, y เป็นจํานวนจริง ซึ่ง ⏐4 + x⏐+⏐5 + y⏐≤ 100 ค่าของ y ที่น้อยที่สุดสอดคล้องกับ
อสมการข้างต้นเป็นเท่าใด
⎧⎪ x2 + kx − 1 ⎫⎪
7. (2546) ถ้า k = ⎨x ∈ | 2 < 2 for x ∈ ⎬ แล้ว จงหาเซต k (ตอบในรูปช่วง)
⎩⎪ x − x + 1 ⎭⎪

ข้อสอบโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
8. กําหนดให้ A = { x | ⏐x2 – 3x - 20⏐= x2 + 3x + 2} แล้วผลบวกของค่าสัมบูรณ์ของสมาชิกทั้งหมดของ
เซต A เท่ากับเท่าใด
29 20 17 11
ก. ข. ค. ง.
3 3 3 3
|x|
9. ค่าของ x ที่สอดคล้องกับสมการ ≤ 1 คือเท่าใด
| x | −5
ก. x ≤ -5 ข. 0 ≤ x < 5 ค. x > 5 ง. -5 < x < 5
10. เซตคําตอบของอสมการ ⏐x – 1 ⏐<⏐3x + 5⏐<⏐x + 7⏐ คือข้อใด
ก. ( −1, 1) ข. ( −∞, −1) ค. ( −3, 1) ง. ( −3, ∞ )
11. พิจารณาข้อความ
1. เซตคําตอบของอสมการ ⏐⏐x⏐-7⏐< 2 คือ (−9, −5) ∪ (5, 9)
2. เซตคําตอบของอสมการ 3x2 + 5x – 11 < 2x2 – x – 4 < x2 – 2x + 2 คือ {x | -7 < x < 2}
ข้อใดสรุปถูก
ก. ข้อ 1 ถูก ข. ข้อ 2 ถูก ค. ถูกทั้งหมด ง. ผิดทั้งหมด

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 60

Êa¨¾¨¹¤ÇÒÁºÃiºÙó
สมบัติความบริบูรณ์เป็นสมบัติสุดท้ายของระบบจํานวนจริง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัจพจน์การมีค่าขอบเขตบน
น้อยที่สุด (least upper bound axiom)
ให้ แทนเซตของจํานวนจริง
บทนิยาม ให้ S ⊂ กล่าวว่า จํานวนจริง a จะเป็นค่าขอบเขตบนของ S ก็ต่อเมื่อ a ไม่น้อยกว่าสมาชิกใด ๆ
ของ S ในกรณีนี้เรากล่าวว่า S มีขอบเขตบน (Upper Bound)
จากนิยาม สรุปได้ว่า S จะมีค่าขอบเขตบนก็ต่อเมื่อมีจํานวนจริง a ซึ่ง a ≥ x สําหรับ x ∈ S เรียก a ว่า
ขอบเขตบนของ S และสมาชิกที่มีค่าน้อยที่สุดในเซตของขอบเขตบน เรียกว่า ขอบเขตบนที่มีค่าน้อยที่สุด (Least upper
bound หรือ Supremum หรือ lub) a จะเป็นค่าขอบเขตบนน้อยสุดก็ต่อเมื่อ a เป็นขอบเขตบนของ S และถ้า b เป็น
ขอบเขตบนของ S จะได้ว่า a ≤ b
⎧ 1 1 1 1 ⎫
ตัวอย่างที่ 1 กําหนดให้ S = ⎨1, , , , ..., , ...⎬
⎩ 2 3 4 n ⎭
S มีค่าขอบเขตบน ซึ่งค่าขอบเขตบนได้แก่ 1 เพราะไม่มีสมาชิกใดของ S ที่มากกว่า 1
ค่าขอบเขตบนของ S ยังมีค่าอื่น ๆ เช่น 1.2, 1.5, 2, 3 เป็นต้น
ตัวอย่างที่ 2 กําหนดให้ A = (-4, 5)
เป็นช่วงเปิด A มีค่าขอบเขตบน
ค่าของขอบเขตบนได้แก่ 5 และค่าอื่น ๆ ที่มากกว่า 5 เช่น 5.1, 6, 6.5, 100 เป็นต้น
ค่า 5 จะเป็นค่าขอบเขตบนน้อยที่สุดของ A
ตัวอย่างที่ 3 กําหนดให้ S = [2, 4]
เป็นช่วงปิด S มีค่าขอบเขตบน
ค่าของขอบเขตบนได้แก่ 4 และค่าอื่น ๆ ที่มากกว่า 5 เช่น 4.1, 4.2, 8 เป็นต้น
ค่า 4 จะเป็นค่าขอบเขตบนน้อยที่สุดของ A

แบบฝึกหัดที่ 16
ในระบบจํานวนจริง จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนีม้ ีขอบเขตบนหรือไม่ ในกรณีทมี่ ีค่าขอบเขตบน จะมีค่า
ของขอบเขตบนน้อยที่สดุ หรือไม่
1. S = φ
2. S = {1, 2, 3} ∪ [0, π]
3. S = {0, 1, 2, 3} ∪ [- ∞, 3 ]
4. S = {x ∈R | x3< 3}
5. S = {x ∈R | x2 > 2}
n
6. S = {x ∈R | x = ; n ∈ I+ }
n+2
1
7. S = {x ∈R | x = 1 − n ; n ∈ I+ และ n ≥ 0}
2
100
8. S = {x ∈R | x = n ; n ∈ I+}
2
9. S = (3, 4] ∪ (2, 10]
1
10. S = {x ∈R | x = 1 + n ; n ∈ W}
2

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 61

ทฤษฎีบท กําหนดให้ S ⊂ ถ้า S มีขอบเขตบนค่าน้อยสุด จะมีได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น


พิสูจน์ ให้ a, b เป็นขอบเขตบนค่าน้อยสุด (ต่อไปจะแทนด้วย lub) ของ S
จะได้ a ≤ b เพราะ b เป็นขอบเขตบนของ S และ lub(S) = a
จะได้ b ≤ a เพราะ a เป็นขอบเขตบนของ S และ lub(S) = b
สัญลักษณ์ของขอบเขตบนน้อยสุดของ S เขียนแทนด้วย sup.S (หรือ lub.S) เช่น ถ้า S = (3, 7) แล้ว sub.S = 7
ข้อสังเกต
1. ถ้า S มีขอบเขตบนแล้ว S จะมีขอบเขตบนน้อยที่สุดเพียงค่าเดียวเท่านั้น
2. ถ้า S ไม่มีขอบเขตบนแล้วก็จะไม่มีขอบเขตบนน้อยที่สุด
3. ขอบเขตบนของ S อาจจะเป็นหรือไม่เป็นสมาชิกของ S ก็ได้ เช่น S1 = (0, 4] และ S2 = (0,4) เราพบว่า
4 เป็นค่าขอบเขตบน และเป็นค่าขอบเขตบนน้อยที่สุดของ S1 และ S2 (4∈S1 แต่ 4 ∉ S2)
บทนิยาม ให้ S ⊂ และ S จะมีขอบเขตล่างก็ต่อเมื่อมีจํานวนจริง a ซึ่ง a ≤ x และ x ∈ R เรียก a ว่าเป็น
ขอบเขตล่าง(bounded below) ของ S

ทฤษฎีบท กําหนดให้ S ⊂ , S ≠ φ และ S มีขอบเขตล่างแล้ว S จะมีขอบเขตล่างค่ามากสุด


ถ้า S ⊂ จํานวนจริง a จะเป็นขอบเขตล่างค่ามากสุด (greatest lower bound หรือ infirmum หรือ
glb) ของ S ก็ต่อเมื่อ a เป็นขอบเขตล่างของ S และถ้า b เป็นขอบเขตล่างของ S จะได้ว่า b ≤ a

ตัวอย่างที่ 4 กําหนดให้ S = {1, 2, 3, 4}


ขอบเขตล่างของ S คือ 1
1 เป็นขอบเขตล่างที่มากสุดของ S เพราะเป็นสมาชิกของขอบเขตล่างที่มีค่ามากที่สุด
ตัวอย่างที่ 5 กําหนดให้ S = (2, 8)
2 และจํานวนที่น้อยกว่า 2 เป็นขอบเขตล่างของ S
2 เป็นขอบเขตล่างที่มีค่ามากที่สุดของ S

ข้อสังเกต
1. ถ้า S มีขอบเขตล่างแล้ว S จะมีขอบเขตล่างที่มีค่ามากสุด
2. ถ้า S ไม่มีขอบเขตล่างแล้วก็จะไม่มีขอบเขตล่างมากสุด
3. ขอบเขตล่างของ S อาจจะเป็นหรือไม่เป็นสมาชิกของ S ก็ได้
สัญลักษณ์ของขอบเขตล่างมากสุดของ S เขียนแทนด้วย inf.S (หรือ glb.S) เช่น ถ้า S = (2, 5) แล้ว inf.S = 2

ทฤษฎีบท กําหนดให้ S ⊂ ถ้า S มีขอบเขตล่างค่ามากสุด จะมีได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น


พิสูจน์ ให้ a, b เป็นขอบเขตบนค่าน้อยสุด (ต่อไปจะแทนด้วย glb) ของ S
จะได้ a ≥ b เพราะ b เป็นขอบเขตบนของ S และ glb(S) = a
จะได้ b ≥ a เพราะ a เป็นขอบเขตบนของ S และ glb(S) = b

P15 สมบัติความบริบูรณ์ (สัจพจน์การมีค่าขอบเขตบนน้อยที่สุด)


กล่าวว่า “ถ้า S ⊂ และ S ≠ φ และ S มีค่าขอบเขตบนแล้ว S จะมีค่าขอบเขตบนน้อยสุด” และเรียกเซต
ที่มีค่าขอบเขตบนและขอบเขตล่างว่า เป็นเซตที่มีขอบเขต

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 62

แบบฝึกหัดที่ 17
ในระบบจํานวนจริง จงพิจารณาเซต S แต่ละข้อต่อไปนี้ แล้วตอบคําถามข้อ a, b
a. S มีขอบเขตบนและขอบเขตล่างหรือไม่
b. ถ้า S มีขอบเขตบนและขอบเขตล่างแล้ว S จะมีค่าขอบเขตบนน้อยที่สุดและขอบเขตล่างมากสุดเป็นเท่าไร
ข้อ Set
1. S = {x ∈ | x = 1 + 2-n, n ∈ I+ หรือ {0 }}
2. S = {x ∈ | x2 < 5}
3. S = {1, 2, 3} ∪ (-π, ∞)
4. S = {x ∈ | x2 < 4}
5. S = {x ∈ | x2 > 4}
6. S = {0, 1, 2, 3, 4} ∩ (0, π)

ในระบบจํานวนตรรกยะ กําหนดให้ S เป็นซับเซตของจํานวนตรรกยะ จงพิจารณาเซต S แต่ละข้อ


ต่อไปนี้ แล้วตอบคําถามข้อ a, b
a. S มีขอบเขตบนและขอบเขตล่างหรือไม่
b. ถ้า S มีขอบเขตบนและขอบเขตล่างแล้ว S จะมีค่าขอบเขตบนน้อยที่สุดและขอบเขตล่างมากสุดเป็นเท่าไร
ข้อ Set ตอบข้อ a ตอบข้อ b
1. S = {x ∈ | x < 4}
2

2. S = {x ∈ | x2 ≤ 9}
3. S = {x ∈ | x2 < 2}
4. S = {x ∈ | x2 ≤ 5}

ทําเครื่องหมายถูกหน้าข้อที่ถูก และทําเครื่องหมายผิดหน้าข้อทีผ่ ิด
__________ 1. 25 เป็นขอบเขตบนของ [-30, 12.5)
__________ 2. π เป็นขอบเขตบนของ {1, 3, π}
__________ 3. เซตของขอบเขตบนของ [-15, -3] คือ [-3, ∞)
__________ 4. เซตของขอบเขตบนของ (0, 5) และ [-1, 5] เป็นเซตเดียวกัน
__________ 5. (-∞, 100) มีขอบเขตบน
__________ 6. ขอบเขตบนของ S ต้องเป็นสมาชิกของ S
__________ 7. ขอบเขตบนของ S ต้องไม่เป็นสมาชิกของ S
__________ 8. สับเซตของ R ทุกซับเซตมีขอบเขตบน

ตัวอย่างข้อสอบ สสวท.
(2542) ให้ A = {x|⏐x-3⏐< 5} และ B = {x| x + 7 <⏐x + 1⏐} ค่าขอบเขตบนน้อยสุดของ A – B เท่ากับข้อ
ใดต่อไปนี้
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::
ระบบจํานวนจริง : Real Number System หน้าที่ 63

บรรณานุกรม.....
1. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมคณิตศาสตร์
เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4: สํานักพิมพ์องค์การค้าของคุรุสภา, 2546
2. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์. เอกสารประกอบการสอน Real Number System ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ;
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย, 2547
3. หมวดคณิตศาสตร์. เอกสารประกอบการสอน บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง ระดับมัธยมศึก ษาปีที่ 4 ;
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย, ไม่ทราบ พ.ศ.
4. อ.วิเศษ ลี้รัตนวลี. ระบบจํานวนจริง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ; โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย, 2544
5. ผศ.ดร.สรศักดิ์ ลี้รัตนาวลี. คณิตตรรกศาสตร์เบื้องต้น. : เอกสารประกอบการเรียน ภาควิชาคณิตศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2543
6. อนุ กรรมการปรั บ ปรุง หลั ก สู ตรวิท ยาศาสตร์ ทบวงมหาวิ ท ยาลัย . ตรรกศาสตร์และระบบจํา นวนจริง .
สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, กรุงเทพมหานคร : 2545
7. โครงการตําราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน.พีชคณิต ,กรุงเทพมหานคร :, 2547
8. อ.วัลลภา บุญวิเศษ และคณะ. แบบฝึกการเรียนและเสริมประสบการณ์ คณิตศาสตร์ ม.4 ค011 :
มัลติมีเดียพลับลิเซอร์ส, กรุงเทพมหานคร :
9. เอกสารประกอบการสอนโครงการพั ฒ นาผู้ มี ค วามสามารถพิ เ ศษทางคณิ ต ศาสตร์ ภาคเหนื อ . สมการ
พีชคณิตและระบบสมการ. 2547
10. เอกสารประกอบการสอนโครงการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร์ ภาคเหนือ.อสมการ.
2547
11. รศ.ดร.นพพร แหยมแสง. หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่ 4. สถาบัน
พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พ.ว.),กรุงเทพมหานคร : 2546
12. อ.พิพัฒน์พงศ์ ศรีวิศร และ อ.พิสมัย ศรีวิศร. คู่มือประกอบการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
พื้นฐานและเพิ่มเติม ม.4 เล่มที่ 1. The Books,กรุงเทพมหานคร
13. ธนวัฒน์ (สันติ) สนทราพรพล. คณิตศาสตร์ เล่ม 1 มัธยมศึกษาปีที่ 4. Science Center,
กรุงเทพมหานคร : 2547
14. ปราณี เหรี ย ญกิ ติ วั ฒ น์ และ ลั ด ดาวั ล ย์ เพ็ ญ สุ ภ า. คณิ ต ศาสตร์ ทั่ ว ไป . สํ า นั ก ประกายพรึ ก .
กรุงเทพมหานคร : 2530
15. ชุมนุมคณิตศาสตร์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย. เฉลยข้อสอบ สอวน 2543-2546, กรุงเทพมหานคร :
2547
16. สมาคมคณิ ต ศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ . เสริ ม ความรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ค011,
กรุงเทพมหานคร
17. _______________________________________________. รวมข้ อ สอบแข่ ง ขั น คณิ ต ศาสตร์ พ ร้ อ มแนวคิ ด
2541 – 2545 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. พิทักษ์การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร : 2546
18. รศ.ดํารงค์ ทิพย์โยธา. เฉลยข้อสอบแข่งขัน คณิตศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย ประจําปี 2533-2538.
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร : 2538
19. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). ข้อสอบแข่งขันโอลิมปิก พ.ศ.2543 วิชา
คณิตศาสตร์. บริษัท ราก ขวัญ จํากัด, กรุงเทพมหานคร : 2544
20. สสวท .ข้อสอบแข่งขันโอลิมปิก พ.ศ.2544 วิชาคณิตศาสตร์. สํานักพัฒนาธุรกิจ สสวท., กรุงเทพมหานคร
: 2545
21. สสวท .ข้อสอบแข่งขันโอลิมปิก พ.ศ.2545 วิชาคณิตศาสตร์. สํานักพัฒนาธุรกิจ สสวท., กรุงเทพมหานคร
: 2546
22. สสวท .ข้อสอบแข่งขันโอลิมปิก พ.ศ.2546 วิชาคณิตศาสตร์. บริษัท ราก ขวัญ จํากัด, กรุงเทพมหานคร :
2547
23. http://www.utcc.ac.th/el/datchanee/content.html
24. http://th.wikipedia.org/wiki/จํานวน

-- For Educational Purpose only. Not for commerce – by…Supanut Chaidee ::[MoDErN_SnC®]::

You might also like