You are on page 1of 41

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1


ตามผลการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียง
ภูษิต ศรีปะโค

ผู้ตรวจ
รณชิต ฤทธิ์สำเร็จ

คณะบรรณาธิการ
วรำภรณ์ ท้วมดี
ชัยทัศน์ บุญจันทร์

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
องค์ประกอบของหน่ วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่
เวลาเรียน ชั่วโมง

1. สำระ/ผลกำรเรียนรู้

2. สำระกำรเรียนรู้
2.1 สำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม

2.2 สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ำมี)

3. สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

5. ชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด)

6. กำรวัดและกำรประเมินผล
6.1 กำรประเมินชิ้นงำน/ภำระงำน (รวบยอด)
6.2 กำรประเมินก่อนเรียน
(ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้)
6.3 กำรประเมินระหว่ำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
6.4 กำรประเมินหลังเรียน
(ทาแบบทดสอบหลังเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้)

7. กิจกรรมกำรเรียนรู้

8. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
องค์ประกอบของหน่ วยแผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่
หน่วยการเรียนรู้ที่ ระยะเวลา ชั่วโมง
เรื่อง ชั้น

1. ผลกำรเรียนรู้

2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้

3. สำระกำรเรียนรู้
3.1 สำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม

3.2 สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ำมี)

4. สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. กิจกรรมกำรเรียนรู้

7. กำรวัดและประเมินผล

8. สื่อ/แหล่งกำรเรียนรู้
คานา
ตำมที่กระทรวงศึกษำธิกำร ได้ประกำศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
พุทธศักรำช 2551 เพื่อให้สถำนศึกษำนำไปใช้เป็นกรอบทิศทำงในกำรพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำ วำงแผนกำร
จัดกำรเรียนกำรสอนและจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ตำมเป้ำหมำยของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตำมเจตนำรมณ์ของกำรปฏิรูปกำรศึกษำ
ดังนั้น ขั้นตอนกำรนำหลักสูตรสถำนศึกษำไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอน จึงจัดเป็นหัวใจสำคัญในกำร
พัฒนำผู้เรียน
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 ขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทำงวำงแผนจัดกำร
เรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยกำรเรียนรู้อิงมำตรฐำนและออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้ตำมแนวคิดกำร
ออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้
ผู้ปกครองและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำ สำมำรถมั่นใจในผลกำรเรียนรู้และ
คุณภำพของผู้เรียนที่มีหลักฐำนตรวจสอบผลกำรเรียนรู้อย่ำงเป็นระบบ
ผู้สอนสำมำรถนำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นแนวทำงวำงแผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
ประกอบกำรใช้หนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติม วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เล่ม 2 ที่
ทำงบริษัทจัดพิมพ์จำหน่ำย โดยทั้งนี้กำรออกแบบกำรเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดำเนินกำรตำม
กระบวนกำร ดังนี้

1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงสาระ
หน่วยกำรเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลกำรเรียนรู้ไว้เป็นเป้ำหมำยในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ผู้สอน
จะต้องศึกษำและวิเครำะห์รำยละเอีย ดของผลกำรเรียนรู้ ทุกข้อว่ำ ระบุให้ผู้ เรียนต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ
เกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสำมำรถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้ำง และผลกำรเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะนำไปสู่
กำรเสริมสร้ำงสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้ำนใดแก่ผู้เรียน
สาระ/ผลการเรียนรู้ ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทาอะไรได้
นาไปสู่

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์


2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

เมื่อผู้สอนวิเครำะห์รำยละเอียดของผลกำรเรียนรู้ และได้กำหนดเป้ำหมำยกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
เรียบร้อยแล้ว จึงกำหนดขอบข่ำยสำระกำรเรียนรู้และแนวทำงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ
ตำมขั้นตอนของกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุผลกำรเรียนรู้ทุกข้อ

จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน


เป้าหมาย
หลักกำรจัดกำรเรียนรู้ การเรียนรู้
และการพัฒนา
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คุณภาพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ของผู้เรียน ของผู้เรียน
เน้นพัฒนาการทางสมอง
เน้นความรู้คคู่ ุณธรรม

3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้
เมื่อผู้ ส อนกำหนดขอบข่ำยสำระกำรเรียนรู้ และแนวทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนไว้แล้ ว
จึงกำหนดรูปแบบกำรเรียนกำรสอนและกระบวนกำรเรียนรู้ ที่จะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ บรรลุผลตำม
ผลกำรเรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนกำรเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ผลกำรเรียนรู้ที่เป็นเป้ำหมำยในหน่วยนั้นๆ เช่น
กระบวนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร กระบวนกำรสร้ำงควำมรู้ กระบวนกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนกำร
เผชิญสถำนกำรณ์และกำรแก้ปัญหำ กระบวนกำรเรียนรู้จำกประสบกำรณ์จริง กระบวนกำรพัฒนำลั กษณะ
นิ สั ย กระบวนกำรปฏิ บั ติ กระบวนกำรคิ ด วิ เ ครำะห์ อ ย่ ำ งมี วิ จ ำรณญำณ กระบวนกำรทำงสั ง คม ฯลฯ
กระบวนกำรเรียนรู้ที่มอบหมำยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินั้นจะต้องนำไปสู่กำรเสริมสร้ำงสมรรถนะสำคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตำมสำระกำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยกำรเรียนรู้

4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน และกิจกรรมกำรเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกำหนดขั้นตอนและ
วิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึกฝนและฝึกปฏิบัติมำกที่สุด ตำมแนวคิดและวิธีกำรสำคัญ คือ
1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนกำรทำงสติปัญญำ ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในกำรคิดและทำควำมเข้ำใจ
ในสิ่งต่ำงๆ ร่วมกับกำรลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้ำ จนสำมำรถสรุปเป็นควำมรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สำมำรถนำเสนอผลงำน แสดงองค์ควำมรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยกำรเรียนรู้ได้
2) การสอน เป็นกำรเลือกวิธีกำรหรือกิจกรรมที่เหมำะสมกับกำรเรียนรู้ในหน่วยนั้นๆ และที่สำคัญคือ
ต้องเป็นวิธีกำรที่สอดคล้องกับสภำพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีกำรสอน เทคนิคกำรสอน และ
รูปแบบกำรสอนอย่ำงหลำกหลำย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมกำรเรียนรู้ได้อย่ำ งรำบรื่นจน
บรรลุตัวชี้วัดทุกข้อ
3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีกำรและขั้นตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสำมำรถคิด
อย่ำงเป็นระบบ เช่น รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es) รูปแบบกำรสอนโดยใช้ กำรคิด
แบบโยนิโสมนสิกำร รูปแบบกำรสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบกำรเรียนกำรสอนตำมวัฏจักรกำร
เรียนรู้แบบ 4MAT รูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบร่วมมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT
4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีกำรสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหำของบทเรียน ควำมถนัด ควำมสนใจ และ
สภำพปั ญหำของผู้ เรี ย น วิธี ส อนที่ ดีจะช่ว ยให้ ผู้ เรีย นสำมำรถบรรลุ ผ ลกำรเรี ยนรู้ตำมในระดั บ
ผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น วิธีกำรสอนแบบบรรยำย กำรสำธิต กำรทดลอง กำรอภิปรำยกลุ่มย่อย กำร
แสดงบทบำท สมมติ กำรใช้กรณีตัวอย่ำง กำรใช้สถำนกำรณ์จำลอง กำรใช้ศูนย์กำรเรียน กำรใช้
บทเรียนแบบโปรแกรม เป็นต้น
5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคกำรสอนที่สอดคล้องกับวิธีกำรสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้ำใจ
เนื้อหำในบทเรียนได้ง่ำยขึ้น สำมำรถกระตุ้นควำมสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมกำร
เรียนรู้อย่ำง มีประสิทธิภำพ เช่น เทคนิคกำรใช้ผังกรำฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคกำรเล่ำ
นิทำน กำรเล่ นเกมเทคนิคกำรใช้คำถำม กำรใช้ตัวอย่ำงกระตุ้นควำมคิด กำรใช้สื่ อกำรเรียนรู้ที่
น่ำสนใจ เป็นต้น
6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลำกหลำยกระตุ้นควำมสนใจ และทำควำมกระจ่ำงให้เนื้อหำ
สอดคล้องกับสำระกำรเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรี ยนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่ำง
รำบรื่น เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสำรประกอบกำรสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD
Visualizer เป็นต้น ควรเตรียมสื่อให้ครอบคลุมทั้งสื่อกำรสอนของครูและสื่อกำรเรียนรู้ของผู้เรียน

5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ
เมื่อผู้สอนวำงแผนออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบกำรเรียนกำรสอนไว้เรียบร้อยแล้ว
จึงนำเทคนิควิธีกำรสอน วิธีจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ และสื่อกำรเรียนรู้ไปลงมือจัดกำรเรียนกำรสอน ซึ่งจะนำ
ผู้เรียนไปสู่กำรสร้ ำงชิ้นงำนหรื อภำระงำน เกิดทักษะกระบวนกำรและสมรรถนะสำคัญตำมธรรมชำติวิช ำ
รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้บรรลุตำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็นเป้ำหมำยของหน่วยกำร
เรียนรู้ ตำมลำดับขั้นตอนกำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ดังนี้
จำกเป้ำหมำยและหลักฐำน
คิดย้อนกลับ เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วย
สู่จุดเริ่มต้น หลักฐำนชิ้นงำน/ภำระงำน
ของกิจกรรมกำรเรียนรู้ แสดงผลกำรเรียนรู้ของหน่วย
แสดงผลกำรเรียนรู้ของหน่วย
4 กิจกรรม คำถำมชวนคิด

3 กิจกรรม คำถำมชวนคิด จำกกิจกรรมกำรเรียนรู้


ทีละขั้นบันได
2 กิจกรรม คำถำมชวนคิด สู่หลักฐำนและ
เป้ำหมำยกำรเรียนรู้
1 กิจกรรม คำถำมชวนคิด

6 หลักการวัดและประเมินผล
เพื่อให้มั่นใจว่ำผู้เรียนจะสำมำรถบรรลุจุดประสงค์กำรเรียนรู้ตำมตัวชี้วัดนั้น จึงได้มีกำรออกแบบและสร้ำง
เครื่องมือเพื่อใช้ในกำรประเมินหลักๆ ดังนี้
1) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ประเมินควำมรู้เพื่อใช้ในกำรพัฒนำในหน่วยถัด ๆ ไป
2) ใบงำน เพื่อใช้ในกำรฝึกคิดและปฏิบัติ
3) แบบประเมินชิ้นงำน โดยใช้เกณฑ์คุณภำพ (Scoring Rubrics) เพื่อใช้ในกำรประเมินคุณภำพของชิ้นงำน
และประเมินกระบวนกำรคิดและกระบวนกำรกลุ่ม
4) แบบสังเกตพฤติกรรมเพื่อใช้ในกำรประเมินพัฒนำคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อไป
กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่มีประสิทธิภำพ นอกจำกจะเปิดโอกำสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง
ฝึกฝนกระบวนกำรคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคกำรตั้ง คำถำมกระตุ้นควำมคิด และใช้ระดับคำถำมให้สัมพันธ์กับ
เนื้อหำกำรเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับควำมรู้ ควำมจำ ควำมเข้ำใจ กำรนำไปใช้ กำรวิเครำะห์ กำรประเมินค่ำ และกำร
สร้ำงสรรค์ นอกจำกจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดควำมเข้ำใจบทเรียนอย่ำงลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อสอบ
O-NET ซึ่งเป็นกำรทดสอบระดับชำติที่เน้นกระบวนกำรคิดระดับวิเครำะห์ด้วย และในแต่ละแผนกำรเรียนรู้จึงมีกำร
ระบุคำถำมเพื่อกระตุ้นควำมคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีกำรทำข้อสอบ O-NET ควบคู่ไปกับ
กำรปฏิบัติกิจกรรมกำรเรียนรู้ตำมผลกำรเรียนรู้ที่สำคัญ
ทั้งนี้กำรออกแบบกิจ กรรมกำรเรีย นกำรสอนในแต่ ละหน่วยจะครอบคลุมกิจ กรรมกำรเรีย นรู้ และกำร
ประเมินผลด้ำนควำมรู้ควำมเข้ำใจ (K) ด้ำนทักษะกระบวนกำร (P) และด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตำมผล
กำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงฯ
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือกำรวัดและประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผล
กำรเรียนรู้ด้ำนต่ำงๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมำตรฐำนด้ำนคุณภำพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้ำนกำรคิดวิเครำะห์
ด้ำนกำรอ่ำนและแสวงหำควำมรู้ ด้ำนสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตำมหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสำมำรถ
นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่ำงมีประสิท ธิภำพ และใช้ประกอบกำรจัดทำรำยงำนกำรประเมินตนเอง (Self Assessment
Reports) จึงมั่นใจอย่ำงยิ่งว่ำ กำรนำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เล่มนี้ไปเป็นแนวทำงจัดกำรเรียนกำรสอนจะช่วยพัฒนำ
ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตำมมำตรฐำนกำรศึกษำและกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำทุกประกำร
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิเศษ 1-3
ผลการเรียนรูแ้ ละสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม สาระชีววิทยา พิเศษ 4-14
คาอธิบายรายวิชา ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 พิเศษ 15-16
โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 พิเศษ 17-22
Pedagogy พิเศษ 23
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 พิเศษ 24-32
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ 1
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 กำรสืบพันธุข์ องสัตว์ 20
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 กำรสืบพันธุข์ องมนุษย์ 28
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 กำรเจริญเติบโตของสัตว์ 42

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก 61
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 กำรรับรู้และกำรตอบสนองของสัตว์ 83
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 เซลล์ประสำทและกำรทำงำนของเซลล์ประสำท 93
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 ศูนย์ควบคุมระบบประสำท 107
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4 กำรทำงำนของระบบประสำท 122
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 5 อวัยวะรับควำมรู้สึก 133

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบต่อมไร้ท่อ 150


แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 ต่อมไร้ท่อ 167
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 ฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำคัญ 174
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 กำรรักษำดุลยภำพของร่ำงกำยด้วยฮอร์โมน 200
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4 ฟีโรโมน 208

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 216


แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 กำรเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 233
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 กำรเคลื่อนที่ของสัตว์ 243
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 3 กำรเคลื่อนที่ของมนุษย์ 258

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พฤติกรรมของสัตว์ 276


แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 1 ประเภทของพฤติกรรม 294
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 กำรสื่อสำรระหว่ำงสัตว์ 314
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี *
มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กำหนดสำระกำรเรียนรู้ 4 สำระ ได้แก่
สำระที่ 1 วิทยำศำสตร์ชีวภำพ สำระที่ 2 วิทยำศำสตร์กำยภำพ สำระที่ 3 วิทยำศำสตร์โลก และอวกำศ และ
สำระที่ 4 เทคโนโลยี รวมทั้งยังมีสำระเพิ่มเติมอีก 4 สำระ ได้แก่ สำระชีววิทยำ สำระเคมี สำระฟิสิกส์ และ
สำระโลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ
องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้ำนของเนื้อหำ กำรจัดกำรเรียนกำรสอน และกำรวัดและประเมินผล
กำรเรียนรู้นั้นมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งในกำรวำงรำกฐำนกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นให้มี
ควำมต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 สำหรับกลุ่มสำระกำรเรียนรู้
วิทยำศำสตร์ได้กำหนดตัวชี้วัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำงที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเป็นพื้นฐำน เพื่อให้
สำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ในกำรดำรงชีวิตหรือศึกษำต่อได้ โดยจัดเรียงลำดับควำมยำกง่ำยของเนื้อหำในแต่ละชั้น
ให้มีกำรเชื่อมโยงควำมรู้กับกระบวนกำรเรียนรู้ และกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรีย นพัฒนำ
ควำมคิด ทั้งควำมคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้ำงสรรค์ คิดวิเครำะห์วิจำรณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในกำรค้นคว้ำและสร้ำงองค์ควำมรู้ด้วยกระบวนกำรสืบเสำะหำ
ควำมรู้ แก้ปัญหำอย่ำงเป็นระบบ ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลำกหลำยและประจักษ์พยำนที่ตรวจสอบได้
มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีควำมสอดคล้อง
และเชื่ อ มโยงกั น ภำยในสำระกำรเรี ย นรู้ เ ดี ย วกั น และระหว่ ำ งสำระกำรเรี ย นรู้ ใ นกลุ่ ม สำระกำรเรี ย นรู้
วิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนกำรเชื่ อมโยงเนื้อหำควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์กับคณิตศำสตร์ด้ว ย
นอกจำกนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีควำมทันสมัยต่อกำรเปลี่ยนแปลง และควำมเจริญก้ำวหน้ำของวิทยำกำร
ต่ำง ๆ ทัดเทียมกับนำนำชำติ ซึ่งสรุปได้ ดังแผนภำพ
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 - ว 2.3

สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐาน ว 1.1 - ว 1.3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 3.1 - ว 3.2

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 - ว 4.2

วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม - สาระชีววิทยา - สาระเคมี - สาระฟิสิกส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

*สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัว ชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้


วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560).

พิเศษ 1
พิเศษ 2
พิเศษ 3
ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม สาระชีววิทยา *
สาระชีววิทยา
1. เข้ำใจกำรถ่ำยทอดลักษณะทำงพันธุกรรม กำรถ่ำยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้ำที่ของสำรพันธุกรรม
กำรเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทำงดีเอ็นเอ หลักฐำน ข้อมูล และแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิต ภำวะสมดุล
ของฮำร์ดี-ไวน์เบิร์ก กำรเกิด สปีชีส์ใหม่ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ควำมหลำกหลำยของ
สิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธำน รวมทั้งนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม.6 1. อภิป รำยควำมส ำคัญ ของควำม  ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ ประกอบด้วยควำมหลำกหลำยทำง


หลำกหลำยทำงชีวภำพ และควำม พันธุกรรม ควำมหลำกหลำยของสปีชีส์ และควำมหลำกหลำยของ
เชื่อมโยงระหว่ำงควำมหลำกหลำย ระบบนิเวศ
ทำงพั น ธุ ก รรม ควำมหลำกหลำย  กำรแปรผันทำงพันธุกรรมทำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรม
ของสปี ชีส์ และควำมหลำกหลำย ซึ่งสิ่งมีชีวิตใดที่มีควำมหลำกหลำยทำงพันธุกรรมมำกย่อมทำให้มี
ของระบบนิเวศ โอกำสอยู่รอดเพิ่มขึ้นและสืบทอดลูกหลำนต่อไปได้
 สิ่งมีชีวิตที่ ดำรงชีวิ ตอยู่ในสิ่ งแวดล้อ มต่ำงๆ ได้ผ่ำนกระบวนกำร
คัดเลื อกโดยธรรมชำติหรือ โดยมนุษย์ ม ำเป็ นระยะเวลำยำวนำน
หลำยชั่วรุ่นซึ่งอำจเกิดเป็นสปีชีส์ใหม่ ส่งผลให้เกิดควำมหลำกหลำย
ของสปีชีส์
 แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ ำศั ย แต่ ล ะแหล่ ง ที่ สิ่ ง มี ชี วิ ต อำศั ย อยู่ นั้ น จะมี
องค์ ป ระกอบของปั จ จั ย ทำงกำยภำพและปั จ จั ย ทำงชี ว ภำพที่
แตกต่ำงกัน ทำให้เกิดควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ
2. อธิบำยกำรเกิดเซลล์เริ่มแรกของ  จุดเริ่มต้นของวิวัฒนำกำรของเซลล์เกิดจำกโมเลกุลของสำรอินทรีย์
สิ่ ง มี ชี วิ ต และวิ วั ฒ นำกำรของ โดยเซลล์ รู ป แบบแรกที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ เซลล์ โ พรคำริ โ อต และ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีวิวัฒนำกำรขึ้นมำเป็นเซลล์ยูคำริโอต และจำกสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
เป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ที่มีโครงสร้ำงแบบง่ำยๆ จนกลำยมำเป็น
สิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ที่มีโครงสร้ำงซับซ้อนมำกขึ้นตำมลำดับ
3. อ ธิ บ ำ ย ลั ก ษ ณ ะ ส ำ คั ญ แ ล ะ  แบคที เ รี ย เป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต พวกโพรคำริ โ อต ผนั ง เซลล์ มี เ พปทิ โ ด-
ยกตัวอย่ำงสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย ไกลแคนเป็นองค์ประกอบสำคัญ แบคทีเรียทั่วไปสร้ำงอำหำรเอง
สิ่ ง มี ชี วิ ต กลุ่ ม โพรทิ ส ต์ สิ่ ง มี ชี วิ ต ไม่ ไ ด้ ด ำรงชี วิ ต แบบผู้ ส ลำยสำรอิ น ทรี ย์ ห รื อ แบบปรสิ ต แต่
กลุ่ ม พื ช สิ่ ง มี ชีวิ ต กลุ่ ม ฟั งไจ และ แบคทีเรียบำงกลุ่ม เช่น ไซยำโนแบคทีเรีย สร้ำงอำหำรเองได้จำก
สิ่งมีชีวิตกลุ่มสัตว์ กระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสง
 โพรทิสต์เป็นสิ่งมีชีวิตพวกยูคำริโอต มีลักษณะหลำกหลำย ทั้งที่เป็น
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์ที่ยังไม่พัฒนำไปเป็น
เนื้อเยื่อ อำจมีหรือไม่มีผนังเซลล์เป็นส่วนประกอบของเซลล์

พิเศษ 4
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

 ฟังไจเป็นสิ่งมีชีวิตพวกยูคำริโอต มีทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลำย
เซลล์ เซลล์ของฟังไจยังไม่พัฒนำไปเป็นเนื้อเยื่อ ผนังเซลล์มีไคทิน
เป็นองค์ประกอบสำคัญ ฟังไจสร้ำงอำหำรเองไม่ได้และดำรงชีวิต
แบบผู้สลำยสำรอินทรีย์หรือแบบปรสิต
 สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลำยเซลล์พวกยูคำริโอต ไม่สำมำรถสร้ำงอำหำร
เองได้ ต้ อ งได้ รั บ อำหำรจำกสิ่ งมี ชีวิ ต อื่ น ส่ ว นใหญ่ มี ร ะบบย่ อ ย
อำหำร บำงชนิดอำจเป็นปรสิต สัตว์มีระยะเอ็มบริโอในกำรสืบพันธุ์
แบบอำศัยเพศ
 สัตว์อำจแบ่งเป็นกลุ่มย่อยโดยพิจำรณำลักษณะต่ำง ๆ คือ เนื้อเยื่อ
สมมำตร กำรเปลี่ ยนแปลงของบลำสโทพอร์ กำรเจริ ญในระยะ
ตัวอ่อน ทำให้อำจแบ่งสัตว์เป็นกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มฟองน้ำ กลุ่ม
ไฮดรำ กลุ่ม หนอนตั วแบน กลุ่ มหอยและหมึ ก กลุ่ ม ไส้ เดื อนดิ น
กลุ่มหนอนตัวกลม กลุ่มสั ตว์ที่มีขำเป็นปล้อง กลุ่ม ดำวทะเลและ
ปลิงทะเล และกลุ่มสัตว์ที่มีโนโทคอร์ด
4. อธิบำย และยกตัวอย่ำงกำรจำแนก  กำรจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่เป็นลำดับขั้นต่ำงๆ เริ่มจำก
สิ่ งมี ชีวิ ต จำกหมวดหมู่ ใ หญ่ จ นถึ ง หมวดหมู่ใ หญ่ แล้ว แบ่ งเป็น หมวดหมู่ย่ อย มี ดังนี้ คิ งดอม ไฟลั ม
หมวดหมู่ย่อย และวิธีกำรเขียนชื่อ คลำส ออร์เดอร์ แฟมิลี จีนัส และสปีชีส์
วิทยำศำสตร์ในลำดับขั้นสปีชีส์  ชื่อวิทยำศำสตร์ของสิ่งมีชีวิตในลำดับขั้น สปีชีส์ที่ตั้งขึ้นตำมระบบ
5. สร้ ำ งไดโคโทมั ส คี ย์ ใ นกำรระบุ ทวินำมเพื่อใช้ในกำรระบุถึงสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดให้มีควำมเข้ำใจ
สิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อ ตั ว อย่ ำ งที่ ก ำหนด ถูกต้องตรงกัน ประกอบด้วย 2 ส่วน โดยส่วนแรกเป็นชื่อสกุล ส่วน
ออกเป็นหมวดหมู่ หลังเป็นคำที่ระบุลักษณะพิเศษของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น หรือเป็นคำที่
มีควำมหมำยเฉพำะ โดยทั้ง 2 ส่วนนี้ต้องเป็นภำษำละติน
 ไดโคโทมั สคี ย์ เป็ นเครื่อ งมื อ ที่ใ ช้เ พื่ อระบุ ห มวดหมู่ ของสิ่ งมีชีวิ ต
ลำดับขั้นต่ำง ๆ โดยมีหลักเกณฑ์ในกำรนำลักษณะที่ต่ำงกันของ
สิ่งมีชีวิตมำพิจำรณำเป็นคู่
 วิ ท เทเกอร์ เสนอแนวควำมคิ ด ที่ ว่ ำ สิ่ ง มี ชี วิ ต พวกยู ค ำริ โ อตมี
วิวัฒนำกำรมำจำกสิ่งมีชีวิตพวกโพรคำริโอต และจำแนกสิ่งมีชีวิต
เป็น 5 คิงดอม ประกอบด้วย มอเนอรำ โพรทิสตำ พืช ฟังไจ และ
สัตว์
 โวสซ์ และคณะ จ ำแนกสิ่ ง มี ชีวิ ต เป็ น 3 โดเมน ประกอบด้ ว ย
แบคทีเ รี ย อำร์ เคี ย และยูค ำรี อำ โดยแนวควำมคิ ดกำรจำแนก
สิ่ ง มี ชีวิ ต แต่ ล ะโดเมนเป็ น กลุ่ ม ย่ อ ยจะใช้ ห ลั ก ที่ ว่ ำ สิ่ ง มี ชีวิ ต ใน
กลุ่มเดียวกันมีสำยวิวัฒนำกำรมำจำกบรรพบุรุษร่วมกัน

พิเศษ 5
4. เข้ำใจกำรย่อยอำหำรของสัตว์และมนุษย์ กำรหำยใจและกำรแลกเปลี่ยนแก๊ส กำรลำเลียงสำรและกำรหมุนเวียนเลือด
ภูมิคุ้มกันของร่ำงกำย กำรขับถ่ำย กำรรับรู้และกำรตอบสนอง กำรเคลื่อนที่ กำรสืบพันธุ์และกำรเ จริญเติบโต
ฮอร์โมนกับกำรรักษำดุลยภำพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม.6 1. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย และเปรี ย บ  สัตว์ส่วนใหญ่มีระบบประสำททำให้สำมำรถรับรู้และตอบสนองต่อ


เที ย บโครงสร้ ำ งและหน้ ำ ที่ ข อง สิ่งเร้ำได้ เช่น ไฮดรำ มีร่ำงแหประสำท พลำนำเรีย ไส้เดือ นดิน กุ้ง
ระบบประสำทของไฮดรำ พลำนำ หอย และแมลงมี ปมประสำทและเส้นประสำท ส่วนสัตว์มีกระดูก
เรี ย ไส้ เ ดื อ นดิ น กุ้ ง หอย แมลง สันหลัง มีสมอง ไขสันหลัง ปมประสำทและเส้นประสำท
และสัตว์มีกระดูกสันหลัง  หน่วยทำงำนของระบบประสำท คือ เซลล์ประสำท ซึ่งประกอบ
2. อธิ บ ำยเกี่ ย วกั บ โครงสร้ ำ งและ ด้ ว ยตั ว เซลล์ และเส้ น ใยประสำทที่ ท ำหน้ ำ ที่ รั บ และส่ งกระแส
หน้ำที่ของเซลล์ประสำท ประสำท เรียกว่ำ เดนไดรต์และแอกซอน ตำมลำดับ
3. อธิ บ ำยเกี่ ย วกั บ กำรเปลี่ ย นแปลง  เซลล์ประสำทจำแนกตำมหน้ำที่ ได้เป็นเซลล์ประสำทรับควำมรู้สึก
ของศั ก ย์ ไ ฟฟ้ ำ ที่ เ ยื่ อ หุ้ ม เซลล์ ข อง เซลล์ประสำทสั่งกำร และเซลล์ประสำทประสำนงำน
เซลล์ ป ระสำท และกลไกกำร
 เซลล์ ป ระสำทจ ำแนกตำมรู ป ร่ ำ งได้ เ ป็ น เซลล์ ป ระสำทขั้ ว เดี ย ว
ถ่ำยทอดกระแสประสำท
เซลล์ ป ระสำทขั้ ว เดี ย วเที ย ม เซลล์ ป ระสำทสองขั้ ว และ
เซลล์ประสำทหลำยขั้ว
 กระแสประสำทเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้ำที่เยื่อหุ้ มเซลล์
ของเดนไดรต์และแอกซอน ทำให้มีกำรถ่ำยทอดกระแสประสำท
จำกเซลล์ประสำทไปยัง เซลล์ประสำท หรือเซลล์อื่น ๆ ผ่ำนทำง
ไซแนปส์
 ระบบประสำทของมนุษย์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ ตำมตำแหน่งและ
โครงสร้ำง คือ ระบบประสำทส่วนกลำง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง
และระบบประสำทรอบนอก ได้ แ ก่ เส้ น ประสำทสมองและ
เส้นประสำทไขสันหลัง
2. อธิบำย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้ำง  สมองแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ สมองส่ วนหน้ ำ สมองส่ว นกลำง
ของระบบประสำทส่ว นกลำงและ และสมองส่ วนหลั ง สมองแต่ ล ะส่ ว นจะควบคุ ม กำรท ำงำนของ
ระบบประสำทรอบนอก ร่ำงกำยแตกต่ำงกัน โดยมีเส้นประสำทที่แยกออกจำกสมอง 12 คู่
5. สืบค้นข้อมูล อธิบำยโครงสร้ำงและ ไปยังอวัยวะต่ำงๆ ซึ่งบำงคู่ทำหน้ำที่ รับควำมรู้สึกเข้ำสู่สมอง หรือ
หน้ำที่ของส่วนต่ำง ๆ ในสมองส่วน นำคำสั่งจำกสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงำน หรือทำหน้ำที่ทั้งสองอย่ำง
หน้ ำ สมองส่ ว นกลำง สมองส่ ว น  ไขสันหลังเป็นส่วนที่ต่อจำกสมองอยู่ภำยในกระดูกสันหลัง และ
หลัง และไขสันหลัง มี เ ส้ น ประสำทแยกออกจำกไขสั น หลั ง เป็ น คู่ ซึ่ ง ท ำหน้ ำ ที่
6. สืบค้นข้อมูล อธิบำย เปรียบเทียบ ประมวลผลกำรตอบสนองโดยไขสันหลัง เช่น กำรเกิดรีเฟล็กซ์ชนิด
และยกตั ว อย่ ำ งกำรท ำงำนของ ต่ำ ง ๆ และกำรถ่ำ ยทอดกระแสประสำทระหว่ ำงไขสั น หลั งกั บ
ระบบประสำท โซมำติก และระบบ สมอง
ประสำทอัตโนวัติ

พิเศษ 6
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

 เส้ น ประสำทไขสั น หลั ง ทุ ก คู่ จ ะท ำหน้ ำ ที่ รั บ ควำมรู้ สึ ก เข้ ำ สู่


ไขสันหลังและนำคำสั่งออกจำกไขสันหลัง
 ระบบประสำทรอบนอกส่ ว นที่ สั่ ง กำรแบ่ ง เป็ น ระบบประสำท
โซมำติกซึ่งควบคุมกำรทำงำนของกล้ำมเนื้อโครงร่ำง และระบบ
ประสำทอั ต โนวั ติ ซึ่ ง ควบคุ ม กำรท ำงำนของกล้ ำ มเนื้ อ หั ว ใจ
กล้ำมเนื้อเรียบ และต่อมต่ำงๆ
 ระบบประสำทอัตโนวัติแบ่งกำรทำงำนเป็น 2 ระบบ คือ ระบบ
ประสำทซิมพำเทติกและระบบประสำทพำรำซิมพำเทติก ซึ่งส่วน
ใหญ่ทำงำนตรงกันข้ำมเพื่อรักษำดุลยภำพของกระบวนกำรต่ำง ๆ
ในร่ำงกำย
7. สืบค้นข้อมูล อธิบำยโครงสร้ำงและ  ตำ หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง เป็นอวัยวะรับควำมรู้สึกที่รับสิ่งเร้ำที่
หน้ ำ ที่ ข องตำ หู จมู ก ลิ้ น และ แตกต่ ำ งกั น จึ งมี ค วำมส ำคั ญ ที่ ค วรดู แ ล ป้ อ งกั น และรั ก ษำให้
ผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอย่ ำงโรค สำมำรถทำงำนได้เป็นปกติ
ต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และบอกแนวทำง  ตำประกอบด้วย ชั้นสเคลอรำ โครอยด์ และเรตินำ เลนส์ตำเป็น
ในกำรดูแลป้องกัน และรักษำ เลนส์นูนอยู่ถัดจำกกระจกตำ ทำหน้ำที่รวมแสงจำกวัตถุไปที่เรตินำ
8. สังเกต และอธิบำยกำรหำตำแหน่ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเซลล์ รั บ แสง และเซลล์ ป ระสำทที่ น ำกระแส
ของจุดบอด โฟเวีย และควำมไวใน ประสำทสู่สมอง
กำรรับสัมผัสของผิวหนัง  หูประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หูส่วนกลำง และหูส่วนใน
ภำยในหูส่วนในมีคอเคลีย ซึ่งทำหน้ำที่รับและเปลี่ยนคลื่นเสียงเป็น
กระแสประสำท นอกจำกนี้ยังมีเซมิเซอร์ คิวลำร์แคเเนลทำหน้ำที่
รับรู้เกี่ยวกับกำรทรงตัวของร่ำงกำย
 จมู ก มี เ ซลล์ ป ระสำทรั บ กลิ่ น อยู่ ภ ำยในเยื่ อ บุ จ มู ก ที่ เ ป็ น ตั ว รั บ
สำรเคมีบำงชนิดแล้วเกิดกระแสประสำทส่งไปยังสมอง
 ลิ้ น ท ำหน้ ำ ที่ รั บ รส โดยมี ตุ่ ม รั บ รสกระจำยอยู่ ทั่ ว ผิ ว ลิ้ น ด้ ำ นบน
ตุ่มรั บรสมี เซลล์ รับ รสอยู่ภ ำยใน เมื่อ เซลล์รั บรสถู กกระตุ้น ด้ว ย
สำรเคมีจะกระตุ้นเดนไดรต์ของเซลล์ประสำทเกิดกระแสประสำท
ส่งไปยังสมอง
 ผิวหนังมีหน่วยรับสิ่งเร้ำหลำยชนิด เช่น หน่วยรับสัมผัส หน่วยรับ
แรงกด หน่วยรับควำมเจ็บปวด หน่วยรับอุณหภูมิ
9. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย และเปรี ย บ  สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบำงชนิดเคลื่อนที่โดยกำรไหลของไซโทพลำซึม
เทียบโครงสร้ำงและหน้ำที่ของอวัยวะ บำงชนิดใช้แฟลเจลลัมหรือซิเลียในกำรเคลื่อนที่
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กำรเคลื่ อ นที่ ข อง  สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมงกะพรุน เคลื่อนที่โดยอำศัยกำรหด
แมงกะพรุน หมึกดำวทะเล ไส้เดือน ตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและแรงดันน้ำ
ดิน แมลง ปลำ และนก

พิเศษ 7
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

 หมึกเคลื่อนที่โดยอำศัยกำรหดตัวของกล้ำมเนื้อบริเวณลำตัว ทำให้
น้ำภำยในลำตัวพ่นออกมำทำงไซฟอน ส่วนดำวทะเลใช้ระบบท่อน้ำ
ในกำรเคลื่อนที่
 ไส้เดือนดินมีกำรเคลื่อนที่ โดยอำศัยกำรหดตัวและคลำยตัวของ
กล้ำมเนื้อวงและกล้ำมเนื้อตำมยำวซึ่งทำงำนในสภำวะตรงกันข้ำม
 แมลงเคลื่อนที่โดยใช้ปีกหรือขำ ซึ่งมีกล้ำมเนื้อภำยในเปลือกหุ้ม
ทำงำนในสภำวะตรงกันข้ำม
 สัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลำ เคลื่อนที่โดยอำศัยกำรหดตัวและ
คลำยตั ว ของกล้ ำ มเนื้ อ ที่ ยึ ด ติ ด อยู่ กั บ กระดู ก สั น หลั งทั้ ง 2 ข้ ำ ง
ทำงำนในสภำวะตรงกันข้ำม และมีครีบที่อยู่ในตำแหน่งต่ำง ๆ ช่วย
โบกพัดในกำรเคลื่อนที่ ส่วนนกเคลื่อนที่โดยอำศัยกำรหดตัวและ
คลำยตั ว ของกล้ ำ มเนื้ อ กดปี ก กั บ กล้ ำ มเนื้ อ ยกปี ก ซึ่ ง ท ำงำนใน
สภำวะตรงกันข้ำม
10. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ อ ธิ บ ำ ย  มนุษย์เคลื่อนที่โดยอำศัยกำรทำงำนของกระดู กและกล้ำมเนื้อซึ่ง
โครงสร้ำงและหน้ำที่ของกระดูก ยึดกันด้วยเอ็นยึดกระดูก
และกล้ำมเนื้อที่เกี่ยวข้องกับกำร  บริเวณที่กระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้นมำต่อกัน เรียกว่ำ ข้อต่อ และยึดกัน
เคลื่อนไหวและกำรเคลื่อนที่ของ ด้วยเอ็นยึดข้อ
มนุษย์  กระดูกเป็นเนื้อเยื่อที่ใช้ค้ำจุนและทำหน้ำที่ ในกำรเคลื่อนไหวของ
11. สั ง เกต และอธิ บ ำยกำรท ำงำน ร่ำงกำยแบ่งตำมตำแหน่งได้เป็นกระดูกแกนและกระดูกรยำงค์
ของข้ อ ต่ อ ชนิ ด ต่ ำ ง ๆ และกำร
 กล้ ำ มเนื้ อ ในร่ ำ งกำยมนุ ษ ย์ แ บ่ ง ออกเป็ น กล้ ำ มเนื้ อ โครงร่ ำ ง
ทำงำนของกล้ำมเนื้ อโครงร่ำงที่
กล้ำมเนื้อหัวใจ และกล้ำมเนื้อเรียบ กล้ำมเนื้อทั้ง 3 ชนิด พบใน
เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหวและ
ตำแหน่งที่ต่ำงกันและมีหน้ำที่แตกต่ำงกัน
กำรเคลื่อนที่ของมนุษย์
 กล้ ำ มเนื้ อ โครงร่ ำ งส่ ว นใหญ่ ท ำงำนร่ ว มกั น เป็ น คู่ ๆ ในสภำวะ
ตรงกันข้ำม
12 . สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย แ ล ะ  กำรสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ อ ำศั ย เพศของสั ต ว์ เ ป็ น กำรสื บ พั น ธุ์ ที่ ไ ม่ มี
ยกตั ว อย่ ำ งกำรสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ กำรรวมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น กำรแตกหน่อและกำรงอกใหม่
อำศั ยเพศและกำรสืบ พั นธุ์ แ บบ  กำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศของสัตว์เป็นกำรสืบพันธุ์ที่เกิดจำกกำร
อำศัยเพศในสัตว์ รวมนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์ซึ่งมีทั้งกำรปฏิสนธิภำยนอกและ
กำรปฏิ ส นธิ ภ ำยใน สั ต ว์ บ ำงชนิ ด มี 2 เพศในตั ว เดี ย วกั น แต่
กำรผสมพันธุ์ส่วนใหญ่จะผสมข้ำมตัว

พิเศษ 8
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

13. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำยโครงสร้ ำ ง  กำรสืบพันธุ์ของมนุษย์มีกระบวนกำรสร้ำงสเปิร์มจำกเซลล์สเปอร์


และหน้ ำ ที่ ข องอวั ย วะในระบบ มำโทโกเนียมภำยในอัณฑะ และกระบวนกำรสร้ำงเซลล์ไ ข่จำก
สื บ พั น ธุ์ เ พศ ชำ ย แ ล ะ ร ะ บ บ เซลล์โอโอโกเนียมภำยในรังไข่
สืบพันธุ์เพศหญิง  อวั ยวะสืบ พั นธุ์ ข องเพศชำยประกอบด้ วยอั ณฑะทำหน้ำ ที่ สร้ ำ ง
14. อธิบำยกระบวนกำรสร้ำงสเปิร์ม สเปิร์ มและฮอร์ โมนเพศชำย และมีโครงสร้ ำงอื่ น ๆ ที่ทำหน้ำ ที่
กระบวน กำรสร้ำงเซลล์ไข่ และ ลำเลียงสเปิร์ม สร้ำงน้ำเลี้ยงสเปิร์ม และสำรหล่อลื่นท่อปัสสำวะ
กำรปฏิสนธิในมนุษย์  อัณฑะประกอบด้วยหลอดสร้ำงสเปิ ร์ม ซึ่งภำยในมีเซลล์สเปอร์ -
มำโทโกเนียมที่เป็นเซลล์ตั้งต้นของกระบวนกำรสร้ำงสเปิร์ม
 อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิงประกอบด้วยรังไข่ ท่อนำไข่ มดลู ก
และช่องคลอด รังไข่ทำหน้ำที่สร้ำงเซลล์ไข่และฮอร์โมนเพศหญิง
 กระบวนกำรสร้ำงสเปิร์มเริ่มต้นจำกสเปอร์มำโทโกเนียมแบ่งเซลล์
แบบไมโทซิสได้สเปอร์มำโทโกเนียมจำนวนมำก ซึ่งต่อมำบำงเซลล์
พั ฒ นำเป็ น สเปอร์ ม ำโทไซต์ ร ะยะแรก โดยสเปอร์ ม ำโทไซต์
ระยะแรกจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I ได้สเปอร์มำโทไซต์ระยะที่
สองซึ่งจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มำทิด ตำมลำดับ
จำกนั้นพัฒนำเป็นสเปิร์ม
 กระบวนกำรสร้ ำ งเซลล์ ไ ข่ เ ริ่ ม จำกโอโอโกเนี ย มแบ่ งเซลล์ แ บบ
ไมโทซิสได้โอโอโกเนียมซึ่งจะพัฒนำเป็นโอโอไซต์ระยะแรก แล้ว
แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I ได้โอโอไซต์ระยะที่สองซึ่งจะเกิดกำรตกไข่
ต่อไป เมื่อได้รับกำรกระตุ้นจำกสเปิร์ม โอโอไซต์ระยะที่สองจะแบ่ง
แบบไมโอซิส II แล้วพัฒนำเป็นเซลล์ไข่
 กำรปฏิ ส นธิ เ กิ ด ขึ้ น ภำยในท่ อ น ำไข่ ไ ด้ ไ ซโกตซึ่ ง จะเจริ ญ เป็ น
เอ็มบริโอและไปฝังตัวที่ผนังมดลูกจนกระทั่งครบกำหนดคลอด
15. อธิ บ ำยกำรเจริ ญ เติ บ โตระยะ  กำรเจริญเติบโตของสัตว์ เช่น กบ ไก่ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
เอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอ จะเริ่มต้นด้วยกำรแบ่งเซลล์ของไซโกต กำรเกิดเนื้อเยื่อเอ็มบริ โอ 3
ของกบ ไก่ และมนุษย์ ชั้น คือ เอกโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอนโดเดิร์ม กำรเกิดอวัยวะ
โดยมีกำรเพิ่มจำนวน ขยำยขนำด และกำรเปลี่ยนแปลงรูปร่ำงของ
เซลล์เพื่อทำหน้ำที่เฉพำะอย่ำง ซึ่งพัฒนำกำรของอวัยวะต่ำง ๆ จะ
ทำให้มีกำรเกิดรูปร่ำงที่แน่นอนในสัตว์แต่ละชนิด
 กำรเจริญเติบโตของมนุษย์จะมีขั้นตอนคล้ำยกับกำรเจริญเติบโต
ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอื่น ๆ โดยเอ็มบริโอจะฝังตัวที่ผนังมดลูก
และมีกำรแลกเปลี่ยนสำรระหว่ำงแม่กับลูกผ่ำนทำงรก

พิเศษ 9
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

16. สืบค้ นข้อ มูล อธิบ ำย และเขีย น  ฮอร์โมนเป็นสำรที่ควบคุมสมดุลต่ำง ๆ ของร่ำงกำยโดยผลิตจำก


แผนผั ง สรุ ป หน้ ำ ที่ ข องฮอร์ โ มน ต่อมไร้ท่อหรือเนื้อเยื่อ โดยต่อมไร้ท่อนี้จะกระจำยอยู่ตำมตำแหน่ง
จำกต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้ำง
ต่ำงๆ ทั่วร่ำงกำย
ฮอร์โมน
 ต่อมไร้ท่อที่สร้ำงหรือหลั่งฮอร์โมน ไม่มีท่อในกำรลำเลียงฮอร์โมน
ออกจำกต่อมจึงถูกลำเลียงโดยระบบหมุนเวียนเลือดไปยังอวัยวะ
เป้ำหมำยที่จำเพำะเจำะจง
 ต่อมไพเนียลสร้ำงเมลำโทนินซึ่งยับยั้งกำรเจริญเติบโตของอวัยวะ
สืบพันธุ์ช่วงก่อนวัยเจริญพันธุ์และตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลง
ของแสงในรอบวัน
 ต่อ มใต้ ส มองส่ ว นหน้ ำ สร้ ำ งและหลั่ งโกรทฮอร์ โ มนโพรแลกทิ น
ACTH TSH FSH LH เอนดอร์ฟิน ซึ่งทำหน้ำที่แตกต่ำงกัน
 ต่อมใต้สมองส่วนหลังหลั่งฮอร์โมนซึ่งสร้ำงจำกไฮโพทำลำมัส คือ
ADH และออกซิโทซิน ซึ่งทำหน้ำที่แตกต่ำงกัน
 ต่อ มไทรอยด์ส ร้ ำ งไทรอกซิ น ซึ่ งควบคุม อั ต รำเมแทบอลิซึ ม ของ
ร่ำงกำย และสร้ำงแคลซิโทนินซึ่งควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดให้
ปกติ
 ต่อมพำรำไทรอยด์สร้ำงพำรำทอร์โมนซึ่งควบคุมระดับแคลเซียมใน
เลือดให้ปกติ
 ตับอ่อนมีกลุ่มเซลล์ที่สร้ำงอินซูลินและกลูคำกอนซึ่งควบคุมระดับ
น้ำตำลในเลือดให้ปกติ
 ต่อมหมวกไตส่วนนอกสร้ำงกลูโคคอร์ติคอยด์ มิเนรำโลคอร์ติคอยด์
และฮอร์โมนเพศ ซึ่งมีหน้ำที่แตกต่ำงกัน ส่วนต่อมหมวกไตส่วนใน
สร้ำงเอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟริน ซึ่งมีหน้ำที่เหมือนกัน
 อัณฑะมีกลุ่มเซลล์สร้ำงเทสโทสเทอโรน ส่วนรังไข่มีกลุ่มเซลล์ที่
สร้ำงอีสโทรเจน และโพรเจสเทอโรนซึ่งมีหน้ำที่แตกต่ำงกัน
 เนื้อเยื่อบำงบริเวณของอวัยวะ เช่น รก ไทมัส กระเพำะอำหำร
และล ำไส้ เ ล็ ก สำมำรถสร้ ำ งฮอร์ โ มนได้ ห ลำยชนิ ด ซึ่ ง มี ห น้ ำ ที่
แตกต่ำงกัน
 กำรควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อ มีทั้งกำรควบคุมแบบ
ป้อนกลับยับยั้ง และกำรควบคุมแบบป้อนกลับกระตุ้น เพื่อรักษำ
ดุลยภำพของร่ำงกำย
 ฟีโรโมนเป็นสำรเคมีที่ผลิตจำกต่อมมีท่อของสัตว์ซึ่งส่งผลต่อสัตว์
ตัวอื่นที่เป็นชนิดเดียวกัน

พิเศษ 10
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

17. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย เปรี ย บ  พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมมีผลต่อกำรแสดงพฤติกรรม


เทียบ และยกตัวอย่ำงพฤติกรรม  พฤติ ก รรมที่ เ ป็ น มำแต่ ก ำเนิ ด แบ่ ง ออกได้ เ ป็ น หลำยชนิ ด เช่ น
ที่เป็นมำแต่กำเนิดและพฤติกรรม โอเรี ย นเตชั น (แทกซิ ส และไคนี ซิ ส ) รี เ ฟล็ ก ซ์ และฟิ ก แอกชั น
ที่เกิดจำกกำรเรียนรู้ของสัตว์ แพทเทิร์น
18. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย แ ล ะ  พฤติกรรมที่เกิดจำกกำรเรียนรู้ แบ่งได้เป็นแฮบบิชูเอชัน กำรฝังใจ
ยกตัวอย่ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง กำรเชื่อมโยง (กำรลองผิดลองถูกและกำรมีเงื่อนไข) และกำรใช้
พฤติ ก รรมกั บ วิ วั ฒ นำกำรของ เหตุผล
ระบบประสำท
 ระดับกำรแสดงพฤติกรรมที่สัตว์แต่ละชนิดแสดงออกจะแตกต่ำง
19. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย แ ล ะ
กันซึ่งเป็นผลมำจำกวิวัฒนำกำรของระบบประสำทที่แตกต่ำงกัน
ยกตั ว อย่ ำ งกำรสื่ อ สำรระหว่ ำ ง
 กำรสื่ อสำรเป็น พฤติก รรมทำงสั งคมแบบหนึ่งซึ่งมีหลำยวิธี เช่ น
สัตว์ที่ทำให้สัตว์แสดงพฤติกรรม
กำรสื่ อ สำรด้ ว ยท่ ำ ทำง กำรสื่ อ สำรด้ ว ยเสี ย ง กำรสื่ อ สำรด้ ว ย
สำรเคมี และกำรสื่อสำรด้วยกำรสัมผัส

พิเศษ 11
5. เข้ ำ ใจแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ระบบนิ เ วศ กระบวนกำรถ่ ำ ยทอดพลั ง งำนและกำรหมุ น เวี ย นส ำรในระบบนิ เ วศ
ควำมหลำกหลำยของไบโอม กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ประชำกรและรูปแบบกำรเพิ่ม
ของประชำกร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ปัญหำและผลกระทบที่เกิดจำกกำรใช้ประโยชน์และแนวทำงกำร
แก้ไขปัญหำ

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ม.6 1. วิเครำะห์ อธิบำย และยกตัวอย่ำง  ระบบนิ เ วศจะด ำรงอยู่ ไ ด้ ต้ อ งมี ก ระบวนกำรต่ ำ ง ๆ เกิ ด ขึ้ น
กระบวน กำรถ่ำยทอดพลังงำนใน กระบวนกำรที่ ส ำคั ญ ได้ แ ก่ กำรถ่ ำ ยทอดพลั ง งำน และกำร
ระบบนิเวศ หมุนเวียนสำร กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศสำมำรถแสดง
2. อธิ บ ำย ยกตั ว อย่ ำ งกำรเกิ ด ไบโอ ได้ด้วยแผนภำพที่เรียกว่ำ โซ่อำหำร สำยใยอำหำร และพีระมิด
แมกนิฟิเคชัน และบอกแนวทำงใน ทำงนิเวศวิทยำ
กำรลดกำรเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน  พลังงำนที่ถ่ำยทอดไปในแต่ละลำดับขั้นกำรกินอำหำรมีปริมำณที่
3. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล และเขี ย นแผนภำพ ไม่เท่ำกัน พลังงำนส่วนใหญ่จะสูญเสียไปในรูปควำมร้อนระหว่ำง
เพื่ อ อธิ บ ำยวั ฏ จั ก รไนโตรเจน กำรถ่ำยทอดจำกสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง
วั ฏ จั ก รก ำ มะถั น แ ละวั ฏ จั ก ร  กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศบำงครั้ง อำจทำให้มีสำรพิษ
ฟอสฟอรัส สะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตด้วย เรียกว่ำ กำรเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน ซึ่ง
อำจมีระดับควำมเข้มข้นของสำรพิษมำกขึ้นตำมลำดับขั้นของกำร
กินจนอำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อสิ่งมีชีวิต
 สำรต่ำงๆ ในระบบนิเวศมีกำรหมุนเวียนเกิดขึ้นผ่ำนทั้งในสิ่งมีชีวิต
และสิ่ งไม่ มี ชีวิ ต กลั บ คื น สู่ ร ะบบอย่ ำ งเป็ น วั ฏ จั กร เช่ น วั ฏ จั ก ร
ไนโตรเจน วัฏจักรกำมะถัน และวัฏจักรฟอสฟอรัส
4. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ยกตั ว อย่ ำ ง และ  ไบโอมคือระบบนิเวศขนำดใหญ่ที่กระจำยอยู่ตำมเขตภูมิศำสตร์
อธิ บ ำ ย ลั กษ ณ ะ ข อ งไ บ โ อ ม ที่ ต่ ำ งๆ บนโลก เช่ น ไบโอมทุ น ดรำ ไบโอมสะวั น นำ ไบโอม
กระจำยอยู่ ต ำมเขตภู มิ ศ ำสตร์ ทะเลทรำย โดยแต่ ละไบโอมจะมีลั กษณะเฉพำะของปั จจัย ทำง
ต่ำง ๆ บนโลก กำยภำพ ชนิดของพืช และชนิดของสัตว์
5. สืบค้น ข้อมูล ยกตัวอย่ ำง อธิบำย  ระบบนิเวศมีกำรเปลี่ยนแปลงได้ กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่ำง
และเปรียบเทียบกำรเปลี่ยนแปลง ช้ำๆ ทำให้ ระบบนิเวศสำมำรถปรับสมดุลได้ แต่กำรเปลี่ยนแปลง
แทนที่ แ บบปฐมภู มิ และกำร ทีเ่ กิดขึ้นอย่ำงรวดเร็วอำจส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบทำงชีวภำพ
เปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ ในระบบนิเวศทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตขึ้น
 กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ทำงนิเวศวิทยำ มีทั้งกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่
แบบปฐมภูมิและกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ
6. สืบค้น ข้อมูล อธิ บำย ยกตัว อย่ำ ง  ประชำกรของสิ่งมีชีวิต ทุก ชนิด มีลัก ษณะหลำยประกำรที่เ ป็น
และสรุ ป เกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะเฉพำะ ลัก ษณะเฉพำะ เช่น ขนำดของประชำกร ควำมหนำแน่น ของ
ของประชำกรของสิ่ ง มี ชี วิ ต บำง ประชำกร กำรกระจำยตัว ของสมำชิก ในประชำกร โครงสร้ำ ง
ชนิด อำยุข องประชำกร อัต รำส่ว นระหว่ำ งเพศ อัต รำกำรเกิด และ
อัต รำกำรตำย กำรอพยพเข้ำ กำรอพยพออกของประชำกร
และกำรรอดชีวิต ของสมำชิกที่มีอำยุต่ำงกัน

พิเศษ 12
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

7. สืบค้นข้อมูล อธิบำย เปรียบเทียบ  ประชำกรของสิ่ง มีชีวิต ทุก ชนิด มีลัก ษณะหลำยประกำรที่เ ป็น
และยกตั ว อย่ ำ งกำรเพิ่ ม ของ ลัก ษณะเฉพำะ เช่น ขนำดของประชำกร ควำมหนำแน่น ของ
ประชำกรแบบเอ็ ก โพเนนเชี ย ล ประชำกร กำรกระจำยตัว ของสมำชิก ในประชำกร โครงสร้ำ ง
แ ล ะ ก ำ ร เ พิ่ ม ข อ ง ป ร ะ ช ำ ก ร อำยุข องประชำกร อัต รำส่ว นระหว่ำ งเพศ อัต รำกำรเกิด และ
แบบลอจิสติก อัต รำกำรตำย กำรอพยพเข้ำ กำรอพยพออกของประชำกร
8. อธิ บ ำย และยกตั ว อย่ ำ งปั จ จั ย ที่ และกำรรอดชีวิต ของสมำชิกที่มีอำยุต่ำงกัน
ควบคุมกำรเติบโตของประชำกร  ลัก ษณะเฉพำะของประชำกรมีอ ิท ธิพ ลต่อ กำรเปลี ่ย นแปลง
ขนำดของประชำกร ซึ่งเป็นกระบวนกำรที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ
 กำรเพิ่ม ประชำกรแบบเอ็ก โพเนนเชีย ลเป็น กำรเพิ่ม จ ำนวน
ประชำกรอย่ำงรวดเร็วแบบทวีคูณ
 กำรเพิ่มประชำกรแบบลอจิสติกเป็นกำรเพิ่มจำนวนประชำกรที่ขึ้นอยู่
กับสภำพแวดล้อมหรือมีตัวต้ำนทำนในสิ่งแวดล้อมมำเกี่ยวข้อง
 กำรเติบโตของประชำกรขึ้นกับปัจจัยต่ำงๆ ซึ่งแบ่งได้เป็นปัจจัย
ที่ขึ้น กับ ควำมหนำแน่น ของประชำกร และปัจ จัย ที ่ไ ม่ขึ้น กับ
ควำมหนำแน่นของประชำกร
 ประชำกรมนุษ ย์มีอัต รำกำรเติบ โตอย่ำ งรวดเร็ว แบบเอ็ก โพ-
เนนเชียลหลังจำกกำรปฏิวัติทำงอุตสำหกรรมเป็นต้นมำ
9. วิ เ ครำะห์ อภิ ป รำย และสรุ ป  ปัญหำที่เกิดกับทรัพยำกรน้ำ ส่วนใหญ่เกิดจำกกำรปล่อยน้ำที่ผ่ำน
ปัญหำกำรขำดแคลนน้ำ กำรเกิ ด กำรใช้ประโยชน์จำกกิจกรรมต่ำง ๆ ของมนุษย์และยังไม่ได้รับกำร
มลพิ ษทำงน้ำ และผลกระทบที่ มี บำบัดลงสู่แหล่งน้ำ ทำให้เกิดมลพิษทำงน้ำ
ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง  กำรตรวจสอบคุณภำพน้ำนิยมใช้กำรหำค่ำปริมำณออกซิเจนที่ละลำย
เสนอแนวทำงกำรวำงแผนกำร น้ ำ และค่ ำปริ มำณออกซิ เจนที่ จุ ลิ นทรี ย์ ในน้ ำใช้ ในกำรย่ อยสลำย
จัดกำรน้ำและกำรแก้ไขปัญหำ สำรอินทรีย์ในน้ำ
 กำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ควรมีกำรวำง
แผนกำรใช้น้ำ กำรแก้ไขปัญหำคุณภำพน้ำ รวมทั้งกำรปลูกจิตสำนึก
ในกำรใช้น้ำอย่ำงถูกต้อง
10. วิ เ ครำะห์ อภิ ป รำย และสรุ ป  กำรปนเปื้อนของสำรเคมี ฝุ่นละออง และจุลินทรีย์ ต่ำงๆ ทำให้เกิด
ปั ญ หำมลพิ ษ ทำงอำกำศ และ มลพิษทำงอำกำศ ซึ่งเกิดได้ทั้งจำกธรรมชำติและจำกกำรกระทำ
ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ มี ต่ อ ม นุ ษ ย์ แ ล ะ ของมนุษย์
สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง เสนอแนว  กำรเกิดมลพิษทำงอำกำศที่เกิดขึ้นเองตำมธรรมชำติ เช่น กำรเกิดพำยุ
ทำงกำรแก้ไขปัญหำ กำรเกิด ไฟป่ำ และกำรเกิดแก๊สพิษจำกกำรย่อยสลำยของจุลินทรีย์
 กำรเกิดมลพิษทำงอำกำศที่เกิดจำกกำรกระทำของมนุษย์ เช่น กำร
ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในรูปแบบต่ำงๆ
 กำรจัดกำรทรัพยำกรอำกำศควรประกอบด้วยกำรกำหนดนโยบำย
และวำงแผนงำนเพื่อป้องกันและแก้ไข รวมทั้งกำรปลูกจิตสำนึกใน
กำรดูแลรักษำคุณภำพอำกำศ

พิเศษ 13
ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

11. วิ เ ครำะห์ อภิ ป รำย และสรุ ป  มลพิษทำงดินและปัญหำควำมเสื่อมโทรมของดินส่วนใหญ่มีสำเหตุ


ปัญหำที่เกิดกับทรัพยำกรดิน และ จำกกำรกระทำของมนุษย์
ผ ล ก ร ะ ท บ ที่ มี ต่ อ ม นุ ษ ย์ แ ล ะ  กำรจั ด กำรทรั พ ยำกรดิ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ควรมี ก ำร
สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง เสนอแนว ป้องกันและกำรแก้ปัญหำกำรเกิดมลพิษและควำมเสื่อมโทรมของดิน
ทำงกำรแก้ไขปัญหำ รวมทั้งปลูกจิตสำนึกในกำรใช้ดินอย่ำงถูกต้อง

12. วิ เ ครำะห์ อภิ ป รำย และสรุ ป  พื้ น ที่ ป่ ำ ไม้ ที่ ล ดลงอำจมี ส ำเหตุ ม ำจำกธรรมชำติ เช่ น ไฟป่ ำ
ปั ญ หำ ผลกระทบที่ เ กิ ด จำกกำร แผ่นดินไหว ภูเขำไฟระเบิด หรืออำจมีสำเหตุมำจำกกำรกระทำของ
ทำลำยป่ำไม้ รวมทั้งเสนอแนวทำง มนุษย์ เช่น กำรตัดไม้ทำลำยป่ำ กำรบุกรุกพื้นที่ป่ำเพื่อครอบครอง
ในกำรป้ อ งกั น กำรท ำลำยป่ ำ ไม้ ที่ดิน กำรเผำป่ำ กำรทำเหมืองแร่
และกำรอนุรักษ์ป่ำไม้  พื้นที่ป่ำไม้ที่ลดลงทำให้ภูมิประเทศมีสภำพแห้งแล้ง เกิดอุทกภัย เกิด
กำรพังทลำยของดิน ตลอดจนกำรเพิ่มขึ้นของแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์
ซึ่งเป็ นแก๊ สเรื อนกระจกชนิ ดหนึ่ ง นอกจำกนี้ ทำให้สั ตว์ ป่ ำและพื ช
พรรณธรรมชำติลดจำนวนหรือสูญพันธุ์ได้
 กำรจัดกำรทรัพยำกรป่ำไม้ควรจัดกำรให้มีทรัพยำกรป่ำไม้คงอยู่ยั่งยืน
หรื อเพิ่ มขึ้ น เช่น กำรก ำหนดพื้ นที่ ป่ ำอนุ รั กษ์ ส่ งเสริ มกำรปลู กป่ ำ
ป้ องกั นกำรบุ กรุ กป่ ำ กำรใช้ ไม้ อย่ ำงมี คุ ณค่ ำและมี ประสิ ทธิ ภำพ
รวมถึงกำรปลูกจิตสำนึกเรื่องกำรอนุรักษ์ป่ำไม้
13. วิ เ ครำะห์ อภิ ป รำย และสรุ ป  กำรลดจำนวนลงของสัตว์ป่ำเป็ นผลเนื่องมำจำกกำรกระทำของ
ปัญหำ ผลกระทบที่ทำให้สัตว์ป่ำมี มนุษย์เป็นส่วนใหญ่ คือ กำรทำให้แหล่งที่อยู่อำศัยลดลงและกำรล่ำ
จำนวนลดลง และแนวทำงในกำร สัตว์ป่ำ
อนุรักษ์สัตว์ป่ำ  กำรจัด กำรทรัพยำกรสัตว์ป่ำควรมีกำรดำเนินกำรให้มี พื้นที่ป่ ำไม้
เพื่อกำรอยู่อำศัยอย่ำงเพียงพอ รวมทั้งกำรไม่ทำร้ำยสัตว์ป่ำหรือทำ
ให้สัตว์ป่ำลดจำนวนลง รวมทั้งกำรปลูกจิตสำนึกให้ช่วยกันอนุรักษ์

*สถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษำธิกำร, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้


วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
กำรเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560)

พิเศษ 14
คาอธิบายรายวิชา
รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 60 ชั่วโมง/ปี

ศึกษำเกี่ยวกับกำรสืบพันธุ์และกำรเจริญเติบโตของสัตว์ กำรสืบพันธุ์ของสัตว์ กำรสืบพันธุ์ของมนุษย์


กำรเจริญเติบโตของสัตว์ และกำรเจริญเติบโตของมนุษย์ ศึกษำเกี่ยวกับระบบประสำทและอวัยวะรับควำมรู้สึก
กำรรับรู้และกำรตอบสนองของสัตว์ เซลล์ประสำท กำรทำงำนของเซลล์ประสำท ศูนย์ควบคุมระบบประสำท
กำรทำงำนของระบบประสำท และอวัยวะรับควำมรู้สึก ศึกษำเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจำก
ต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำคัญ กำรรักษำดุลยภำพของร่ำงกำยด้วยฮอร์โมน และฟีโรโมน ศึกษำเกี่ยวกับกำร
เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต กำรเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว กำรเคลื่อนที่ของสัตว์ และกำรเคลื่อนที่ของมนุษย์
ศึกษำเกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทของพฤติกรรม ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพฤติกรรมกับพัฒนำกำรของ
ระบบประสำท และกำรสื่อสำรระหว่ำงสัตว์
โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรสืบค้นข้อมูล กำรสังเกต กำร
วิเครำะห์ กำรทดลอง กำรอภิปรำย กำรอธิบำย และกำรสรุป เพื่อให้เกิดควำมรู้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ มี
ควำมสำมำรถในกำรตัดสิ นใจ สื่ อสำรสิ่ งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยำศำสตร์
จริยธรรม คุณธรรม และค่ำนิยม

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยกตัวอย่ำงกำรสืบพันธุ์แบบไม่อำศัยเพศและกำรสืบพันธุ์แบบอำศัยเพศในสัตว์
2. สืบค้นข้อมูล อธิบำยโครงสร้ำงและหน้ำที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชำยและระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
3. อธิบำยกระบวนกำรสร้ำงสเปิร์ม กระบวนกำรสร้ำงเซลล์ไข่ และกำรปฏิสนธิในมนุษย์
4. อธิบำยกำรเจริญเติบโตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์
5. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และเปรียบเทียบโครงสร้ำงและหน้ำที่ของระบบประสำทของไฮดรำ พลำนำเรีย
ไส้เดือนดิน กุง้ หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
6. อธิบำยเกี่ยวกับโครงสร้ำงและหน้ำที่ของเซลล์ประสำท
7. อธิบำยเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้ำที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสำท และกลไกกำรถ่ำยทอด
กระแสประสำท
8. อธิบำย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้ำงของระบบประสำทส่วนกลำงและระบบประสำทรอบนอก
9. สืบค้นข้อมูล อธิบำยโครงสร้ำงและหน้ำที่ของส่วนต่ำงๆ ในสมองส่วนหน้ำ สมองส่วนกลำง สมองส่วนหลัง
และไขสันหลัง

พิเศษ 15
10. สืบค้นข้อมูล อธิบำย เปรียบเทีย บ และยกตัวอย่ำงกำรทำงำนของระบบประสำทโซมำติก และระบบ
ประสำทอัตโนวัติ
11. สืบค้นข้อมูล อธิบำยโครงสร้ำงและหน้ำที่ของตำ หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอย่ำงโรคต่ำงๆ
ที่เกี่ยวข้อง และบอกแนวทำงในกำรดูแลป้องกันและรักษำ
12. สังเกต และอธิบำยกำรหำตำแหน่งของจุดบอด โฟเวีย และควำมไวในกำรรับสัมผัสของผิวหนัง
13. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และเขียนแผนผังสรุปหน้ำที่ของฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้ำงฮอร์โมน
14. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และเปรียบเทียบโครงสร้ำงและหน้ำที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนที่ของ
แมงกะพรุน หมึก ดำวทะเล ไส้เดือนดิน แมลง ปลำ และนก
15. สืบค้นข้อมูล และอธิบำยโครงสร้ำงและหน้ำที่ของกระดูกและกล้ำมเนื้อที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหวและ
กำรเคลื่อนที่ของมนุษย์
16. สังเกต และอธิบำยกำรทำงำนของข้อต่อชนิดต่ำง ๆ และกำรทำงำนของกล้ำมเนื้อโครงร่ำงที่เกี่ยวข้องกับ
กำรเคลื่อนไหวและกำรเคลื่อนที่ของมนุษย์
17. สืบค้นข้อมูล อธิบำย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่ำงพฤติกรรมที่เป็นมำแต่กำเนิดและพฤติกรรมที่เกิดจำก
กำรเรียนรู้ของสัตว์
18. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยกตัวอย่ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพฤติกรรมกับวิวัฒนำกำรของระบบประสำท
19. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยกตัวอย่ำงกำรสื่อสำรระหว่ำงสัตว์ที่ทำให้สัตว์แสดงพฤติกรรม

รวม 19 ผลการเรียนรู้

พิเศษ 16
โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1

ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
1. ระบบ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยก กำรสืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 12
สืบพันธุ์และ ตั ว อย่ ำ งกำรสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ ได้ แ ก่ กำรสื บ พั น ธุ์ แ บบไม่ อ ำศั ย เพศเป็ น กำร
กำรเจริญ อำศั ย เพศและกำรสื บ พั น ธุ์ สืบพันธุ์ที่ไม่มีกำรรวมของเซลล์สืบพันธุ์ และกำร
แบบอำศัยเพศในสัตว์ สืบพันธุ์แบบอำศัยเพศเป็นกำรสืบพันธุ์ที่เกิดจำก
เติบโตของ
2. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย กำรรวมนิว เคลี ย สของเซลล์สื บ พั น ธุ์ ซึ่งมี ทั้ งกำร
สัตว์
โครงสร้ ำ งและหน้ ำ ที่ ข อง ปฏิสนธิภำยนอกและกำรปฏิสนธิภำยใน
อวั ย วะในระบบสื บ พั น ธุ์ เ พศ กำรสืบ พัน ธุ์ข องมนุ ษย์เ ป็น กำรสื บพั น ธุ์ แบบ
ชำยและระบบสื บ พั น ธุ์ เ พศ อำศัยเพศ โดยกำรปฏิสนธิของสเปิร์มที่สร้ำงจำก
หญิง เซลล์สเปอร์มำโทโกเนียมภำยในอัณฑะกับเซลล์ไข่
3. อธิ บ ำยกระบวนกำรสร้ ำ ง จำกเซลล์โอโอโกเนียมภำยในรังไข่ กระบวนกำร
สร้ำงสเปิร์มเริ่มจำกสเปอร์มำโทโกเนียมแบ่งเซลล์
สเปิ ร์ ม กระบวนกำรสร้ ำ ง
แบบไมโทซิสได้สเปอร์มำโทโกเนียม ซึ่งต่อมำบำง
เซลล์ ไ ข่ และกำรปฏิ ส นธิ ใ น
เซลล์พัฒนำเป็นสเปอร์มำโทไซต์ระยะแรก โดย
มนุษย์
สเปอร์ ม ำโทไซต์ ร ะยะแรกจะแบ่ ง เซลล์ แ บบ
4. อธิบำยกำรเจริญเติบโตระยะ
ไมโอซิส I ได้สเปอร์มำโทไซต์ระยะที่สองซึ่งจะแบ่ง
เ อ็ ม บ ริ โ อ แ ล ะ ร ะ ย ะ ห ลั ง
เซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มำทิด จำกนั้ น
เอ็ ม บริ โ อของกบ ไก่ และ
พัฒนำเป็นสเปิร์ม กระบวนกำรสร้ำงเซลล์ไข่เริ่ม
มนุษย์
จำกโอโอโกเนียมแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้ โอโอโก
เนียมซึ่งจะพัฒนำเป็นโอโอไซต์ระยะแรก แล้วแบ่ง
เซลล์แบบไมโอซิส I ได้โอโอไซต์ระยะที่สองซึ่งจะ
เกิ ด กำรตกไข่ ต่ อ ไป เมื่ อ ได้ รั บ กำรกระตุ้ น จำก
สเปิร์ม โอโอไซต์ระยะที่สองจะแบ่งแบบไมโอซิส II
แล้วพัฒนำเป็นเซลล์ไข่ กำรปฏิสนธิเกิดขึ้นภำยใน
ท่อนำไข่ได้ไซโกตซึ่งจะเจริญเป็นเอ็มบริโอและฝัง
ตัวที่ผนังมดลูกจนกระทั่งครบกำหนดคลอด
กำรเจริญเติบโตของสัตว์ เช่น กบ ไก่ และสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เริ่มต้นด้วยกำรแบ่งเซลล์ของ
ไซโกต กำรเกิดเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น กำรเกิด
อวัยวะ โดยมีกำรเพิ่มจำนวน ขยำยขนำด และกำร
เปลี่ยนแปลงรูปร่ำงของเซลล์เพื่อทำหน้ำที่เฉพำะ
อย่ำง ซึ่งพัฒนำกำรของอวัยวะต่ำง ๆ จะทำให้มี
กำรเกิดรูปร่ำงที่แน่นอนในสัตว์แต่ละชนิด

พิเศษ 17
ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
กำรเจริญเติบโตของมนุษย์จะมีขั้นตอนคล้ำย
กั บ กำรเจริ ญ เติ บ โตของสั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยน้ ำนม
โดยเอ็ ม บริ โ อจะฝั ง ตั ว ที่ ผ นั ง มดลู ก และมี ก ำร
แลกเปลี่ยนสำรระหว่ำงแม่กับลูกผ่ำนทำงรก
2. ระบบ 5. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย และ สัตว์มีระบบประสำททำให้สำมำรถรับรู้และ 16
ประสำทและ เปรี ย บเที ย บโครงสร้ ำ งและ ตอบสนองต่ อ สิ่ ง เร้ ำ ได้ เช่ น ไฮดรำมี ร่ ำ งแห
อวัยวะรับ หน้ำที่ของระบบประสำทของ ประสำท พลำนำเรี ย ไส้ เดื อ นดิ น กุ้ ง หอย และ
ควำมรู้สึก ไฮดรำ พลำนำเรีย ไส้เดือนดิน แมลงมีปมประสำทและเส้นประสำท ส่วนสัตว์ มี
กุ้ ง หอย แมลง และสั ต ว์ มี กระดู ก สั น หลั ง มี ส มอง ไขสั น หลั ง ปมประสำท
กระดูกสันหลัง และเส้นประสำท
6. อธิบำยเกี่ยวกับโครงสร้ำงและ เซลล์ ป ระสำทประกอบด้ ว ยตั ว เซลล์ แ ละ
หน้ำที่ของเซลล์ประสำท เส้นใยประสำท แบ่งออกเป็นเดนไดรต์เป็นเส้นใย
ประสำทที่นำกระแสประสำทออกจำกตัวเซลล์และ
7. อธิ บ ำยเกี่ ย วกั บ กำรเปลี่ ย น
แอกซอนเป็นเส้นใยประสำทที่นำกระแสประสำท
แปลงของศักย์ไฟฟ้ำที่เยื่อหุ้ม
เข้ำสู่ตัวเซลล์
เซลล์ของเซลล์ประสำท และ
เซลล์ประสำทจำแนกตำมหน้ำที่ได้ 3 ประเภท
กลไกกำรถ่ ำ ยทอดกระแส
ได้แก่ เซลล์ประสำทรับควำมรู้สึก เซลล์ประสำท
ประสำท
สั่งกำร และเซลล์ประสำทประสำนงำน เซลล์
8. อธิ บ ำยและสรุ ป เกี่ ย วกั บ ประสำทจำแนกตำมรูปร่ำงได้ 4 ประเภท ได้แ ก่
โครงสร้ำงของระบบประสำท เซลล์ประสำทขั้วเดียว เซลล์ประสำทขั้วเดียวเทียม
ส่วนกลำงและระบบประสำท เซลล์ประสำทสองขั้ว และเซลล์ประสำทหลำยขั้ว
รอบนอก กระแสประสำทเกิ ด จำกกำรเปลี่ ย นแปลง
9. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย ศั ก ย์ ไ ฟฟ้ ำ ที่ เ ยื่ อ หุ้ ม เซลล์ ข องเดนไดรต์ แ ละ
โครงสร้ำงและหน้ำที่ของส่วน แอกซอน ทำให้มีกำรถ่ำยทอดกระแสประสำทจำก
ต่ ำ งๆ ในส ม องส่ วนห น้ ำ เซลล์ประสำทไปยังเซลล์ประสำทหรือเซลล์อื่น ๆ
สมองส่ ว นกลำง สมองส่ ว น ผ่ำนทำงไซแนปส์
หลัง และไขสันหลัง ระบบประสำทของมนุษย์แบ่งได้เป็น 2 ระบบ
10. สืบค้นข้อมูล อธิบำย เปรีย บ ได้แก่ ระบบประสำทส่วนกลำงเป็นกำรทำงำนของ
เที ย บ และยกตั ว อย่ ำ งกำร สมองและไขสันหลัง และระบบประสำทรอบนอก
ท ำงำนของระบบประสำท เป็ น กำรท ำงำนของเส้ น ประสำทสมองและ
โซมำติก และระบบประสำท เส้นประสำทไขสันหลัง
อัตโนวัติ

พิเศษ 18
ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
11. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ธิ บ ำ ย สมองแบ่ งออกเป็ น 3 ส่ว น คือ สมองส่ ว น
โครงสร้ำงและหน้ำที่ของตำ หู หน้ ำ สมองส่ ว นกลำง และสมองส่ ว นหลั ง มี
เส้ น ประสำทที่ แ ยกออกจำกสมอง 12 คู่ ไปยั ง
จมู ก ลิ้ น และผิ ว หนั ง ของ
มนุษย์ ยก ตัวอย่ำงโรคต่ำงๆ อวัยวะต่ำงๆ ซึ่งบำงคู่ทำหน้ำที่รับควำมรู้สึกเข้ำสู่
ที่เกี่ยวข้อง และบอกแนวทำง สมอง หรื อ น ำค ำสั่ ง จำกสมองไปยั ง หน่ ว ย
ในกำรดูแลป้องกัน และรักษำ ปฏิบัติงำน หรือทำหน้ำที่ทั้งสองอย่ำง ไขสันหลัง
12. สั ง เกต และอธิ บ ำยกำรหำ เป็นส่วนที่ต่อจำกสมองอยู่ภำยในกระดูกสันหลัง
ตำแหน่ งของจุ ด บอด โฟเวี ย และมี เส้นประสำทแยกออกจำกไขสันหลั งเป็น คู่
และควำมไวในกำรรั บสั มผั ส ทำหน้ำที่ประมวลผลกำรตอบสนองโดยไขสันหลัง
ของผิวหนัง เส้ น ประสำทไขสั น หลั ง ทุ ก คู่ จ ะท ำหน้ ำ ที่ รั บ
ควำมรู้สึกเข้ำสู่ ไขสันหลังและนำคำสั่งออกจำกไข
สันหลัง
ระบบประสำทรอบนอก ส่ ว นที่ สั่ ง กำร
แบ่ ง เป็ น ระบบประสำทโซมำติ ก ซึ่ ง ควบคุ ม กำร
ท ำงำนของกล้ ำ มเนื้ อ โครงร่ ำ ง และระบบ
ประสำทอั ต โนวั ติ ซึ่ ง ควบคุ ม กำรท ำงำนของ
กล้ำมเนื้อหัวใจ กล้ำมเนื้อเรียบ และต่อมต่ำงๆ
ตำประกอบด้วยชั้นสเคลอรำ โครอยด์ และ
เรตินำ เลนส์ตำเป็นเลนส์นูนอยู่ถัดจำกกระจกตำ
ทำหน้ำที่รวมแสงจำกวัตถุไปที่เรตินำ ซึ่ งประกอบ
ด้ว ยเซลล์ รับ แสงและเซลล์ ป ระสำทที่ น ำกระแส
ประสำทสู่สมอง หูประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หูส่วน
นอก หูส่วนกลำง และหูส่วนใน ภำยในหูส่วนในมี
คอเคลีย ซึ่งทำหน้ำที่รับและเปลี่ยนคลื่นเสี ยงเป็น
กระแสประสำท นอกจำกนี้ ยังมีเซมิเซอร์คิวลำร์ -
แคเเนลท ำหน้ ำ ที่ รั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ กำรทรงตั ว ของ
ร่ำงกำย จมูกมีเซลล์ประสำทรับกลิ่นอยู่ภำยใน
เยื่ อ บุ จ มู ก ที่ เ ป็ น ตั ว รั บ สำรเคมี บ ำงชนิ ด แล้ ว เกิ ด
กระแสประสำทส่งไปยังสมอง ลิ้นทำหน้ำที่รับรส
โดยมีตุ่มรับรสกระจำยอยู่ทั่วผิวลิ้น ตุ่มรับรสมีเซลล์
รั บ รสอยู่ ภ ำยใน เมื่ อ เซลล์ รั บ รสถู ก กระตุ้ น ด้ ว ย
สำรเคมีจะกระตุ้นเดนไดรต์ของเซลล์ประสำทเกิด
กระแสประสำทส่งไปยังสมอง ผิวหนังมีหน่วยรับสิ่ง
เร้ำหลำยชนิด เช่น หน่วยรับสัมผัส หน่วยรับแรง
กด หน่วยรับควำมเจ็บปวด หน่วยรับอุณหภูมิ

พิเศษ 19
ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
3 ระบบต่อมไร้ 13. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย และ ฮอร์โมนเป็นสำรที่ควบคุมสมดุลต่ำง ๆ ของ 14
ท่อ เขี ย นแผนผั ง สรุ ป หน้ ำ ที่ ข อง ร่ ำ งกำยโดยผลิ ต จำกต่ อ มไร้ ท่ อ หรื อ เนื้ อ เยื่ อ
ฮอร์ โ มนจำกต่ อ มไร้ ท่ อ และ ต่อมไร้ท่อสร้ำงหรือหลั่งฮอร์โมนโดยอำศัยระบบ
เนื้อเยื่อที่สร้ำงฮอร์โมน หมุ นเวีย นเลื อดไปยั งอวัย วะเป้ำ หมำยที่ จำเพำะ
เจำะจง
ต่ อ มไพเนี ย ลสร้ ำ งเมลำโทนิ น ซึ่ ง ยั บ ยั้ ง กำร
เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ช่วงก่อนวัยเจริญ
พันธุ์และตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงของแสงใน
รอบวัน
ต่อมใต้สมองส่วนหน้ำสร้ำงและหลั่งโกนำโด
โทรฟิน (FSH LH) โกรทฮอร์โมน ไทรอยด์สติ มิว-
เลติงฮอร์โมน อะดรีโนคอร์ติโคโทรปิน โพรแลกทิน
ซึ่งทำหน้ำที่แตกต่ำงกัน
ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นหลั งหลั่ งฮอร์ โ มนซึ่ งสร้ ำ ง
จำกไฮโพทำลำมั ส ได้ แ ก่ ฮอร์ โ มนแอนติ ไ ด -
ยูเรติกและออกซิโทซิน ซึ่งทำหน้ำที่แตกต่ำงกัน
ต่อมไทรอยด์สร้ำงไทรอกซินซึ่ งควบคุมอัตรำ
เมแทบอลิซึมของร่ำงกำย และสร้ำงแคลซิโทนิน
ซึ่งควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดให้ปกติ
ต่ อ มพำรำไทรอยด์ ส ร้ ำ งพำรำทอร์ โ มนซึ่ ง
ควบคุมระดับแคลเซียมในเลือดให้ปกติ
ตั บ อ่ อ นมี ก ลุ่ ม เซลล์ ที่ ส ร้ ำ งอิ น ซู ลิ น และ
กลูคำกอนซึ่งควบคุมระดับน้ำตำลในเลือดให้ปกติ
ต่อมหมวกไตส่วนนอกสร้ำงกลูโคคอร์ติคอยด์
มิเนรำโลคอร์ติคอยด์ และฮอร์โมนเพศ ซึ่งมีหน้ำที่
แตกต่ ำ งกั น ส่ ว นต่ อ มหมวกไตส่ ว นในสร้ ำ ง
เอพิ เ นฟริ น และนอร์ เ อพิ เ นฟริ น ซึ่ ง มี ห น้ ำ ที่
เหมือนกัน
อั ณ ฑะมี ก ลุ่ ม เซลล์ ส ร้ ำ งเทสโทสเทอโรน
ส่ ว นรั ง ไข่ มี ก ลุ่ ม เซลล์ ที่ ส ร้ ำ งอี ส โทรเจนและ
โพรเจสเทอโรนซึ่งมีหน้ำที่แตกต่ำงกัน
เนื้อเยื่อบำงบริเวณของอวัยวะ เช่น รก ไทมัส
กระเพำะอำหำร ลำไส้เล็ก สำมำรถสร้ำงฮอร์โมน
ได้หลำยชนิด ซึ่งมีหน้ำที่แตกต่ำงกัน

พิเศษ 20
ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
กำรควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อ มี
ทั้ ง กำรควบคุ ม แบบป้ อ นกลั บ ยั บ ยั้ ง และกำร
ควบคุมแบบป้อนกลับกระตุ้น เพื่อรักษำดุลยภำพ
ของร่ำงกำย
ฟีโรโมนเป็นสำรเคมีที่ผลิตจำกต่อมมีท่อของ
สัตว์ซึ่งส่งผลต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดเดียวกัน
4 กำร 14. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ำย และ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบำงชนิดเคลื่อนที่โดยกำร 11
เคลื่อนที่ เปรี ย บเที ย บโครงสร้ ำ งและ ไหลของไซโทพลำซึ ม เช่ น อะมี บ ำ บำงชนิ ด ใช้
ของ หน้ำที่ข องอวัย วะที่เกี่ ยวข้อ ง แฟลเจลลัม เช่ น ยูก ลี น ำ บำงชนิ ด ใช้ ซิเ ลี ย เช่ น
สิ่งมีชีวิต กั บ ก ำ ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง พำรำมีเซียม
แมงกะพรุ น หมึ ก ดำวทะเล สั ต ว์ ไ ม่ มี ก ระดู ก สั น หลั ง เช่ น แมงกะพรุ น
ไส้ เ ดื อ นดิ น แมลง ปลำ และ เคลื่อนที่โดยอำศัยกำรหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณ
นก ขอบกระดิ่งและแรงดันน้ำ หมึกเคลื่อนที่โดยอำศัย
15. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล และอธิ บ ำย กำรหดตั ว ของกล้ ำ มเนื้ อ บริ เ วณล ำตั ว ท ำให้ น้ ำ
โครงสร้ ำ งและหน้ ำ ที่ ข อง ภำยในลำตัวพ่นออกมำทำงไซฟอน ส่วนดำวทะเล
ก ร ะ ดู ก แ ล ะ ก ล้ ำ ม เ นื้ อ ที่ ใช้ระบบท่อน้ำในกำรเคลื่อนที่ ไส้เดื อนดินมีกำร
เกี่ ย วข้ อ งกั บ กำรเคลื่ อ นไหว เคลื่ อ นที่ โ ดยอำศั ย กำรหดตั ว และคลำยตั ว ของ
และกำรเคลื่อนที่ของมนุษย์ กล้ ำมเนื้อ วงและกล้ ำ มเนื้อ ตำมยำวซึ่งทำงำนใน
16. สังเกต และอธิบำยกำรทำงำน สภำวะตรงกันข้ำม แมลงเคลื่อนที่โดยใช้ปีกหรือขำ
ของข้อต่อชนิดต่ำงๆ และกำร ซึ่งมีกล้ำมเนื้อภำยในเปลือกหุ้มทำงำนในสภำวะ
ทำงำนของกล้ำมเนื้อโครงร่ำง ตรงกันข้ำม ส่วนสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลำ
ที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหว เคลื่ อ นที่ โ ดยอำศั ย กำรหดตั ว และคลำยตั ว ของ
และกำรเคลื่อนที่ของมนุษย์ กล้ำมเนื้อที่ยึดติดอยู่กับกระดูกสันหลังทั้ง 2 ข้ำง
ท ำงำนในสภำวะตรงกั น ข้ ำ ม และมี ค รี บ ที่ อ ยู่ ใ น
ต ำแหน่ งต่ ำ งๆ ช่ ว ยโบกพั ด ในกำรเคลื่ อ นที่ นก
เคลื่ อ นที่ โ ดยอำศั ย กำรหดตั ว และคลำยตั ว ของ
กล้ำ มเนื้ อกดปีก กับกล้ำ มเนื้ อยกปีก ซึ่งท ำงำนใน
สภำวะตรงกันข้ำม
5 พฤติกรรม 17. สืบค้น ข้อมูล อธิบ ำย เปรีย บ พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจำกพันธุกรรมและ 7
ของสัตว์ เ ที ย บ แ ล ะ ย ก ตั ว อ ย่ ำ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท ได้ แ ก่
พฤติกรรมที่เป็นมำแต่กำเนิด พฤติกรรมที่เป็นมำแต่กำเนิดแบ่งออกเป็นหลำยชนิด
และพฤติกรรมที่เกิดจำกกำร เช่ น โอเรี ยนเตชั น (แทกซิ สและไคนี ซิ ส) รี เฟล็ กซ์
เรียนรู้ของสัตว์ ฟิกแอกชันแพทเทิร์น และพฤติกรรมที่เกิดจำกกำร
เรียนรู้ แบ่งออกเป็นแฮบบิชูเอชัน กำรฝังใจ กำรลอง
ผิดลองถูก กำรมีเงื่อนไข และกำรใช้เหตุผล

พิเศษ 21
ชื่อหน่วย เวลา
ลาดับ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ
การเรียนรู้ (ชม.)
18. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยก พฤติ ก รรมที่ สั ต ว์ แ ต่ ล ะชนิ ด แสดงออกจะ
ตัวอย่ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง แตกต่ ำงกันซึ่งเป็ นผลมำจำกวิวัฒนำกำรของระบบ
พฤติกรรมกับวิวัฒนำกำรของ ประสำทที่แตกต่ำงกัน
ระบบประสำท กำรสื่อสำรเป็นพฤติกรรมทำงสังคมแบบหนึ่งซึ่ง
19. สืบค้นข้อมูล อธิบำย และยก มีหลำยวิธี ไก้แก่ กำรสื่อสำรด้วยท่ำทำง กำรสื่อสำร
ตั ว อย่ ำ งกำรสื่ อ สำรระหว่ ำ ง ด้วยเสี ยง กำรสื่ อสำรด้ วยสำรเคมี และกำรสื่ อสำร
สั ต ว์ ที่ ท ำ ใ ห้ สั ต ว์ แ ส ด ง ด้วยกำรสัมผัส
พฤติกรรม

พิเศษ 22
Pedagogy

สื่อกำรเรียนรู้รำยวิชำเพิ่มเติม ชีววิทยำ ม. 6 ผู้จัดทำได้ออกแบบกำรสอน (Instructional Design)


อันเป็นวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้และเทคนิคกำรสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธิภำพและมีควำมหลำกหลำยให้กับผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตำมผลกำรเรียนรู้ รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรียนที่หลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสำมำรถนำไปใช้จัดกำรเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งใน
รำยวิชำนี้ ได้ นำรูปแบบกำรสอนแบบ Concept Based Teaching มำใช้ในกำรออกแบบกำรสอน ดังนี้

รูปแบบการสอนแบบ Concept Based Teaching

ผู้จัดทำเลือกใช้รูปแบบกำรสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง : Concept Based Teaching


เนื่องจำกควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ในระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้ำใจหลักกำรและ
ควำมคิดรวบยอดต่ำง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ ดังนั้น Concept Based Teaching เป็นกำรจัดกำรเรียนกำร
สอนที่นำพำผู้เรียน เพื่อให้เกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจ มีทักษะ และเกิดควำมคิดรวบยอด ผลของกำรจัดกำร
เรียนกำรสอนในลักษณะนี้จะทำให้ผู้เรียนได้ควำมรู้และมีทักษะในกำรค้นหำควำมคิดรวบยอด ซึ่งจะเป็น
ทักษะสำคัญติดตัวผู้เรียนไปตลอดชีวิต

วิธีสอน (Teaching Method)


ผู้จัดทำเลือกใช้วิธีสอนที่หลำกหลำย เช่น อุปนัย นิรนัย กำรสำธิต กำรทดลอง แบบแก้ปัญหำ แบบ
บรรยำย ซึ่งสนับสนุนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ Concept Based Teaching ที่ทำให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้กระบวนกำร ซึ่งทำให้ได้ควำมคิดรวบยอดที่สำคัญ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมกำรเรียนรู้และเกิดควำม
เข้ำใจในเนื้อหำวิทยำศำสตร์อย่ำงถ่องแท้

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)


ผู้จัดทำเลือกใช้เทคนิคกำรสอนที่หลำกหลำยและเหมำะสมกับเรื่องที่เรียน เช่น กำรใช้คำถำม กำร
ใช้ตัวอย่ำงกระตุ้นควำมคิด กำรใช้สื่อกำรเรียนรู้ที่น่ำสนใจ เพื่อส่งเสริมวิธีกำรสอนและรูปแบบกำรสอน
ให้มีประสิทธิภำพในกำรจัดกำรเรียนรู้ให้มำกยิ่งขึ้น ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีควำมสุข และ
สำมำรถฝึกฝนทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้

พิเศษ 23
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1
เวลา 60 ชั่วโมง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
1. ระบบสืบพันธุ์และ แผนที่ 1 กำรสืบพันธุ์ของ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 2
กำรเจริญเติบโต สัตว์ (Concept Based - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจแบบฝึกหัด
ของสัตว์ Teaching) - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจรำยงำน เรื่อง กำรสืบพันธ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรสืบพันธุ์ของสัตว์
จำกข้อมูล - ประเมินกำรนำเสนอ
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 2 กำรสืบพันธุ์ของ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 1.1 เรื่อง กำรสร้ำงสเปิรม์ และเซลล์ไข่ 5
มนุษย์ (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจ Topic Questions
Teaching) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจแบบฝึกหัด
- ทักษะกำรลงควำมเห็น - ตรวจรำยงำน เรื่อง ภำวะกำรมีบตุ รยำก
จำกข้อมูล - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรสืบพันธุ์ของมนุษย์
- ประเมินกำรปฏิบัติกำร
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 24
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
แผนที่ 3 กำรเจริญเติบโต กำรบรรยำย - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน 5
ของสัตว์ (Lecture Method) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจใบงำนที่ 1.2 เรื่ อ ง กำรเปลี่ ย นแปลงในระยะ
- ทักษะกำรเปรียบเทียบ เอ็มบริโอของสัตว์
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Topic Questions
จำกข้อมูล - ตรวจ Unit Questions
- ตรวจ Test for U
- ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแผนผัง เรื่อง กำรเปลี่ยนแปลงใน ระยะเอ็ ม บริ โ อ
ของสัตว์
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรเจริญเติบโตของสัตว์
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
2. ระบบประสำท แผนที่ 1 กำรรับรู้และ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 2
และอวัยวะรับ กำรตอบสนอง (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจ Topic Questions
ควำมรูส้ ึก ของสัตว์ Teaching) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจแบบฝึกหัด
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจรำยงำน เรื่อง กำรสำรวจระบบประสำทของสัตว์
จำกข้อมูล - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรสืบพันธุ์ของสัตว์
- ประเมินกำรปฏิบัติกำร
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 25
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
แผนที่ 2 เซลล์ประสำท แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 2.1 เรื่อง เซลล์ประสำท 3
และกำรทำงำน (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจ Topic Questions
ของเซลล์ประสำท Teaching) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจแบบฝึกหัด
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจผั งมโนทั ศน์ เรื่ อง โครงสร้ ำ งและประเภทของ
จำกข้อมูล เซลล์ประสำท
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรสืบพันธุ์ของสัตว์
- ตรวจตำรำงเปรียบเทียบประเภทเซลล์ประสำท
- ตรวจแผนภำพ เรื่อง กำรเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้ำที่เยื่อ
หุ้มเซลล์และกำรถ่ำยทอดกระแสประสำทระหว่ำงเซลล์
ประสำท
- ประเมินกำรนำเสนอผลงงำน
- ประเมินกำรปฏิบัติงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 3 ศูนย์ควบคุม กำรบรรยำย - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 2.2 เรื่อง สมอง 3
ระบบประสำท (Lecture Method) - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจ Topic Questions
- ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจแบบฝึกหัด
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ศูนย์ควบคุมระบบประสำท
จำกข้อมูล - สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 26
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
แผนที่ 3 กำรทำงำนของ นิรนัย - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 2.3 เรื่อง ระบบประสำทอัตโนวัติ 2
ระบบประสำท (Deduction Method) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจใบงำนที่ 2.4 เรื่อง กำรทำงำนของระบบประสำท
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Topic Questions
จำกข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแผนผั ง เรื่ อ ง กำรท ำงำนของระบบประสำท
โซมำติก
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 5 อวัยวะรับ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน 6
ควำมรูส้ ึก (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 2.5 เรื่อง อวัยวะรับควำมรู้สึก
Teaching) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจ Topic Questions
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Unit Questions
จำกข้อมูล - ตรวจ Test for U
- ทักษะกำรจัดกระทำและ - ตรวจแบบฝึกหัด
สื่อควำมหมำยข้อมูล - ตรวจรำยงำน เรื่ อ ง โรคที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อวั ย วะรั บ
- ทั ก ษ ะ ก ำ ร ส ร้ ำ ง แ บ บ ควำมรู้สึก
จำลอง - ตรวจแผ่นพับนำเสนอ เรื่อง โรคที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะ
รับควำมรู้สึก
- ตรวจป้ ำ ยนิ เ ทศ เรื่ อ ง โรคที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อวั ย วะรั บ
ควำมรู้สึก
- ตรวจแบบจำลอง อวัยวะรับควำมรู้สึก

พิเศษ 27
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
- ประเมินกำรนำเสนอผลงงำน
- ประเมินกำรปฏิบัติงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
3. ระบบต่อมไร้ท่อ แผนที่ 1 ต่อมไร้ท่อ กำรบรรยำย - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 1
(Lecture Method) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจ Topic Questions
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจแบบฝึกหัด
จำกข้อมูล - ตรวจแผนภำพเปรียบเทียบกำรควบคุมกำรทำงำนของ
ร่ำงกำยโดยระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสำท
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 2 ฮอร์โมนจำก แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 3.1 เรื่อง ฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อและ 11
ต่อมไร้ท่อและ (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ อวัยวะที่สำคัญ
อวัยวะที่สำคัญ Teaching) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจใบงำนที่ 3.2 เรื่อง โรคหรือกลุ่มอำกำรที่เกิดจำก
- ทักษะกำรเปรียบเทียบ ควำมผิดปกติของฮอร์โมน
- ทั ก ษะกำรตี ค วำมหมำย - ตรวจ Topic Questions
ข้อมูลและลงข้อสรุป - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแผนผัง เรื่อง กำรควบคุมกำรทำงำนของต่อมไร้ท่อ
- ตรวจตำรำงสรุ ป หน้ ำ ที่ แ ละอวั ย วะเป้ ำ หมำยของ
ฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำคัญ
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ฮอร์โมนและหน้ำที่ของ
ฮอร์โมนจำกต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำคัญ

พิเศษ 28
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 3 กำรรักษำดุลย กำรบรรยำย - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 3.1 เรื่อง กำรควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมน 1
ภำพของร่ำงกำย (Lecture Method) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจ Topic Questions
ด้วยฮอร์โมน - ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจแบบฝึกหัด
จำกข้อมูล - ตรวจแผนผัง เรื่อง กำรรักษำดุลยภำพของร่ำงกำยด้วย
ฮอร์โมน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 4 ฟีโรโมน กำรบรรยำย - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน 1
(Lecture Method) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจ Topic Questions
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Unit Questions
จำกข้อมูล - ตรวจ Test for U
- ตรวจแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 29
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
3. กำรเคลื่อนที่ของ แผนที่ 1 กำรเคลื่อนที่ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 2
สิ่งมีชีวิต ของสิ่งมีชีวิต (Concept Based - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจใบงำนที่ 4.1 เรื่ อ ง กำรเคลื่ อ นที่ ข องสิ่ งมี ชีวิ ต
เซลล์เดียว Teaching) - ทักษะกำรจำแนกประเภท เซลล์เดียว
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Topic Questions
จำกข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจผั ง มโนทั ศ น์ เรื่ อ ง กำรคลื่ อ นที่ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต
เซลล์เดียว
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 2 กำรเคลื่อนที่ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 4
ของสัตว์ (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 4.2 เรื่อง กำรเคลื่อนที่ของสัตว์ (ตอนที่ 1)
Teaching) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจใบงำนที่ 4.3 เรื่อง กำรเคลื่อนที่ของสัตว์ (ตอนที่ 2)
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Topic Questions
จำกข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรคลื่อนที่ของสัตว์
- ประเมินกำรปฏิบัติกำร
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 30
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
แผนที่ 3 กำรเคลื่อนที่ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจใบงำนที่ 4.3 เรื่อง ข้อต่อ 5
ของมนุษย์ (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 4.4 เรื่อง เซลล์กล้ำมเนื้อ
Teaching) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจ Topic Questions
- ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจ Unit Questions
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Test for U
จำกข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจแผนภำพ เรื่อง ควำมสัมพันธ์ของหลักกำรทำงำน
ของคำนกับกำรเคลื่อนไหวรูปแบบต่ำง ๆ
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรเคลื่อนที่ของมนุษย์
- ประเมินกำรปฏิบัติกำร
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
5. พฤติกรรมของสัตว์ แผนที่ 1 ประเภทของ แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 5
พฤติกรรม (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 5.1 เรื่อง ประเภทของพฤติกรรมสัตว์
Teaching) - ทักษะกำรเปรียบเทียบ - ตรวจใบงำนที่ 5.2 เรื่ อ ง ควำมสั ม พั น ธ์ ข องระบบ
- ทักษะกำรจำแนกประเภท ประสำทกับพฤติกรรมของสัตว์
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Topic Questions
จำกข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจรำยงำน เรื่อง พฤติกรรมของสัตว์

พิเศษ 31
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน
วิธีการสอน/เทคนิค (ชั่วโมง)
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง พฤติกรรมของสัตว์
- ประเมินกำรปฏิบัติกำร
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน
แผนที่ 2 กำรสื่อสำร แบบเน้นมโนทัศน์ - ทักษะกำรสังเกต - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน 2
ระหว่ำงสัตว์ (Concept Based - ทักษะกำรสำรวจค้นหำ - ตรวจใบงำนที่ 5.3 เรื่อง กำรสื่อสำรระหว่ำงสัตว์
Teaching) - ทักษะกำรจำแนกประเภท - ตรวจ Topic Questions
- ทั ก ษะกำรลงควำมเห็ น - ตรวจ Unit Questions
จำกข้อมูล - ตรวจ Test for U
- ตรวจแบบฝึกหัด
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กำรสื่อสำรระหว่ำงสัตว์
- ตรวจรำยงำน เรื่อง พฤติกรรมกำรสืบพันธุ์ของปลำกัด
- ประเมินกำรนำเสนอผลงำน
- สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
- สังเกตควำมมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในกำรทำงำน

พิเศษ 32

You might also like