You are on page 1of 2

กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ การใช้กล้องจุลทรรศน์

1. การจับกล้องและเคลื่อนย้ายกล้อง ต้องใช้มือหนึ่งจับที่แขนและอีก
มือหนึ่งรองที่ฐานของกล้อง
2. ตั้งลำกล้องให้ตรง
3. เปิดไฟเพื่อให้แสงเข้าลำกล้องได้เต็มที่
4. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ให้เลนส์ที่มีกำลังขยายต่ำสุดอยู่ในตำแหน่งแนว
ของลำกล้อง
5. นำสไลด์ที่จะศึกษามาวางบนแท่นวางวัตถุ โดยปรับให้อยู่กลาง
บริเวณที่แสงผ่าน
6. ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้กล้องเลื่อนขึ้นช้าๆเพื่อหาระยะ
ภาพ แต่ต้องระวังไม่ให้เลนส์ใกล้วัตถุกระทบกับสไลด์ตัวอย่าง
เพราะจะทำให้เลนส์แตกได้
7. ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียด ถ้าวัตถุที่ศึกษาไม่
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ อยู่ตรงกลางให้เลื่อนสไลด์ให้มาอยู่ตรงกลาง
8. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยาย
สูงกว่าเดิมมาอยู่ในตำแหน่งแนวของลำกล้อง จากนั้นปรับภาพให้ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ชัดเจนด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น ห้ามปรับภาพด้วยปุ่มปรับ
ภาพหยาบเพราะจะทำให้ระยะของภาพ หรือจุดโฟกัสของภาพ จัดทำโดย
เปลี่ยนไป
9. บันทึกกำลังขยายโดยหาได้จากผลคูณของกำลังขยายของเลนส์ใกล้
นางสาวจิราพร อาจสว่าง เลขที่14
วัตถุกับกำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
นางสาวธัญญาพร ปลาสุวรรณ์ เลขที่19

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/3

โรงเรียนเมืองเชลียง

กำลังขยายของกล้อง = กำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ


กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ประวัติการเริ่มต้นการประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
(Light Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ที่นิยมใช้ในห้องปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป คือ กล้องจุลทรรศน์
ปี พ.ศ. ใช้แสง หลักการทำงาน ของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงจะใช้
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบเชิงประกอบ (compound ลำแสงที่เป็นช่วงความยาวคลื่นที่ตามองเห็นได้และชุดของเลนส์แก้ว ทำให้เกิด
light microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ ชนิดที่ใช้เลนส์ ภาพขยาย ซึ่งภาพปรากฏให้เห็นได้โดยตรงในลำกล้อง กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
หลายอันและมีกำลังขยายต่างๆ กันจะเห็นภาพวัตถุได้โดยม 2100 แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่
สะท้อนแสงจากวัตถุเข้าสู่เลนส์ประกอบด้วย เลนส์ 2 ชุด คือ ช่วงปี พ.ศ.2133-2143 เริ่มประดิษฐ์
กล้องจุลทรรศน์ที่ให้ภาพขยายได้ 3-10 เท่า และมีการ
เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) และเลนส์ใกล้ตา (ocular 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ เป็นกล้องชนิดเลนส์ประกอบ
ปรับและพัฒนาคุณภาพของกล้องจุลทรรศน์
lens หรือ eyepiece) กำลังขยายของภาพคือ ผลคูณของ นิยมใช้ศึกษาโครงสร้างภายใน ของสิ่งมีชีวิตระดับเนื้อเยื่อและเซลล์ ภาพ
กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับกำลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 2150 ที่เกิดขึ้นเป็นภาพเสมือนหัวกลับและกลับซ้ายเป็นขวา
ค้ น พ บ ศิ ล ป ะ แ ล ะ ศิ ล ปิ น ใ ห ม่
ความสามารถในการแจกแจงรายละเอียดของภาพของ
กล้องจุลทรรศน์ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของเลนส์ และแสงต้น 2. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ เป็นกล้องชนิดเลนส์ประกอบ
ใ น ง า น อี เ ว น ต์ ที่ จ ะ จั ด ขึ้ น
กำเนิดการหากำลังขยาย สามารถใช้ศึกษาโครงสร้าง ภายนอกของวัตถุที่ทึบแสง มีกำลังขยายต่ำ
2200 ประมาณปี พ.ศ. 2208 รอเบิร์ต ฮุก ได้ประดิษฐ์
กว่ากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นเป็นภาพ 3 มิติ
กล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบเพื่อการศึกษาสิ่งต่างๆรอบ
และเป็นภาพเสมือนหัวตั้งไม่กลับซ้ายขวา
ตัว และสามารถมองเห็นผนังเซลล์ครั้งแรกจากเซลล์ของ
เปลือกไม้โอ๊ค นอกจากนี้ยังเป็นผู้ให้คำนิยามคำว่าเซลล์

ประมาณปี พ.ศ. 2217 อันโตนี วาน เลเวนฮุค ใช้


กล้องจุลทรรศน์เลนส์เดียวที่ ประดิษฐ์ขึ้นเองซึ่งมีก า
ลังขยายประมาณ 200 เท่า ในการสังเกตสิ่งมีชีวิตต่าง
ๆ และได้อธิบายลักษณะของโพรทิสต์และ แบคทีเรีย

2250

You might also like