You are on page 1of 20

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์

แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
การเจริญเติบโตของสัตว์
เวลา 5 ชั่วโมง
1. ผลการเรียนรู้
4. อธิบายการเจริญเติบโตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเอ็มบริโอในระยะต่าง ๆ (K)
2. อธิบายและเปรียบเทียบการเจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์ (K)
3. ปฏิบัติงานตามหน้าทีท่ ี่ได้รับมอบหมายได้ครบถ้วน (P)
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษาและมุ่งมั่นในการทางาน (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- การเจริ ญ เติ บ โตของสั ต ว์ เช่ น กบ ไก่ และ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม จะเริ่มต้นด้วยการแบ่ง
เซลล์ของไซโกต การเกิดเนื้ อเยื่ อเอ็มบริโ อ 3
ชั้น คือ เอ็กโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอนโดเดิร์ม
การเกิ ด อวั ย วะ โดยมีก ารเพิ่ มจ านวน ขยาย
ขนาด และการเปลี่ ย นแปลงรู ปร่ างของเซลล์
เพื่ อ ทาหน้ าที่ เฉพาะอย่ า ง ซึ่ งพั ฒ นาการของ
อวั ย วะต่ า งๆ จะท าให้ มี ก ารเกิ ด รู ป ร่ า งที่
แน่นอนในสัตว์แต่ละชนิด
- การเจริญเติบ โตของมนุ ษย์จ ะมีขั้น ตอนคล้าย
กับการเจริญเติบโตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
อื่น ๆ โดยเอ็มบริโอจะฝังตัวที่ผนังมดลูก และ
มีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างแม่กับลูกผ่านทาง
รก

41
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
เมื่ อสเปิ ร์ ม ปฏิ ส นธิ กั บ เซลล์ ไข่ จ ะได้ ไซโกตซึ่ งจะแบ่ งเซลล์ เ พิ่ ม จ านวนและพั ฒ นาเป็ น เอ็ ม บริ โ อ
ประกอบด้วย 4 ระยะ ได้แก่ ควีเวจเป็นระยะที่ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสจนได้เอ็มบริโอที่ประกอบด้วยกลุ่ม
เซลล์จ านวนมาก บลาสทูเลชันเป็นระยะที่ เซลล์ จัดเรียงตัวใหม่โดยแยกจากกันไปเรีย งตัวบริเวณผิวรอบนอก
แกสทรูเลชันเป็นระยะที่เซลล์เคลื่อนที่และจัดเรียงตัวเป็นเนื้อเยื่อชั้น 3 ชั้น และออร์แกโนเจเนซิสเป็นระยะที่
เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นพัฒนาเป็นอวัยวะต่าง ๆ
- การเจริญเติบโตของกบ หลังการปฏิสนธิ ไซโกตจะแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนกลายเป็นมอรูลา ในระยะ
บลาสทู เลชัน เซลล์ด้านในเคลื่ อนที่แยกจากกันทาให้ เกิดช่องว่าง (ค่อนไปทางด้ายบน) ในระยะ
แกสทูเลชันเซลล์ที่อยู่ด้านบนแบ่งตัวเร็วกว่าด้านล่างจึงเคลื่อนที่ลงมาคลุมและดันเซลล์ด้ านล่างไป
ข้างใน และเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส
- การเจริญเติบโตของไก่ มีการเจริญคล้ายกบ แต่เอ็มบริโอของไก่ถูกห่อหุ้มด้วยถุงน้าคร่าช่วยป้องกัน
การกระทบกระเทือน และถุงคอเรียนช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส และยังสร้างถุงแอลแลนทอยส์ เพื่อช่วย
แลกเปลี่ยนแก๊สและเก็บของเสีย เมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวไม่มีการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส
- การเจริญเติบโตของมนุษย์ หลังการปฏิสนธิที่ท่อนาไข่ ไซโกตจะแบ่งเซลล์ เพิ่มจานวนและพัฒนา
เป็นเอ็มบริโอ เมื่อเข้าสู่ วันที่ 7 เอ็มบริโอระยะบลาสทูลาจะฝังตัวที่ผนังมดลูก เมื่ออายุ 2 สัปดาห์
เอ็มบริโอเข้าสู่ระยะแกสทรูลา เกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เมื่ออายุ 3 สัปดาห์ เอ็มบริโอปรากฏร่องรอยของ
อวัยวะ เมื่ออายุ 8 สัปดาห์ เอ็มบริโอมีอวัยวะเจริญครบ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของเอ็มบริโอและหลังจาก
ระยะนี้ เรียกว่า ฟีตัส เมื่ออายุ 3 เดือน สามารถแยกเพศของฟีตัสได้ เห็นนิ้วมือนิ้วเท้าชัดเจน เมื่อ
อายุ 6 เดือน ฟีตัสมีผิวหนังเหี่ยวย่นและบางใส ศีรษะโต มีขนคิ้ว ขนตา สามารถลืมตาและหลับตาได้
ในช่วง 3 เดือน สุดท้ายก่อนคลอด ฟีตัสมีขนาดโตขึ้นมากและระบบประสาทเจริญมาก และเมื่ออายุ
9 เดือน ฟีตัสคลอดออกมาเป็นทารก

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน
2) ทักษะการจาแนกประเภท
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

42
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การบรรยาย (Lecture Method)
ชั่วโมงที่ 1-3
ขั้นนา
การเตรียมการบรรยาย
1. นาเข้าสู่บทเรียนโดยนาภาพไซโกตและสัตว์ตัวเต็ม
วั ย มาให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษา ให้ นั ก เรี ย นร่ ว มกั น
อภิปรายถึงขนาดของไซโกตที่เป็นเซลล์เริ่มต้นของ
สัตว์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศกับขนาด
ของสั ต ว์ ที่ เ จริ ญ เป็ น ตั ว เต็ ม วั ย ที่ โดยใช้ ค าถาม
ดังนี้
- เซลล์ เ ริ่ มต้ น ที่ เ จริ ญ เป็ น สั ตว์ คื อ อะไร และมี
ขนาดประมาณเท่าใด
(แนวตอบ: ไซโกต มี ข นาดประมาณ 0.2
มิลลิเมตร) ∆ ไซโกต
- หากเปรียบเทียบไซโกตกับร่างกายของสัตว์ตัวเต็มวัยจะมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร
(แนวตอบ: ไซเกตเป็นเซลล์เพียงเซลล์เดียว ส่วนสัตว์ตัวเต็มวัยประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก จึงมี
ขนาดใหญ่กว่าไซโกตมาก)
- นักเรียนคิดว่าจากไซโกตที่พัฒนาเป็นสัตว์ตัวเต็มวัยมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะใดบ้าง
(แนวตอบ: คาตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น นักเรียนอาจตอบว่ามีการเปลี่ยนแปลงขนาด
ของเซลล์ จานวนเซลล์ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเซลล์ไปทาหน้าที่เฉพาะ การพัฒนา
เปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นอวัยวะ)
2. นากราฟการเจริญเติบโตของสัตว์โดยพิจารณาจาก
ความยาวของล าตัว มาให้ นั กเรี ย นศึกษา เพื่อให้
นักเรี ยนร่ว มกัน อภิปรายถึง การเจริญเติบโตของ
สัตว์ โดยใช้คาถาม ดังนี้
- ลาตัวของสัตว์ชนิดนี้จะยาวเต็มที่เมื่อมีอายุ
ประมาณกี่วัน
(แนวตอบ: ประมาณ 25 วัน)
- ช่วงวันที่เท่าใดที่สัตว์ชนิดนี้มีการเพิ่มความยาว ∆ กราฟการเจริญเติบโตของสัตว์ โดยพิจารณาจาก
ความยาวของลาตัว
ของลาตัวมากที่สุด เพราะเหตุใด
(แนวตอบ: ช่วงวันที่ 10-15 เนื่องจากกราฟมีความชันมากที่สุด)
43
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

- หลังจากวันที่ 25 สัตว์ชนิดนี้จะมีความยาวเพิ่มขึ้นหรือไม่ อย่างไร


(แนวตอบ: มีความยาวของลาตัวคงที่ ซึ่งสัตว์ อาจจะไม่มีการเพิ่มความยาวของลาตัว แต่อาจมีการ
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย)
- หากต้องทาการวัดการเจริญเติบโตของสัตว์ชนิดนี้ นักเรียนจะเลือกใช้การวัดด้วยวิธีใด เพราะเหตุใด
(แนวตอบ: คาตอบขึ้นอยู่ กับ ดุล ยพินิจของครูผู้ส อน เช่น การวัดมวลของร่างกาย เนื่องจากมวลที่
เพิ่มขึ้นเกิดจากเซลล์มีจานวนเพิ่มขึ้นหรือเซลล์สร้างและสะสมสารต่าง ๆ มากขึ้น ซึ่งแสดง
ว่าสัตว์มีการเจริญเติบโต)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เข้าใจว่า ไซโกตเป็นเซลล์เริ่มต้น สัตว์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศ ซึ่งจะมีกระบวนการการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงขนาดของเซลล์ จานวน
เซลล์ หรือลักษณะของเซลล์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้แสดงว่าสัตว์มีการเจริญเติบโต ซึ่งสามารถวัด
การเจริญเติบโตได้ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น น้าหนัก ความสูง

ขั้นสอน
การบรรยาย
1. นักเรียนศึกษาภาพกระบวนการสาคัญต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต พร้อมอธิบายให้นักเรียนฟังว่า
ประกอบด้วย 4 กระบวนการสาคัญ ได้แก่
1. การแบ่งเซลล์ ในสิ่งมีชีวิติที่เป็นเซลล์เดียวเมื่อมีการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ก็จะทาให้เกิด
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศขึ้น ส่วนในพวกสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เมื่อเกิดปฏิสนธิแล้ว เซลล์ที่ได้ก็
คือไซโกตซึ่งจะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น ผลจากการเพิ่มจานวน
เซลล์ทาให้ได้เซลล์จานวนมากขึ้นและมีขนาดเพิ่มขึ้น
2. การเพิ่มขนาดเซลล์หรือการเติบโต ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเพิ่มไซโทพลาซึมก็จัดว่าเป็นการ
เจริญเติบโต เมื่อเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งเซลล์ในตอนแรก เซลล์ใหม่ที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่าเซลล์เดิม
ในเวลาต่อมาเซลล์ใหม่ที่ได้จะสร้างสารต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ทาให้ขนาดของเซลล์ใหม่ขยายขนาดขึ้ น
ซึ่งจัดเป็นการเจริญเติบโต ส่วนในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ผลจากการเพิ่มจานวนเซลล์ก็คือการขยาย
ขนาดให้ใหญ่โตขึ้น ซึ่งจัดเป็นการเจริญเติบโตด้วยเช่นเดียวกัน
3. การเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์ที่มีลักษณะเฉพาะ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวก็มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
เพื่อไปทาหน้าที่ต่าง ๆ เหมือนกัน เช่น มีการสร้างเซลล์ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
ได้ดี เช่น การสร้างเอนโดสปอร์ของแบคทีเรีย หรือการสร้างเฮเทอโรซีสต์ในพวกสาหร่ายสีเขียว
แกมน้ าเงิ น ซึ่ ง มี ผ นั ง หนาและสามารถจั บ แก๊ ส ไนโตรเจนในอากาศเปลี่ ย นเป็ น สารประกอบ
ไนโตรเจนที่มีประโยชน์ต่อเซลล์ของสาหร่ายได้ ส่วนในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์ใหม่ที่ได้จะ
เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่ตา่ ง ๆ เช่น เซลล์กล้ามเนื้อทาหน้าที่ในการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหว เซลล์
เม็ดเลือดแดงทาหน้าที่ลาเลียงแก๊สออกซิเจน เซลล์ประสาททาหน้าที่ในการนากระแสประสาท
เกี่ยวกับความรู้สึกและคาสั่งต่างๆ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตนั้นๆ ดารงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ กันได้
44
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

4. การพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นอวัยวะ เป็นผลจากการเพิ่มจานวนเซลล์ การเจริญเติบโต การ


เปลี่ยนแปลงของเซลล์เพื่อไปทาหน้าที่ต่าง ๆ กระบวนการเหล่านี้จะเกิดขึ้นในระยะเอ็มบริโออยู่
ตลอดเวลา มีการสร้างอวัยวะต่าง ๆ ขึ้น อัตราเร็วของการสร้างในแต่ละบริเวณบนร่างกายจะไม่
เท่ากัน ทาให้เกิดรูปร่างของสิ่ งมีชีวิตแต่ล ะชนิดขึ้นโดยที่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนและ
ลักษณะต่าง ๆ เป็นแบบที่เฉพาะตัวและไม่เหมือนกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ ลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้จะ
เป็นลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งถูกควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ
2. นักเรียนศึกษากราฟการเจริญเติบโตของสัตว์โดยพิจารณาจากความยาวของลาตัว พร้อมอธิบายลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงของกราฟในระยะต่าง ๆ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้
1. ระยะเริ่มต้น (lag phase) เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นเริ่มการเติบโต การเติบโตในระยะแรกจะ
เป็นอย่างช้า ๆ เส้นโค้งการเติบโตจึงมีความชันน้อย
2. ระยะเติบโตอย่างรวดเร็ว (log phase) เป็นระยะที่ต่อจากระยะแรกโดยที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นจะมี
การเพิ่มจานวนเซลล์ มีการสร้างสารต่าง ๆ สะสมในเซลล์ม ากขึ้นทาให้น้าหนักความสูงหรือว่า
จานวนเซลล์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่วนโค้งการเติบโตจึงชันมากกว่าระยะอื่น ๆ
3. ระยะคงที่ (stationary phase) เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตสิ้นสุดแล้ว ทาให้น้าหนัก ความสูง
หรือขนาดของสิ่งมีชีวิตนั้น ไม่เพิ่มขึ้นและค่อนข้างจะคงที่อยู่อย่างนั้นตลอดไป
4. ระยะสิ้นสุด (dead phase) เมื่อสิ่งมีชีวิตเติบโตถึงที่สุดแล้วและถ้าปล่อยเวลาต่อไปอีกก็จะถึง
ระยะเวลาที่ร่วงโรยเสื่อมโทรมในที่สุดก็จะตายไป ซึ่งก็คือระยะสิ้นสุดนั่นเอง
3. อธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเจริญเติบโตของสัตว์สามารถวัดได้จากน้าหนัก หรือมวลของร่างกาย ความสูง
ปริมาตร และจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งการวัดแต่ละวิธีจะเหมาะสมและข้อจากัดที่แตกต่างกัน เช่น
- การชั่งน้าหนัก เป็นวิธีที่สะดวกที่สุด เนื่องจากน้าหนักที่เพิ่มขึ้นเกิดจากเซลล์มีจานวนเพิ่มขึ้น
หรื อ สร้ า งและสะสมสารต่ า ง ๆ มากขึ้ น แต่ บ างครั้ ง น้ าหนั ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อาจไม่ สั ม พั น ธ์ กั บ
การเจริญเติบโตของร่างกาย เพราะสัตว์บางชนิดอาจมีน้าหนักเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่มี
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือมีอวัยวะต่าง ๆ เพิ่มขึ้น
- การวัดความสูงหรือความยาวของลาตัว เป็นวิธีที่สะดวกที่สุด เนื่องจากสัตว์ที่มีความสูงหรือ
ความยาวเพิ่มขึ้นแสดงว่าสัตว์มีการเจริญเติบโต แต่สัตว์บางชนิดอาจมีความสูงจากัดแต่ยังมี
การเจริญเติบโตอยู่
4. อธิบายให้นักเรีย นฟังว่า การเจริ ญเติบโตของไซโกตเป็นการเจริญเติบโตของสั ตว์ในช่วงแรกหลังการ
ปฏิสนธิ ซึง่ ในสัตว์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน เนื่องจากมีลักษณะของไข่แดงที่เป็นอาหารสะสมของ
สัตว์ในช่วงที่มีการเจริญเติบโตของไซโกตแตกต่างกัน การแบ่งชนิดของไข่แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่
แบ่งตามปริมาณของไข่แดงและแบ่งตามการกระจายของไข่แดง

45
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

5. นาภาพไข่ของสัตว์มายกตัวอย่างประกอบ และจาแนกประเภทของไข่ตามปริมาณของไข่แดงและแบ่งตาม
การกระจายของไข่แดง เช่น

ไข่กบ
แบ่งตามปริมาณ: มีโซเลซิทัล
แบ่งตามการกระจาย: เทโลเลซิทัล

ไข่ไก่
แบ่งตามปริมาณ: พอลิเลซิทัล
แบ่งตามการกระจาย: เทโลเลซิทัล

6. น าแบบจ าลองแสดงการพัฒ นาของไซโกตเป็นเอ็ มบริโ อมาประกอบการสอน ให้ นักเรี ยนศึกษาจาก


แบบจ าลองและหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า
20-21 แล้ ว นั ก เรี ย นและครู ร่ ว มกัน อภิปรายเพื่อให้ ได้ข้อ สรุปว่า ไซโกตจะแบ่งเซลล์ และพัฒ นาเป็ น
เอ็มบริโอ ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ด้แก่
1. คลีเวจ (cleavage) ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้เอ็มบริโอที่มีจานวนเซลล์เพิ่มขึ้น แต่ขนาด
เล็ กลง จนประกอบด้ว ยกลุ่ มเซลล์ จานวนมากมีลั ก ษณะคล้ ายผลน้อยหน่ า เรียกว่ า มอรูล า
(morula) การแบ่งเซลล์ในระยะคลีเวจมี 2 แบบ ได้แก่ การแบ่งตลอดเซลล์ไซโกต เช่น ไข่ของ
เม่นทะเล ดาวทะเล สัตว์สะเทินน้า สะเทินบก และการแบ่งไม่ตลอดเซลล์ไซโกต เช่น ไข่ของ
สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ปีก

46
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

2. บลาสทูเลชัน (blastulation) เอ็มบริโอมีการจัดเรียงตัวใหม่ เซลล์เคลื่อนที่แยกจากกันไปเรียง


ตัวบริเวณผิวชั้นนอกทาให้ เกิดช่องบลาสโทซีล ซึ่งเป็นช่องกลวงตรงกลาง เซลล์ในระยะบลาส-
ทูเลชันจะมีขนาดเล็กและมีมวลน้อยกว่าเซลล์ไข่ที่ปฏิสนธิใหม่ เนื่องจากอาหารที่สะสมอยู่ภายใน
ถูกใช้ไปในกระบวนการแบ่งเซลล์ระยะแรก
3. แกสทรูเลชัน (gastrulation) เซลล์เคลื่อนที่ ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การบุ่มตัว การคลุมตัว
การม้ว นตัว การแยกตัว และจัดเรียงตัว เป็นเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอ็ กโทเดิร์ม (ectoderm)
เมโซเดิร์ม (mesoderm) และเอนโดเดิร์ม (endoderm)
4. ออร์แกโนเจเนซิส (organogenesis) เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นของเอ็มบริโอพัฒนาการเป็นอวัยวะต่าง ๆ
ได้แก่ เอ็กโทเดิร์มเจริญเป็นระบบประสาทและระบบห่อหุ้มร่างกาย เมโซเดิร์มเจริญเป็นระบบ
ต่าง ๆ เช่น ระบบสืบพันธุ์ ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบกระดูก และเอนโดเดิร์ม
เจริญเป็นระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร และต่อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร
7. นักเรียนทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์
8. นาวีดิทัศน์หรือแบบจาลองแสดงการเจริญเติบโตของกบมาประกอบการสอน เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=SEejivHRIbE
- https://www.youtube.com/watch?v=fZQLhDHSa6Y
เมื่อนักเรียนศึกษาวีดิทัศน์หรือแบบจาลองแล้ว ให้นักเรียนศึกษาความรู้จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 22 แล้วนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้
ข้อสรุปว่า ไข่กบมีป ริมาณไข่แดงปานกลาง รวมอยู่บริเวณด้านล่ าง มีวุ้นห่อหุ้ มโดยรอบ เมื่อเกิดการ
ปฏิสนธิไซโกตจะแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนมากจนเป็นเอ็มบริโอในระยะมอรูลาในระยะบลาสทูเลชัน เซลล์
ด้านในเคลื่ อนที่แยกจากกัน ทาให้ เกิดช่องว่าง (ค่อนไปทางด้า นบน) ในระยะแกสทูเลชัน เซลล์ ที่อยู่
ด้านบนแบ่งตัวเร็วกว่าด้านล่างจึงเคลื่อนที่ลงมาคลุมและดันเซลล์ด้านล่างไปข้างใน และเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
จากนั้นเมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส
9. ถามคาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น
- เมทามอร์โฟซิสส่งผลต่อการดารงชีวิตของสัตว์อย่างไร
(แนวตอบ: เมทามอร์โฟซิสเป็น กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและลักษณะการดารงชีวิตหลาย ๆ
ครั้ ง ทาให้สั ตว์มี การดารงชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น กบในระยะลู กอ๊ อดจะดารงชีวิตในน้า
มีการหายใจด้ ว ยเหงือก แต่ ในระยะตัว เต็ มวัยจะดารงชี วิตทั้งในน้าและบนบก มีการ
หายใจด้วยปอดและผิวหนัง)

47
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

- นอกจากกบแล้ว นักเรียนคิดว่ามีสัตว์ชนิดใดบ้างที่มีเมทามอร์โฟซิส
(แนวตอบ: แมลงเป็นสัตว์ส่วนใหญ่ที่มีเมทามอร์โฟซิสเช่นเดียวกับกบ ซึ่งเมทามอร์โฟซิสในแมลงแบ่ง
ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
1. พวกที่มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ มีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงครบ 4 ขึ้น ได้แก่ ไข่
ตัวหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัย พบในผีเสื้อ ยุง แมลงวัน ด้วง
2. พวกที่มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ มีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงครบ 3 ขึ้น ได้แก่
ไข่ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย พบในตั๊กแตน แมลงปอ แมลงสาบ
3. พวกที่ไม่มีเมทามอร์โฟซิส ไข่ที่ได้รับการผสมจะฟักเป็นตัวอ่อนที่มีรูปร่างลั กษณะ
เหมือนตัวเต็มวัย แต่มีขนาดเล้กกว่า พบในตัวสามง่าม แมลงหางดีด)
10. นาวีดิทัศน์ บัตรภาพ หรือแบบจาลองแสดงการเจริญเติบโตของไก่มาประกอบการสอน เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=PedajVADLGw
- https://www.youtube.com/watch?v=5mDNWJRxg-I
- https://www.youtube.com/watch?v=vBGumRAWaa0
เมื่อนักเรียนศึกษาวีดิทัศน์หรือแบบจาลองแล้ว ให้นักเรียนศึกษาความรู้จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 23 แล้วนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้
ข้อสรุ ป ว่า ไข่ของไก่ มีป ริ มาณไข่แดงมาก และจะมีบริเวณเล็ ก ๆ ใกล้ ผิ ว เซลล์ เท่านั้นที่เป็น ส่ ว นของ
นิว เคลี ย สและไซโทพลาซึม ซึ่งเป็ น บริเวณที่เกิดการปฏิส นธิ การเจริญของไซโกตเป็นเอ็มบริโ อจะมี
ลักษณะเช่นเดียวกับ กบ แต่เอ็มบริโ อของไก่ถูกห่ อหุ้มด้ว ยถุง 2 ชั้น ได้แก่ ถุง น้าคร่าช่วยป้องกันการ
กระทบกระเทือนและถุงคอเรียนช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส และยังมีการสร้างถุงแอลแลนทอยส์เพื่อแลกเปลี่ยน
แก๊สและเก็บของเสีย สะสมไว้ในเอ็มบริโอ แต่เมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวไม่มีการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์ -
โฟซิส
11. ถามคาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น
- ไก่และกบมีการเจริญเติบโตเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
(แนวตอบ: การเจริญของไซโกตเป็นเอ็มบริโอมีขั้นตอนเหมือนกัน เริ่มจากคลีเวจ บลาสทูเลชัน แกส-
ทรูเลชัน และออร์แกโนเจเนซิส แต่รายละเอียดในแต่ละระยะอาจแตกต่างกัน เนื่องจากไข่
ไก่ มี ไ ข่ แดงปริ มาณมากกว่ า ไข่ก บและอยู่ ใ นสภาพแวดล้ อ มที่แ ตกต่ างกั น นอกจากนี้
การเจริญหลังฟักออกจากไข่ กบมีการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส แต่ไก่ไม่มี)
- เพราะเหตุใดสัตว์ที่มีเอ็มบริ โอเจริญในน้าจึงไม่ต้องมีโ ครงสร้างพิเศษ เช่น ถุงแอลแลนทอยส์ เพื่อ
แลกเปลี่ยนแก๊สและเก็บของเสีย
(แนวตอบ: เนื่องจากเอ็มบริโอเจริญในน้าสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สและของเสียโดยการแพร่เข้า -ออก
ได้โดยตรง จึงไม่ต้องมีโครงสร้างพิเศษเหล่านี้)
- เอ็มบริโอของไก่พบปัญหาด้านใดบ้างเมื่อเปรียบเทียบกับเอ็มบริโอของกบ
(แนวตอบ: การสูญเสียน้า การกาจัดของเสีย การแลกเปลี่ยนแก๊ส และอาหารเลี้ยงเอ็มบริโอที่มีจากัด)
48
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

ชั่วโมงที่ 4-5
ขั้นสอน
การบรรยาย
12. นาวีดิทัศน์หรือแบบจาลองการเจริญเติบโตของมนุษย์มาใช้ประกอบการสอน เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=zLUFXG4575Q
- https://www.youtube.com/watch?v=l1qvUPYDnOY
- https://www.youtube.com/watch?v=ltgLb_teYHs
เมื่อนักเรียนศึกษาวีดิทัศน์หรือแบบจาลองแล้ว ให้นักเรียนศึกษาความรู้จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 24-26 แล้วนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเพื่อให้
ได้ข้อสรุปว่า
- หลังการปฏิสนธิที่ท่อนาไข่ ไซโกตจะแบ่งเซลล์เป็นเอ็มบริโอ จนกลายเป็นเอ็มบริโอระยะบลาสทูลาใน
วันที่ 7 และเคลื่อนที่ตามท่อนาไข่ไปฝังตัวที่ผนังมดลูกชั้นเอนโดมีเทรียม ซึ่งจะมีการสร้างรกติดต่อ
ระหว่างแม่กับทารกในครรภ์เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสีย และยังสร้างถุงน้าคร่าหุ้ม
ตัวเองเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือน
- เมื่ออายุ 2 สัปดาห์ จะเข้าสู่ระยะแกสทรูลา และเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- เมื่ออายุ 3 สัปดาห์ จะปรากฏร่องรอยของอวัยวะ ได้แก่ หัวใจและระบบประสาท
- เมื่ออายุ 4 สัปดาห์ อวัยวะต่าง ๆ เช่น แขน ขา เริ่มเจริญ
- เมื่ออายุ 8 สัปดาห์ จะมีอวัยวะเจริญครบซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของเอ็มบริโอ หลังจากระยะนี้จะเรียกว่า
ฟีตัส
- เมื่ออายุ 3 เดือน จะสามารถแยกเพศของทารกได้ มีอวัยวะต่าง ๆ ครบ และเริ่มมีการเคลื่อนไหว
- เมื่ออายุ 4 เดือน อวัยวะเพศภายนอกพัฒนาขึ้น ได้แก่ ลูกอัณฑะของเพศชายและช่องคลอดของเพศ
หญิง ขนและผมเริ่มงอก มีชั้นไขมันใต้ผิวหนังห่อหุ้มร่างกาย ผิวมีสีชมพูและใสจนเห็นหลอดเลือด
- เมื่ออายุ 5 เดือน มีศีรษะค่อนข้างโต แขน ขา และคอเคลื่อนไหวได้ดี หัวใจเต้นเป็นจังหวะ อวัยวะ
ภายในมีการพัฒนาที่สมบูรณ์มากขึ้น ฟันน้านมของทารกเริ่มพัฒนาขึ้ นในเหงือก มีนิ้วมือและนิ้วเท้า
แยกกันอย่างชัดเจน
- เมื่ออายุ 6 เดือน ลาตัวของทารกพัฒนาขึ้น จนมีขนาดใหญ่กว่าศีรษะ มีการพัฒนาของเซลล์เม็ดเลือด
แดงขึ้นมาจานวนมากและเริ่มผลิตเม็ดเลือดขาว มีลายมือลายเท้าชัดมากขึ้น ผิวหนังหนาทึบขึ้น แขน
และขามีกล้ามเนื้อที่สมบูรณ์มากขึ้น อวัยวะเพศพัฒนาจนสมบูรณ์ ซึ่งในเพศหญิงจะมีการสร้างรังไข่
และเพศชายจะพัฒนาลูกอัณฑะขึ้นมาจนชัดเจนและมีการสร้างฮอร์โมนเพศชาย ระบบประสาทเริ่ม
ทางานสามารถจดจาและเรียนรู้ได้บ้างแล้ว
- เมื่ออายุ 7 เดือน มีการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การดูดนิ้วมือและนิ้วเท้า การลืมตา สมอง
พัฒนาขึ้นจนโตเต็มกะโหลกศีรษะและมีรอยหยักบนสมอง
49
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

- เมื่ออายุ 8 เดือน สมองและเส้นประสาททางานได้อย่างเต็มที่ ทารกเริ่มกลับตัวให้อยู่ในท่าศีรษะลง


เพื่อเตรียมพร้อมที่จะคลอด และเริ่มกะพริบตาถี่ขึ้น
- เมื่ออายุ 9 เดือน ทารกดลับหัวพร้อมคลอด
11. อธิบายเพิ่มเติ่มเกี่ยวกับฮอร์โมนเพศที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ ประกอบด้วยฮอร์โมนหลายชนิด ดังนี้
- อีสโทรเจน (estrogen) สร้ างขึ้น จากรังไข่ ช่วยเสริมสร้างร่างกายของคุณแม่ให้เหมาะสมต่อการ
ตั้งครรภ์และช่วยให้ทารกมีการเจริญเติบโตที่สมบูรณ์แข็งแรง
- โพรเจสเทอโรน (progesterone) สร้างขึ้นจากรังไข่ ช่วยกระตุ้นให้ผนังมดลูกหนาตัวขึ้น เพื่อให้เซลล์
ไข่ที่ถูกปฏิสนธิเข้าฝังตัวและเจริญเติบโตเป็นทารกได้
- ฮิวแมนคอริโอนิกโกนาโดโทรปิน (human chorionic gonadotropin) สร้างขึ้นจากรก ช่วยทาให้
คอร์ ปัส ลู เทีย มผลิ ตอีส โทรเจนและโพรเจสเตอโรนต่อ และยั้งการทางานของโกนาโดโทรปินจาก
ต่อมใต้ส มองส่ ว นหน้ า ไม่ให้ มีการเจริ ญของเซลล์ ไ ข่ในรอบต่อไป นอกจากนี้ยั ง เป็ นฮอร์โ มนที่ ถู ก
นามาใช้ตรวจการตั้งครรภ์
- ออกซิโทซิน (oxytocin) หลั่งมาจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ทาหน้าที่กระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อ
มดลูกทาให้คลอดบุตรง่ายขึ้น และยังกระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบในเต้านมทาให้หลั่งน้านม
มากขึ้น
- โพรแลกติน (prolactin) สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่กระตุ้นการเจริญของท่อผลิตน้านม
กระตุ้นการสร้างและหลั่งน้านม
12. อธิบายเพิ่มเติม เรื่อง การเจริญเติบโตหลังคลอด ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มน้าหนักและความสูง ของร่างกาย
ซึ่งอวัยวะต่าง ๆ จะเจริญเติบโตแตกต่างกัน เช่น
- เมื่อเปรียบเทียบความยาวของศรีษะ ลาตัว และขา พบว่า ศีรษะมีอัตราการเพิ่ม ขนาดน้อยที่สุด ส่วน
ขามีอัตราการเพิ่มขนาดมากที่สุด
- เมื่อเปรียบเทียบการเพิ่มขนาดของสมองและศีรษะ ขนาดของร่างกาย อวัยวะสืบพันธุ์ และเนื้ อเยื่อที่
สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว ในช่วงอายุ 0-20 ปี พบว่า เนื้อเยื่อที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวมีอัตราการ
เติบโตอย่างรวดเร็ว ขนาดร่างกาย สมองและศีรษะมีอัตราการเจริญอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่อวัยวะ
สืบพันธุ์มีอัตราการเจริญเติบโตอย่างช้า ๆ ในช่วงก่อนวัยเจริญพันธุ์และจะมีอัตราการเติบโตอย่าง
รวดเร็วในวัยเจริญพันธุ์
13. ถามคาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เช่น
- เอ็มบรืโอเข้าฝังตัวที่ผนังมดลูกอยู่ในระยะใด
(แนวตอบ: ระยะบลาสทูเลชัน)
- เอ็มบริโอจะเรียกว่าฟีตัสเมื่อมีอายุเท่าใด
(แนวตอบ: อายุ 8 สัปดาห์)

50
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

- อัตราการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอกับฟีตัสแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ: แตกต่างกัน เพราะช่วงที่เป็นเอ็มบริโอเป็นการเจริญเติบโตเพื่อสร้างอวัยวะต่าง ๆ แต่ช่วง
ที่เป็นฟีตัสเป็นการเจริญเติบโตเพื่อเพิ่มขนาดของร่างกาย)
- ช่วงใดที่มีการเจริญเติบโตน้อยที่สุด เพราะเหตุใด
(แนวตอบ: สัปดาห์ที่ 1-4 เพราะเป็นช่วงที่มีการเพิ่มจานวนเซลล์เพื่อสร้างเนื้อเยื่อและอวัยวะ)
- อวัยวะสืบพันธุ์จะเริ่มจะเจริญเมื่ออายุเท่าไร
(แนวตอบ: ตั้งแต่อายุ 12 ปี จะเจริญเข้ าสู่วัยเจริญ ซึ่งในเพศชายจะมีการสร้างสเปิร์ม และในเพศ
หญิงจะมีการเจริญของเซลล์ไข่)
14. อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาวะที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของฟีตัสในครรภ์ เช่น
- อาหาร หญิงมีครรภ์ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะโปรตีน ซึ่งหากขาดโปรตีนในช่วง
3 เดือนสุดท้ายก่อนคลอด จะมีผลต่อการเจริญของระบบประสาท
- สารเคมี บ างชนิ ด เช่ น สารกลุ่ ม เทอราโทเจนที่ พ บในยากล่ อ มประสาทพวกทาลิ โ ดไมด์มี ผ ลต่ อ
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอใน 2 เดือนแรก ทาให้การเจริญของแขนและขาผิดปกติ หรือสารเคมีที่
พบในบุหรี่และสุรามีผลต่อการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอและทาให้เกิดการแท้งได้
- เชื้อโรคบางชนิด เช่น เชื้อหัดเยอรมัน ทาให้การเจริญของสมอง หูส่วนใน เลนส์ตา และกล้ามเนื้อ
หัวใจผิดปกติ เชื้อเอชไอวีอาจส่งผลให้ทารกพิการแต่กาเนิดได้
- โรคบางชนิด หากหญิงมีครรภ์เป็นโรคบางชนิดอาจทาให้ฟีตัสเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น โรคเบาหวาน
อาจทาให้ ทารกในครรภ์ตัว โตมากกว่าปกติ มีโอกาสพิการแต่กาเนิด เสี่ยงแท้ง หรือตายคลอดได้
โรคความดันโลหิตสูง อาจทาให้พัฒนาการของทารกในครรภ์เติบโตช้า โรคหัวใจอาจทาให้ทารกขาด
ออกซิเจนและเจริญเติบโตช้าในครรภ์
15. นักเรียนทา Topic Question ท้ายหัวข้อ การเจริญเติบโตของสัตว์ จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 28 โดยบันทึกลงในสมุดบันทึกของนักเรียน
16. นักเรี ยนทาแบบฝึ กหั ด เรื่ อง การเจริ ญเติบโตของสัตว์ ในแบบฝึ กหั ดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 โดยบันทึกลงในสมุดบันทึกของนักเรียน (อาจสั่งให้นักเรียนทาเป็นการบ้าน)
17. นักเรียนทา Self-Check หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 32
18. นักเรียนทา Unit Questions ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ จาก
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 33-34 โดยบันทึกลง
ในสมุดบันทึกของนักเรียน (อาจให้นักเรียนทาเป็นการบ้าน)
19. นักเรียนทา Test for U ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์ จากหนังสือ
เรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน้า 35 โดยบันทึกลงในสมุด
บันทึกของนักเรียน (อาจให้นักเรียนทาเป็นการบ้าน)
20. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
51
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

ขั้นสรุป
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของสัตว์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อสเปิร์มปฏิสนธิกับ
เซลล์ไข่จะได้ไซโกตซึ่งจะแบ่งเซลล์เพิ่มจานวนและพัฒนาเป็นเอ็มบริโอ ประกอบด้วย 4 ระยะ ได้แก่
ควีเวจเป็น ระยะที่ ไซโกตแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส จนได้เอ็มบริโ อที่ประกอบด้ว ยกลุ่ มเซลล์ จานวนมาก
บลาสทูเลชันเป็นระยะที่เซลล์จัดเรียงตัวใหม่โดยแยกจากกันไปเรียงตัวบริเวณผิวรอบนอก แกสทรูเลชัน
เป็นระยะที่เซลล์เคลื่อนที่แบบต่าง ๆ และจัดเรียงตัวเป็นเนื้ อเยื่อชั้น 3 ชั้น และระยะออร์แกโนเจเนซิส
เป็นระยะที่เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นพัฒนาเป็นอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งสัตว์กบ ไก่ และมนุษย์จะมีการเจริญเติบโตใน
ระยะเอ็มบริโอที่คล้ายคลึ่งกัน ดังนี้
การเจริ ญเติ บโตของกบ หลั งการปฏิส นธิ ไซโกตจะแบ่งเซลล์ เพิ่มจานวนกลายเป็นมอรูล า
ในระยะบลาสทูเลชัน เซลล์ด้านในเคลื่อนที่แยกจากกันทาให้เกิดช่องว่าง (ค่อนไปทางด้ายบน) ในระยะ
แกสทูเลชันเซลล์ที่อยู่ด้านบนแบ่งตัวเร็วกว่าด้านล่างจึงเคลื่อนที่ลงมาคลุมและดันเซลล์ด้านล่างไปข้างใน
และเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส
การเจริญเติบโตของไก่ มีการเจริญคล้ายกบ แต่เอ็มบริโ อของไก่ถูกห่อหุ้มด้วยถุงน้าคร่าช่วย
ป้องกันการกระทบกระเทือนและถุงคอเรียนช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีการสร้างถุงแอลแลนทอยส์ ช่วย
แลกเปลี่ยนแก๊สและเก็บของเสีย เมื่อตัวอ่อนฟักเป็นตัวไม่มีการเปลี่ยนแปลงแบบเมทามอร์โฟซิส
การเจริญเติบโตของมนุษย์ หลังการปฏิสนธิที่ท่อนาไข่ ไซโกตจะแบ่งเซลล์เป็นเอ็มบริโอ เมื่อเข้า
สู่วันที่ 7 เอ็มบริโอระยะบลาสทูลาจะฝังตัวที่ผนังมดลูก อายุ 2 สัปดาห์ เอ็มบริโอเข้าสู่ระยะแกสทรูลา
เกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น อายุ 3 สัปดาห์ เอ็มบริโอปรากฏร่องรอยของอวัยวะ อายุ 8 สัปดาห์ เอ็มบริโอมีอวัยวะ
เจริญครบ ซึ่งเป็นระยะสิ้นสุดของเอ็มบริโอและหลังจากระยะนี้ เรียกว่า ฟีตัส อายุ 3 เดือน สามารถแยก
เพศของฟีตัสได้ เห็นนิ้วมือนิ้วเท้าชัดเจน อายุ 6 เดือน ฟีตัสมีผิวหนังรอยเหี่ยวย่นและบางใส ศีรษะโต มี
ขนคิ้ว ขนตา สามารถลืมตาและหลับตาได้ ในช่วง 3 เดือน สุดท้ายก่อนคลอด ฟีตัสมีขนาดโตขึ้นมากและ
ระบบประสาทเจริญมาก และเมื่ออายุ 9 เดือน ฟีตัสคลอดออกมาเป็นทารก
2. นักเรียนเขียนสรุปในรูป แบบแผนผัง เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์ โดยอธิบายถึง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเอ็มบริโอในระยะควีเวจ บลาสทูเลชัน แกสทรูเลชัน และออร์แกโนเจเนซิส
ลงในกระดาษ A4
3. นักเรียนเขียนสรุปในรูปแบบผังมโนทัศน์ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ โดยอธิบายถึงปัจจัยที่จาเป็นต่อ
การเจริญเติบโตของกบ ไก่ และมนุษย์ ลงในกระดาษ A4

ขั้นประเมิน
1. ประเมินความรู้เกี่ย วกับ เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ โดยสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม ตรวจ
แบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจใบงาน ตรวจแผนผัง และตรวจผังมโนทัศน์
2. ประเมินทักษะและกระบวนการ โดยสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
52
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยสังเกตพฤติกรรมความสนใจใฝ่รู้ในการศึกษาและความมุ่งมั่นใน
การทางาน

7. การวัดและการประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
7.1 การประเมินระหว่าง
การจัดกิจกรรม
1) การเจริญเติบโต - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานที่ 1.2 - ร้อยละ 60
ของสัตว์ ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Topic Questions - Topic Questions - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแผนผัง เรื่อง - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพดี
การเปลี่ยนแปลงใน แผนผัง ผ่านเกณฑ์
ระยะเอ็มบริโอของสัตว์
- ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพดี
การเจริญเติบโตของสัตว์ ผังมโนทัศน์ ผ่านเกณฑ์
2) การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ - ผลงานที่นาเสนอ - ระดับคุณภาพดี
ผลงาน ผลงาน ผ่านเกณฑ์
3) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
การทางาน การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล
4) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพดี
การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพดี
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์
ในการทางาน อันพึงประสงค์
7.2 ประเมินหลังเรียน
- Unit Questions - ตรวจ Unit Questions - Unit Questions - ร้อยละ 60
หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ผ่านเกณฑ์
ที่ 1

53
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


- Test for U - ตรวจ Test for U - Test for U - ร้อยละ 60
หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ผ่านเกณฑ์
ที่ 1
- แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน - ร้อยละ 60
หลังเรียน หน่วย หลังเรียน ผ่านเกณฑ์
การเรียนรู้ที่ 1

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้
ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
2) แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.6 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้
ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
3) แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
4) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์
5) PowerPoint เรื่อง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
6) QR Code เรื่อง การเจริญเติบโตของสัตว์ปีก
7) บัตรภาพไซโกต เซลล์ไข่ และการเจริญเติบโตของไก่ในไข่
8) แบบจาลองการเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์ การเจริญเติบโตของกบ ไก่ และมนุษย์
9) วีดิทัศน์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์ การเจริญเติบโตของกบ ไก่ และมนุษย์
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) สื่ออิเล็กทรอนิกส์

54
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

ใบงานที่ 1.2
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์
คาชี้แจง : ระบุระยะของเอ็มบริโอจากภาพสไลด์ พร้อมอธิบายลักษณะที่สาคัญของระยะดังกล่าว

เอ็มบริโอระยะ .........................................................
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................

เอ็มบริโอระยะ .........................................................
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................

เอ็มบริโอระยะ .........................................................
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................

55
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

ใบงานที่ 1.2 เฉลย


เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในระยะเอ็มบริโอของสัตว์
คาชี้แจง : ระบุระยะของเอ็มบริโอจากภาพสไลด์ พร้อมอธิบายลักษณะที่สาคัญของระยะดังกล่าว

เอ็มบริโอระยะ บลาสทู เลชัน


.........................................................
เซลล์มีการจัดเรียลตัวใหม่ โดย
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
เคลื่อนที่แยกจากกันไปเรียงบริเวณผิวชั้นนอก ทา
..................................................................................
ให้เกิดช่องบลาสโทซีส ซึ่งเป็นช่องกลวงตรงกลาง
..................................................................................
และมีของเหลวบรรจุอยู่
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................

เอ็มบริโอระยะ แกสทรู เลชัน


.........................................................
เซลล์ เคลื่ อ นที่ และจั ดเรีย งตั ว
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
เป็นเนื้อเยื่อ 3 ชั้น ได้แก่ เอ็กโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม
..................................................................................
และเอนโดเดิร์ม โดยเคลื่อนตัวในลักษณะต่าง ๆ
..................................................................................
เช่ น การบุ่ ม ตั ว การคลุ ม ตั ว การม้ ว นตั ว การ
..................................................................................
แยกตั ว และยั ง มี ช่ อ งแกสโทรซี ส เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง จะ
..................................................................................
เจริญเป็นทางเดินอาหาร
..................................................................................
..................................................................................

คลีเวจ
เอ็มบริโอระยะ .........................................................
ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสจน
ลักษณะที่สาคัญ .......................................................
ได้ เ ซลล์ จ านวนมาก แต่ เ ซลล์ มี ข นาดเล็ ก ลง
..................................................................................
ตามล าดั บ ซึ่ งเมื่ อ สิ้ น สุ ดระยะคลี เวจจะได้เ ซลล์
..................................................................................
ลักษณะคล้ายผลน้อยหน่า เรียกว่า มอรูลา
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................

56
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

ไซโกต

57
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

เซลล์ไข่


58
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

การเจริญเติบโตของไก่ในไข่

59
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโตของสัตว์
แผนฯ ที่ 3 การเจริญเติบโตของสัตว์

9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ .................................
( ................................ )
ตาแหน่ง .......
10. บันทึกผลหลังการสอน

 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

60

You might also like