You are on page 1of 162

คู่มือครู

Teacher Script

ชีววิทยา ม. 4
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
ตามผลการเรียนรู เล่ม 1
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


รศ.ดร. ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ ดร. นําชัย ชีววิวรรธน ผศ.ดร. นํ้าคาง ศรีวัฒนาโรทัย
ดร. ปวย อุนใจ นางสาววราภรณ ทวมดี
ผศ.ดร. ศศิวิมล แสวงผล

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางจิตรา สังขเกื้อ นางสาววราภรณ ทวมดี
นางสาวฐนิสา หวั่งประดิษฐ

พิมพครั้งที่ 5
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 3448021
คํ า แนะนํ า การใช้
คูมือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีววิทยา
ม.4 เลม 1 จัดทําขึ้นสําหรับใหครูผูสอนใชเปนแนวทางวางแผน
การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
การประกันคุณภาพผูเรียนตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

เพ
ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได เพทโดยเลือก Trim
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน โซน 1
ิ่ม คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา
เพ ขัน้ นํา

ธรรมชาติ
กระตุน ความสนใจ
ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูตามที่หลักสูตรกําหนด 1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ และให

1
หน่วยการเรียนรูที่
นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบก อ นเรี ย น เพื่ อ วั ด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรม
2. ครูกระตุน ความสนใจของนักเรียนเกีย่ วกับเรือ่ ง
ที่จะเรียน โดยใหนักเรียนดูสื่อดิจิทัลเกี่ยวกับ
ของสิง่ มีชวี ติ
ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ
เพ
สิ่งมีชีวิตจากอินเทอรเน็ต หรือ PowerPoint ผลการเรียนรู สิ่ ง มี ชี วิ ต แต่ ล ะชนิ ด มี ลั ก ษณะเฉพาะแตกต่ า งกั น
บางชนิด
3. ครู ตั้ ง คํ า ถามกระตุ  น ความสนใจ โดยให 1. อธิบายและสรุปสมบัติที่ส�าคัญของ มีขนาดเล็กมาก แต่บางชนิดอาจมีขนาดใหญ่มาก บางชนิด
สิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธ์ของการจัด สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่บางชนิดไม่สามารถสร้างอาหาร
นั ก เรี ย นช ว ยกั น ระดมความคิ ด ในการตอบ
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี คํ า ถาม ซึ่ ง อาจใช คํ า ถามจากหนั ง สื อ เรี ย น
ระบบในสิ่งมีชีวิตที่ท�าให้สิ่งมีชีวิต
ด�ารงชีวิตอยู่ได้
2. อธิบายและบอกความส�าคัญของ
ได้เอง จึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร แล้วนักเรียนทราบ
หรือไม่ว่า สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่กล่าวถึงนั้นมีลักษณะส�าคัญอย่างไร
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 หรือคําถามอื่นๆ การระบุ ป ั ญ หา ความสั ม พั น ธ์
ประสิทธิภาพ ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธี
การตรวจสอบสมมติฐาน รวมทั้ง
ออกแบบการทดลองเพือ่ ตรวจสอบ
สมมติฐานได้

ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ


เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้ ง หมดของรายวิ ช าก อ นที่ จ ะลงมื อ
สอนจริง
ิ่ม Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
เพ
แนวตอบ Big Question
นักเรียนอาจตอบวาพิจารณาจากเกณฑที่ใช
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย จําแนกสิง่ ตางๆ วาเปนสิง่ มีชวี ติ หรือไม โดยสิง่ มีชวี ติ
มีลักษณะตางๆ ดังนี้
àÃҨзÃÒº
䴌͋ҧäÃÇ‹Ò ÊÔè§ã´à»š¹
- มีการสืบพันธุ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
- ตองการสารอาหารและพลังงาน
ิ่ม Chapter Concept Overview ช ว ยให เ ห็ น ภาพรวม - มีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจํากัด
เพ - มีการตอบสนองตอสิ่งเรา
- มีการรักษาดุลยภาพของรางกาย
Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู - มีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ
- มีการจัดระบบ

ิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม เกร็ดแนะครู


เพ การเรียนการสอน เรื่อง ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต มีเนื้อหาสําคัญเกี่ยวกับ
ความพรอมของผูเรียนสูการสอบในระดับตาง ๆ การศึกษาชีววิทยาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งถือเปนพื้นฐานสําคัญ
ในการศึกษาดานวิทยาศาสตรทกุ แขนง ดังนัน้ ครูควรใหนกั เรียนไดฝก ปฏิบตั ติ าม
ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตรจนเกิดเปนนิสัยติดตัวนักเรียนตอไป
ิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา
เพ สื่อ Digital
ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สิ่งมีชีวิต โซน 3
https://twig-aksorn.com/fifilm/glossary/organism-6681/
ในโลกแหงศตวรรษที่ 21
ิ่ม โซน 2
เพ STEM Project แนวทางการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียน T4
เกิดการเรียนรูแ ละสามารถบูรณาการความรูท างวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตรไปใช
เชื่อมโยงและแกปญหาในชีวิตจริง

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


การเรียนการสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหครูผูสอน ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ที่เปนประโยชนสําหรับครู
โดยแนะนําขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอยางละเอียด เพื่อนําไปประยุกตใชจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน
เพื่อใหนักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามผลการเรียนรู เกร็ดแนะครู
ความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอสังเกต แนวทางการจัด
นํา สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรมและอื่น ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรู  เ พิ่ ม เติ ม จากเนื้ อ หา สํ า หรั บ อธิ บ ายเสริ ม เพิ่ ม เติ ม ให
กับนักเรียน
โดยใชหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.4 เลม 1 และแบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีววิทยา ม.4 เลม 1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Materials)
ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหสอดคลองกับผลการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคูมือครูเลมนี้
มีองคประกอบที่งายตอการใชงาน ดังนี้

โซน 1
โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2. ใหแตละกลุม สรุปความรูท ศี่ กึ ษาในรูปแบบของ
ประกอบด ว ยแนวทางสํ า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจ�ากัด
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีการขยายขนาด เพิ่มจ�านวน มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อไปท�าหน้าที่
เฉพาะอย่าง หรืออาจรวมกลุ่มเป็นเนื้อเยื่อ ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นอวัยวะและระบบอวัยวะต่าง ๆ
ผังมโนทัศน แลวรวมกันตั้งคําถามกลุมละ 1
คําถามเกี่ยวกับเรื่องที่กลุมตนเองศึกษา
เสนอแนะแนวขอสอบ เพือ่ อํานวยความสะดวกใหแกครูผสู อน
ของร่างกาย สิ่งที่เกิดขึ้นดังกล่าวนี้นับเป็นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต โดยการเจริญเติบโตของ 3. ให แ ต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนออกมานํ า เสนอผั ง
สิ่งมีชีวิตบางชนิดนั้น จะเริ่มต้นจากการมีตัวอ่อนขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่ และมีการ มโนทัศนของกลุม ตนเองและถามคําถามเพือ่ น
เจริญเติบโตโดยขยายขนาดขึน้ เป็นตัวเต็มวัย แต่สงิ่ มีชวี ติ บางชนิดจะมีตวั อ่อนที1 ม่ ลี กั ษณะแตกต่าง
จากพ่อแม่ และต้องผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในขณะเจริญเติบโต (metamorphosis)
คนอื่นๆ ในชั้นเรียน
4. ใหนักเรียนแตละคนสรุปความรูที่ไดจากการ กิจกรรม 21st Century Skills
จนกระทัง่ เป็นตัวเต็มวัยจึงจะมีลกั ษณะเหมือนกับพ่อแม่ เช่น ยุง แมลงวัน ผีเสือ้ กบ เขียด เป็นต้น ศึกษาและจากการนําเสนอของเพือ่ นลงในสมุด
เมือ่ สิง่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาแล้ว จะมีการเจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยทีพ่ ร้อมจะสืบพันธุเ์ พือ่ การ
ด�ารงเผ่าพันธุ์ และต่อมาเมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่ง ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะเสื่อมสลายและตายไป
บันทึก โดยใชความคิดสรางสรรคออกแบบให
มีความนาสนใจ
กิ จ กรรมที่ ใ ห นั ก เรี ย นได ป ระยุ ก ต ใ ช ความรู  ส ร า งชิ้ น งาน
โดยช่วงเวลาตั้งแต่ที่สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาจนตายไปนั้น เรียกว่า อำยุขัย (life span) ซึ่งสิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิดจะมีอายุขัยแตกต่างกัน หรื อ ทํ า กิ จ กรรมรวบยอดเพื่ อ ให เ กิ ด ทั ก ษะที่ จํ า เป น ใน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปรางของกบ ศตวรรษที่ 21
หางหดสั้น โตเต็มวัย

ขอสอบเนนการคิด
หางจะหดสัน้ แล้วกบจะขึน้ มาอาศัย กบโตเต็มวัยพร้อมที่จะสืบพันธุ์
อยู่บนบก ซึ่งหายใจด้วยปอด

ขาหนางอก ผสมพันธุ
ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอม
ขาหน้าจะงอกออกมา
จนมีขาครบ 4 ขา
ฤดูฝนเป็นฤดู
ผสมพันธุ์ของกบ เฉลยอยางละเอียด
ขาหลังงอก
ขาหลังจะงอกออกมาก่อน
และหางค่อย ๆ หดสั้นลง ไข่
ลูกออด
ลักษณะคล้ายลูกปลา หัวโต
หางยาว หายใจด้วยเหงือก
ลักษณะกลม สีน�้าตาลอมเขียว
และมีเมือกหุ้มอยู่ ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ภาพที่ 1.5
ธรรมชาติ 5
ตัวอยางขอสอบที่มุงเนนการคิดวิเคราะห และสอดคลองกับ
ของสิ่งมีชีวิต

แนวขอสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พรอมเฉลยอยาง


ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู ละเอียด
ผีเสื้อมีกระบวนการเจริญเติบโตเชนเดียวกับสัตวในขอใด 1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปรางในขณะเจริญเติบโต (metamorphosis)
1. กบ ของแมลงแตละชนิดมีรูปแบบ ดังนี้
2. สุนัข
3. มนุษย
1. ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง (ametabolous) คือ เมื่อฟกออกจากไขแลว
มีรูปรางเหมือนกับตัวเต็มวัย เชน แมลงสามงาม แมลงหางดีด
กิจกรรมทาทาย
4. แมลงวัน
5. แมลงปอ
2. การเปลีย่ นแปลงรูปรางแบบงาย (paurometabolous) คือ มีระยะไข ตัวออน
(นิ้ม (nymph)) และตัวเต็มวัย เชน ตั๊กแตน แมลงสาบ จิ้งหรีด
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ตอยอดสําหรับนักเรียน
3. การเปลีย่ นแปลงรูปรางแบบไมสมบูรณ (incomplete metamorphosis) คือ
(วิเคราะหคําตอบ การเจริญเติบโตของผีเสื้อมีระยะไข ตัวหนอน
โซน 3
ดักแด และตัวเต็มวัย ซึ่งแมลงวันมีการเจริญเติบโตเชนเดียวกันนี้ มีระยะไข ตัวออน (ไนแอด (naiad)) และตัวเต็มวัย เชน แมลงปอ ชีปะขาว
4. การเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบสมบูรณ (complete metamorphosis) คือ
ทีเ่ รียนรูไ ดอยางรวดเร็ว และตองการทาทายความสามารถใน
สวนกบและแมลงปอมีระยะไข ตัวออน และตัวเต็มวัย สุนัขและ
มนุษยเจริญเติบโตโดยไมมกี ระบวนการเปลีย่ นแปลงรูปราง ดังนัน้
ตอบขอ 4.)
มีระยะไข ตัวหนอน ดักแด และตัวเต็มวัย เชน ผีเสื้อ แมลงวัน ผึ้ง
5. การเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบซับซอน (hypermetabolous) คือ มีระยะไข
ระดับที่สูงขึ้น
โซน 2
ตัวหนอน ดักแด และตัวเต็มวัย แตระยะตัวหนอนจะยอยออกเปนหลายระยะ
ที่มีลักษณะตางกัน เชน ดวงนํ้ามัน

T7 กิจกรรมสรางเสริม
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่
ควรไดรับการพัฒนาการเรียนรู

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมินผล


คําอธิบายหรือขอเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือขอควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุ ผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นของ
ตามเนื้อหาในบทเรียน นักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีห่ ลักสูตรกําหนด
สื่อ Digital
แนะนําแหลงเรียนรูและแหลงคนควาจากสื่อ Digital ตาง ๆ
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาเกีย่ วกับลักษณะส�ำคัญของสิง่ มีชวี ติ การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ การน�ำความรูเ้ กีย่ วกับ


ชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบในเซลล์สิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมี
ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ การแพร่ การออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต
แอกทีฟทรานสปอร์ต การล�ำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์
การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจริยธรรม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายและสรุปสมบัติที่สำ� คัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ท�ำให้สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิตอยู่ได้
2. อภิปรายและบอกความส�ำคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมทั้ง
ออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน
3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน�ำ้ และบอกความส�ำคัญของน�้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และยกตัวอย่างธาตุต่าง ๆ ที่มีความส�ำคัญต่อ
ร่างกายสิ่งมีชีวิต
4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความส�ำคัญของคาร์โบไฮเดรตที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของโปรตีน และความส�ำคัญของโปรตีนที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของลิพิด และความส�ำคัญของลิพิดที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลีอิก และระบุชนิดของกรดนิวคลีอิก และความส�ำคัญของกรดนิวคลีอิกที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
8. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต
9. อธิบายการท�ำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุปัจจัยที่มีผลต่อการท�ำงานของเอนไซม์
10. บอกวิธกี ารและเตรียมตัวอย่างสิง่ มีชวี ติ เพือ่ ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาดโดยประมาณและวาดภาพทีป่ รากฏภายใต้กล้อง
บอกวิธีการใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ถูกต้อง
11. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และระบุชนิดและหน้าที่ของออร์แกเนลล์
13. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของนิวเคลียส
14. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต
15. สบื ค้นข้อมูล อธิบายและเขียนแผนภาพการล�ำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ดว้ ยกระบวนการเอกโซไซโทซิส และการล�ำเลียงสาร
โมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิส
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทั้งอธิบายและเปรียบเทียบการแบ่ง
นิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส
17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ และภาวะที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ
รวม 17 ผลการเรียนรู้
Pedagogy
คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร ายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้น ม.4 ผูจัดทําไดออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเปนวิธีการจัดการเรียนรูและ
เทคนิคการสอนที่เปยมดวยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายใหกับผูเรียน เพื่อใหผูเรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม
ผลการเรียนรู รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเ รียนทีห่ ลักสูตรกําหนดไว โดยครูสามารถนําไปใชจดั การ
เรียนรูในชั้นเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ไดนํารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional
Model) มาใชในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ดวยจุดประสงคของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เพื่อชวย
ุนความสนใจ
ใหผูเรียนไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค กระต
คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการคนควาหาความรู และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล
ความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ ผูจัดทําจึงไดเลือกใช

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเปนขั้นตอนการเรียนรูที่มุงหมายใหผูเรียนไดมีโอกาสสราง
องคความรูด ว ยตนเองผานกระบวนการคิดและการลงมือทํา โดยใช
5Es
กระบวนการทางวิทยาศาสตรเปนเครือ่ งมือสําคัญเพือ่ พัฒนาทักษะ
bo 4 3

n
El a

tio
กระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะการเรียนรูแ หงศตวรรษที่ 21 a
rat lan
ขย

รู
คว ion Exp

าม
คว
าย

ามเ าย
ขาใจ อ ธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผูจ ดั ทําเลือกใชวธิ สี อนทีห่ ลากหลาย เชน การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุม ยอย เปนตน เพือ่ สงเสริมการเรียนรู
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) ใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเนนใชวิธีสอน
โดยใชการทดลองมากเปนพิเศษ เนื่องจากเปนวิธีสอนที่มุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดองคความรูจากประสบการณตรงโดย
การคิดและการลงมือทําดวยตนเอง อันจะชวยใหผูเรียนมีความรูและเกิดทักษะทางวิทยาศาสตรที่คงทน

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

ผูจ ดั ทําเลือกใชเทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ สงเสริมวิธสี อนใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เชน การใชคําถาม การเลนเกม เพื่อนชวยเพื่อน เปนตน ซึ่งเทคนิคการสอนตาง ๆ จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมี
ความสุขในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งไดพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกดวย
Teacher Guide Overview
ชี ว วิ ท ยา ม.4 เล่ ม 1
หน่วย
ผลการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ เวลาที่ใช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

1 1. อ ธิบายและสรุปสมบัติที่ส�ำคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ - ทักษะการสังเกต


ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ท�ำให้สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิตอยู่ได้ - ทักษะการ
-
-
ต รวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- ห นังสือเรียน
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
ธรรมชาติ 2. อภิปรายและบอกความส�ำคัญของการระบุปญั หา ความสัมพันธ์ สำ�รวจค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดชีววิทยา
ของสิ่งมีชีวิต ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน - ทักษะการ - ประเมินการปฏิบัติการ ม.4 เล่ม 1
รวมทั้งออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน จำ�แนกประเภท - ตรวจใบงาน เรื่อง - PowerPoint
- ทักษะการ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของ ประกอบการสอน
ลงความเห็น สิ่งมีชีวิต - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
8
จากข้อมูล - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ทักษะการตั้ง ชีวจริยธรรม TWIG
คำ�ถาม ชั่วโมง - ตรวจใบงาน เรื่อง
- ทักษะการตั้ง การศึกษาชีววิทยา
สมมติฐาน - สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน
- ทักษะการทดลอง รายบุคคล
- ทักษะการ - สังเกตพฤติกรรมการทำ�งาน
ตีความหมาย กลุ่ม
ข้อมูลและ - สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้
ลงข้อสรุป

2 3. ส บื ค้นข้อมูล อธิบายเกีย่ วกับสมบัตขิ องน�ำ้ และบอกความส�ำคัญ - ทักษะการสังเกต


ของน�้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และยกตัวอย่างธาตุต่าง ๆ ที่มีความ - ท ักษะการ
-
-
ต รวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- ห นังสือเรียน
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
เคมีที่เป็น ส�ำคัญต่อร่างกายสิ่งมีชีวิต ส�ำรวจค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดชีววิทยา
พื้นฐานของ 4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่ม - ทักษะการระบุ - ตรวจใบงาน เรื่อง ม.4 เล่ม 1
คาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความส�ำคัญของคาร์โบไฮเดรตที่มีต่อ - ทักษะการ สารอนินทรีย์ - PowerPoint
สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิต เปรียบเทียบ - ตรวจใบงาน เรื่อง ประกอบการสอน
- ทักษะการ สารอินทรีย์
12
5. สบื ค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของโปรตีน และความส�ำคัญของ - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
โปรตีนที่มีต่อสิ่งมีชีวิต จ�ำแนกประเภท - ตรวจใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยา
6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของลิพิด และความส�ำคัญของ - ทักษะการตั้ง ชั่วโมง เคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต TWIG
ลิพิดที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สมมติฐาน - ประเมินการปฏิบัติการ
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลีอกิ และระบุชนิดของกรดนิวคลีอกิ - ทักษะการทดลอง - สงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุม่
และความส�ำคัญของกรดนิวคลีอิกที่มีต่อสิ่งมีชีวิต - ทักษะการ - สังเกตพฤติกรรมการน�ำเสนอ
8. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ตีความหมาย - สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้
9. อธิบายการท�ำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกิริยาเคมี ข้อมูลและ และมุ่งมั่นในการท�ำงาน
ในสิ่งมีชีวิต และระบุปัจจัยที่มีผลต่อการท�ำงานของเอนไซม์ ลงข้อสรุป

3 10. บ อกวิ ธี ก ารและเตรี ย มตั ว อย่ า งสิ่ ง มี ชี วิ ต เพื่ อ ศึ ก ษาภายใต้


กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาดโดยประมาณและวาดภาพ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการระบุ
-
-
ต รวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
- ห นังสือเรียน
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
เซลล์ของ ที่ปรากฏภายใต้กล้อง บอกวิ ธี ก ารใช้ แ ละการดู แ ลรั ก ษา - ทักษะการ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดชีววิทยา
สิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ถูกต้อง ส�ำรวจค้นหา - ตรวจใบงาน เรื่อง การไหล ม.4 เล่ม 1
11. อธิบายโครงสร้างและหน้าทีข่ องส่วนทีห่ อ่ หุม้ เซลล์ของเซลล์พชื - ทักษะการ ของไซโทพลาซึม - PowerPoint
และเซลล์สัตว์ เปรียบเทียบ - ตรวจใบงาน เรื่อง โครงสร้าง ประกอบการสอน
12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และระบุชนิดและหน้าที่ของออร์แกเนลล์ - ทักษะการ ของเซลล์ - ภาพยนตร์สารคดีสั้น
13. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของนิวเคลียส จ�ำแนกประเภท - ตรวจใบงาน เรื่อง
14. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต - ทักษะการ การล�ำเลียงสารผ่านเซลล์ TWIG
และแอกทีฟทรานสปอร์ต ตั้งสมมติฐาน - ตรวจใบงาน เรื่อง การ
15. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธิ บ ายและเขี ย นแผนภาพการล� ำ เลี ย งสาร - ทักษะการทดลอง ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องการ
โมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส - ทักษะการ ล�ำเลียงสารผ่านเซลล์
และการล�ำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการ
เอนโดไซโทซิส
ตีความหมาย
ข้อมูลและ
40 - ตรวจใบงาน เรื่อง การสื่อสาร
ระหว่างเซลล์
ชั่วโมง
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจาก ลงข้อสรุป - ตรวจใบงาน เรื่อง
ตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทั้งอธิบายและเปรียบ การแบ่งเซลล์
เทียบการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส - ตรวจใบงาน เรื่อง การ
17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอนการหายใจระดับเซลล์ เปลื่ยนสภาพของเซลล์และ
ในภาวะทีม่ อี อกซิเจนเพียงพอและภาวะทีม่ อี อกซิเจนไม่เพียงพอ การชราภาพของเซลล์
- ตรวจใบงาน เรื่อง
การหายใจระดับเซลล์
- ประเมินการปฏิบัติการ
- สงั เกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุม่
- สังเกตพฤติกรรมการน�ำเสนอ
- สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้
และมุ่งมั่นในการท�ำงาน
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หนวยการเรียนรูที่ 1 ธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต T2 T3 T4

• ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต T5 - T14
• ชีววิทยาคืออะไร T15
• ชีววิทยากับการดํารงชีวิต T16
• ชีวจริยธรรม T17 - T18
• การศึกษาชีววิทยา T19 - T26
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 T27 - T29

หนวยการเรียนรูที่ 2 เคมีทเ่ี ปนพืน


้ ฐำนของสิง
่ มีชว
ี ต
ิ T30 T31 - T33 T34

• สารเคมีที่เปนพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต T35 - T36


• สารอนินทรีย์ T37 - T40
• สารอินทรีย์ T41 - T63
• ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต T64 - T72
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 T73 - T77

หนวยการเรียนรูที่ 3 เซลลของสิ่งมีชีวิต T78 - T79 T80 - T83 T84

• เซลล์และทฤษฎีเซลล์ T85 - T93


• โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน T94 - T107
• การลําเลียงสารผ่านเซลล์ T108 - T116
• การสื่อสารระหว่างเซลล์ T117 - T120
• การแบ่งเซลล์ T121 - T128
• การเปลีย่ นสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์ T129 - T130
• การหายใจระดับเซลล์ T131 - T145
ท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 T146 - T150

STEM Project T151 - T152

บรรณำนุกรม T153
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายสมบัติที่ส�ำคัญ แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ธรรมชาติ ม.4 เล่ม 1 ของสิ่งมีชีวิตได้ (K) ความรู้ (5Es ก่อนเรียน - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ของสิ่งมีชีวิต - แบบฝึกหัด ชีววิทยา 2. อธิบายความสัมพันธ์ Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 ของการจัดระบบใน Model) - ประเมินการปฏิบัติการ - ทกั ษะการตัง้ การท�ำงาน
2 - PowerPoint ประกอบ สิ่งมีชีวิตที่ท�ำให้ - ตรวจใบงาน เรื่อง ค�ำถาม
การสอน สิ่งมีชีวิตด�ำรงชีวิต การตอบสนองต่อสิ่งเร้า - ทกั ษะการตัง้
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อยู่ได้ (K) ของสิ่งมีชีวิต สมมติฐาน
TWIG 3. ทดลองเกี่ยวกับการ - สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการตรวจ
รักษาดุลยภาพของ การทำ�งานรายบุคคล สอบสมมติฐาน
ร่างกายสิ่งมีชีวิตได้ (P) - สังเกตพฤติกรรมการ
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา ทำ�งานกลุ่ม
(A) - สังเกตพฤติกรรม
การนำ�เสนอ
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการทำ�งาน
แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายเกี่ยวกับแขนง แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ชีววิทยาคืออะไร ม.4 เล่ม 1 วิชาต่าง ๆ ของชีววิทยา ความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง   - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ชีววิทยากับการ - แบบฝึกหัดชีววิทยา และสาขาอื่น ๆ ที่ Instructional ชีวจริยธรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ด�ำรงชีวิต ม.4 เล่ม 1 เกีย่ วข้องได้ (K) Model) - สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการลงความ การท�ำงาน
และชีวจริยธรรม - PowerPoint ประกอบ 2. อธิบายเกี่ยวกับ การทำ�งานรายบุคคล เห็นจากข้อมูล
การสอน ชีวจริยธรรมและ - สังเกตพฤติกรรม
2 - ภาพยนตร์สารคดีสั้น จรรยาบรรณการใช้ การทำ�งานกลุ่ม
ชั่วโมง TWIG สัตว์ทดลองได้ (K) - สังเกตความมีวินัย
3. ออกแบบการทดลอง ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
เพือ่ ตรวจสอบสมมติฐาน ในการทำ�งาน
ได้ (P)
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา
และมีความรับผิดชอบ
(A)
แผนฯ ที่ 3 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายความส�ำคัญ แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การศึกษา ม.4 เล่ม 1 ของการระบุปัญหา ความรู้ (5Es หลังเรียน - ทกั ษะการตัง้ ค�ำถาม - ใฝ่เรียนรู้
ชีววิทยา - แบบฝึกหัดชีววิทยา ความสัมพันธ์ระหว่าง Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด - ทกั ษะการตัง้ - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 ปัญหา สมมติฐาน Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง สมมติฐาน การท�ำงาน
4 - PowerPoint ประกอบ และวิธีการตรวจสอบ การศึกษาชีววิทยา - ทกั ษะการตรวจ
ชั่วโมง การสอน สมมติฐานได้ (K) - ประเมินการปฏิบัติการ สอบสมมติฐาน
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 2. ออกแบบและด�ำเนินการ - สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการส�ำรวจ
TWIG ทดลองตามวิธีการทาง การทำ�งานรายบุคคล ค้นหา
วิทยาศาสตร์ได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการตีความ
3. ตระหนักถึงความส�ำคัญ การทำ�งานกลุ่ม หมายข้อมูลและ
ของพื้นฐานการศึกษา - สังเกตความมีวินัย ลงข้อสรุป
ในงานวิทยาศาสตร์ (A) ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการทำ�งาน

T2
Chapter Concept Overview
หนวยการเรียนรูที่ 1
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
มีการสืบพันธุ ตองการสารอาหารและพลังงาน มีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และขนาดจํากัด
เพื่อเพิ่มจ�านวนประชากร สารอาหารและพลังงานถ่ายทอด เมื่อสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจะมีการเจริญเติบโต
และด�ารงเผ่าพันธุ์ โดยการกินต่อกันเปนทอด ๆ ในรูป และร่างกายจะค่อย ๆ เสื่อมสลายไป
โซ่อาหารและสายใยอาหาร
เพศผู้

เพศเมีย

มีการตอบสนองตอสิ่งเรา มีการรักษาดุลยภาพของรางกาย มีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ มีการจัดระบบ


เพื่อปรับตัวให้เหมาะสม โดยการควบคุมปริมาณสาร เพื่อให้สามารถอยู่รอด และเกิด โดยมีหน่วยพื้นฐานที่เล็ก
ต่อสิ่งแวดล้อม หลบเลี่ยง ที่เข้า-ออกจากร่างกาย สิ่งมีชีวิตสปชีส์ใหม่ ที่สุด คือ เซลล์
ศัตรู หรือหาอาหาร

ชีวจริยธรรม
จรรยาบรรณการใชสัตว
เพื่องานทางวิทยาศาสตร
1 ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์
2 ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นย�าของผลงาน โดยใช้สัตว์จ�านวนน้อยที่สุด
3 การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์สัตว์ป่า
4 ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เปนสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์
5 ผูใ้ ช้สตั ว์ตอ้ งบันทึกข้อมูลการปฏิบตั ติ อ่ สัตว์ไว้เปนหลักฐานอย่างครบถ้วน

การศึกษาชีววิทยา
อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)
การกําหนดปญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน
เกิดจากการพบเห็นสิ่งต่าง ๆ แล้วเกิด การคาดคะเนค�าตอบของปัญหาที่อาจ อาจใช้การสังเกตและรวบรวม
ความสงสัย โดยใช้ทักษะการสังเกต เปนไปได้จริง ซึ่งยึดปัญหาเปนหลัก ข้อเท็จจริง แล้วน�ามาแปลความหมาย
ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยใช้ ค�าว่า ถ้า ............. ดังนั้น .............. อภิปรายและสรุป หรือใช้การทดลอง

การสรุปผล การเก็บรวมรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล
การแปลความหมายของข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและลงข้อสรุป การน�าข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้าทดลอง มาวิเคราะห์
ภายในขอบเขตของผลการศึกษาว่า สมมติฐานข้อใดถูกต้อง เปรียบเทียบกับสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้วา่ สอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่

T3
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

ธรรมชาติ
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ และให

1
หน่วยการเรียนรูที่
นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบก อ นเรี ย น เพื่ อ วั ด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรม
2. ครูกระตุน ความสนใจของนักเรียนเกีย่ วกับเรือ่ ง
ที่จะเรียน โดยใหนักเรียนดูสื่อดิจิทัลเกี่ยวกับ
ของสิง่ มีชวี ติ
สิ่งมีชีวิตจากอินเทอรเน็ต หรือ PowerPoint ผลการเรียนรู สิ่ ง มี ชี วิ ต แต่ ล ะชนิ ด มี ลั ก ษณะเฉพาะแตกต่ า งกั น
บางชนิด
3. ครู ตั้ ง คํ า ถามกระตุ  น ความสนใจ โดยให 1. อธิบายและสรุปสมบัติที่ส�าคัญของ มีขนาดเล็กมาก แต่บางชนิดอาจมีขนาดใหญ่มาก บางชนิด
สิง่ มีชวี ติ ความสัมพันธ์ของการจัด สามารถสร้างอาหารได้เอง แต่บางชนิดไม่สามารถสร้างอาหาร
นั ก เรี ย นช ว ยกั น ระดมความคิ ด ในการตอบ ระบบในสิ่งมีชีวิตที่ท�าให้สิ่งมีชีวิต
ด�ารงชีวิตอยู่ได้ ได้เอง จึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร แล้วนักเรียนทราบ
คํ า ถาม ซึ่ ง อาจใช คํ า ถามจากหนั ง สื อ เรี ย น 2. อธิบายและบอกความส�าคัญของ หรือไม่ว่า สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่กล่าวถึงนั้นมีลักษณะส�าคัญอย่างไร
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 หรือคําถามอื่นๆ การระบุ ป ั ญ หา ความสั ม พั น ธ์
ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธี
การตรวจสอบสมมติฐาน รวมทั้ง
ออกแบบการทดลองเพือ่ ตรวจสอบ
สมมติฐานได้

แนวตอบ Big Question


นักเรียนอาจตอบวาพิจารณาจากเกณฑที่ใช
จําแนกสิง่ ตางๆ วาเปนสิง่ มีชวี ติ หรือไม โดยสิง่ มีชวี ติ àÃҨзÃÒº
มีลักษณะตางๆ ดังนี้ 䴌͋ҧäÃÇ‹Ò ÊÔè§ã´à»š¹
- มีการสืบพันธุ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
- ตองการสารอาหารและพลังงาน
- มีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจํากัด
- มีการตอบสนองตอสิ่งเรา
- มีการรักษาดุลยภาพของรางกาย
- มีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ
- มีการจัดระบบ

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอน เรื่อง ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต มีเนื้อหาสําคัญเกี่ยวกับ
การศึกษาชีววิทยาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งถือเปนพื้นฐานสําคัญ
ในการศึกษาดานวิทยาศาสตรทกุ แขนง ดังนัน้ ครูควรใหนกั เรียนไดฝก ปฏิบตั ติ าม
ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตรจนเกิดเปนนิสัยติดตัวนักเรียนตอไป

สื่อ Digital
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง สิ่งมีชีวิต
https://twig-aksorn.com/fifilm/glossary/organism-6681/

T4
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
สิง่ มีชวี ติ ตางจากสิง่ ไมมชี วี ติ 1. ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 4. ให นั ก เรี ย นร ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น จาก
อยางไร คําถามขางตน จากนั้นครูอาจนําอภิปรายวา
สิ่งต่าง ๆ ที่เราพบเห็นอยู่ทั่วไปนั้น จะมีทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต
และเป็นสิ่งไม่มีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีขนาดเล็กมาก สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีลักษณะคลายกับสิ่งไมมี
บางชนิดมีขนาดใหญ่ หรือสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีลักษณะคล้ายกับว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งด้วยความรู้ ชีวิต จากนั้นใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งมีชีวิต
ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน จึงมีเกณฑ์ที่ใช้ในการจ�าแนกสิ่งต่าง ๆ ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ที่มีลักษณะดังกลาว โดยครูอาจยกตัวอยาง
โดยพิจารณาจากลักษณะต่อไปนี้ พืชชนิดหนึ่งในกลุมของพืชอวบนํ้า ที่ชื่อวา
ไลทอป (lithops) ซึ่งมีลักษณะคลายกอนหิน
1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ (ครู อ าจหารู ป จากอิ น เทอร เ น็ ต มาประกอบ
สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดล้วนมีการสืบพันธุเ์ พือ่ เพิม่ จ�านวนประชากรและด�ารงรักษาเผ่าพันธุใ์ ห้คงอยู่ การอธิบาย)
โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีการสืบพันธุ์ที่แตกต่างกันไป ซึ่งสามารถจ�าแนกได้ 2 ประเภท ดังนี้
1. กำรสืบพันธุแบบไมอำศัยเพศ (asexual
reproduction) เป็นการสืบพันธุ์โดยไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์
ซึ่ ง ได้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ตั ว ใหม่ ที่ มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต เดิ ม
ทุกประการ พบได้ทงั้ ในสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ ม่เป็นเซลล์ สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียว
และสิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ เช่น การแตกหน่อ (budding) การสร้าง
สปอร์ (sporulation) การงอกใหม่ (regeneration) การแบ่งสองส่วน
(binary fission) การหลุดเป็นส่วน (fragmentation) พาร์ธโี นเจเนซิส
ภาพที่ 1.1 การแบ่งสองส่วน
(parthenogenesis) เป็นต้น (binary fission) ของพารามีเซียม

2. กำรสืบพันธุแบบอำศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่ต้องอาศัย


การรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เรียกว่า การปฏิสนธิ (fertilization)
ซึ่งการปฏิสนธิแบ่งออกเป็นการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย (external fertilization) และปฏิสนธิ
ภายในร่างกาย (internal fertilization) หลังจากการปฏิสนธิแล้วจะได้ไซโกต (zygote) และเจริญ
เป็นตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตที่ได้
รับการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมมาจากพ่อและแม่
เพศผู้ เพศเมีย

ภาพที่ 1.2 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ แนวตอบ Prior Knowledge


ของแมลงปอจะมีการผสมกันระหว่าง
อสุจิจากเพศผู้และไข่จากเพศเมีย นักเรียนอาจตอบวาสิง่ มีชวี ติ จะมีการสืบพันธุ
3
ตองการสารอาหารและพลังงาน มีการเจริญเติบโต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต มี อ ายุ ขั ย และมี ข นาดจํ า กั ด มี ก ารตอบสนอง
ตอสิ่งเรา เปนตน

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ขอใดกลาวถึงการสืบพันธุของสิ่งมีชีวิตไดถูกตอง
1. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศพบในสิ่งมีชีวิตชั้นตํ่าเทานั้น
2. การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ อาศัยเซลลสืบพันธุเพศใดเพศหนึ่ง
3. การปฏิสนธิเปนการรวมตัวกันของเซลลสืบพันธุภายในรางกายสิ่งมีชีวิต
4. การปฏิสนธิพบไดทั้งในการสืบพันธุแบบอาศัยเพศและแบบไมอาศัยเพศ
5. การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศทําใหไดสิ่งมีชีวิตตัวใหมที่เหมือนสิ่งมีชีวิตเดิม
(วิเคราะหคาํ ตอบ การสืบพันธุข องสิง่ มีชวี ติ แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก การสืบพันธุแ บบไมอาศัยเพศ
ซึง่ ไมอาศัยเซลลสบื พันธุ ทําใหไดสงิ่ มีชวี ติ ตัวใหมทมี่ ลี กั ษณะเหมือนสิง่ มีชวี ติ เดิม พบไดทงั้ ในสิง่ มีชวี ติ
ชั้นตํ่าและชั้นสูง อีกประเภทหนึ่ง คือ การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ ตองอาศัยการรวมกันของเซลล
สืบพันธุ ทีเ่ รียกวา การปฏิสนธิ ซึง่ อาจเกิดภายในหรือภายนอกรางกายสิง่ มีชวี ติ โดยการสืบพันธุแ บบนี้
อาจทําใหไดสิ่งมีชีวิตตัวใหมที่มีความแปรผันทางพันธุกรรม ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T5
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนแบงกลุม ออกเปน 7 กลุม เพือ่ ศึกษา 1.2 สิ่งมีชีวิตตองการสารอาหารและพลังงาน
เกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตในหนังสือเรียน การด�ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการอยู่รอด เช่น การ
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 หรือจากอินเทอรเน็ต โดย เคลื่อนไหวเพื่อล่าเหยื่อ การงอกของเมล็ดพืช เป็นต้น ซึ่งทุก ๆ กิจกรรมล้วนต้องใช้
แบงหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ พลังงานทั้งสิ้น นักเรียนทราบหรือไม่ว่าสิ่งมีชีวิตได้รับพลังงานมาจากแหล่งใด
กลุมที่ 1 ศึกษาหัวขอ สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งก�าเนิดพลังงานที่ส�าคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ซึ่งพืช
กลุมที่ 2 ศึ ก ษาหั ว ข อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ต อ งการ สาหร่ายบางชนิด และแบคทีเรียบางชนิดสามารถน�าพลังงานแสงมาใช้ใน
สารอาหารและพลังงาน กระบวนการสั ง เคราะห์ ด ้ ว ยแสง ท� า ให้ ไ ด้
กลุมที่ 3 ศึ ก ษาหั ว ข อ สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ก ารเจริ ญ สารอินทรียท์ มี่ สี ารอาหารและพลังงานอยู่ และ
เติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจํากัด สามารถน�ามาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ได้ ซึง่ สัตว์
กลุมที่ 4 ศึกษาหัวขอ สิง่ มีชวี ติ มีการตอบสนอง อืน่ ๆ รวมทัง้ มนุษย์จะได้รบั การถ่ายทอดสารอาหาร
ตอสิ่งเรา และพลังงานนั้น โดยการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในรูปของ
กลุมที่ 5 ศึ ก ษาหั ว ข อ สิ่ ง มี ชี วิ ต มี ก ารรั ก ษา โซ่อาหารและสายใยอาหาร
ดุลยภาพของรางกาย สารอาหารที่สิ่งมีชีวิตได้รับจะช่วยเสริมสร้างร่างกายให้
มีการเจริญเติบโต และซ่อมแซมเนื้อเยื่อส่วนที่สึกหรอ รวมถึง
กลุมที่ 6 ศึกษาหัวขอ สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัว ภาพที่ 1.3 นกต้องใช้พลังงานใน
ใช้เป็นสารตั้งต้นของการเกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต การเคลื่อนไหวเพื่อล่าปลา
ทางวิวัฒนาการ
ที่เรียกว่า กระบวนการเมแทบอลิซึม (metabolism) ซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
กลุมที่ 7 ศึกษาหัวขอ สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ ทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ กระบวนการ
สร้างสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่จากสารโมเลกุลเล็กโดยใช้พลังงานจากเซลล์ เรียกว่า แอแนบอลิซึม
(anabolism) และกระบวนการสลายสารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นสารโมเลกุลเล็ก เรียกว่า แคแทบอลิซมึ
(catabolism)
B iology
Focus กฎการอนุรักษพลังงาน
ตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน (law of conservation of energy)
กล่าวว่า พลังงานเป็นสิ่งที่ไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่และไม่สามารถ
สูญหายไป แต่สามารถเปลี่ยนรูปจากพลังงานหนึ่งไปเป็น
อี ก พลั ง งานหนึ่ ง เช่ น พลั ง งานแสงเปลี่ ย นเป็ น
พลังงานเคมี พลังงานเคมีในสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนเป็น
พลังงานกล พลังงานศักย์เปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์
เป็นต้น
ภาพที่ 1.4

ขอสอบเนน การคิด
ขอความใดไมสนับสนุนคํากลาวที่วา สิ่งมีชีวิตตองการสารอาหารและพลังงาน
1. สัตวที่กินพืชเปนอาหารจะเจริญเติบโตชากวาสัตวที่กินเนื้อสัตวเปนอาหาร
2. มนุษยควรไดรับสารอาหารที่หลากหลายเพื่อชวยใหรางกายมีความแข็งแรง
3. แอมไปตางจังหวัดหลายวันจึงไมไดใหอาหารปลาที่เลี้ยงไว จนทําใหปลาตาย
4. ตนไมที่เจริญเติบโตในบริเวณที่มีแสงแดดไมเพียงพอ จะมีลักษณะแคระแกร็น
5. ปอมจะรูสึกหิวเมื่อใกลถึงเวลาเที่ยง ซึ่งหากไมไดรับประทานอาหารจะรูสึกไมคอยมีแรง
(วิเคราะหคําตอบ สิ่งมีชีวิตตองการสารอาหารและพลังงาน โดยสิ่งมีชีวิตแตละชนิดตองการ
สารอาหารแตกตางกัน พืชสรางอาหารไดเองจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง สวนสัตวตองกิน
สิ่งมีชีวิตอื่นเปนอาหาร โดยบางชนิดกินพืช บางชนิดกินสัตว บางชนิดกินทั้งพืชและสัตว ซึ่งหากขาด
อาหารเปนเวลานานจะทําใหสิ่งมีชีวิตตายได ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T6
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจ�ากัด 2. ใหแตละกลุม สรุปความรูท ศี่ กึ ษาในรูปแบบของ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีการขยายขนาด เพิ่มจ�านวน มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อไปท�าหน้าที่ ผังมโนทัศน แลวรวมกันตั้งคําถามกลุมละ 1
เฉพาะอย่าง หรืออาจรวมกลุ่มเป็นเนื้อเยื่อ ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นอวัยวะและระบบอวัยวะต่าง ๆ คําถามเกี่ยวกับเรื่องที่กลุมตนเองศึกษา
ของร่างกาย สิ่งที่เกิดขึ้นดังกล่าวนี้นับเป็นการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต โดยการเจริญเติบโตของ 3. ให แ ต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนออกมานํ า เสนอผั ง
สิ่งมีชีวิตบางชนิดนั้น จะเริ่มต้นจากการมีตัวอ่อนขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่ และมีการ มโนทัศนของกลุม ตนเองและถามคําถามเพือ่ น
เจริญเติบโตโดยขยายขนาดขึน้ เป็นตัวเต็มวัย แต่สงิ่ มีชวี ติ บางชนิดจะมีตวั อ่อนที1 ม่ ลี กั ษณะแตกต่าง คนอื่นๆ ในชั้นเรียน
จากพ่อแม่ และต้องผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในขณะเจริญเติบโต (metamorphosis) 4. ใหนักเรียนแตละคนสรุปความรูที่ไดจากการ
จนกระทัง่ เป็นตัวเต็มวัยจึงจะมีลกั ษณะเหมือนกับพ่อแม่ เช่น ยุง แมลงวัน ผีเสือ้ กบ เขียด เป็นต้น ศึกษาและจากการนําเสนอของเพือ่ นลงในสมุด
เมือ่ สิง่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาแล้ว จะมีการเจริญเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยทีพ่ ร้อมจะสืบพันธุเ์ พือ่ การ บันทึก โดยใชความคิดสรางสรรคออกแบบให
ด�ารงเผ่าพันธุ์ และต่อมาเมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่ง ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะเสื่อมสลายและตายไป มีความนาสนใจ
โดยช่วงเวลาตั้งแต่ที่สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาจนตายไปนั้น เรียกว่า อำยุขัย (life span) ซึ่งสิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิดจะมีอายุขัยแตกต่างกัน

กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปรางของกบ

หางหดสั้น โตเต็มวัย
หางจะหดสัน้ แล้วกบจะขึน้ มาอาศัย กบโตเต็มวัยพร้อมที่จะสืบพันธุ์
อยู่บนบก ซึ่งหายใจด้วยปอด

ขาหนางอก ผสมพันธุ
ขาหน้าจะงอกออกมา ฤดูฝนเป็นฤดู
จนมีขาครบ 4 ขา ผสมพันธุ์ของกบ

ขาหลังงอก
ขาหลังจะงอกออกมาก่อน
และหางค่อย ๆ หดสั้นลง ไข่
ลูกออด
ลักษณะกลม สีน�้าตาลอมเขียว
ลักษณะคล้ายลูกปลา หัวโต และมีเมือกหุ้มอยู่
หางยาว หายใจด้วยเหงือก

ภาพที่ 1.5
ธรรมชาติ 5
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ผีเสื้อมีกระบวนการเจริญเติบโตเชนเดียวกับสัตวในขอใด 1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปรางในขณะเจริญเติบโต (metamorphosis)
1. กบ ของแมลงแตละชนิดมีรูปแบบ ดังนี้
2. สุนัข 1. ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง (ametabolous) คือ เมื่อฟกออกจากไขแลว
3. มนุษย มีรูปรางเหมือนกับตัวเต็มวัย เชน แมลงสามงาม แมลงหางดีด
4. แมลงวัน 2. การเปลีย่ นแปลงรูปรางแบบงาย (paurometabolous) คือ มีระยะไข ตัวออน
5. แมลงปอ (นิ้ม (nymph)) และตัวเต็มวัย เชน ตั๊กแตน แมลงสาบ จิ้งหรีด
(วิเคราะหคําตอบ การเจริญเติบโตของผีเสื้อมีระยะไข ตัวหนอน 3. การเปลีย่ นแปลงรูปรางแบบไมสมบูรณ (incomplete metamorphosis) คือ
ดักแด และตัวเต็มวัย ซึ่งแมลงวันมีการเจริญเติบโตเชนเดียวกันนี้ มีระยะไข ตัวออน (ไนแอด (naiad)) และตัวเต็มวัย เชน แมลงปอ ชีปะขาว
สวนกบและแมลงปอมีระยะไข ตัวออน และตัวเต็มวัย สุนัขและ 4. การเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบสมบูรณ (complete metamorphosis) คือ
มนุษยเจริญเติบโตโดยไมมกี ระบวนการเปลีย่ นแปลงรูปราง ดังนัน้ มีระยะไข ตัวหนอน ดักแด และตัวเต็มวัย เชน ผีเสื้อ แมลงวัน ผึ้ง
ตอบขอ 4.) 5. การเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบซับซอน (hypermetabolous) คือ มีระยะไข
ตัวหนอน ดักแด และตัวเต็มวัย แตระยะตัวหนอนจะยอยออกเปนหลายระยะ
ที่มีลักษณะตางกัน เชน ดวงนํ้ามัน

T7
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
5. ครูแจงจุดประสงคของการทํากิจกรรม เรื่อง อายุขัยของสิ่งมีชีวิต
อุณหภูมิกับการรักษาดุลยภาพของปลา ใน
หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 หนู 3 ป อายุขัย (สูงสุด)
ค้างคาว13 ป ของสัตวบางชนิด
6. ครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิค
LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกําหนดให สุนัข 20 ป
สมาชิกแตละคนภายในกลุม (กลุมเดิมจาก แมว 27 ป
การศึกษาขอมูลขางตน) มีบทบาทหนาที่ของ คางคก 36 ป
ตนเอง ดังนี้ ลิงกอริลลา 39 ป
สมาชิกคนที่ 1 : ทํ า ห น  า ที่ เ ต รี ย ม วั ส ดุ เหยี่ยว 46 ป
อุปกรณ
จระเข้ปากยาว (อัลลิเกเตอร์) 52 ป
สมาชิกคนที่ 2 : ทํ า หน า ที่ อ  า นวิ ธี ก าร
ทํากิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกภายใน ช้างอินเดีย 70 ป
กลุมฟง มนุษย์ 120 ป
สมาชิกคนที่ 3 : ทํ า หน า ที่ บั น ทึ ก ผลการ ภาพที่ 1.6
ทดลอง อายุขัยของพืช
สมาชิกคนที่ 4 : ทําหนาที่นําเสนอผลการ พืชที่มีชวงอายุสั้น (ephemeral plant)
ทดลอง เป็นพืชที่มีวงชีวิตสั้น เจริญเติบโตและขยายพันธุ์
ในช่วงเวลาทีส่ งิ่ แวดล้อมเหมาะสมซึง่ มีอย่างจ�ากัด
เช่น ถั่วเขียว ดาวเรือง พืชทะเลทรายบางชนิด

พืชปเดียว (annual plant) ภาพที่ 1.7 การนับอายุข1องไม้ยนื ต้น


เป็นพืชทีเ่ มือ่ ออกดอกออกผลแล้วก็จะตายไป เช่น นับได้จากจ�านวนวงปี
ข้าว สับปะรด อ้อย

พืชสองป (biennial plant)


เป็นพืชที่มีการเจริญทางล�าต้น ใบ และราก และสะสมอาหารในปีแรก แล้วจะพักตัวก่อนจะมี
การเจริญในปีทสี่ องเพือ่ สืบพันธุ์ ส่วนใหญ่เป็นพืชทีม่ หี วั หรือล�าต้นใต้ดนิ เช่น หอม กระเทียม
แคร์รอต

พืชหลายป (perennial plant)


อาจเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น เช่น มะม่วง ชมพู่ ประดู่ แก้ว เป็นต้น

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 วงป (annual ring) เกิดจากการเจริญเติบโตขั้นทุติยภูมิของเนื้อเยื่อ ขอใดใหคําจํากัดความของคําวา อายุขัย (life span) ไดดีที่สุด
แคมเบียมในพืชใบเลี้ยงคู ซึ่งจะมีการเจริญมากนอยตางกันขึ้นอยูกับปริมาณ 1. ชวงเวลาตัง้ แตทสี่ งิ่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจนตายไป
นํ้าและธาตุอาหาร โดยในฤดูฝนที่มีนํ้าและธาตุอาหารอุดมสมบูรณ ไซเล็มจะ 2. ชวงเวลาตัง้ แตทสี่ งิ่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจนสามารถสืบพันธุไ ด
เจริญเร็ว มีขนาดใหญ ทําใหชั้นไซเล็มกวางและมีสีจาง สวนในฤดูแลงมีนํ้าและ 3. ชวงเวลาตัง้ แตทสี่ งิ่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจนเจริญเปนตัวเต็มวัย
ธาตุอาหารนอย ไซเล็มจะเจริญชา มีขนาดเล็กเบียดกันแนน เห็นแถบแคบๆ 4. ชวงเวลาตัง้ แตทสี่ งิ่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจนตายไปตามธรรมชาติ
และมีสีเขม ลักษณะดังกลาวนี้ทําใหเห็นเนื้อไมมีสีจางและเขมสลับกันมองเห็น 5. ชวงเวลาตัง้ แตทสี่ งิ่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจนมีการเปลีย่ นแปลง
เปนวง รูปราง
(วิเคราะหคาํ ตอบ เมือ่ สิง่ มีชวี ติ เกิดขึน้ มาจะมีการเจริญเติบโตจน
เปนตัวเต็มวัยที่พรอมจะสืบพันธุเพื่อดํารงเผาพันธุ และตอมาเมื่อ
เวลาผานไประยะหนึง่ รางกายของสิง่ มีชวี ติ จะเสือ่ มสลายและตาย
โดยชวงเวลาตั้งแตสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาจนตายไปตามธรรมชาตินั้น
เรียกวา อายุขัย (life span) ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
ขนาดของสิ่งมีชีวิต 7. ครูนาํ อภิปรายกอนการทํากิจกรรมวา นักเรียน
ได ท ราบแล ว ว า ป จ จั ย ทางกายภาพ เช น
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดนั้น เมื่ออยู่ในระยะตัวเต็มวัยจะมีขนาดแตกต่างกัน บางชนิดมีขนาดเล็กมาก อุณหภูมิมีผลตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
จนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น แบคทีเรีย ไวรัส เป็นต้น บางชนิดมีขนาดใหญ่มาก เช่น ถาอุณหภูมขิ องนํา้ เปลีย่ นไปจะมีผลตอสิง่ มีชวี ติ
ช้าง วาฬ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีขนาดที่จ�ากัด ที่อาศัยอยูในนํ้า เชน ปลา อยางไร
พืชแต่ละชนิดก็มีขนาดจ�ากัดเช่นเดียวกัน โดยสังเกตได้จากความสูงของยอด และขนาดล�าต้น 8. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ทํ า กิ จ กรรม เรื่ อ ง
ซึ่งนักชีววิทยาได้จัดแบ่งกลุ่มพืชตามความสูงออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
อุ ณ หภู มิ กั บ การรั ก ษาดุ ล ยภาพของปลาใน
หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 ตามขั้นตอน
1. ไม้ยืนต้น (tree) จะมีความสูง
ที่กําหนดไว
มากกว่า 300 เซนติเมตรขึ้นไป
เช่น มะพร้าว มะม่วง ทุเรียน
สัก เป็นต้น

2. ไม้พุม (shrub) จะมีความสูง


ระหว่าง 120 - 300 เซนติเมตร
เช่น มะลิ กาแฟ เป็นต้น

3. พืชล้มลุก (herb) มีความสูง


ไม่เกิน 120 เซนติเมตร เช่น
หญ้า ข้าว ตะไคร้ เป็นต้น

ภาพที่ 1.8
ธรรมชาติ 7
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


หากนักเรียนตองการศึกษาสิ่งมีชีวิตในนํ้าซึ่งมีขนาดเล็กมาก การเรียนการสอน เรื่อง ขนาดของสิ่งมีชีวิต ครูอาจกระตุนความสนใจ
จะมีวิธีการศึกษาอยางไร จงอธิบายมาพอสังเขป โดยใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา สิ่งมีชีวิตใดมีขนาดเล็กที่สุดในโลก
(วิเคราะหคําตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใน และสิ่งมีชีวิตใดมีขนาดใหญที่สุดในโลก จากนั้นครูอธิบายวา สิ่งมีชีวิตที่มี
ดุลยพินจิ ของผูส อน ซึง่ แนวการตอบควรเปนการใชกลองจุลทรรศน ขนาดเล็กที่สุด คือ ไวรอยด (viroid) ซึ่งมีสารพันธุกรรมเปน RNA สายเดี่ยว
เขามาชวยในการศึกษา โดยอาจระบุถึงขั้นตอนการเตรียมสไลด (ขนาด 250-400 นิวคลีโอไทด) ลักษณะเปนวงกลมที่ไมมีโปรตีนแคปซิด
ตัวอยาง และขัน้ ตอนการใชกลองจุลทรรศนอยางถูกตองเหมะสม) หอหุม สวนสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก คือ วาฬสีนํ้าเงิน (blue whale)
ซึ่งขนาดประมาณ 26-29 เมตร นํ้าหนักประมาณ 100-200 ตัน

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า 1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองตอสิ่งเรา
กิ จ กรรม โดยครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ให นั ก เรี ย น สิ่งเร้ำ (stimulus พหูพจน์ stimuli) คือ เหตุการณ์ ปัจจัย หรือสิ่งต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อมที่มี
แตละกลุมรวมกันแสดงความคิดเห็นวา ผลกระตุ้นให้สิ่งมีชีวิตมีปฏิกิริยาตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมออกมา (response)
ï• อัตราการขยับแผนปดเหงือกของปลากอน
และหลังการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของนํ้า ประเภทของสิง่ เรา

แตกตางกันหรือไม อยางไร สิ่งเร้าที่กระท�าต่อสิ่งมีชีวิตสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้


(แนวตอบ แตกตางกัน โดยจากผลการทดลอง สิง่ เร้ำภำยใน เป็นสิง่ เร้าทีอ่ ยูภ่ ายในร่างกายสิง่ มีชวี ติ เช่น ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกาย ระดับฮอร์โมน เป็นต้น
ควรสรุปไดวา อุณหภูมขิ องนํา้ มีผลตออัตรา สิ่งเร้ำภำยนอก เป็นสิ่งเร้าที่อยู่ภายนอกร่างกายสิ่งมีชีวิต เช่น แสงแดด ความชื้น อุณหภูมิ เป็นต้น
การขยับแผนปดเหงือกของปลา โดยหาก
นํา้ มีอณ
ุ หภูมติ าํ่ อัตราการขยับแผนปดเหงือก
จะลดลง แตหากนํ้ามีอุณหภูมิสูง อัตราการ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิตนั้นเกิดขึ้นเพื่อท�าให้
ขยับแผนปดเหงือกจะเพิ่มขึ้น) สิ่งมีชีวิตสามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งสิ่งเร้าหนึ่งอาจมีผลต่อการ
•ï หากเปลี่ยนขนาดหรือชนิดของปลาในการ ตอบสนองรูปแบบหนึ่งหรือหลายรูปแบบ ส่วนการตอบสนอง
จะเกิดขึ้นได้หลายกรณี ทั้งเพื่อเป็นการปรับตัวให้เหมาะสมกับ
ทดลอง อัตราการขยับแผนปดเหงือกของปลา
สิ่งแวดล้อม การหลบเลี่ยงศัตรู หรือการหาอาหาร
จะแตกตางกันหรือไม อยางไร
สัตว์แต่ละชนิดจะมีการแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อ
(แนวตอบ แตกตางกันที่จํานวนครั้งตอนาที สิง่ เร้าแตกต่างกันออกไป เช่น หมีขวั้ โลกเหนือจ�าศีลในฤดูหนาว
แตลักษณะจะไมแตกตางกัน โดยเมื่อนํ้า ภาพที่ 1.9 นกไล่จิกไส้เดือนเป็น นกอพยพย้ายถิ่นในฤดูหนาว อะมีบาเคลื่อนที่หนีแสง แมลงเม่า
พฤติกรรมการตอบสนองเพื่อหา
มีอุณหภูมิตํ่า อัตราการขยับแผนปดเหงือก อาหาร โดยมีไส้เดือนเป็นสิ่งเร้า บินเข้าหาแสงไฟ แมวไล่จับหนู นกไล่จิกแมลง กิ้งกือขดตัวเมื่อ
จะลดลง แตหากนํ้ามีอุณหภูมิสูง อัตรา ถูกสัมผัส เป็นต้น
การขยับแผนปดเหงือกจะเพิ่มขึ้น) ส่วนพืชก็มีพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เช่น
ต้นต�าลึง บวบ น�้าเต้า ถั่วฝักยาวจะเลื้อยพันหลัก โดยมีมือเกาะ
(tendril) พันอยู่กับหลักบริเวณใกล้เคียงเพื่อพยุงล�าต้นให้ขึ้น
ไปยังที่สูง ทั้งนี้เพื่อให้ใบได้รับแสงแดด ทานตะวันหันเข้าหา
แสงแดด ดอกบัวบางชนิดจะบานในตอนเช้าและหุบตอนเย็น
ไมยราบจะหุบใบเมื่อถูกสัมผัส เป็นต้น
กลไกการตอบสนองของสิ่ ง มี ชี วิ ต นั้ น จะมี ก ารพั ฒ นา
ตามล�าดับวิวัฒนาการ เห็นได้จากพัฒนาการในการตอบสนอง
ภาพที่ 1.10 ทานตะวันมีการตอบ ของสัตว์ชั้นสูง โดยการสร้างระบบต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อช่วย
สนองต่อแสง โดยจะหันดอกเข้าหา ควบคุมพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
แสงแดด
8

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูควรใหนกั เรียนรวมกันยกตัวอยางพฤติกรรมของสิง่ มีชวี ติ เพือ่ ตอบสนอง พื ช ที่ ป ลู ก ในห อ งบริ เ วณใกล ห น า ต า งมี ย อดโค ง งอไปทาง
ตอสิ่งเราตางๆ ตัวอยางเชน หนาตาง เปนการตอบสนองตอสิง่ เราเชนเดียวกับสิง่ มีชวี ติ ในขอใด
- การตอบสนองตอแสงเปนสิง่ เรา เชน มนุษยหรีต่ าเมือ่ ไดรบั แสงมาก แมลง 1. กิ้งกือขดตัวเมื่อถูกแมวไลเขี่ย
เมาบินเขาหาแสงไฟ ยอดพืชเจริญเติบโตเขาหาแสง 2. หมีขั้วโลกจําศีลในชวงฤดูหนาว
- การตอบสนองตออุณหภูมิ เชน มนุษยขับเหงื่อเมื่ออากาศรอน สุนัข 3. นกบินกลับรังเมื่อพระอาทิตยตกดิน
แลบลิ้นเพื่อระบายความรอน แมวเลียอุงเทาเพื่อระบายความรอน 4. รากพืชงอกลงสูดินที่มีความชื้นเหมาะสม
- การตอบสนองตอนํ้าหรือความชื้น เชน ไสเดือนดินเคลื่อนที่เขาหา 5. ตนกาบหอยแครงหุบใบเมื่อมีแมลงสัมผัสที่ผิวใบ
ความชื้น รากพืชเจริญเขาหาความชื้น (วิเคราะหคาํ ตอบ พืชทีป่ ลูกในหองบริเวณใกลหนาตางมียอดโคงงอ
- การตอบสนองตอการสัมผัส เชน กิ้งกือมวนตัวเมื่อถูกสัมผัส ปลาปกเปา ไปทางหนาตางเปนการตอบสนองตอแสงเชนเดียวกับนกบินกลับรัง
พองตัวเมื่อถูกสัมผัส ไมยราบหุบใบเมื่อถูกสัมผัส เมือ่ พระอาทิตยตกดิน สวนกิง้ กือขดตัวเมือ่ ถูกแมวไลเขีย่ ตนกาบหอย
แครงหุบใบเมือ่ แมลงสัมผัสเปนการตอบสนองตอการสัมผัส หมีขวั้ โลก
จําศีลในฤดูหนาวเปนการตอบสนองตออุณหภูมิ รากพืชงอกลงสูด นิ
ทีม่ คี วามชืน้ เปนการตอบสนองตอความชืน้ ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของรางกาย 2. หลังจากอภิปรายผลการทํากิจกรรม ครูทบทวน
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งต่าง ๆ เกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เชน
ภายในร่างกายให้อยู่ในสภาพสมดุล ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว - การรักษาดุลยภาพในเซลลของพารามีเซียม
เช่น อะมีบา หรือพารามีเซียมที่อาศัยอยู่ในแหล่งน�้าจืด น�้าจาก โดยมีคอนแทรกไทลแวคิวโอวทําหนาทีร่ กั ษา
ภายนอกเซลล์จะออสโมซิสเข้าสูเ่ ซลล์ตลอดเวลา ซึง่ หากน�า้ เข้าสู่ คอนแทร็ก
ไทล์แวคิวโอล
ดุลยภาพของนํ้า
เซลล์มากเกินไปอาจท�าให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้นจนเซลล์แตกได้ - การรักษาสมดุลของอุณหภูมใิ นรางกายสัตว
ดังนั้น จึงมีโครงสร้างลักษณะเป็นถุง เรียกว่า คอนแทร็กไทล์ และมนุษย
แวคิวโอล (contractile vacuole) ซึง่ ท�าหน้าทีร่ กั ษาสมดุลของน�า้ ภาพที่ 1.11 พารามี เ ซี ย มจะมี - การรักษาสมดุลของกรด-เบสในเลือดของ
และสารละลายต่าง ๆ ภายในเซลล์ โดยการบีบตัวเพือ่ ขับน�า้ ส่วน คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล ท�าหน้าที่
รักษาสมดุลของน�้าและสารละลาย มนุษย
ที่เกินความต้องการและของเสียออกจากเซลล์ ภายในเซลล์ โดยอาจตั้งคําถามเชื่อมโยงเขาสูเรื่องดังกลาว
ปลานํ้าจืด ปลานํ้าเค็ม ดังนี้
มีโครงสร้างที่ช่วยรักษาสมดุลของน�้าภายในร่างกาย มีโครงสร้างทีช่ ว่ ยรักษาสมดุลของน�า้ ภายในร่างกาย โดย • เมื่ อ อยู  ใ นสภาพแวดล อ มที่ มี อุ ณ หภู มิ ตํ่ า
โดยมีเกล็ดปองกันการออสโมซิสของน�้าเข้าสู่ร่างกาย มีเกล็ดเพื่อปองกันการสูญเสียน�้าจากภายในร่างกาย มี เหตุใดรางกายของเราจึงขับปสสาวะมากกวา
มีเซลล์พิเศษบริเวณเหงือกที่ท�าหน้าที่ดูดแร่ธาตุเข้าสู่ เซลล์พิเศษบริเวณเหงือกที่ท�าหน้าที่ขับแร่ธาตุออกจาก
ร่างกาย และมีการขับปัสสาวะบ่อยและเจือจาง ร่างกาย และมีการขับปัสสาวะที่มีความเข้มข้นสูง เมื่ออยูในสภาพแวดลอมที่มีอุณหภูมิสูง
( แนวตอบ เมื่ อ อยู  ใ นสภาพแวดล อ มที่ มี
เกล็ดปองกันน�้าออสโมซิส
เข้าสู่ร่างกาย
เกล็ดปองกันน�้าออสโมซิส
ออกจากร่างกาย
อุ ณ หภู มิ ตํ่ า ร า งกายจะขั บ เหงื่ อ ได น  อ ย
และมีนาํ้ ในเลือดมาก เพือ่ รักษาสมดุลของนํา้
ในรางกาย จึงมีการกําจัดนํ้าออกในรูปของ
เซลล์พิเศษบริเวณเหงือกดูดซึมแร่ธาตุ ปัสสาวะเจือจาง เซลล์พิเศษบริเวณเหงือกขับแร่ธาตุ ปัสสาวะเข้มข้น
ปสสาวะปริมาณมากกวาปกติ)
ภาพที่ 1.12 ภาพที่ 1.13 • ขณะที่ อ อกกํ า ลั ง กาย เหตุ ใ ดอั ต ราการ
หายใจจึงสูงขึ้นกวาปกติ
สิง่ มีชวี ติ ชัน้ สูงมีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย โดยมีกลไก Biology
in real life (แนวตอบ ขณะออกกําลังกายรางกายตองใช
ควบคุมการท�างานด้วยระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบ พลังงานมาก จึงตองนําออกซิเจนเขาสูร า งกาย
หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน�้าเหลือง จากความรู ้ เ รื่ อ งการรั ก ษา
ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบย่อยอาหาร เป็นต้น
ดุลยภาพของน�้าในพืชน�ามาใช้ และนําคารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย
ในการชะลอความเหีย่ วเฉาของ อยางรวดเร็ว เพื่อรักษาสมดุลของกรด-เบส
ส่วนพืชมีการรักษาดุลยภาพของน�้า โดยการคายน�้าทาง พืช เช่น การแช่บริเวณโคนต้น
ปากใบ (stoma พหูพจน์ stomata) ซึ่งการเปิด - ปิดของปากใบ หรือรากพืชไว้ในน�้าและเด็ดใบ ในเลือด ดังนั้น จึงตองมีอัตราการหายใจ
ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณของน�า้ ในเซลล์คมุ (guard cell) โดยถ้ามีนา�้ อยูใ่ น บางส่วนเพื่อช่วยลดอัตราการ ที่สูงขึ้นกวาปกติ)
เซลล์คมุ ปริมาณมาก เซลล์จะเต่ง ปากใบจะเปิดออก แต่ถา้ มีนา�้ คายน�้าออกทางปากใบ
อยู่ในเซลล์คุมปริมาณน้อย เซลล์จะแฟบ ปากใบก็จะปิด
9
การรักษาดุลยภาพของปลา

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของนํ้าและเกลือแร ครูอาจเชื่อมโยงความรู เรื่อง การรักษาดุลยภาพของรางกายสิ่งมีชีวิตกับ
ของปลาทะเล ชีวติ ประจําวัน เชน เมือ่ ออกกําลังกายจะมีเหงือ่ ออกมาก และมีอตั ราการหายใจเร็ว
1. ขับเกลือออกทางตอมนาซัล เพือ่ ระบายความรอนออกจากรางกาย จากนัน้ จะรูส กึ กระหายนํา้ เพราะรางกาย
2. ขับปสสาวะที่เจือจางในปริมาณมาก สูญเสียนํ้าทางเหงื่อ ทางลมหายใจออก หรือการแชโคนดอกไม โคนผักไวในนํ้า
3. มีเกล็ดปองกันไมใหนํ้าออกจากรางกาย เพื่อชะลอการเหี่ยวเฉา เปนตน
4. ดูดซึมเฉพาะนํ้าไมดูดซึมเกลือแรเขาสูรางกาย
5. นํ้าทะเลเปนไอโซโทนิกตอของเหลวในรางกาย
(วิเคราะหคําตอบ ภายในรางกายของปลาทะเลมีปริมาณนํ้า สื่อ Digital
มากกวานํา้ ภายนอกรางกาย (นํา้ ทะเล) ดังนัน้ ปลาทะเลจึงมีเกล็ด ครูอาจเปดคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพนํ้าในรางกายของปลาให
เพือ่ ปองกันไมใหนาํ้ ออสโมซิสออกจากรางกาย และมีระบบขับถาย นักเรียนดู เพื่อชวยกระตุนความสนใจในการเรียนการสอน โดยอาจใชคลิปจาก
ที่ขับเกลือแรออกมาในความเขมขนสูง เพื่อรักษาดุลยภาพของนํ้า https://www.youtube.com/watch?v=sW7nxTRVOxs
ภายในรางกาย ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร
• การสังเกต

มีการตอบสนองตอสิ่งเรา เชน การที่แมลงเมา อุณหภูมิกับการรักษาดุลยภาพของปลา • การทดลอง


• การลงความเห็นจากข้อมูล
บินเขาหากองไฟ การที่มดเดินตามกันไปยัง จิตวิทยำศำสตร
แหลงอาหาร เปนตน จากนั้นตั้งคําถามให วัสดุอปุ กรณและสำรเคมี • ความสนใจใฝรู้
• ความรอบคอบ
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น 1. ปลาน�้าจืดที่มีเกล็ด เช่น 4. น�้าร้อน
ï• จงยกตัวอยางพฤติกรรมของสิง่ มีชวี ติ ทีม่ กี าร ปลาสอด ปลาตะเพียน เป็นต้น 5. บีกเกอร์ขนาด 500 ml
2. น�้า (ที่อุณหภูมิห้อง) 6. เทอร์มอมิเตอร์
ตอบสนองตอสิ่งเรา 3. น�้าแข็ง
(แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน
ตัวอยางเชน วิธปี ฏิบตั ิ
- ไสเดือนดินเคลื่อนที่เขาหาความชื้น
- แมวเลียอุงเทาเพื่อระบายความรอนออก
1. เตรียมน�้าที่อุณหภูมิห้องใส่บีกเกอร์ใบที่ 1 แล้ว บีกเกอร์ใบที่ 1
จากรางกาย น�้าที่อุณหภูมิห้อง
น�าปลาใส่ลงไปในบีกเกอร์ สังเกตพฤติกรรมการ
- อึ่งอางพองตัวเมื่อถูกสัมผัส ว่ายน�้าและการขยับแผ่นปิดเหงือกในระยะเวลา 25 C�
- ตนตําลึงมีมือเกาะใชพันหลัก 1 นาที บันทึกผล
- ต น กาบหอยแครงหุ บ ใบเมื่ อ มี แ มลงมา
สัมผัส)
2. เตรียมน�้าใส่บีกเกอร์ใบที่ 2 โดยเติมน�้าร้อนลงไป
ในน�า้ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 40 C�
ุ หภูมหิ อ้ ง เพือ่ ท�าให้นา�้ มีอณ บีกเกอร์ใบที่ 2
แล้วน�าปลาจากบีกเกอร์ใบที่ 1 มาใส่ลงในบีกเกอร์ น�้าอุ่น
ใบที่ 2 สังเกตพฤติกรรมการว่ายน�้าและการขยับ 40 C�
แผ่นปิดเหงือกในระยะเวลา 1 นาที บันทึกผล (หลัง
จากครบ 1 นาทีแล้ว ให้นา� ปลากลับไปใส่ในบีกเกอร์
ใบที่ 1 เช่นเดิม)

3. เตรียมน�้าใส่บีกเกอร์ใบที่ 3 โดยเติมน�้าแข็งลงไป
ในน�า้ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 15 C�
ุ หภูมหิ อ้ ง เพือ่ ท�าให้นา�้ มีอณ บีกเกอร์ใบที่ 3
แล้วน�าปลาจากบีกเกอร์ใบที่ 1 มาใส่ลงในบีกเกอร์ น�้าเย็น
ใบที่ 3 สังเกตพฤติกรรมการว่ายน�้าและการขยับ 15 C�
แผ่นปิดเหงือกในระยะเวลา 1 นาที บันทึกผล
(หลังจากครบ 1 นาทีแล้ว ให้น�าปลากลับไปใส่
ในบีกเกอร์ใบที่ 1 เช่นเดิม)
ภาพที่ 1.14
10

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ขอใดกลาวผิดเกี่ยวกับการรักษาสมดุลของนํ้าและเกลือแรของ
กิจกรรม เรื่อง อุณหภูมิกับการรักษาดุลยภาพของปลา ครูควร ปลานํ้าจืด
เน น ยํ้ า ให นั ก เรี ย นสั ง เกตพฤติ ก รรมของปลาอย า งใกล ชิ ด ตลอดเวลา 1) ขับปสสาวะบอยและเจือจาง
ซึ่งหากปลามีพฤติกรรมผิดปกติ ตองรีบนําปลาใสในนํ้าอุณหภูมิปกติทันที 2) ขับถายอุจจาระที่มีแรธาตุปริมาณมาก
และเมื่ อ ทํ า กิ จ กรรมเสร็ จ แล ว ต อ งนํ า ปลาไปปล อ ยในบริ เ วณที่ มี ส ภาพ 3) มีการดูดแรธาตุจากนํ้ากลับเขาสูรางกายทางเหงือก
แวดลอมเหมาะสม อีกทั้งครูควรปลูกฝง เรื่อง ชีวจริยธรรม และจรรยาบรรณ 4) มีเกล็ดชวยปองกันการออสโมซิสของนํ้าเขาสูรางกาย
ในการใชสัตวเพื่องานทางวิทยาศาสตรดวย 1. ขอ 1. 2. ขอ 2.
3. ขอ 1. และ 2. 4. ขอ 2. และ 3.
5. ขอ 3. และ 4.
(วิเคราะหคาํ ตอบ ปลานํา้ จืดมีโครงสรางทีช่ ว ยรักษาสมดุลของนํา้
และเกลือแรภายในรางกาย โดยมีเกล็ดชวยปองกันการออสโมซิสของ
นํา้ เขาสูร า งกาย มีเซลลพเิ ศษบริเวณเหงือกทําหนาทีด่ ดู แรธาตุกลับ
เขาสูร า งกาย และขับปสสาวะบอยและเจือจาง ดังนัน้ ตอบขอ 2.)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม 2. ครูนําอภิปรายวา หากนักเรียนสนใจศึกษา
?
สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด หนึ่ ง และอยากตรวจสอบว า
1. อัตราการขยับแผ่นปิดเหงือกของปลาก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน�้าแตกต่างกัน อย่างไร สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ มีการตอบสนองตอสิ่งเรา
2. การขยับแผ่นปิดเหงือกของปลาเกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของปลาอย่างไร
หรือไม นักเรียนจะออกแบบและดําเนินการ
อภิปรายผลการทดลอง ทดลองอยางไร
3. ครูมอบหมายใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน
จากกิจกรรม จะเห็นได้ว่าอุณหภูมิของน�้ามีผลต่ออัตราการขยับแผ่นปิดเหงือกของปลา ซึ่งเมื่อสภาพ
แวดล้อมมีอุณหภูมิสูง อัตราเมแทบอลิซึมในร่างกายของปลาจะเพิ่มสูงขึ้นด้วย ปลาต้องการแก๊สออกซิเจน ทํากิจกรรม เรื่อง การตอบสนองตอสิ่งเราของ
จากน�้าปริมาณสูงขึ้นจึงต้องเพิ่มอัตราการหายใจ โดยการขยับแผ่นปิดเหงือกให้น�้าไหลผ่านเหงือกได้มากขึ้น สิ่งมีชีวิต ตามขั้นตอน ดังนี้
เพื่อช่วยท�าให้แก๊สออกซิเจนแพร่เข้าสู่หลอดเลือดในเหงือกได้มากขึ้น และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ร่างกาย 1) กําหนดชนิดของสิง่ เราและเลือกชนิดของพืช
ไม่ต้องการจะแพร่สู่น�้าได้มากเช่นกัน แต่เมื่อสภาพแวดล้อมมีอุณหภูมิต�่า กลไกต่าง ๆ ก็จะเกิดขึ้นในลักษณะ หรือสัตวทจี่ ะศึกษา โดยไมซาํ้ กับกลุม อืน่ ๆ
ตรงกันข้ามนี้
2) กําหนดปญหา สมมติฐาน ตัวแปรตน ตัวแปร
ตาม ตัวแปรควบคุม และออกแบบการทดลอง
3) ปฏิบตั กิ ารทดลองตามทีอ่ อกแบบไว บันทึกผล
1.6 สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ และนําเสนอผลงาน
จากแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ วิ วั ฒ นาการของชาลส์ ดาร์ วิ น 1 4. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
(Charles Darwin) ที่ว่า สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายตาม ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม. 4 เลม 1
ธรรมชาติ และปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น ปริมาณอาหารที่มีอยู่
อย่างจ�ากัด ท�าให้สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกว่าเท่านั้นที่จะ แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
สามารถมีชีวิตรอด และถ่ายทอดลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพ 1. อุ ณ หภู มิ ข องนํ้ า มี ผ ลต อ อั ต ราการขยั บ แผ น
แวดล้อมนัน้ ไปยังลูกหลานได้ ท�าให้สงิ่ มีชวี ติ ในปัจจุบนั มีลกั ษณะ 2 ปดเหงือกของปลา โดยเมื่อนํ้ามีอุณหภูมิสูง
แตกต่างจากสิง่ มีชวี ติ ในอดีต ซึง่ ลักษณะดังกล่าวเป็นการปรับตัว อัตราการขยับแผนปดเหงือกจะสูง แตหาก
ทางวิวัฒนาการ (evolutionary adaptation) เพื่อเกิดสิ่งมีชีวิต นํ้ามีอุณหภูมิตํ่า อัตราการขยับแผนปดเหงือก
สปีชีส์ใหม่ ซึ่งจากแนวคิดดังกล่าวนั้น ท�าให้เกิดทฤษฎีการ จะตํ่า
คัดเลือกโดยธรรมชาติ (theory of natural selection) 2. ปลามีการรักษาดุลยภาพของรางกาย โดยเมือ่
ตัวอย่างเช่น ลักษณะคอของยีราฟ ในอดีตบรรพบุรุษของ 3 สภาพแวดลอมมีอณ ุ หภูมสิ งู อัตราเมแทบอลิซมึ
ยีราฟมีทงั้ พวกคอสัน้ และคอยาว พวกคอยาวสามารถกินยอดไม้ จะเพิม่ สูงขึน้ รางกายตองการแกสออกซิเจนสูง
ได้ทั้งไม้พุ่มเตี้ยและไม้ที่มีต้นสูง ในขณะที่พวกคอสั้นสามารถ จึงตองเพิ่มอัตราการหายใจโดยการขยับแผน
กินยอดไม้ได้เฉพาะไม่พุ่มเตี้ยเท่านั้น ดังนั้นยีราฟพวกคอยาว ป ด เหงื อ กให นํ้ า ไหลผ า นเหงื อ กได ม ากขึ้ น
จึงสามารถด�ารงชีวติ และมีลกู หลานได้มากกว่าพวกคอสัน้ ท�าให้ ภาพที่ 1.15 การปรับตัวทางวิวัฒนาการ เพื่อใหแกสออกซิเจนแพรเขาสูหลอดเลือดใน
ยีราฟพวกคอยาวเพิม่ จ�านวนได้มากขึน้ ในรุน่ ต่อ ๆ มา จนปัจจุบนั ของประชากรยีราฟในอดีตจนถึงปัจจุบัน
เหงือกไดมากขึน้ และแกสคารบอนไดออกไซด
มีเฉพาะยีราฟพวกคอยาวเท่านั้น 11
ธรรมชาติ
ของสิ่งมีชีวิต ที่รางกายไมตองการจะแพรเขาสูนํ้าไดมาก
เชนกัน แตเมื่อสภาพแวดลอมมีอุณหภูมิตํ่า
กลไกตาง ๆ ก็จะเกิดขึน้ ในลักษณะตรงกันขาม

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

ในพื้นที่แหงแลง มีแสงแดดจัดและอุณหภูมิสูง พืชชนิดใด อุณหภูมิของนํ้า ( ํC) อัตราการขยับแผนปดเหงือก (ครั้งตอนาที)


มีโอกาสอยูรอดไดมากที่สุด 25 95
1. พืชที่มีอัตราการคายนํ้าสูง 40 110
2. พืชที่มีจํานวนปากใบมากเฉพาะผิวใบดานบน
3. พืชที่มีจํานวนปากใบนอยและรูปากใบเปดไมเต็มที่ 15 74
4. พืชที่มีจํานวนปากใบมากและรูปากใบเปดกวางมาก หมายเหตุ : ผลกิจกรรมอาจแตกตางไปขึ้นอยูกับขนาดและชนิดของปลา
5. พืชที่มีจํานวนปากใบมากที่ผิวใบทั้งดานบนและดานลาง
(วิเคราะหคําตอบ พืชที่มีการคายนํ้าสูง จํานวนปากใบมากหรือ
รูปากใบเปดกวางมาก มีโอกาสสูงทีพ่ ชื เหลานีจ้ ะสูญเสียนํา้ ปริมาณ
มากจากกระบวนการคายนํ้า ดังนั้น พืชที่ปลูกในพื้นที่ดังกลาว
ควรจะมีจํานวนปากใบนอย หรือมีอัตราการคายนํ้าที่ตํ่า เพื่อลด
โอกาสที่พืชจะขาดนํ้า ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน 1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม ร่างกายของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยพื้นฐานที่เรียกว่า เซลล์ (cell) ซึ่งแต่ละเซลล์มี
การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอ โครงสร้างหลักที่เหมือนกัน ได้แก่ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และส่วนห่อหุ้มเซลล์
ผลงานหนาชั้นเรียน สิง่ มีชวี ติ เซลลเดียว (unicellular organism) เช่น ยีสต์ แบคทีเรีย โพรโทซัว เป็นต้น ร่างกาย
3. ครูวดั และประเมินผลจากการทํากิจกรรม เรือ่ ง จะประกอบไปด้วยเซลล์เพียงหนึง่ เซลล์ แต่กย็ งั มีระบบการท�างานของโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์
อุณหภูมิกับการรักษาดุลยภาพของปลา เช่น นิวเคลียสท�าหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ ไมโทคอนเดรียท�าหน้าที่สร้างพลังงาน
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด คลอโรพลาสต์ท�าหน้าที่สร้างอาหารให้แก่เซลล์ เป็นต้น
สิ่งมีชีวิตหลำยเซลล (multicellular organism) ร่างกายจะประกอบด้วยเซลล์จ�านวนมาก
ซึ่งเซลล์รวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue) เพื่อท�าหน้าที่เฉพาะ เนื้อเยื่อหลายชนิดจะประกอบกัน
เป็นอวัยวะ (organ) ซึ่งอวัยวะต่าง ๆ หลายอวัยวะจะท�าหน้าที่ประสานสัมพันธ์กันเป็นระบบอวัยวะ
(organ system) และระบบอวัยวะทั้งหมดจะประกอบกันเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต

เซลล์ประสาท เนื้อเยื่อประสาท เนื้อเยื่อบุผิว เซลล์บุผิว


สมอง
ลําไส

H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
เซลล์กระดูก
หลั ก ชี ว วิ ท ยา
หน่ ว ยพื้ น ฐาน
ที่เล็กที่สุดของ
กระดูก สิ่งมีชีวิต คือ เซลล์ แต่ไวรัส
ไม่จัดเป็นเซลล์ นักเรียนคิดว่า
เนื้อเยื่อกระดูก ไวรัสจัดเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
ภาพที่ 1.16 ร่างกายของสิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ เพราะเหตุใด
แนวตอบ H.O.T.S. ได้แก่ เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบอวัยวะ
ไวรัสเปนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เพราะสามารถ 12
สื บ พั น ธุ  เ พิ่ ม จํ า นวนได แต ไ ม จั ด ว า เป น เซลล
เนื่องจากไมมีสวนหอหุมเซลล

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม ทาทาย


ครูวัดและประเมินผลความเขาใจในเนื้อหา เรื่อง ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ใหนกั เรียนออกแบบการทดลองเพือ่ พิสจู นวา สิง่ มีชวี ติ มีลกั ษณะ
ไดจากการประเมินการปฏิบตั กิ ารในการทํากิจกรรม เรือ่ ง อุณหภูมกิ บั การรักษา ตางๆ ดังที่ไดศึกษามาแลว ตัวอยางเชน
ดุลยภาพของปลา และประเมินการนําเสนอผลงานโดยศึกษาเกณฑการวัดและ - การปลูกพืช
ประเมินที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 - การเลี้ยงปลา
- การตอบสนองตอสิ่งเรา
แบบประเมินการปฏิบัติการ

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ


ประเด็นที่ประเมิน
4
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ

3
ระดับคะแนน
2 1 ตรงกับระดับคะแนน
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ - การรักษาดุลยภาพของรางกาย
ระดับคะแนน 1. การปฏิบัติการ ท า ก า ร ท ด ล อ ง ต า ม ท า ก า ร ท ด ล อ ง ต า ม ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ระดับคะแนน
ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้ า ง ใ น ก า ร ท า ก า ร อย่างมากในการทาการ ลาดับที่ รายการประเมิน
3 2 1
ระดับคะแนน ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทด ล อง แล ะ ก า ร ใช้ ทด ล อง แล ะ ก า ร ใช้
ลาดับที่ รายการประเมิน ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์ 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน   
4 3 2 1 2 ความถูกต้องของเนื้อหา   
1 การปฏิบัติการทดลอง 2. ความ มี ค ว า ม ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว มี ค ว า ม ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ขาดความคล่ อ งแคล่ ว ท าการทดลองเสร็ จ ไม่
คล่องแคล่ว ในขณะท าการทดลอง ในขณะท าการทดลอง ในขณะท าการทดลอง ทั น เ ว ล า แ ล ะ ท า 3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึ ง ท าการทดลองเสร็ จ อุปกรณ์เสียหาย 4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
3 การนาเสนอ โ ด ย ไ ม่ ต้ องไ ด้ รั บ ค า
ปฏิบัติการ
ชี้ แ น ะ แ ล ะ ท า ก า ร
บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา 5 วิธีการนาเสนอผลงาน   
รวม เสร็จทันเวลา รวม
ทดลองเสร็จทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บัน ทึ ก และสรุ ป ผลการ บัน ทึ ก และสรุ ป ผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ
และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ ถู ก ต้ อ ง แต่ บั น ทึ ก ส รุ ป แ ล ะ อย่างมากในการบันทึก ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การน าเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุ ป และน าเสนอผล ................../................./..................
................/................/................ เป็นขั้นตอนชัดเจน ท ด ล อ ง ยั ง ไ ม่ เ ป็ น การทดลอง
ขั้นตอน

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก 14-15 ดีมาก
9-10 ดี 11-13 ดี
6-8 พอใช้
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T14
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ชีววิทยาศึกษาเกีย่ วกับ 2. ชีววิทยาคืออะไร 1. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ทบทวนความรู  เ ดิ ม ของ
สิง่ ใด นักเรียน โดยใหนกั เรียนชวยกันระดมความคิด
ชีววิทยา (biology) เป็นค�าที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก
2 ค�า คือ bios หมายถึง ชีวิต และ logos หมายถึง ความคิดและ ในการตอบคําถาม ซึ่งอาจใชคําถาม Prior
เหตุผล ดังนัน้ ชีววิทยาจึงเป็นวิชาทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ ทัง้ ในด้านการด�ารงชีวติ ความสัมพันธ์ Knowledge จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4
ระหว่างสิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งชีววิทยาสามารถจัดจ�าแนกออกเป็นแขนงวิชา เลม 1 หรือคําถามอื่นๆ ตัวอยางเชน
ย่อย ๆ ได้หลายแขนง ตัวอย่างเช่น ï• ความรูทางวิทยาศาสตรแบงออกไดกี่สาขา
อะไรบาง
กำยวิภำคศำสตร (anatomy) ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างร่างกายสิ่งมีชีวิต (แนวตอบ ความรูทางวิทยาศาสตรแบงออก
สรีรวิทยำ (physiology) ศึกษาเกี่ยวกับการท�างานและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เปนแขนงใหญๆ ได 5 สาขา ดังนี้
ชีววิทยำระดับเซลล (cell biology) ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างเซลล์สิ่งมีชีวิต กระบวนการ - วิทยาศาสตรธรรมชาติ ไดแก ฟสิกส เคมี
เจริญเติบโตและการตอบสนองของเซลล์ต่อสิ่งต่าง ๆ ชีววิทยา และวิทยาศาสตรโลก
- วิทยาศาสตรประยุกต เชน วิศวกรรม
วิทยำเอ็มบริโอ (embryology) ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงในช่วงต่าง ๆ
ของตัวอ่อนสิ่งมีชีวิต วิทยาการคอมพิวเตอร
- วิทยาศาสตรสังคม เชน มานุษยวิทยา
อนุกรมวิธำน (taxonomy) ศึกษาเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต ภูมิศาสตร จิตวิทยา
จุลชีววิทยำ (microbiology) ศึกษาเกี่ยวกับจุลินทรีย์ - วิทยาศาสตรการทหาร
พฤกษศำสตร (botany) ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง ลักษณะ และส่วนประกอบของพืช - วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม)
พันธุศำสตร (genetics) ศึกษาเกีย่ วกับลักษณะต่าง ๆ ทางพันธุกรรม และการถ่ายทอดลักษณะ ï• ïชีววิทยาศึกษาเกี่ยวกับสิ่งใด
ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต (แนวตอบ ชีววิทยาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ
สิง่ มีชวี ติ ทัง้ ดานการดํารงชีวติ ความสัมพันธ
นิเวศวิทยำ (ecology) ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ระหวางสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม)
2. ให นั ก เรี ย นร ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น จาก
ภาพที่ 1.17 ตัวอย่างการศึกษาในแขนงวิชาย่อยทางชีววิทยา
คําถามขางตน จากนั้นครูอาจนําอภิปรายวา
เซลล์วิทยา จุลชีววิทยา
ชีววิทยาสามารถจําแนกออกเปนแขนงยอยๆ
ได ห ลายแขนง จากนั้ น ให นั ก เรี ย นร ว มกั น
ยกตัวอยางแขนงวิชายอยๆ ของชีววิทยา

แนวตอบ Prior Knowledge

ธรรมชาติ 13
ชีววิทยาเปนการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ทัง้ ใน
ของสิ่งมีชีวิต
ดานการดํารงชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดลอม

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


จงยกตัวอยางแขนงวิชายอยของชีววิทยา มาอยางนอย 3 วิชา ครูควรเนนยํ้าวา ชีววิทยาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ทั้งในดาน
(วิเคราะหคําตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใน การดํารงชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
ดุลยพินิจของผูสอน ตัวอยางเชน ซึง่ ลวนมีความเกีย่ วของกับชีวติ ของเราโดยตรง อีกทัง้ แขนงวิชายอยทางชีววิทยา
- มีนวิทยา (ichthyology) ศึกษาเกี่ยวกับปลา ยังเปนพื้นฐานในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพไดในอนาคต
- ปกษีวิทยา (ornithology) ศึกษาเกี่ยวกับนก
- วิทยาเห็ดรา (micology)
- วิทยาสัตวเลือ้ ยคลานและสะเทินนํา้ สะเทินบก (herpetology) สื่อ Digital
- วิทยาสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม (mammalogy) ครู อ าจเป ด คลิ ป วิ ดี โ อเกี่ ย วกั บ ชี ว วิ ท ยาและแขนงวิ ช าย อ ยให นั ก เรี ย น
ศึกษา แลวรวมกันอภิปรายวา ชีววิทยาเกี่ยวของกับชีวิตของมนุษยอยางไรบาง
โดยอาจนําคลิปวิดีโอมาจาก
https://twig-aksorn.com/fifilm/glossary/biochemistry-6634/
หรือ https://www.youtube.com/watch?v=VEg_OuuI-F4

T15
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
Prior Knowledge
1. ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับชีววิทยาวามีความ ความรูท างชีววิทยาเกีย่ วของ 3. ชีววิทยากับการด�ารงชีวิต
เกี่ ย วข อ งกั บ การดํ า รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย แ ละ กับการดํารงชีวติ อยางไร จากการศึ กษาวิจั ยเกี่ ยวกั บสิ่ งมี ชี วิต ด้ว ยกระบวนการ
สัตวอยางไร และชีวจริยธรรม โดยศึกษาจาก ทางวิทยาศาสตร์ท�าให้เกิดความรู้ทางชีววิทยา ซึ่งก่อให้เกิด
หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 หรือจากแหลง ประโยชน์ตอ่ การด�ารงชีวติ ของมนุษย์อย่างมาก ส่งผลให้สามารถ
เรียนรูอื่นๆ คัดเลือก ปรับปรุงพันธุ์ ขยายพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ทางด้านอาหาร
2. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ เชื่ อ มโยงความรู  จ ากการ หรือด้านเกษตรกรรม โดยอาศัยความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีน การเพาะเลี้ยง
ศึกษาเกี่ยวกับแขนงตางๆ ทางชีววิทยา ให เนื้อเยื่อพืช การผสมเทียม การโคลน เป็นต้น
นั ก เรี ย นช ว ยกั น ระดมความคิ ด ในการตอบ การศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ท�าให้เข้าใจถึงการท�างานของ
คําถาม อวัยวะต่าง ๆ และทราบวิธีการดูแลรักษาระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ท�างานได้ตามปกติ
ï• ความรูจ ากแขนงตางๆ ทางชีววิทยาเกีย่ วของ การศึกษาเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิต โครงสร้าง หน้าที่ และพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ท�าให้
กับการดํารงชีวิตของมนุษยอยางไรบาง เข้าใจถึงการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตนั้น และน�าความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์
(แนวตอบ ความรูจ ากแขนงตางๆ ทางชีววิทยา การศึกษาสาเหตุของโรคที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ น�าไปสู่การค้นคว้าวิจัยหาตัวยาที่จะมา
เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของมนุษย เชน รักษาโรคนั้น ๆ ได้ ตลอดจนเทคโนโลยีการแพทย์ปัจจุบันล้วนได้รับความรู้มาจากการศึกษาทาง
- ความรูด า นกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา 1 2
ชีววิทยา เช่น การผลิตอินซูลินเพื่อรักษาโรคเบาหวาน การสร้างโกรทฮอร์โมนเพื่อรักษาเด็กที่
ทําใหเขาใจการทํางานของระบบตางๆ เตี้ยกว่าปกติให้สูงเป็นปกติได้ ซึ่งจากความรู้ที่กล่าวมาข้างต้น ท�าให้มนุษย์รู้จักปรับตัวเพื่อให้
ในรางกาย และทราบวิธีการดูแลรักษา สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ และมีอายุที่ยืนยาวขึ้นกว่าในอดีต
ระบบตางๆ ในรางกายใหทํางานไดอยาง นอกจากนี้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ท�าให้มนุษย์มีความตระหนักถึงความส�าคัญ
ปกติ ของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รู้จักวิธีการอนุรักษ์เพื่อท�าให้มีสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
- ความรูด า นจุลชีววิทยา นําไปสูก ารคนควา ธรรมชาติไว้ใช้อย่างยั่งยืน
วิจัยหาตัวยาในการรักษาโรคตางๆ)

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การผสมเทียม
แนวตอบ Prior Knowledge ภาพที่ 1.18 ความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพช่วยในการปรับปรุงพันธุ์และเพิ่มผลผลิตพืชและสัตว์
พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน ตัวอยางเชน 14
สามารถนําความรูมาดูแลรักษาสุขภาพ เลี้ยงสัตว
หรือปลูกพืชตางๆ

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 อินซูลิน (insulin) เปนฮอรโมนที่สรางจากตับออน ทําหนาที่นํานํ้าตาลจาก ขอใดไมเกี่ยวของกับพันธุวิศวกรรม
เลือดเขาไปในเซลลเพื่อใชเปนพลังงาน ในบุคคลที่ขาดอินซูลิน หรืออินซูลิน 1. ขาวโพดตานทานศัตรูพชื
ไมสามารถทําหนาทีไ่ ดตามปกติ ทําใหเซลลไมสามารถนํานํา้ ตาลไปใช จึงทําให 2. แบคทีเรียทีส่ รางอินซูลนิ ได
ระดับนํ้าตาลในเลือดสูง และเกิดโรคเบาหวาน 3. มะละกอตานโรคจุดวงแหวน
2 โกรทฮอรโมน (growth hormone) เปนฮอรโมนทีห่ ลัง่ มาจากตอมใตสมอง 4. แอนาบีนาทีต่ รึงไนโตรเจนได
(pituitary gland) มีบทบาทสําคัญในการกระตุน การเจริญเติบโต และการแบงเซลล 5. จุลนิ ทรียท กี่ าํ จัดคราบนํา้ มันได
โดยเฉพาะวัยเด็กที่ตองการการเจริญเติบโตมากเปนพิเศษ (วิเคราะหคําตอบ แอนาบีนาที่ตรึงไนโตรเจนไดเปนคุณสมบัติ
ตามธรรมชาติ ซึ่ ง มั ก พบแอนาบี น าอาศั ย อยู  ร  ว มกั บ แหนแดง
ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
Prior Knowledge
สัตวชนิดใดบางทีถ่ กู นํามา 4. ชีวจริยธรรม 1. ใหนักเรียนรวมกลุมกัน กลุมละ 5-6 คน เพื่อ
ใชในการทดลอง เลนเกมตอบคําถาม
การศึกษาชีววิทยาจะช่วยท�าให้เข้าใจถึงกระบวนการต่าง ๆ
วิทยาศาสตร
ที่จะเกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งโรคภัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น 2. ครูอาจเตรียมของรางวัลเล็กนอย เชน ขนม
แล้วน�าไปสู่การหาวิธีปองกันรักษา การศึกษาทางชีววิทยาส่วนใหญ่จะมีการทดลองกับสิ่งมีชีวิต ลูกอม เครื่องเขียนตางๆ เพื่อใหแกนักเรียน
ซึ่งเรียกสิ่งมีชีวิตที่น�ามาใช้ในการทดลองว่า สัตว์ทดลอง ดังนั้นผู้ศึกษาวิจัยทางชีววิทยาจะต้องมี กลุมที่ตอบคําถามไดคะแนนมากที่สุด
จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง 3. ครูตงั้ คําถามใหนกั เรียนแตละกลุม รวมเลนเกม
การน�าสัตว์ทดลองมาใช้ในการศึกษาวิจยั นัน้ จะต้องมีความระมัดระวัง มีคณ ุ ธรรม หลีกเลีย่ ง ตัวอยางเชน
การทรมานสัตว์ทดลอง ซึ่งสภาวิจัยแห่งชาติ ได้ก�าหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานทาง • จงยกตัวอยางการใชประโยชนจากความรู
วิทยาศาสตร์ไว้ ดังนี้ ทางชีววิทยาในดานการเกษตร
(แนวตอบ ใชการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อขยาย
จรรยาบรรณการใชสัตว พันธุพืชเศรษฐกิจ ใชเทคนิคการดัดแปร
เพื่องานทางวิทยาศาสตร
1 ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ พั น ธุ ก รรมเพื่ อ สร า งพื ช ที่ มี ค วามแข็ ง แรง
2 ผูใ้ ช้สตั ว์ตอ้ งตระหนักถึงความแม่นย�าของผลงาน โดยใช้ ต า นทานโรค และทนต อ ศั ต รู พื ช การ
สัตว์จ�านวนน้อยที่สุด ผสมเทียมสัตวตางๆ การผลิตปุยชีวภาพ)
3 การใช้สัตว์ปาต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการ • จงยกตัวอยางการใชประโยชนจากความรู
อนุรักษ์สัตว์ปา ทางชี ว วิ ท ยาในด า นการการแพทย แ ละ
4 ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับ สาธารณสุข
มนุษย์
ภาพที่ 1.19
5 ผูใ้ ช้สตั ว์ตอ้ งบันทึกข้อมูลการปฏิบตั ติ อ่ สัตว์ไว้เป็นหลักฐาน (แนวตอบ ใชเทคนิคการดัดแปรพันธุกรรม
อย่างครบถ้วน สร า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ส ร า งสารบางชนิ ด ที่ มี
ประโยชนตอ การแพทย เชน ฮอรโมนอินซูลนิ
การศึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นอีก สารปฏิชีวนะ)
แขนงวิชาหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต ผู้ปฏิบัติงานนี้จะต้องมี • จงยกตัวอยางการใชประโยชนจากความรู
ชีวจริยธรรมในการปฏิบัติงานเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ ทางชีววิทยาในดานอุตสาหกรรม
เทคนิคพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) มาสร้างสิ่งมีชีวิต (แนวตอบ ใชเทคโนโลยีการหมักในการผลิต
ดัดแปรพันธุกรรม (Genetically Modified Organisms : GMOs) ขนมปง เครื่องดื่มแอลกอฮอล นมเปรี้ยว
ทีส่ ามารถใช้ประโยชน์ดา้ นต่าง ๆ เช่น การควบคุมโรคในพืช การ โยเกิรต)
ผลิตฮอร์โมนหรือเอนไซม์ทสี่ า� คัญส�าหรับมนุษย์และสัตว์ เป็นต้น
ซึ่งอาจท�าให้เกิดความผิดปกติในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ขึ้น และอาจจะ ภาพที่ 1.20 การใช้สัตว์เพื่องาน
ทางวิทยาศาสตร์ ต้องค�านึงถึง
ส่งผลไปสู่วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต จรรยาบรรณการใช้สตั ว์ แนวตอบ Prior Knowledge

ธรรมชาติ 15
สั ต ว ห ลายชนิ ด ที่ ถู ก นํ า มาใช ใ นการทดลอง
ของสิ่งมีชีวิต
วิทยาศาสตร ตัวอยางเชน หนู กระตาย กบ ลิง หมู
ปลา เปนตน

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ชีวจริยธรรมมีความสําคัญตอการทํางานของนักชีววิทยาอยางไร การเรียนเรื่อง ชีวจริยธรรม ครูอาจกลาวโยงเขาสูกิจกรรม เรื่อง อุณหภูมิ
จงอธิบายพรอมยกตัวอยาง กับการรักษาดุลยภาพของปลาที่นักเรียนไดปฏิบัติมาแลว โดยตั้งคําถามวา
(แนวตอบ นักชีววิทยาตองยึดหลักชีวจริยธรรม เพราะชีวจริยธรรม นักเรียนทําอยางไรกับปลากอนและหลังการทดลอง เพื่อใหนักเรียนอภิปราย
(bioethics) หมายถึง การปฏิบัติตอสิ่งมีชีวิตอยางมีคุณธรรม รวมกัน แลวครูสรุปเพื่อใหนักเรียนตระหนักวา การนําความรูทางชีววิทยาไปใช
ไมทาํ รายหรือทําอันตรายตอสัตวหรือมนุษย เพือ่ การศึกษาและวิจยั ตองคํานึงถึงชีวจริยธรรม ซึ่งหมายถึง การปฏิบัติตอสิ่งมีชีวิตอยางมีคุณธรรม
เชน การโคลน ซึ่งปจจุบันยังหามทําการโคลนในมนุษย เนื่องจาก ไมทํารายสิ่งมีชีวิต
อาจกอใหเกิดอันตรายตอมนุษยได)

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครู นํ า อภิ ป รายโดยกล า วถึ ง กิ จ กรรม เรื่ อ ง การโคลนเป็นอีกเทคนิคหนึ่งทางชีววิทยาที่มีการศึกษาวิจัย ทั้งในระดับจุลินทรีย์ พืช และ
อุณหภูมิกับการรักษาดุลยภาพของปลา วาใน สัตว์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีพันธุกรรมเหมือนเดิม โดยประเด็นที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างมาก
ขณะทํากิจกรรมนักเรียนกระทําอยางไรกับปลา ในวงการแพทย์ คือ การโคลนมนุษย์ ซึ่งแม้ว่าจะเป็นการโคลนในระดับตัวอ่อน (embryo) เพื่อน�า
บาง และการกระทํานั้นคํานึงถึงชีวจริยธรรม อวัยวะไปปลูกถ่ายให้แก่ผู้ปวย หรือเพื่อการศึกษาวิจัย อย่างไรก็ตามตัวอ่อนนั้นก็ถือว่าเป็นมนุษย์
หรือไม อยางไร คนหนึ่ง จึงยังเป็นที่โต้แย้งกันอย่างมากว่าเป็นสิ่งที่ควรกระท�าหรือไม่ หากมีมนุษย์ที่เกิดจากการ
2. ครู ตั้ ง ประเด็ น คํ า ถามให นั ก เรี ย นร ว มกั น โคลน จะมีความเสี่ยงเพียงใดที่จะมียีนผิดปกติ ซึ่งปัจจุบันในหลายประเทศยังไม่อนุญาตให้มีการ
อภิปรายวา การนําความรูทางชีววิทยาไปใช โคลนมนุษย์
ตองคํานึงถึงชีวจริยธรรมอยางไรบาง โดยให กรณีการท�าแท้งซึ่งเป็นการกระท�าที่ขัดต่อกฎหมายและหลักศาสนา โดยจะถือได้ว่าการ
นักเรียนชวยกันยกตัวอยางกิจกรรมที่คํานึงถึง ท�าแท้งเป็นสิ่งที่ผิดศีลธรรม หรือเป็นบาป แต่ยังคงเป็นที่โต้แย้งกันว่าควรอนุญาตให้มีการท�าแท้ง
ชีวจริยธรรม หรือไม่ในกรณีที่พบว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติทางพันธุกรรม ในขณะนี้หลายประเทศได้มี
3. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด กฎหมายห้ามท�าแท้งเพราะขัดต่อหลักศาสนา โดยถือว่าทารกในครรภ์เป็นสิ่งมีชีวิต มีจิตวิญญาณ
ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม. 4 เลม 1 การท�าแท้งจึงถือได้ว่าเป็นอาชญากรรมอย่างหนึ่ง
การใช้ฮอร์โมนฉีดให้แก่สัตว์ เช่น ไก่ สุกร เป็นต้น เพื่อเร่งการเจริญเติบโต หรือเพื่อให้มี
ผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการ ฮอร์โมนต่าง ๆ นั้นอาจตกค้างอยู่ในเนื้อสัตว์ดังกล่าว ซึ่งหาก
ขัน้ ประเมิน มนุษย์น�ามาบริโภคก็อาจก่อให้เกิดโรคบางอย่างได้ เช่น โรคมะเร็ง เป็นต้น
ตรวจสอบผล
การใช้สารเคมีเพือ่ ช่วยคงสภาพของอาหารให้มคี วามสดใหม่ เช่น ฟอร์มาลิน เป็นต้น สารนัน้
1. ครู ป ระเมิ น ผล โดยสั ง เกตการตอบคํ า ถาม อาจส่งผลต่อผู้บริโภค ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องด้านการผลิตอาหาร จึงควรยึดหลักชีวจริยธรรมเช่นกัน
และการรวมกันทําผลงาน เนื่องจากการใช้สารบางชนิดอาจส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคได้
2. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่นที่ถูกกล่าวถึงอย่างมากเช่นกัน คือ การน�าความรู้ทางชีววิทยา
มาใช้ในการท�าลายล้าง เช่น การใช้สิ่งมีชีวิตที่ท�าให้เกิดโรคต่อมนุษย์ สัตว์และพืช การน�าสารพิษ
ที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตมาใช้ท�าลายสิ่งมีชีวิต ที่เรียกว่า อาวุธชีวภาพ ซึ่งเป็นเรื่องที่ผิดต่อชีวจริยธรรม
เช่นกัน
B iology
Focus อาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพ (biological weapon) เป็นอาวุธที่มีอานุภาพ
ในการท�าลายล้างสูง ท�าให้มนุษย์จ�านวนมากในพื้นที่บริเวณกว้างได้
รับบาดเจ็บ ปวย และเสียชีวิตในที่สุด โดยอาจเรียกว่า “อาวุธเชื้อโรค”
ซึ่งผลิตได้จากสิ่งมีชีวิต โดยครอบคลุมถึงสิ่งมีชีวิตเอง สารพิษจาก
สิ่งมีชีวิต และฮอร์โมนหรือสารอื่นที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้น ตัวอย่างเช่น
เชือ้ โรคแอนแทรกซ์ซงึ่ เกิดจากแบคทีเรียบาซิลลัสแอนทราซิส (Bacillus
Anthracis) ภาพที่ 1.21
16

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง ชีววิทยาคืออะไร ชีววิทยา ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต GMOs ซึ่ ง มี
กับการดํารงชีวิต และชีวจริยธรรม ไดจากการสังเกตพฤติกรรมการทํางานราย ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ แลวใหนักเรียนแบงออกเปน 2 แถว
บุคคล และการทํางานกลุม โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินทีอ่ ยูใ นแผนการ นั่งหันหนาเขาหากัน นักเรียนแถวหนึ่งพูดเกี่ยวกับเชิงบวกของ
จัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 สิ่งมีชีวิต GMOs สวนอีกแถวหนึ่งพูดเกี่ยวกับเชิงลบของสิ่งมีชีวิต
GMOs แลวอภิปรายแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน
ตรงกับระดับคะแนน การมี
ระดับคะแนน การแสดง การทางาน
ส่วนร่วม
ลาดับที่ รายการประเมิน การยอมรับ รวม ความ
3 2 1 ชื่อ–สกุล ความ ตามที่ได้รับ
ในการ
ลาดับที่ ฟังคนอื่น 15 มีน้าใจ
1 การแสดงความคิดเห็น    ของนักเรียน คิดเห็น มอบหมาย
ปรับปรุง
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น    ผลงานกลุ่ม คะแนน
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ความมีน้าใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................../................/...............

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


................../.................../.................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดีมาก
14-15 ดีมาก 11-13 ดี
11-13 ดี 8-10 พอใช้
8-10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T18
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
5. การศึกษาชีววิทยา 1. ครูนําเขาสูกิจกรรม โดยใหนักเรียนนับเลข
วิธกี ารทางวิทยาศาสตร
มีกขี่ น
ั้ ตอน อะไรบาง 1-5 วนกันไปเรื่อยๆ จนครบทั้งหอง จากนั้น
ชีววิทยาเป็นวิทยาศาสตร์อีกแขนงหนึ่ง ดังนั้น การศึกษา ใหนักเรียนที่นับเลขเดียวกัน อยูกลุมเดียวกัน
ชีววิทยาจึงต้องอาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) 2. ครู เ ตรี ย มรู ป สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ให
โดยนักวิทยาศาสตร์ (scientist) มักจะเป็นคนช่างสังเกต ซึ่งการสังเกตจะช่วยให้เกิดการตั้งค�าถาม นักเรียนแตละกลุมสังเกตลักษณะตางๆ ของ
ที่น�าไปสู่การหาค�าตอบหรือข้อสรุปที่จะส่งผลถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งมีชีวิตชนิดนั้น โดยใหเวลาสังเกตประมาณ
การท�างานของนักวิทยาศาสตร์ในแขนงต่าง ๆ มีการศึกษาที่แตกต่างกันตามความสนใจ 5 นาที
นักชีววิทยาระดับโมเลกุล (molecular biologist) ศึกษาเกีย่ วกับโครงสร้างและการท�างานของสารเคมี 3. ใหนักเรียนแตละกลุมจดบันทึกลักษณะของ
ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต นักชีววิทยาระดับเซลล์ (cell biologist) ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์ สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ สั ง เกต และตั้ ง คํ า ถามเกี่ ย วกั บ
การเพาะเลี้ยงเซลล์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเซลล์ นักชีววิทยาประชากร (population biologist) ลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้น 2-3 คําถาม
ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขนาดประชากร สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง 4. ใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาเสนอ
เหล่านั้น ซึ่งจากการศึกษาการท�างานของนักวิทยาศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ผลงานหนาชั้นเรียน จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อ
นักวิทยาศาสตร์มวี ธิ กี ารท�างานทีเ่ ป็นรูปแบบและมีระบบขัน้ ตอน ซึง่ มีพฒั นาการสืบทอดต่อกันมา ใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ดังนี้
เป็นล�าดับ จนได้เป็นรูปแบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) ที่เหมาะสมอย่างใน ï• ข อ มู ล ที่ ก ลุ  ม นั ก เรี ย นบั น ทึ ก ได จ ากการ
ปัจจุบัน โดยวิธีการท�างานดังกล่าวเป็นองค์ประกอบส�าคัญอย่างหนึ่งที่ช่วยท�าให้การศึกษาค้นคว้า สังเกตสิ่งมีชีวิต เมื่อเปรียบเทียบกับกลุม
ทางวิทยาศาสตร์ประสบผลส�าเร็จ และเกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง อื่นๆ แลวมีขอมูลละเอียดครบถวนหรือไม
รวดเร็ว ซึ่งวิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ได้รับการยอมรับว่ามีประโยชน์อย่างมากในการน�าไปใช้เป็น อยางไร
กระบวนการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมความรู้ในศาสตร์ทุกสาขาวิชา (แนวตอบ นักเรียนบางกลุมอาจบันทึกขอมูล
ไดละเอียดครบถวน แตบางกลุมอาจบันทึก
ไดไมละเอียดครบถวน)
ï• คําถามทีก่ ลุม นักเรียนตัง้ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบ
กับกลุมอื่นๆ แลวมีลักษณะอยางไร
(แนวตอบ คําถามบางคําถามอาจนําไปสูการ
คนหาคําตอบที่นาสนใจ แตบางคําถามอาจ
ไมนาสนใจ)
5. ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตระหนักวา การสังเกต
เปนทักษะสําคัญที่นําไปสูการคนพบปญหา
และการรวบรวมขอมูล

ภาพที่ 1.22 การศึกษาทางวิทยาศาสตร์มักเน้นกระบวนการกลุ่ม และใช้ทักษะวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ แนวตอบ Prior Knowledge

ธรรมชาติ 17
5 ขั้นตอน ไดแก การกําหนดปญหา การตั้ง
ของสิ่งมีชีวิต
สมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน การรวบรวม
ขอมูลและลงขอสรุป และการสรุปผล

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของนักวิทยาศาสตร ครูอาจนัดหมายนักเรียนตั้งแตคาบเรียนที่ผานมาวา ใหนักเรียนสังเกต
1. มีเหตุผล ลักษณะของสิ่งมีชีวิตมาลวงหนากอนเขาเรียนในคาบเรียนนี้ โดยอาจสังเกต
2. ประหยัด สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดลอมจริง คนละ 1 ชนิด ใชเวลาสังเกตประมาณ 5 นาที
3. ชางสังเกต แลวตั้งคําถามอยางนอย 2-3 ขอ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่สังเกต เมื่อถึงคาบเรียนนี้
4. มีความคิดริเริม่ นักเรียนอาจนําสิ่งมีชีวิตหรือภาพสิ่งมีชีวิตมาดวย
5. อยากรูอ ยากเห็น
(วิเคราะหคําตอบ ลักษณะสําคัญของนักวิทยาศาสตร ไดแก ชาง
สังเกต อยากรูอ ยากเห็น มีเหตุผล มีความคิดริเริม่ มีความพยายาม
และอดทน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูตงั้ คําถามเพือ่ นําเขาสูก ารสืบคนขอมูล ดังนี้ 5.1 การก�าหนดปัญหา
• วิ ธีก ารทางวิ ท ยาศาสตร ป ระกอบด ว ย เมื่อบุคคลพบเห็นสิ่งต่าง ๆ แล้วเกิดความสงสัย ก็จะน�า
อะไรบาง ไปสู่การก�าหนดปัญหา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้ทักษะการสังเกต
(แนวตอบ วิธีการทางวิทยาศาสตรประกอบ ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ดวยการกําหนดปญหา การตั้งสมมติฐาน โดยไม่ใช้ความคิดเห็นของผู้สังเกตเข้ามาประเมินสิ่งที่เกิดขึ้น
การตรวจสอบสมมติฐาน การเก็บรวบรวม นักจุลชีววิทยาชาวอังกฤษชื่อ อเล็กซานเดอร์ เฟลมิง
ขอมูลและวิเคราะหขอมูล และการสรุปผล) (Alexander Fleming) สังเกตว่าในจานเพาะเชือ้ แบคทีเรียบริเวณ
• นักเรียนคิดวานักวิทยาศาสตรควรมีลกั ษณะ ที่มีราเพนิซิลเลียม (Penicillium notatum) เจริญอยู่ แบคทีเรีย
อยางไร จะหยุดการเจริญเติบโต ท�าให้เขาเกิดความสงสัยและตัง้ ปัญหาว่า
(แนวตอบ นักวิทยาศาสตรมักเปนคนชาง ภาพที่ 1.23 การสังเกตเป็นทักษะพืน้ ฐาน เหตุ ใ ดแบคที เ รี ย จึ ง ไม่ ส ามารถจะเจริ ญ เติ บ โตได้ ใ นขณะที่ มี
ที่ส�าคัญต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์
สั ง เกต ซึ่ ง การสั ง เกตจะนํ า ไปสู  ก ารตั้ ง ราเพนิซิลเลียมเจริญอยู่ จากนั้นเขาจึงศึกษาต่อไปว่าสิ่งใดที่
คําถาม) เกิดจากราเพนิซิลเลียมที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียได้ จนในที่สุดจึงได้ค้นพบ
• เพราะเหตุใดจึงควรตัง้ สมมติฐานไวหลายๆ สารปฏิชีวนะที่ผลิตจากเชื้อราซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย การค้นพบดังกล่าว
สมมติฐาน ท�าให้ได้สารปฏิชีวนะที่ใช้ในการรักษาโรคที่เกิดจากแบคทีเรียได้ ซึ่งนับว่าเป็นสารที่มีประโยชน์
(แนวตอบ เพื่อใหมีแนวทางในการสืบคนหา อย่างมากในวงการแพทย์ของโลก
คําตอบไดหลายวิธี โดยไมยึดสมมติฐานใด 5.2 การตั้งสมมติฐาน
สมมติ ฐ านหนึ่ ง เป น คํ า ตอบก อ นที่ จ ะได สมมติฐาน (hypothesis) เป็นสิง่ ทีค่ าดว่าจะเป็นค�าตอบทีอ่ าจเป็นไปได้จริงและมีความถูกต้อง
พิสูจนตรวจสอบแลว) เชื่อถือได้ ซึ่งต้องได้รับการพิสูจน์หรือตรวจสอบหลาย ๆ ครั้ง ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ โดยการตั้งสมมติฐานอาจใช้ค�าว่า ถ้า ……………… ดังนั้น ………………
หัวขอการกําหนดปญหา และการตัง้ สมมติฐาน
ตัวอย่างการตัง้ สมมติฐาน
จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1
3. ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม เรื่อง การ ถ้ำราเพนิซิลเลียมสามารถสร้างสารยังยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ดังนั้นบริเวณที่มี
ราเพนิซิลเลียมอยู่ แบคทีเรียจะไม่เจริญเติบโต
กําหนดปญหาและตัง้ สมมติฐาน จากหนังสือเรียน ถ้ำแสงแดดมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนัน้ พืชทีข่ นึ้ ในบริเวณทีม่ แี สงแดดจ้าจะมีการเจริญเติบโต
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 มากกว่าพืชที่ขึ้นในที่ร่ม
ถ้ำแสงของแสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นพืชที่เจริญเติบโตกลางแจ้ง ล�าต้นจะสูงกว่าพืช
ที่เจริญเติบโตในที่ร่ม
การตั้งสมมติฐานต้องยึดปัญหาเป็นหลัก และควรมีการตั้งสมมติฐานหลาย ๆ สมมติฐาน
เพื่อให้มีแนวทางการสืบค้นหาค�าตอบได้หลายวิธี โดยไม่ยึดสมมติฐานใดสมมติฐานหนึ่งเป็น
ค�าตอบก่อนที่จะได้พิสูจน์ตรวจสอบแล้ว
18

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูนําอภิปรายวาปญหาไดมาอยางไร ซึ่งนักเรียนควรสรุปไดวา ไดมาจาก ขอความใดตอไปนี้หมายถึงสมมติฐาน
การสังเกตปรากฏการณและความอยากรูอ ยากเห็นของมนุษย จากนัน้ ใหนกั เรียน 1. ขอมูลที่สังเกตได
อภิปรายและตอบคําถามเกี่ยวกับคํากลาวของอัลเบิรต ไอนสไตน ที่กลาววา 2. ขอสรุปจากการทดลอง
“การตั้งปญหายอมสําคัญกวาการแกปญหา เพราะการแกปญหาอาศัยเพียง 3. วิธีการตรวจสอบปญหา
ทักษะทางคณิตศาสตรและการทดลองเทานั้น สวนการตั้งปญหาใหมๆ และ 4. ปญหาที่ตองการตรวจสอบ
การกําหนดแนวทางที่อาจเปนไปไดจากปญหาเกาในทักษะใหม ยอมตองอาศัย 5. คําตอบที่อาจเปนไปไดของปญหา
ความคิดสรางสรรค ซึ่งถือวาเปนความกาวหนาทางวิทยาศาสตรอยางแทจริง ” (วิเคราะหคําตอบ สมมติฐาน (hypothesis) เปนสิ่งที่คาดวา
จะเป น คํ า ตอบที่ อ าจเป น ไปได และมี ค วามถู ก ต อ งน า เชื่ อ ถื อ
ซึ่งตองไดรับการตรวจสอบหลายๆ ครั้ง ดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร โดยการตั้งสมมติฐานอาจใชคําวา ถา … ดังนั้น …
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร
• การสังเกต
1. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันกําหนดปญหา
การกําหนดปญหาและตั้งสมมติฐาน • การลงความเห็นจากข้อมูล เกี่ ย วกั บ ความรู  ท างวิ ท ยาศาสตร และตั้ ง
จิตวิทยำศำสตร สมติฐานที่สอดคลองกับปญหาที่กําหนดขึ้น
• ความสนใจใฝรู้ ตัวอยางเชน
ให้นักเรียนอำนสถำนกำรณที่ก�ำหนดให้ • ความรับผิดชอบ
•ï ปญหา : ความเขมของแสงมีผลตอการเจริญ
นักเรียนกลุ่มหนึ่งสังเกตได้ว่า ต้นไม้ที่ปลูกในที่ร่มจะเจริญเติบโตได้น้อยกว่าต้นไม้ที่ปลูกบริเวณกลางแจ้ง เติบโตของพืชหรือไม
ทีม่ แี สงแดด และต้นไม้ทไี่ ด้รบั การรดน�า้ จะเจริญเติบโตได้ดกี ว่าต้นไม้ทไี่ ม่ได้รบั การรดน�า้ นักเรียนกลุม่ นีจ้ งึ เกิด สมมติฐาน : ถาความเขมของแสงมีผลตอ
ความสงสัยว่า แสงแดดและน�้านั้นมีความส�าคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชหรือไม่ อย่างไร จึงได้ศึกษาค้นคว้า การเจริญเติบโตของพืช ดังนัน้ พืชทีอ่ ยูก ลาง
เพิ่มเติม จนได้ข้อมูลว่า แสงแดดและน�้ามีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช หากพืชได้รับแสงแดดและน�้าอย่าง
เพียงพอ จะสามารถเจริญเติบโตได้ดี แต่หากขาดปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งไป การเจริญเติบโตของพืชจะผิดปกติ แจงจะเจริญเติบโตมากกวาพืชที่อยูในที่รม
จากนั้นจึงทดสอบความถูกต้องของข้อมูล ด้วยการศึกษาการเจริญเติบโตของพืช โดยน�าพืชชนิดเดียวกัน : ถาความเขมของแสงมีผลตอ
มาปลูกในดินชนิดเดียวกัน 4 กระถาง ซึ่งมีการดูแลแต่ละกระถางแตกต่างกัน ดังนี้ การเจริญเติบโตของพืช ดังนัน้ พืชทีอ่ ยูก ลาง
แจงจะมีความสูงมากกวาพืชที่อยูในที่รม
✗ ✗ ✗ ✗ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายความเหมือน
และความแตกตางของสมมติฐานทีย่ กตัวอยาง
ไปในขอ 1. โดยแนวการอภิปรายควรเปน
ดังนี้
กระถำงที่ 1 กระถำงที่ 2 กระถำงที่ 3 กระถำงที่ 4 “สมมติฐานทั้งสองนั้น ในสวนที่เปน ดังนั้น
วางไว้กลางสนามที่มี วางไว้ในห้องที่ไม่มีแสงแดด วางไว้กลางสนามที่มี วางไว้ในห้องที่ไม่มีแสงแดด จะแนะแนวทางในการออกแบบการทดลอง
แสงแดด และรดน�้าทุกวัน ส่องถึง และรดน�้าทุกวัน แสงแดด และไม่รดน�้า ส่องถึง และไม่รดน�้า
ออกเป น 2 กลุ  ม คื อ กลุ  ม ที่ อ ยู  ใ นที่ แ จ ง
ภาพที่ 1.24
กั บ กลุ  ม ที่ อ ยู  ใ นที่ ร  ม แต ส  ว นที่ ต  า งกั น คื อ
จากการศึกษาของนักเรียนกลุ่มนี้ พบว่า พืชในกระถางที่ 1 เจริญเติบโตได้ดีกว่าพืชในกระถางที่ 2
กระถางที่ 3 และกระถางที่ 4 สมมติฐานแรกไมไดระบุนิยามปฏิบัติการของ
การเจริญเติบโตของพืชวาจะวัดจากสิง่ ใด สวน
?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม สมมติฐานทีส่ อง ระบุนยิ ามปฏิบตั กิ ารของการ
1. ก�าหนดปัญหาจากเหตุการณ์ที่ก�าหนดให้ เจริญเติบโตวาวัดจากความสูง ซึ่งเปนการ
2. ตัง้ สมมติฐานที่สอดคล้องกับปัญหาที่นักเรียนตั้งไว้ในข้อ 1. ชี้แนะวิธีการวัดผลการทดลองนั่นเอง ”
อภิปรายผลกิจกรรม แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
จากกิจกรรม นักเรียนจะสามารถก�าหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานจากสถานการณ์ที่ก�าหนดให้ โดยอาศัย 1. แสงแดดและนํ้ามีความสําคัญตอการเจริญ-
ทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ซึ่งทักษะเหล่านี้เป็นทักษะพื้นฐานในการ เติบโตของพืชหรือไม
ศึกษาวิทยาศาสตร์ 2. ถาแสงแดดและนํา้ มีความสําคัญตอการเจริญ-
ธรรมชาติ
ของสิ่งมีชีวิต
19 เติบโตของพืช ดังนั้น พืชที่ไดรับแสงแดดและ
นํ้าอยางเพียงพอจะเจริญเติบโตไดดีกวาพืชที่
ไมไดรับแสงแดดและนํ้า

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สมมติฐานมีความสําคัญในการแกขอสงสัยทางวิทยาศาสตร สมมติฐานที่ดีตองมีลักษณะ ดังนี้
อยางไร 1. มีความเฉพาะเจาะจง คือ อานเขาใจงาย มีแนวคิดชัดเจน ไมคลุมเครือ
(วิเคราะหคําตอบ สมมติฐานมีความสําคัญในการแกขอสงสัย หรือซับซอน
ทางวิทยาศาสตร กลาวคือ สมมติฐานเปนคําตอบที่คาดวาจะ 2. สามารถทําการทดสอบได ซึ่งควรทําใหมองเห็นแนวทางในการทดสอบ
เปนไปไดจริงของปญหาที่สงสัย สวนจะใชคําตอบที่แทจริงหรือไม สมมติฐานนั้น
จะตองผานการตรวจสอบอยางรอบคอบ) 3. มีเหตุผลสนับสนุน คือ มีความสมเหตุสมผล ไมมขี อ ขัดแยงในสมมติฐานนัน้
4. สอดคลองกับทฤษฎีและผลงานวิจัยของผูอื่น
5. สอดคลองกับจุดมุงหมายของการทดลอง
6. บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรไวอยางชัดเจน
7. เมื่อไดรับการทดสอบแลวสามารถนําไปสรุปอางอิงได

T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูตงั้ คําถามเพือ่ นําเขาสูก ารสืบคนขอมูล ดังนี้ 5.3 การตรวจสอบสมมติฐาน
•ï การตรวจสอบสมมติ ฐ านสามารถทํ า ได สมมติฐานที่ก�าหนดไว้เมื่อเริ่มท�าการศึกษา เป็นค�าตอบของปัญหาที่คาดว่าอาจเป็นไปได้
อยางไร ซึ่งอาจมีได้หลายสมมติฐาน จึงต้องมีการตรวจสอบเพื่อท�าให้ทราบแน่ชัดว่าสมมติฐานใดถูกต้อง
(แนวตอบ นักเรียนอาจตอบวาทําไดโดยการ การตรวจสอบสมมติฐานจะด�าเนินการโดยยึดสมมติฐาน
ทดลอง) เป็นหลัก เนื่องจากสมมติฐานที่ดีได้ชี้แนวทางการตรวจสอบ
2. จากคําถามในขอ 1. หากนักเรียนตอบเพียงวา และการออกแบบการตรวจสอบเอาไว้แล้ว ซึ่งการตรวจสอบ
ทําไดจากการทดลอง ครูควรชี้แจงวา การ สมมติฐานมีจดุ ประสงค์เพือ่ ค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูล และ
ตรวจสอบสมมติฐานสามารถทําไดหลายวิธี ตรวจสอบว่าสมมติฐานข้อใดเป็นค�าตอบทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ โดยทัว่ ไป
เชน การสังเกต การตอบแบบสอบถาม การ สามารถท�าได้ 2 วิธี ดังนี้
สัมภาษณ การสํารวจ และการทดลอง 1. ใช้การสังเกตและการรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อ
3. ครู นํ า อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ การ น�าข้อมูลมาแปลความหมาย อภิปราย และสรุปผล
ภาพที่ 1.25 การทดลองทาง
ทดลองวา ปจจัยดังกลาวนั้น เรียกวา ตัวแปร วิ ท ยาศาสตร์ ต ้ อ งมี ก ระบวนการ 2. ใช้การทดลอง เป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดในการศึกษา
จากนั้นใหนักเรียนแตละคนศึกษาเรื่อง การ ท�างานอย่างเป็นระบบตามขัน้ ตอน ทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ การตรวจสอบสมมติฐานโดยการทดลองนัน ้
ทัง้ นีเ้ พือ่ ท�าให้ได้ผลการทดลองทีม่ ี ควรระบุกระบวนการทดลองที่จะปฏิบัติจริง มีการออกแบบการ
ตรวจสอบสมมติ ฐ าน จากหนั ง สื อ เรี ย น ความถูกต้องแม่นย�า
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 ทดลอง บอกวิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ สารเคมีและเครื่องมือต่าง ๆ
รวมทัง้ มีการวางแผนการด�าเนินงานตามล�าดับ โดยมีการควบคุม
อย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด หรือเกิดข้อผิดพลาด
น้อยที่สุด และหลังการทดลองต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหา
ข้อสรุปที่ได้จากการทดลองด้วย
ในกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้อง
ควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลองให้มีปริมาณน้อยที่สุด โดย
ปัจจัยต่าง ๆ นั้น เรียกว่า ตัวแปร (variable)
ประเภทของตัวแปรในกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (independent variable) คือ ตัวแปร
ที่ผู้ทดลองก�าหนดขึ้นเพื่อทดสอบผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรนี้
ตัวแปรตาม (dependent variable) คือ ตัวแปรทีเ่ ป็นผลมาจาก
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
ภาพที่ 1.26 ปัจจัยหรือตัวแปรต่าง ๆ
อาจท� า ให้ ผ ลการทดลองคลาด ตัวแปรควบคุม (controlled variable) คือ สิ่งต่าง ๆ นอกเหนือ
เคลื่ อ นได้ ดั ง นั้ น ในการทดลอง จากตัวแปรต้น ทีอ่ าจท�าให้ผลการทดลองเกิดความคลาดเคลือ่ น
ต้ อ งมี ก ารควบคุ ม ตั ว แปรต่ า ง ๆ ซึ่งผู้ทดลองจะต้องควบคุมให้สิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นคงที่ตลอด
เป็นอย่างดี การทดลอง
20

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครู ค วรให นั ก เรี ย นได ฝ  ก กํ า หนดตั ว แปรในกระบวนการทดลองทาง “ใหมสงสัยวาระหวางรํากับปลายขาว อาหารชนิดใดทําใหไก
วิทยาศาสตร โดยอาจกําหนดสถานการณใหนกั เรียนรวมกันกําหนดตัวแปรตางๆ เจริญเติบโตไดดีกวากัน”
ตัวอยางเชน ตัวแปรตน และตัวแปรตามของการสงสัยนี้คืออะไร
- แอมทําการทดลองเพื่อดูวาแสงแดดมีผลตอการเจริญเติบโตของรา 1. ขนาดของไก ชนิดของอาหารที่กิน
หรือไม โดยนําขนมปงสองกอนใสถวยขนาดเล็กสองใบ ถวยหนึ่งนําไป 2. ชนิดของอาหารที่กิน การเจริญเติบโตของไก
เก็บไวในกลองมิดชิดแสงแดดสองไมถงึ สวนอีกใบหนึง่ นําไปวางตากแดด 3. ระยะเวลาในการเลี้ยงไก การเจริญเติบโตของไก
ไว 3 วัน สังเกตและบันทึกผลการทดลอง 4. ระยะเวลาในการเลี้ยงไก เพศของไกที่นํามาเลี้ยง
- บอมตองการศึกษาวา ภาชนะทีม่ คี วามกวางของปากแตกตางกัน เมือ่ นํา 5. นํ้าหนักของไก ระยะเวลาในการเลี้ยงไก
ไปใสนาํ้ แลวตัง้ ทิง้ ไวกลางแดด จะมีการระเหยของนํา้ แตกตางกันหรือไม (วิเคราะหคําตอบ จากขอความที่กําหนดให ตัวแปรตน คือ
- แมนเลี้ยงไกเพื่อนําไขไปขาย แมนคิดวาอาหารนาจะมีผลตอจํานวน ชนิดของอาหารที่กิน ตัวแปรตาม คือ การเจริญเติบโตของไก
การออกไขของไก จึงทําการทดลองเลี้ยงแมไก 3 ตัว โดยแมไกตัวที่ 1 ตั ว แปรควบคุ ม คื อ ขนาดของไก ระยะเวลาในการเลี้ ย งไก
เลี้ยงดวยอาหารเม็ด แมไกตัวที่ 2 เลี้ยงดวยขาวเปลือก แมไกตัวที่ 3 เพศของไกที่นํามาเลี้ยง สถานที่เลี้ยงไก ดังนั้น ตอบขอ 2.)
เลี้ยงดวยเมล็ดขาวโพด

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ตัวอย่างการก�าหนดตัวแปรในการทดลอง เช่น การศึกษาว่าปุย ชนิดใดมีผลต่อการเจริญเติบโต 1. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถาม ดังนี้
ของพืชมากกว่า โดยท�าการทดลองกับพืชจ�านวน 2 กระถาง ซึ่งกระถางที่ 1 ใส่ปุยชนิดที่ 1 ส่วน ï• เหตุ ใ ดจึ ง ต อ งมี ก ารตรวจสอบสมมติ ฐ าน
กระถางที่ 2 ใส่ปุยชนิดที่ 2 ดังนั้น ตัวแปรต้นในการศึกษานี้ก็คือ ปุย ตัวแปรตาม คือ การ และการตรวจสอบสมมติฐานมีจุดประสงค
เจริญเติบโตของพืช และตัวแปรควบคุม เช่น ชนิด ขนาดและลักษณะของพืช ขนาดของกระถาง เพื่อสิ่งใด
ปริมาณดิน ปริมาณน�้า ปริมาณแสงแดด เป็นต้น (แนวตอบ การตรวจสอบสมมติฐานเพือ่ ทําให
การตรวจสอบสมมติฐานด้วยการทดลอง นอกจากจะควบคุมปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการทดลองแล้ว ทราบแนชัดวาสมติฐานใดถูกตอง ซึ่งการ
ยังต้องแบ่งชุดการทดลองเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ตรวจสอบสมมติ ฐ านมี จุ ด ประสงค เ พื่ อ
กลุ่มทดลอง (experimental group) กลุ่มควบคุม (controlled group)
คนควาหาขอมูล รวบรวมขอมูล ตรวจสอบ
ว า สมมติ ฐ านข อ ใดเป น คํ า ตอบที่ ถู ก ต อ ง
ชุดการทดลองที่ใช้ศึกษาผลของตัวแปรต้น ชุดการทดลองทีใ่ ช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง เพือ่ เปรียบเทียบ
ข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ที่สุด)
2. ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายความหมายของคํา
ตางๆ ดังนี้
ï• ตัวแปรตนหรือตัวแปรอิสระ (independent
ใสปุยชนิดที่ 1 ใสปุยชนิดที่ 2 ไมใสปุย variable) : ตัวแปรที่ผูทดลองกําหนดขึ้น
ภาพที่ 1.27 การทดลองทางวิทยาศาสตร์มักแบ่งชุดการทดลองออกเป็นกลุ่มทดลองและ เพื่อทดสอบผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรนี้
กลุ่มควบคุม เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบกัน
ï• ตัวแปรตาม (dependent variable) :
B iology ตั ว แปรที่ เ ป น ผลมาจากตั ว แปรต น หรื อ
Focus ขอควรปฏิบัติในหองทดลอง ตัวแปรอิสระ
เพือ่ ท�าให้การทดลองได้ผลทีถ่ กู ต้อง และเกิดความปลอดภัยต่อผูท้ ดลอง ผูท้ ดลองจึงควรปฏิบตั ิ ï• ตัวแปรควบคุม (controlled variable) :
ดังนี้ สิ่งตางๆ นอกเหนือจากตัวแปรตนที่อาจ
1. ต้องรักษาระเบียบบนโต๊ะทดลอง เพือ่ ช่วยให้ทา� การทดลองได้อย่างสะดวก และช่วยลดอุบตั เิ หตุ ทําใหผลการทดลองเกิดความคลาดเคลื่อน
2. อ่านคูม่ อื การทดลองอย่างละเอียดก่อนท�าการทดลอง และหากมีขอ้ สงสัยให้สอบถามอาจารย์ ซึ่งผูทดลองจะตองควบคุมใหสิ่งตางๆ นั้น
ผู้ควบคุม และไม่ท�าการทดลองใด ๆ ที่นอกเหนือไปจากในคู่มือการทดลอง
คงที่ตลอดการทดลอง
3. ห้ามเล่นหรือหยอกล้อกันในขณะท�าการทดลอง
4. เมื่อต้องการใช้สารเคมีใด ๆ ต้องรินออกจากขวดใส่ลงในบีกเกอร์ก่อน โดยรินออกมาใน
ปริมาณที่ต้องการใช้เท่านั้น และหากใช้ไม่หมดให้เทส่วนที่เหลือทิ้งไป
5. ให้ความระมัดระวังการใช้ไฟในห้องทดลอง ควรดับไฟทันที่เมื่อเลิกใช้งาน
6. ห้ามรับประทานอาหารในห้องทดลอง เพราะอาจมีสารเคมีปนเปอนลงไปในอาหาร
7. เมือ่ ท�าการทดลองเสร็จแล้ว ต้องท�าความสะอาดพืน้ โต๊ะทดลอง เก็บเครือ่ งมือและวัสดุอปุ กรณ์
ให้เรียบร้อย แล้วล้างมือให้สะอาดก่อนออกจากห้องทดลอง

ธรรมชาติ 21
ของสิ่งมีชีวิต

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนกั เรียนกําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ครูอาจใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการ โดยเปด
จากสถานการณที่กําหนดให คลิปวิดีโอที่แนะนําจากสื่อดิจิทัลดานลาง แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
- การงอกของเมล็ดขาวในเวลาที่ตางกันขึ้นอยูกับปริมาณ ในขณะอยูในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร ควรปฏิบัติอยางไรบาง
ของนํ้าที่ไดรับ
- การสั่นสะเทือนของไมบรรทัดจะใหเสียงสูงหรือตํ่าขึ้นอยู
กับแรงดีดของคนดีด สื่อ Digital
- อัตราการเจริญเติบโตของไกขึ้นอยูกับปริมาณของโปรตีน ศึกษาเกี่ยวกับขอควรปฏิบัติในหองปฏิบัติการไดจาก
ในอาหาร https://www.youtube.com/watch?v=tsAHt0FiwNM
- เมือ่ ใสผงอีโนลงไปมาก จรวดประดิษฐจะพุง ขึน้ ไปไดสงู มาก หรือ https://www.youtube.com/watch?v=h8GLmc1UBVk
เชนกัน

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องการเก็บรวบรวม 5.4 การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอ มูล
ขอมูลและวิเคราะหขอมูล และการสรุปผล ขั้นตอนนี้เป็นการน�าข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้า
จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 หรือจาก ทดลอง หรือการรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริง มาวิเคราะห์ผล
แหลงเรียนรูอื่นๆ อธิบายความหมายของข้อเท็จจริง แล้วน�าไปเปรียบเทียบ
2. ให นั ก เรี ย นกลุ  ม เดิ ม ไปศึ ก ษากิ จ กรรมเรื่ อ ง กับสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อใด ซึ่งการ
การกําหนดตัวแปร วิเคราะหขอมูล และสรุป วิเคราะห์ข้อมูลที่ดีจะน�าไปสู่การสรุปผลที่ถูกต้อง
ผลการทดลอง จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4
เลม 1 แลวรวมกันตอบคําถามทายกิจกรรม 5.5 การสรุปผล
3. ครูควรเนนยํา้ วา จากกิจกรรมนักเรียนจะไดใช ขั้นตอนนี้เป็นขั้นแปลความหมายของข้อมูลที่ได้จากการ
ทักษะตางๆ เชน ทักษะการสังเกต ทักษะการ ทดลองหรือการศึกษา และลงข้อสรุปภายในขอบเขตของผล
ลงความคิดเห็นจากขอมูล ทักษะการจัดกระทํา การทดลองหรือผลการศึกษาที่เป็นจริงว่า สมมติฐานใดถูกต้อง
ภาพที่ 1.28 ผู้ทดลองต้องสังเกต ซึง่ หากผลสรุปตรงกับสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ สมมติฐานนัน ้ อาจน�าไป
และสื่อความหมายขอมูล ทักษะการกําหนด และบันทึกผลการทดลอง เพื่อน�า
และควบคุมตัวแปร ทักษะการตีความหมาย ไปวิเคราะห์ถึงความเชื่อมโยงกับ ตั้งเป็นกฎหรือทฤษฎีที่สามารถใช้เป็นแนวทางส�าหรับอธิบาย
สมมติฐาน ปรากฏการณ์อื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้ แต่หากผลที่ได้
ขอมูลและลงขอสรุป ซึ่งเปนทักษะพื้นฐานที่ ไม่ตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ก็ไม่ได้หมายความว่าการทดลองนั้นไม่ถูกต้อง แต่ควรจะเปลี่ยน
สําคัญในการศึกษาวิทยาศาสตร สมมติฐานและท�าการทดลองใหม่ต่อไป
สมมติฐานที่ผ่านการตรวจสอบแล้วหลายครั้ง ซึ่งอาจเป็นการทดสอบโดยนักวิทยาศาสตร์
คนเดิม หรือนักวิทยาศาสตร์หลายคนที่ท�าการทดสอบในลักษณะเดียวกัน หากผลสรุปที่ได้จาก
การตรวจสอบนัน้ สามารถน�
1 ามาประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง ผลนัน้ ก็จะถูกน�าไปตัง้ เป็นทฤษฎี (theory)
เช่น ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ เป็นต้น และหากผลที่ได้เป็นความจริงเสมอ
ก็อาจน�าไปตั้งเป็นกฎ (law) เช่น กฎของเมนเดล กฏของบอยล์ เป็นต้น
การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตก่อให้เกิดความรู้ทางชีววิทยา ซึ่งจะต้องผ่านกระบวนการสังเกต
การทดลอง และการบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ ดังนั้น ชีววิทยาจึงประกอบด้วยส่วนที่ส�าคัญ
2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นความรู้ (knowledge) และส่วนที่เป็นกระบวนการ (process)
B iology
Focus ทฤษฎีและกฎ
ทฤษฎี (theory) คือ สมมติฐานทีไ่ ด้ตรวจสอบและทดลองหลายครัง้ จนสามารถอธิบายข้อเท็จจริง
อื่นที่คล้ายกันได้ ซึ่งทฤษฎีอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ หากได้รับข้อมูลหรือข้อเท็จจริงใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น
กฎ (law) คือ ความจริงพื้นฐานที่สามารถทดสอบได้ และได้ผลเหมือนเดิมทุกครั้งโดย
ไม่มีข้อโต้แย้ง

22

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ทฤษฎีเซลล (cell theory) ตั้งโดยเทโอดอร ชวันน (Theodor Schwann) สมมติฐานทางวิทยาศาสตรจะเปลี่ยนเปนทฤษฎีไดเมื่อใด
และมัตทิอัส ชไลเดน (Matthias Schleiden) โดยมีใจความสําคัญวา “สิ่งมีชีวิต 1. มีเครื่องมือพิสูจน
ทั้งหลายประกอบดวยเซลล และเซลลคือหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ” 2. เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป
ซึ่งทฤษฎีเซลลในปจจุบันครอบคลุมใจความสําคัญ 3 ประการ ดังนี้ 3. ประยุกตใชไดกวางขวาง
1. สิ่งมีชีวิตตางๆ อาจมีเซลลเดียวหรือมีหลายเซลล โดยภายในเซลลมี 4. ทดสอบแลวเปนจริงทุกครั้ง
สารพันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถ 5. ผานการตรวจสอบหลายครั้ง
ดํารงชีวิตอยูได (วิเคราะหคําตอบ สมมติฐานที่ผานการตรวจสอบแลวหลายครั้ง
2. เซลลเปนหนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ที่มีการจัดระบบการ ซึ่ ง อาจเป น การทดสอบโดยนั ก วิ ท ยาศาสตร ค นเดิ ม หรื อ
ทํางานภายในเซลลและโครงสรางของเซลล นักวิทยาศาสตรหลายคน หากผลสรุปที่ไดจากการตรวจสอบ
3. เซลลตา งๆ มีกาํ เนิดมาจากเซลลเริม่ แรกโดยการแบงเซลลของเซลลเดิม สามารถนํามาประยุกตใชไดอยางกวางขวาง ผลนั้นจะถูกนําไป
ตั้งเปนทฤษฎี ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร
• การจัดกระท�าและสื่อความหมาย
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามทาย
การกําหนดตัวแปร วิเคราะหขอมูล และ
สรุปผลการทดลอง
ข้อมูล กิจกรรมในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1
• การก�าหนดและควบคุมตัวแปร
• การตีความหมายและสรุปข้อมูล 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการ
จิตวิทยำศำสตร
• ความสนใจใฝรู้
ศึกษาชีววิทยา โดยควรไดขอสรุป ดังนี้
ให้นักเรียนอำนสถำนกำรณที่ก�ำหนดให้ • ความมุ่งมั่น “การศึกษาชีววิทยาประกอบดวย 2 สวน คือ
สวนที่เปนความรู และสวนที่เปนกระบวนการ
นักเรียนกลุ่มหนึ่งศึกษาการเจริญเติบโตของต้นไม้ภายใต้แสงสีที่แตกต่างกัน โดยวางแผนการทดลองว่า
จะใช้พืชชนิดเดียวกัน มีขนาดใกล้เคียงกัน และมีอายุเท่ากัน มาปลูกในดินชนิดเดียวกัน ปริมาณดินเท่ากัน คนหาความรู ”
และใส่กระถางขนาดเดียวกัน จ�านวน 5 กระถาง แล้วน�าแต่ละกระถางไปไว้ในห้องที่มีขนาดเท่ากัน แต่ให้
แสงสว่างที่มีสีต่างกัน คือ แสงสีแดง แสงสีเหลือง แสงสีน�้าเงิน แสงสีขาว และแสงสีเขียว โดยให้แสงสว่าง
วันละ 8 ชั่วโมง และให้น�้าในปริมาณเท่า ๆ กัน เมื่อผ่านไปทุก ๆ 7 วัน จึงวัดขนาดและความสูงของล�าต้นจน
ครบ 35 วัน

กระถางที่ 1 กระถางที่ 2 กระถางที่ 3 กระถางที่ 4 กระถางที่ 5


ภาพที่ 1.29
ตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง
ขนำดล�ำต้น/สวนสูง (เซนติเมตร)
กำรทดลอง
7 วัน 14 วัน 21 วัน 28 วัน 35 วัน
กระถางที่ 1 ได้รับแสงสีแดง 0.2 / 1.1 0.3 / 1.3 0.5 / 1.8 0.8 / 2.9 1.0 / 3.7
กระถางที่ 2 ได้รับแสงสีเหลือง 0.1 / 0.5 0.12 / 0.8 0.2 / 1.2 0.22 / 1.7 0.3 / 2.3
กระถางที่ 3 ได้รับแสงสีน�้าเงิน 0.2 / 1.0 0.28 / 1.2 0.4 / 1.5 0.6 / 2.5 0.8 / 2.7
กระถางที่ 4 ได้รับแสงสีขาว 0.2 / 0.9 0.26 / 1.1 0.34 / 1.4 0.45 / 1.9 0.6 / 2.5
กระถางที่ 5 ได้รับแสงสีเขียว 0.1 / 0.6 0.13 / 0.9 0.22 / 1.3 0.3 / 1.8 0.5 / 2.4

ธรรมชาติ 23
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


ในกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร หากผลการทดลองที่ ไ ด ครูควรชี้แนะวา หากผลการทดลองไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว
จากการตรวจสอบสมมติฐาน ไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว นักเรียนควรพิจารณาหาขอผิดพลาดแลวดําเนินการทดลองซํ้า ถาทดลองซํ้า
จะตองทําอยางไร หลายครั้งแลวผลการทดลองยังไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวอีก ควรตั้ง
1. สังเกตใหม สมมติฐานใหม และดําเนินการตรวจสอบสมมติฐานอีกครั้ง
2. ตั้งปญหาใหม
3. ตั้งสมมติฐานใหม
4. สรุปผลการทดลองใหม
5. ออกแบบการทดลองใหม
(วิเคราะหคําตอบ หากผลการทดลองไมสอดคลองกับสมมติฐาน
ทีต่ งั้ ไว นักเรียนควรพิจารณาขอผิดพลาดแลวดําเนินการทดลองซํา้
ถาทดลองซํ้าหลายครั้งแลวผลการทดลองยังคงไมสอดคลองกับ
สมมติฐานที่ตั้งไวอีก ควรตั้งสมมติฐานใหม และดําเนินการตรวจ
สอบสมมติฐานอีกครั้ง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครูจูงใจใหนักเรียนแตละกลุมดําเนินการตาม ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
?
ขั้ น ตอนที่ นั ก วิ ท ยาศาสตร ใ ช ใ นการศึ ก ษา
1. ในการทดลองนี้ สิ่งใดเป็นตัวแปรควบคุม สิ่งใดเป็นตัวแปรต้น และสิ่งใดเป็นตัวแปรตาม
สิ่งตางๆ นับตั้งแตการกําหนดปญหา การตั้ง
2. แสงสีใดมีผลท�าให้พืชเจริญเติบโตได้ดีที่สุด และได้น้อยที่สุดตามล�าดับ
สมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน การเก็บ 3. ให้นักเรียนแสดงผลการทดลองเป็นแผนภูมิหรือกราฟการเจริญเติบโตของพืชเมื่อได้รับแสงสีต่าง ๆ
รวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล และการ
สรุปผล
อภิปรายผลกิจกรรม
2. ครู ม อบหมายการบ า นให นั ก เรี ย นทํ า Unit
Question 1 ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 จากกิจกรรม นักเรียนจะได้ใช้ทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะการจัดท�าและ
หรือทําแบบฝกหัดในแบบฝกหัดชีววิทยา การสื่อความหมายของข้อมูล ทักษะการก�าหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการตีความหมายและสรุปข้อมูล
ซึ่งทักษะเหล่านี้เป็นทักษะพื้นฐานส�าคัญต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์

Biology
Focus คุณภาพของแสงกับการเจริญเติบโตของพืช
นอกจากแสงจะมีผลโดยตรงต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ว แสงยังมีอิทธิพลต่อ
ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ในการเจริญเติบโตของพืชด้วย เช่น การงอกของเมล็ด การพักตัวของเมล็ด
การออกดอก เป็นต้น ซึ่งสมบัติของแสงที่มีผลต่อพืช ได้แก่ ความเข้มแสง และคุณภาพของแสง
คุณภาพของแสง (light quality) หรือความยาวของคลืน่ แสง (wavelength) แต่ละช่วงมีผลต่อพืช
แตกต่างกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม 1. คลื่นแสงที่มองไม่เห็น
1. ตัวแปรควบคุม ไดแก ชนิด ขนาด และอายุของพืช - แสงเหนือม่วง (< 390 nm) : ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช
ชนิดและปริมาณของดิน ขนาดของกระถาง - แสงอินฟราเรด (> 810 nm) : ท�าให้ปล้องของพืชยืดยาวออก
ขนาดของหอง ระยะเวลาที่พืชไดรับแสงสวาง 2. คลื่นแสงที่มองเห็น
ปริมาณนํ้าที่พืชไดรับ - แสงสีม่วง (390-410 nm) และแสงสีน�้าเงิน (426-492 nm) : เกี่ยวข้องกับการตอบสนอง
ของพืชต่อแสง (phototropism) เช่น ดอกไม้บางชนิดหันเข้าหาแสง การโค้งงอเข้าหาแสง
ตัวแปรตน คือ แสงสวางที่มีสีตางกัน ไดแก - แสงสีเขียว (493-535 nm) : ระงับการเจริญเติบโตของพืช
แสงสีแดง แสงสีเหลือง แสงสีนาํ้ เงิน แสงสีขาว - แสงสีเหลือง (536-586 nm) และแสงสีส้ม (587-647 nm) : ส่งเสริมการงอกของเมล็ด
และแสงสีเขียว - แสงสีแดง (647-760 nm) : ส่งเสริมการงอกหรือยับยั้งการงอกของเมล็ดบางชนิด
ตัวแปรตาม คือ ขนาดและความสูงของลําตน และมีความส�าคัญต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
2. แสงสีแดงใหพชื เจริญเติบโตไดดที สี่ ดุ สวนแสง - แสงสีไกลแดง (761-810 nm) : ยับยั้งการงอกของเมล็ด
สีเหลืองใหพืชเจริญเติบโตไดนอยที่สุด 24
3. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใน
ดุลยพินิจของครูผูสอน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับการศึกษาชีววิทยา วาการศึกษาชีววิทยาประกอบ นักวิทยาศาสตรจะสรุปผลการทดลองไดอยางมีความเชือ่ มัน่ เมือ่ ใด
ดวย 2 สวน คือ สวนที่เปนความรู และสวนที่เปนกระบวนการคนหาความรู (วิเคราะหคําตอบ
ซึ่งไดแก การกําหนดปญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน - กําหนดปญหาและตั้งสมมติฐานที่ดี
การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล และการสรุปผล - ออกแบบการทดลองที่มีการควบคุมตัวแปรตางๆ อยาง
ความรูที่ไดจากกระบวนการตรวจสอบสมมติฐาน ตองผานการตรวจสอบ รัดกุมมากที่สุด
จากนักวิทยาศาสตรหลายๆ ทาน จนกระทั่งไดขอสรุปที่เปนหลักการเดียวกัน - ผลการทดลองสอดคลองตามทฤษฎีที่มีอยูเดิม
ความรูนั้นๆ จึงสามารถนําไปตั้งเปนกฎและทฤษฎี เชน กฎของเมนเดล - รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ มาเปรียบเทียบกับผลการ
ทฤษฎีเซลล เปนตน ทดลองไดถูกตองตรงกัน)

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
Summary ตรวจสอบผล
1. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
ธรรมชาติของสิง่ มีชวี ติ โดยพิจารณาขอความที่กําหนดใหในหนังสือ
เรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1
สิ่งมีชีวิตคืออะไร การศึกษาชีววิทยา
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอ
• มีการสืบพันธุ์
1 ผลงานหนาชั้นเรียน
• ต้องการสารอาหารและพลังงาน การกําหนดปญหา
• มีการจัดระบบ 3. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด
• มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 การตั้งสมมติฐาน
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
• มีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
• มีการปรับตัวทางวิวัฒนาการ 3 การตรวจสอบสมมติฐาน
• มีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และมีขนาดจ�ากัด
4 การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล

5
การสรุปผล

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบควำมเข้ำใจ โดยพิจำรณำข้อควำมวำถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หำกพิจำรณำข้อควำมไมถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหำตำมหัวข้อที่ก�ำหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. การสืบพันธุ์และความต้องการสารอาหาร เป็นลักษณะหนึ่งที่ใช้ระบุว่า 1.
สิ่งต่าง ๆ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
2. ชีววิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น 2.
3. การค้นคว้าวิจัยยารักษาโรคต่าง ๆ เป็นการใช้ความรู้ทางชีววิทยาเพื่อ 3.
ุด

ประโยชน์ต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์
สม
ใน
ลง

4. การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตของพืชหรือสัตว์เพื่อการเกษตรและ 4.
ทึ ก
บั น

อุตสาหกรรม ไม่ผิดหลักชีวจริยธรรม แต่หากใช้เพื่อการทดลองถือว่า


ผิดหลักชีวจริยธรรม
5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการแสวงหาความรู้อย่างมีกระบวนการ 5.
เป็นแบบแผนและมีขั้นตอนที่สามารถปฏิบัติตามได้
แนวตอบ Self Check
ธรรมชาติ 25
ของสิ่งมีชีวิต 1. ถูก 2. ผิด 3. ถูก
4. ผิด 5. ถูก

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


วิธีการทางวิทยาศาสตรหมายถึงขอใด ครูวดั และประเมินผลความเขาใจในเนือ้ หา เรือ่ ง การศึกษาชีววิทยา ไดจาก
1. การรวบรวมความรูในศาสตรทุกสาขาวิชา การประเมินการปฏิบัติการในการทํากิจกรรม เรื่อง การกําหนดปญหาและ
2. การทํางานที่เปนรูปแบบและมีลําดับขั้นตอน ตัง้ สมมติฐาน และกิจกรรม เรือ่ ง การกําหนดตัวแปร วิเคราะหขอ มูลและสรุปผล
3. การทดสอบสิ่งตางๆ ที่เกี่ยวของกับสิ่งที่เปนจริง การทดลอง และประเมินการนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน โดยศึกษาเกณฑการ
4. การรวบรวมขอมูลที่เปนรูปธรรมแลวนํามาวิเคราะหและ วัดและประเมินที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1
รายงาน แบบประเมินการปฏิบัติการ
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

5. การนําความคิดยอยๆ มาสรุปรวมเปนหลักการแลวทดสอบ
ระดับคะแนน คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ประเด็นที่ประเมิน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 4 3 2 1 ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน 1. การปฏิบัติการ ท า ก า ร ท ด ล อ ง ต า ม ท า ก า ร ท ด ล อ ง ต า ม ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ระดับคะแนน
ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้ า ง ใ น ก า ร ท า ก า ร อย่างมากในการทาการ ลาดับที่ รายการประเมิน
ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง แต่ อาจ ทด ล อง แล ะ กา ร ใช้ ทด ล อง แล ะ ก า ร ใช้
3 2 1
ระดับคะแนน ได้อย่างถูกต้อง 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน   
ลาดับที่ รายการประเมิน ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์

หลักการนั้น
4 3 2 1 2 ความถูกต้องของเนื้อหา   
1 การปฏิบัติการทดลอง 2. ความ มี ค ว า ม ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว มี ค ว า ม ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ขาดความคล่ อ งแคล่ ว ท าการทดลองเสร็ จ ไม่
คล่องแคล่ว ในขณะท าการทดลอง ในขณะท าการทดลอง ทั น เ ว ล า แ ล ะ ท า
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   
ในขณะท าการทดลอง
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึ ง ท าการทดลองเสร็ จ อุปกรณ์เสียหาย 4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
โ ด ย ไ ม่ ต้ องไ ด้ รั บ ค า
3 การนาเสนอ ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา 5 วิธีการนาเสนอผลงาน   
ชี้ แ น ะ แ ล ะ ท า ก า ร
รวม เสร็จทันเวลา รวม
ทดลองเสร็จทันเวลา

(วิเคราะหคําตอบ วิธีการทางวิทยาศาสตร (scientific method)


3. การบันทึก สรุป บัน ทึ ก และสรุ ป ผลการ บัน ทึ ก และสรุ ป ผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ ถู ก ต้ อ ง แต่ บั น ทึ ก ส รุ ป แ ล ะ อย่างมากในการบันทึก
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การน าเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุ ป และน าเสนอผล
................../................./..................
................/................/................ เป็นขั้นตอนชัดเจน ท ด ล อ ง ยั ง ไ ม่ เ ป็ น การทดลอง
ขั้นตอน

คือ วิธีการทํางานของนักวิทยาศาสตรที่เปนรูปแบบและมีระบบ เกณฑ์การให้คะแนน


ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่
ให้
ให้
3 คะแนน
2 คะแนน

ขั้นตอน ซึ่งมีพัฒนาการสืบทอดตอกันมาเปนลําดับจนไดรูปแบบ
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน

ดังเชนปจจุบัน ดังนั้น ตอบขอ 2.) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน
14-15
ระดับคุณภาพ
ดีมาก
11-12 ดีมาก 11-13 ดี
9-10 ดี 8-10 พอใช้
6-8 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question


1. ตามหลักการทางวิทยาศาสตร หากจะระบุวา
สิง่ ใดเปนสิง่ มีชวี ติ สามารถพิจารณาจากลักษณะ
U nit
คําชี้แจง :
Question 1
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� ำ ถำมต อ ไปนี้
ตาง ๆ คือ สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ ตองการสาร
อาหารและพลังงาน มีการเจริญเติบโต มีอายุ 1. ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ หากจะระบุวา่ สิง่ ใดสิง่ หนึง่ เป็นสิง่ มีชวี ติ หรือไม่นนั้ พิจารณาได้จาก
ขัยและขนาดจํากัด มีการตอบสนองตอสิ่งเรา ลักษณะใดบ้าง
มีการรักษาดุลยภาพของรางกาย มีการปรับตัว 2. ไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นไวรัสคอมพิวเตอร์ชนิดใหม่ และสามารถเพิ่ม
ทางวิวัฒนาการ และมีการจัดระบบ จ�านวนได้อย่างรวดเร็ว นักเรียนคิดว่าไวรัสคอมพิวเตอร์จัดเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ อย่างไร
2. ไวรัสคอมพิวเตอรสามารถสรางความเสียหายให 3. พิจารณาตารางแสดงปริมาณอาหารที่ลูกไก่กินในแต่ละวัน
ระบบเครือ่ งคอมพิวเตอร โดยไวรัสคอมพิวเตอร อำยุของลูกไก (วัน) น�้ำหนักของอำหำรที่ลูกไกกิน (กรัม)
ไมมีการเจริญเติบโต ไมมีการรักษาดุลยภาพ
1 1.2
ของรางกาย และไมมกี ารจัดระบบ จึงไมจดั เปน
สิ่งมีชีวิต 2 2.8
3. 1) กราฟแสดงปริมาณอาหารทีล่ กู ไกกนิ ในเวลา 3 5.2
5 วัน 4 9.7
20 5 14.3
นํา้ หนักของอาหารทีล่ กู ไกกนิ (กรัม)

15
10 1) ให้นักเรียนเขียนกราฟแสดงปริมาณอาหารที่ลูกไก่กินในเวลา 5 วัน
5
2) นักเรียนคิดว่าในวันที่ 6 ปริมาณอาหารทีล่ กู ไก่กนิ น่าจะมีนา�้ หนักประมาณเท่าใด เพราะเหตุใด
จึงคิดเช่นนั้น
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 3) ให้นักเรียนอธิบายว่า เพราะเหตุใดลูกไก่จึงกินอาหารในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นทุก ๆ วัน และ
อายุของลูกไก (กรัม)
หากลูกไก่เจริญเติบโตจนพร้อมที่จะสืบพันธุ์แล้ว จะกินอาหารในปริมาณมากขึ้นอีกเรื่อย ๆ
2) ในวันที่ 6 ปริมาณอาหารที่ลูกไกกินควรจะ หรือไม่ อย่างไร
มีนํ้าหนักประมาณ 20 กรัม เพราะลูกไก 4. ให้นักเรียนยกตัวอย่างแขนงวิชาย่อยของชีววิทยา พร้อมระบุว่าแต่ละแขนงวิชาศึกษาเกี่ยวกับ
ต อ งการกิ น อาหารเพิ่ ม มากขึ้ น เพื่ อ ทํ า ให อะไร
รางกายเจริญเติบโต
5. นักเรียนคิดว่าแขนงวิชาย่อยใดของชีววิทยาน่าสนใจ เพราะเหตุใดจึงน่าสนใจ และคิดว่าการศึกษา
3) ลูกไกจะกินอาหารเพิม่ มากขึน้ ทุกวัน เนือ่ งจาก
ทางด้านนั้นจะสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
อาหารจะถู ก นํ า ไปใช เ ป น แหล ง พลั ง งาน
ในกระบวนการเมแทบอลิซมึ และหากลูกไก 6. เพราะเหตุใดการศึกษาชีววิทยาจึงต้องตระหนักถึงชีวจริยธรรม
เจริญเติบโตจนพรอมที่จะสืบพันธุ รางกาย 7. ให้นักเรียนอธิบายความหมายของวิธีการทางวิทยาศาสตร์และสรุปออกมาในรูปของผังมโนทัศน์
จะมีการเจริญเติบโตในอัตราที่ลดลง ทําให
26
ตองการกินอาหารในปริมาณคงที่

4. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน ตัวอยางเชน
- พันธุศาสตร ศึกษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
- นิเวศวิทยา ศึกษาความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม
- กายวิภาคศาสตร ศึกษาโครงสรางของสิ่งมีชีวิต
- สรีรวิทยา ศึกษาการทํางานของอวัยวะ
- เซลลวิทยา ศึกษาเซลลของสิ่งมีชีวิต
- อนุกรมวิธาน ศึกษาการจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิต
- จุลชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับจุลินทรีย
5. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน ตัวอยางเชน พันธุศาสตร เนื่องจากพันธุศาสตรเปนการศึกษาเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
ซึ่งสามารถนําความรูที่ไดไปตอยอดพัฒนา ปรับปรุงหรือสรางสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ใหมีลักษณะตามที่ตองการโดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม เปนตน
6. การศึกษาทางชีววิทยาสวนใหญตองมีการทดลองกับสัตวทดลอง ซึ่งสัตวทดลองเปนสิ่งมีชีวิตเชนเดียวกับมนุษย ดังนั้น ผูที่ศึกษาจึงควรมีจริยธรรมในการ
ใชสัตวทดลอง โดยไมทําราย ไมทรมาน และควรปฏิบัติตอสัตวทดลองอยางเมตตาและมีคุณธรรม

T28
นํา สอน สรุป ประเมิน

7. วิธีการทางวิทยาศาสตร เปนวิธีการแสวงหา
ความรูทางวิทยาศาสตรอยางมีกระบวนการ
8. วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีความส�าคัญต่อการศึกษาชีววิทยาอย่างไร เป น แบบแผนและมี ขั้ น ตอนที่ ส ามารถปฏิ บั ติ
9. อเล็กซานเดอร์ เฟลมิง นักจุลชีววิทยา พบว่า “ถ้ามีราเพนิซลิ เลียมอยูใ่ นจานเพาะเลีย้ งแบคทีเรีย ตามได ซึ่ ง ถื อ ว า เป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ของ
จะไม่พบแบคทีเรียเจริญเติบโตในบริเวณนัน้ ๆ” ให้นกั เรียนตัง้ ปัญหาและสมมติฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับ นักวิทยาศาสตรในการศึกษาสิง่ ตางๆ โดยขัน้ ตอน
ข้อเท็จจริงดังกล่าวนี้ ของวิธีการทางวิทยาศาสตร หมีดังนี้
กําหนดปญหา ตั้งสมมติฐาน ตรวจสอบ
10. สมมติฐานที่ดีมีลักษณะอย่างไร
สมมติฐาน เก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล
11. ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมสัมพันธ์กันอย่างไร สรุปผล
12. หากนักเรียนท�าการทดลอง แล้วได้ผลการทดลองไม่ตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ นักเรียนจะ 8. วิธกี ารทางวิทยาศาสตรเปนกระบวนการสืบเสาะ
ด�าเนินการต่อไปอย่างไร เพราะเหตุใด หาความรู โดยมีวธิ กี ารทํางานทีเ่ ปนระบบขัน้ ตอน
13. นักเรียนคิดว่าบุคคลที่เป็นนักวิทยาศาสตร์จะมีลักษณะเด่นอย่างไรบ้าง ซึ่งถือวาเปนองคประกอบสําคัญที่ชวยทําให
การศึกษาคนควาเรื่องตางๆ ประสบผลสําเร็จ
14. นักเรียนกลุม่ หนึง่ ศึกษาเกีย่ วกับการงอกของเมล็ดพืช ด้วยการเพาะเมล็ดถัว่ เขียวในจานเพาะเชือ้ และเกิดความกาวหนาอยางรวดเร็ว
โดยใช้กระดาษทิชชูเป็นวัสดุรองพื้น ซึ่งแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุด ดังนี้
9. ปญหา : ทําไมบริเวณที่มีราเพนิซิลเลียมจึงไมมี
• ชุดที่ 1 ไม่รดน�้าตลอดการทดลอง
• ชุดที่ 2 รดน�้าทุกวัน แบคทีเรียเจริญเติบโตอยู
น�าชุดทดลองไปวางไว้ในสถานที่เดียวกันเป็นเวลา 3 วัน ซึ่งได้ผลการทดลอง ดังนี้ สมมติฐาน : ถาราเพนิซลิ เลียมสามารถสรางสาร
กำรทดลอง ผลกำรสังเกต ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียได ดังนั้น
บริเวณที่มีราเพนิซิลเลียมอยู แบคทีเรียจะไม
ชุดที่ 1 เมล็ดไม่งอก
สามารถเจริญเติบโตได
ชุดที่ 2 เมล็ดงอก
10. สมมติฐานทีด่ คี วรมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง
1) ปัญหาที่น�ามาสู่การทดลองนี้ คืออะไร สอดคลองกับความจริงในเรือ่ งทีก่ าํ ลังศึกษา และ
2) สมมติฐานของการทดลองนี้ คืออะไร มั ก จะแนะแนวทางการตรวจสอบสมมติ ฐ าน
3) ให้นักเรียนระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมจากการทดลองข้างต้น และออกแบบการตรวจสอบไวแลว
4) นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ ได้อย่างไร
5) หากไม่มีการทดลองในชุดที่ 1 นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด 11. ตัวแปรตน คือ ตัวแปรที่ผูทดลองกําหนดขึ้น
เพื่อทดสอบผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรนี้
15. หากต้องการตรวจสอบสมมติฐานที่ว่า “ไวรัสชนิดหนึ่งเป็นสาเหตุของการท�าให้เกิดโรคมะเร็ง ตัวแปรตาม คือ ผลทีเ่ กิดจากการทดลองโดย
ในหนูจริงหรือไม่” นักเรียนจะออกแบบการทดลองนี้อย่างไร
จะเปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรตน
ตัวแปรควบคุม คือ ปจจัยอื่นๆ นอกเหนือ
จากตัวแปรตนที่มีผลตอการทดลอง จึงตอง
ธรรมชาติ 27
ของสิ่งมีชีวิต ควบคุมใหเหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อ
ปองกันการเกิดความคลาดเคลื่อน

12. หากผลการทดลองที่ไดไมตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว จะตองเปลี่ยนสมมติฐานและทําการทดลองใหม


13. ลักษณะเดนของนักวิทยาศาสตร คือ เปนคนชางสังเกต รูจักคิดวิเคราะห มีความอยากรูอยากเห็น และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
14. 1) นํ้าเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเมล็ดพืชงอกใชหรือไม
2) ถานํ้าเปนปจจัยที่ทําใหเมล็ดพืชงอกได ดังนั้น เมล็ดถั่วเขียวที่รดนํ้าทุกวันจะสามารถงอกได
3) ตัวแปรตน คือ นํ้า ตัวแปรตาม คือ ความยาวของราก และตัวแปรควบคุม คือ ขนาดของเมล็ดถั่วเขียว อุณหภูมิ แสงสวาง ชนิดของกระดาษทิชชู
ที่ใชเปนวัสดุรองพื้น
4) นํ้าเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเมล็ดถั่วเขียวงอก
5) หากไมมีการทดลองในชุดที่ 1 จะไมสามารถสรุปผลการทดลองได เพราะการทดลองในชุดที่ 1 เปนตัวเปรียบเทียบของการทดลองนี้
15. ตัวแปรตน คือ ไวรัส ตัวแปรตาม คือ ชนิดของมะเร็ง และตัวแปรควบคุม คือ เพศ อายุ ขนาดของหนู และปริมาณไวรัสที่ฉีดเขาตัวหนู
การทําการทดลอง จะใชไวรัส 2 ชนิด เปรียบเทียบกัน โดยแบงการทดลองเปน 3 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 ฉีดไวรัสชนิดที่ 1 เขาไปในตัวหนู
ชุดที่ 2 ฉีดไวรัสชนิดที่ 2 เขาไปในตัวหนู
ชุดที่ 3 ไมมีการฉีดไวรัสทั้ง 2 ชนิด เขาไปในตัวหนู

T29
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติ แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
สารอนินทรีย์ ม.4 เล่ม 1 ของน�ำ้ ได้ (K) ความรู้ (5Es ก่อนเรียน - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. บอกความส�ำคัญของน�้ำ Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 ม.4 เล่ม 1
- PowerPoint ประกอบ
ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตได้ (K)
3. ยกตัวอย่างธาตุต่าง ๆ
Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง
ความสำ�คัญของสาร
- ทกั ษะการตีความ การท�ำงาน
หมายข้อมูลและ
ชั่วโมง
การสอน ที่มีความส�ำคัญต่ อนินทรีย์ต่อสิ่งมีชีวิต ลงข้อสรุป
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ร่างกายสิ่งมีชีวิตได้ (K) - ประเมินการปฏิบัติการ - ทักษะการวิเคราะห์
TWIG 4. สืบเสาะหาความรู้ - สังเกตพฤติกรรมการ
เกี่ยวกับความส�ำคัญ ทำ�งานรายบุคคล
ของสารอนินทรีย์ต่อ - สังเกตพฤติกรรมการ
สิ่งมีชีวิตได้ (P) ทำ�งานกลุ่ม
5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา - สังเกตพฤติกรรม
และสามารถท�ำงาน การนำ�เสนอ
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง - สังเกตความมีวินัย
สร้างสรรค์ (A) ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการทำ�งาน
แผนฯ ที่ 2 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้าง แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
สารอินทรีย์ ม.4 เล่ม 1 ความส�ำคัญ และชนิด ความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ของคาร์โบไฮเดรต Instructional คาร์โบไฮเดรต ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 ม.4 เล่ม 1 โปรตีน ลิพิด และ
- PowerPoint ประกอบ กรดนิวคลีอกิ ได้ (K)
Model) - ประเมินการปฏิบัติการ
- สังเกตพฤติกรรมการ
- ทกั ษะการตัง้
สมมติฐาน
การท�ำงาน
ชั่วโมง
การสอน 2. สืบค้นข้อมูลและ ทำ�งานรายบุคคล - ทักษะการทดลอง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น อภิปรายเกี่ยวกับความ - สังเกตพฤติกรรมการ - ทักษะการวิเคราะห์
TWIG ส�ำคัญของสารอินทรีย์ ทำ�งานกลุ่ม
ต่อสิ่งมีชีวิตได้ (P) - สังเกตความมีวินัย
3. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
และมีความรับผิดชอบ ในการทำ�งาน
(A)
แผนฯ ที่ 3 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายการเกิดปฏิกิริยา แบบสืบเสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ปฏิกิริยาเคมี ม.4 เล่ม 1 ดูดพลังงานและปฏิกริ ยิ า ความรู้ (5Es หลังเรียน - ทกั ษะการตัง้ - ใฝ่เรียนรู้
ในเซลล์ของ - แบบฝึกหัดชีววิทยา คายพลังงานได้ (K) Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด ค�ำถาม - มุ่งมั่นใน
สิ่งมีชีวิต ม.4 เล่ม 1 2. อธิบายการท�ำงานของ Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการตัง้ การท�ำงาน
- PowerPoint ประกอบ เอนไซม์ ตัวยังยั้ง ปัจจัยที่มีผลต่อการ สมมติฐาน
4 การสอน เอนไซม์ และปัจจัยที่มี ทำ�งานของเอนไซม์ - ทักษะการทดลอง
ชั่วโมง - ภาพยนตร์สารคดีสั้น ผลต่อการท�ำงานของ - ประเมินการปฏิบัติการ - ทักษะการวิเคราะห์
TWIG เอนไซม์ได้ (K) - สังเกตพฤติกรรมการ
3. ทดลองเพื่อศึกษาการ ทำ�งานบุคคล
ท�ำงานของเอนไซม์จาก - สังเกตพฤติกรรมการ
เนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได้ ทำ�งานกลุ่ม
(P) - สังเกตความมีวินัย
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
(A) ในการทำ�งาน

T30
Chapter Concept Overview
หนวยการเรียนรูที่ 2
1นํ้า
โครงสรางโมเลกุล ความสําคัญ
ไฮโดรเจน 2 อะตอม ออกซิเจน 1 อะตอม • ช่วยรักษาสมดุลอุณหภูมิภายในร่างกาย เนื่องจากน�้ามีความจุ
ความร้อนสูง และเก็บความร้อนได้ดี
H • เปนตัวท�าละลายที่ดี เนื่องจากโมเลกุลของน�้าสามารถสร้างพันธะ
ไฮโดรเจนกับสารต่าง ๆ ได้ดี และด้วยสมบัติที่แสดงทั้งประจุบวก
O และประจุลบในโมเลกุลเดียวกัน
• ช่วยล�าเลียงสารเคมีไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เนือ่ งจากโมเลกุล
H ของน�า้ สามารถทีจ่ ะยึดเหนีย่ วกับโมเลกุลของสารอืน่ ๆ ได้ดี
• มีส่วนร่วมในปฏิกิริยาเคมี มีบทบาทส�าคัญในปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
(hydrolysis) และช่วยให้กระบวนการเมแทบอลิซมึ เปนไปอย่างปกติ
H2O H + + OH - • ปองกันการเสียดสี หรือการกระทบกระเทือนของอวัยวะ

แรธาตุ

แคลเซียม
• เสริมสร้างกระดูกและฟัน ควบคุมการท�างานของหัวใจ การส่งกระแสประสาท
• พบมากในกุ้งแห้ง นม ไข่ กะป ผักคะน้า ขึ้นฉ่าย ใบยอ

โซเดียม
• ควบคุมสมดุลน�้าและกรด-เบส การส่งกระแสประสาท และการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ
• พบมากในเกลือแกง อาหารทะเล เนื้อสัตว์ นม

โพแทสเซียม
• ควบคุมสมดุลน�้าและกรด-เบส การส่งกระแสประสาท และการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ
• พบมากในกุ้งแห้ง นม ไข่ กะป ผักคะน้า ขึ้นฉ่าย ใบยอ

แมกนีเซียม
• กระตุ้นการท�างานของเอนไซม์ การส่งกระแสประสาท และการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ
• พบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง

ฟอสฟอรัส
• เปนส่วนประกอบของกระดูกและฟัน ควบคุมสมดุลน�้าและกรด-เบส
• พบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ เนย ถั่วเมล็ดแห้ง OH- H+

เหล็ก
• เปนองค์ประกอบของเฮโมโกลบิน ไมโอโกลบิน เอนไซม์บางชนิด
• พบมากในเครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่แดง หอย ผักขม ขึ้นฉ่าย

ไอโอดีน
• เปนส่วนประกอบของฮอร์โมนไทรอกซินที่ผลิตจากต่อมไทรอยด์
• พบมากในอาหารทะเล เกลือสมุทร น�้าปลา กะป

T31
คาร์ โบไฮเดรต

มอโนแซ็กคาไรด โอลิโกแซ็กคาไรด พอลิแซ็กคาไรด


• สูตรโมเลกุล CnH2nOn • เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ 2-10 โมเลกุล • เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ 11-1,000 โมเลกุล
• พบมากที่ สุ ดในธรรมชาติ คือ น�้าตาล เชื่อมต่อกัน
เฮกโซส (hexose) • หากประกอบไปด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2 เชื ่อมต่อกัน ท�าให้เปนพอลิเมอร์ของแข็งที่
ไม่ ละลายน�้า และไม่มีรสหวาน
- กลูโคส เปนผลึกสีขาว ละลายน�้าได้ดี มี โมเลกุล เรียกว่า ไดแซ็กคาไรด์ - แปง มีโครงสร้าง 2 แบบ คือ อะไมโลส
รสหวาน พบมากในน�า้ ผึง้ ข้าว ข้าวโพด - มอลโทส เกิดจากกลูโคส 2 โมเลกุลเชือ่ ม เกิดจากกลูโคสเชื่อมต่อกันเปนเส้นยาวที่
- กาแลกโทส ละลายน�า้ ได้ไม่ดี มีรสหวาน ต่อกัน ละลายน�า้ ได้ดี หวานน้อย พบมาก ไม่แตกแขนง โดยเชื่อมแบบ α (1 4)
น้อย มักรวมอยู่กับกลูโคส ในข้าวมอลต์ ข้าวโพด และอะไมโลเพกทิน ซึ่งเกิดจากกลูโคส
- ฟรักโทส เปนผลึกสีขาว ละลายน�้าได้ดี - แลกโทส เกิดจากกลูโคสเชื่อมต่อกับ เชื่อมต่อกันเปนเส้นยาว และมีการแตก
มีรสหวานจัด พบมากในผลไม้สุก กาแลกโทส เปนผงละเอียด ละลายน�้า แขนง โดยเชื่อมแบบ α (1 6)
ได้ไม่ดี หวานน้อย พบมาในน�้านม - เซลลู โลส เกิดจากกลูโคสเชื่อมต่อกันเปน
- ซู โ ครส เกิ ด จากกลู โ คสเชื่ อ มต่ อ กั บ เส้นยาวที่ไม่แตกแขนง แบบ β (1 2)
ฟรักโทส ผลึกใส ละลายน�้าได้ดี พบมาก - ไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสเชือ่ มต่อกันเปน
ในอ้อย ตาล มะพร้าว เส้นยาว และมีการแตกแขนงมาก
การทดสอบ

ีน�้าต
าล ีแปง
ไม่ม ไม่ม
มีน�้าตาลเล็กน้อย
มีน�้า มีแป
ตาลม ง
าก
อาหาร + อาหาร +
สารละลายเบเนดิกต์ สารละลายไอโอดีน

การทดสอบน�้าตาลมอโนแซ็กคาไรด์ การทดสอบแปง
โปรตีน โมเลกุลประกอบด้วยหน่วยย่อย เรียกว่า กรดอะมิโน ที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์
กรดอะมิโน : สารประกอบอินทรีย์ที่มี พันธะเพปไทด : พันธะที่เชื่อมต่อกรดอะมิโน โดยอาศัยการรวมตัวของหมู่คาร์บอกซิลกับ
หมู่อะมิโน (-NH2) และหมู่คาร์บอกซิล หมู่อะมิโน ซึ่งจะได้เพปไทด์ (peptide) และน�้า 1 โมเลกุล
(-COOH-) เปนองค์ประกอบ
ไกลซีน อะลานีน ซิสเทอีน
หมูอะมิโน หมูคารบอกซิล H H O H H O H H O
H H O H N C C O H H N C C O H H N C C O H
H H C H H C H
H N C C O H
H2O H H2O S
R
H
H H O H H O H H O
H N C C N C C N C C O H
H H C H H C H
H S
พันธะเพปไทด์ H
T32
ลิพิด
ลิพิดเชิงเดี่ยว ลิพิดเชิงซอน
• โมเลกุลประกอบไปด้วยหน่วยย่อย 2 ส่วน คือ กรดไขมัน (fatty • โมเลกุลลประกอบด้วยกรดไขมัน
acid) และกลีเซอรอล (glycerol) กลีเซอรอล และอาจมีสารอื่น ๆ
• ปฏิกิริยาการรวมตัวกันระหว่างกรดไขมันกับกลีเซอรอล เรียกว่า เชื่อมอยู่ด้วย
ดีไฮเดรชัน (dehydration) หรือปฏิกริ ยิ าควบแน่น (condensation) • ตัวอย่างเช่น
ฟอสโฟลิพิด (phospholipid)
O O
ไกลโคลิพิด (glycolipid)
HO C R H2C O C R ลิโพโปรตีน (lipoprotein)
H2C OH O O
HC OH + HO C R HC O C R + 3H2O ลิพิดอนุพันธ
H2C OH O O • โครงสร้างต่างจากลิพิดทั่วไป แต่
HO C R H2C O C R สมบัติคล้ายลิพิด
กลีเซอรอล กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ น�้า • ตั ว อย่ า งเช่ น สเตรอยด์ เช่ น
คอเลสเตอรอล (cholesterol)
โพรเจสเทอโรน (progesterone)
เทสโทสเทอโรน (testosterone)

กรดนิวคลีอิก วิตามิน

สิ่งเปรียบเทียบ DNA RNA • ละลายในน�้า ได้แก่ วิตามิน C และ B


• ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน A D E
โครงสร้างโมเลกุล สายพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย สายพอลินิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว และ K
พันเปนเกลียว • มีหน้าทีค่ วบคุมการท�างานของระบบต่าง ๆ
ชนิดของเบส A C G T A C G U ในร่างกายให้อยู่ในสภาวะปกติ
ชนิดของน�้าตาล ดีออกซีไรโบส ไรโบส • ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์วติ ามินได้ จึง
จ�าเปนต้องได้รับจากอาหาร
ขนาดโมเลกุล ใหญ่ เล็ก
บริเวณที่พบ ในนิวเคลียส (อาจพบในไมโทคอนเดรีย) ในนิวเคลียสและไซโทพลาซึม
หน้าที่ เปนสารพันธุกรรม เปนสารพันธุกรรมและสังเคราะห์
โปรตีน

ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี
ถ้าพลังงานพันธะของสารตัง้ ต้นสูงกว่าพลังงานพันธะของผลิตภัณฑ์ ถ้ า พลั ง งานพั น ธะของสารตั้ ง ต้ น ต�่ า กว่ า พลั ง งานพั น ธะของ
เมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ าจะมีพลังงานส่วนเกินถูกปลดปล่อยออกมา ซึง่ เรียก ผลิตภัณฑ์ จ�าเปนต้องใช้พลังงานภายนอกเข้าไปในปฏิกิริยา ซึ่ง
ว่า ปฏิกิริยาคายพลังงาน (exergonic reaction) เรียกว่า ปฏิกิริยาดูดพลังงาน (endergonic reaction)

เอนไซม พลังงานกระตุ้น
เมื่อไม่มีเอนไซม์
ระดับพลังงาน

ท�าหน้าที่เปนตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) โดยลดพลังงานก่อกัมมันต์


พลังงานกระตุ้น
(activation energy; Ea) หรือพลังงานกระตุ้นในการเกิดปฏิกิริยา เมื่อมีเอนไซม์
และท�าให้อนุภาคของสารตั้งต้นชนกันในทิศทางที่เหมาะสม เปนผล สารตั้งต้น
ให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น ซึ่งเอนไซม์จะมีต�าแหน่งที่เข้ากระตุ้นการเกิด
ปฏิกิริยา เรียกว่า บริเวณเร่ง (active site) ผลิตภัณฑ์
การด�าเนินของปฏิกิริยา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีเอนไซม์ (เส้นสีน�้าเงิน) และเมื่อไม่มีเอนไซม์ (เส้นสีแดง)

T33
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูแจงผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ และ
เคมีทเี่ ปนพืน้ ฐาน
2
หน่วยการเรียนรูที่
ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อวัด
ความรูเดิมของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรม
2. ครูอภิปรายเกีย่ วกับหนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ
ที่นักเรียนไดศึกษามา โดยกลาวถึงโครงสราง
ของสิง่ มีชวี ติ
และหนาที่ของเซลลแตละชนิด แลวเชื่อมโยง ผลการเรียนรู แมวา สิง่ มีชวี ต
ิ แต่ละชนิดจะมีรปู ร่างลักษณะต่างกัน
แต่นกั เรียน
เขาสูเนื้อหาวาภายในเซลลของสิ่งมีชีวิตนั้น 3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกีย่ วกับสมบัติ ทราบหรือไม่ว่าร่างกายของสิ่งมีชีวิตนั้นล้วนประกอบไปด้วย
ของน�า้ และบอกความส�าคัญของน�า้ หน่วยพื้นฐานที่มีขนาดเล็กที่สุดเรียกว่าเซลล์ โดยภายในเซลล์
ประกอบดวยสารเคมีหลายชนิด ทีม่ ตี อ่ สิง่ มีชวี ติ และยกตัวอย่างธาตุ
ต่าง ๆ ที่มีความส�าคัญต่อร่างกาย จะประกอบด้วยโมเลกุลของสารเคมีหลายชนิดซึง่ สารเคมีตา่ ง ๆ นี้
3. ครู ก ระตุ  น ความสนใจของนั ก เรี ย น โดยตั้ ง สิ่งมีชีวิตได้ ล้วนมีผลต่อการท�างานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสิ่งมีชีวิต
คําถามใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ซึ่งอาจใช 4. อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต
ระบุกลุม่ ของคาร์โบไฮเดรต รวมทัง้
คําถามจากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 ความส�าคัญของคาร์โบไฮเดรตที่มี
หรือคําถามอื่นๆ ต่อสิ่งมีชีวิตได้
5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของ
โปรตีน และความส�าคัญของโปรตีน
ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตได้
6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของ
ลิพิด และความส�าคัญของลิพิดที่มี
ต่อสิ่งมีชีวิตได้
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก
ระบุ ก ลุ ่ ม ของกรดนิ ว คลิ อิ ก และ
ความส�าคัญของกรดนิวคลิอิกที่มี
ต่อสิ่งมีชีวิตได้
8. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปฏิกริ ยิ าเคมี
ที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตได้
9. อธิบายการท�างานของเอนไซม์ ใน
การเร่งปฏิกริ ยิ าเคมีในสิง่ มีชวี ติ และ
ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการท�างานของ
เอนไซม์ ได้

Ëҧ¡Ò¢ͧÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ
แนวตอบ Big Question ¡ÑºÊÒÃà¤ÁÕ
à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹Í‹ҧäÃ
รางกายสิง่ มีชวี ติ ประกอบไปดวยหนวยพืน้ ฐาน
ที่เรียกวา เซลล โดยภายในเซลลประกอบไปดวย
โมเลกุลของสารเคมีหลายชนิด เชน นํ้า แรธาตุ
คารโบไฮเดรต โปรตีน เปนตน ซึ่งสารเคมีตางๆ
เหลานี้ ลวนมีผลตอการทํางานของระบบตางๆ ใน
รางกายสิ่งมีชีวิต

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนเรื่อง เคมีที่เปนพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ครูอาจจะนําเขาสู
บทเรียนโดยการรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา โครงสรางของพืชและสัตว
ประกอบดวยอวัยวะที่ทํางานรวมกันอยางเปนระบบ แตละอวัยวะประกอบดวย
เนื้อเยื่อตางๆ ที่ทํางานรวมกัน และเนื้อเยื่อประกอบดวยหนวยยอย คือ เซลล
ซึ่งเซลลยังประกอบดวยโมเลกุลและอะตอม

T34
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ในรางกายสิ่งมีชีวิตจะพบ 1. สารเคมีทเี่ ปนพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ 4. ครู ค วรชี้ แ นะให นั ก เรี ย นทราบว า เนื้ อ หาใน
หนวยการเรียนรูนี้เปนการบูรณาการกับสาขา
สารชนิดใดมากที่สุด ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั้นจะประกอบไปด้วยโมเลกุล 1
ของสารเคมีหลายชนิด ทั้งที่เป็นสารอนินทรีย์ และสารอินทรีย์ วิ ช าเคมี จากนั้ น ให นั ก เรี ย นพิ จ ารณาภาพ
ซึง่ โมเลกุลของสารเคมีเหล่านี้ จะเกิดจากอะตอมของธาตุทเี่ ป็นพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ได้แก่ คาร์บอน แผนภูมแิ สดงปริมาณสารเคมีในรางกายมนุษย
ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4-6 เลม 1
นักวิทยาศาสตร์มคี วามสนใจทีจ่ ะศึกษาว่าร่างกายสิง่ มีชวี ติ 5. ครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปราย
ประกอบด้วยสารใดบ้าง มากน้อยเพียงใด ซึง่ จากการศึกษาพบว่า ï• รางกายของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบดวย
ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยธาตุหลายชนิดในปริมาณแตกต่างกัน สารเคมีเชนเดียวกันหรือไม อยางไร
โดยธาตุที่พบมากที่สุดในร่างกายมนุษย์ ได้แก่ ธาตุออกซิเจน (แนวตอบ รางกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบ
มีประมาณร้อยละ 65 รองมา คือ ธาตุคาร์บอนประมาณร้อยละ ไปด ว ยสารเคมี เ ช น เดี ย วกั น แต อ าจมี
18.5 ธาตุไฮโดรเจนมีประมาณร้อยละ 10 และธาตุไนโตรเจน ปริมาณสารแตละชนิดแตกตางกัน)
มีประมาณร้อยละ 3 ตามล�าดับ นอกจากนี้อาจพบธาตุที่มี ï• สารเคมี ที่ เ ป น องค ป ระกอบของร า งกาย
ความจ�าเป็นในสิ่งมีชีวิต แต่มีปริมาณน้อย ได้แก่ ฟลูออรีน สิ่งมีชีวิต ไดแกสารชนิดใดบาง
ไอโอดีน สังกะสี แมงกานีส แมกนีเซียม ก�ามะถัน และฟอสฟอรัส (แนวตอบ สารอนินทรีย และสารอินทรีย)
อะตอมของธาตุ ที่ พ บในร่ า งกายมนุ ษ ย์ จ ะรวมตั ว กั น
เป็นสารเคมีต่าง ๆ โดยสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบในร่างกาย
ของมนุษย์ที่พบมากที่สุด คือ น�้า ซึ่งมีประมาณร้อยละ 65
ส่วนที่รองลงมา คือ โปรตีนร้อยละ 18 ไขมันร้อยละ 10 ภาพที่ 2.1 ร่างกายของสิ่งมีชีวิต
ประกอบด้วยสารเคมีพื้นฐานเช่น
คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 5 และส่วนที่เหลือจะเป็นสารอินทรีย์และ เดี ย วกั น แต่ อ าจมี ป ริ ม าณสาร
สารอนินทรีย์อื่น ๆ แต่ละชนิดแตกต่างกัน

สารอินทรีย์อื่น ๆ 1% สารอนินทรีย์อื่น ๆ 1%
คาร์โบไฮเดรต 5%

ไขมัน 10%
น�้า 65%
โปรตีน 18%

ภาพที่ 2.2 แผนภูมิแสดงปริมาณสารเคมีในร่างกายมนุษย์

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 29
ของสิ่งมีชีวิต แนวตอบ Prior Knowledge
นํ้า ซึ่งจัดเปนสารอนินทรีย

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เซลลของเห็ดราหรือสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ประกอบดวยอะตอม 1 โมเลกุล คือ อนุภาคที่เกิดจากการรวมตัวกันของอะตอมตั้งแต 2 อะตอม
และโมเลกุลของสารเชนเดียวกับเซลลของพืชและสัตวหรือไม ขึ้นไปอยางมีระบบ เพื่อใหมีเสถียรภาพมากกวาอะตอมที่อยูตามลําพัง
(วิเคราะหคาํ ตอบ เชนเดียวกัน ซึง่ ครูควรใหนกั เรียนอธิบายเหตุผล
โมเลกุลของธาตุ คือ โมเลกุลที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน เชน
โดยใชขอมูลทางวิชาการสนับสนุน และชี้แจงวาเพื่อตรวจสอบ
โมเลกุลของแกสออกซิเจน (O2) ประกอบดวยอะตอมของธาตุออกซิเจน 2
ความคิดของนักเรียนวาถูกตองหรือไม นักเรียนจะไดศึกษาตอไป
อะตอม
ในหนวยการเรียนรูนี้)

โมเลกุลของสารประกอบ คือ โมเลกุลที่ประกอบดวยอะตอมตางชนิดกัน


เชน โมเลกุลของแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) ประกอบดวยอะตอมของธาตุ
คารบอน 1 อะตอม และอะตอมของธาตุออกซิเจน 2 อะตอม

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนกั เรียนจับคูก นั ศึกษาขอมูลเกีย่ วกับสมบัติ อะตอมของธาตุต่าง ๆ จะรวมตัวกันเป็นสารประกอบที่มีองค์ประกอบและสมบัติแตกต่างกัน
ของสารอนินทรียและสารอินทรียจากหนังสือ นักวิทยาศาสตร์จึงจ�าแนกสารออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารอนินทรีย์ และสารอินทรีย์
เรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 จากนั้นใหนักเรียน
ตารางที่ 2.1 : ควำมแตกต่ำงระหว่ำงสำรอนินทรีย์กับสำรอินทรีย์
รวมกลุมกัน กลุมละ 5-6 คน แลวตั้งคําถาม
สมบัติ สารอนินทรีย์ สารอินทรีย์
เกี่ ย วกั บ สารอนิ น ทรี ย  ใ นประเด็ น ที่ นั ก เรี ย น
ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ธาตุทุกชนิด ยกเว้นคาร์บอน มี ธ าตุ ค าร์ บ อนและธาตุ ไ ฮโดรเจน
สนใจ ตัวอยางเชน เป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอนื่ ๆ
•ï สารอนินทรียใ นรางกายสิง่ มีชวี ติ มีอะไรบาง เป็นองค์ประกอบร่วม
(แนวตอบ นํ้าและแรธาตุ) 1
พันธะเคมี มีทั้งพันธะโคเวเลนต์และพันธะ พันธะโคเวเลนต์
ï• สารอนินทรียม คี วามสําคัญตอการดํารงชีวติ ไอออนิก (ส่วนมากเป็นไอออนิก)
ของสิ่งมีชีวิตอยางไร การละลายน�้า ส่วนมากละลายน�้าได้ดี ส่วนมากไม่ละลายน�้า ยกเว้นพวก
(แนวตอบ นํ้าเปนตัวทําละลาย ชวยลําเลียง โมเลกุลมีขั้วขนาดเล็ก
สาร และควบคุมอุณหภูมิของรางกาย สวน การน�าไฟฟ้าของสารละลาย (ในน�้า) น�าไฟฟ้าได้ดี โดยเฉพาะสารไอออนิก ไม่น�าไฟฟ้าหรือน�าไฟฟ้าได้น้อย
แรธาตุชว ยในการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีตา งๆ ใน การละลายในตัวท�าละลายอินทรีย์ ไม่ละลาย ละลายได้ดี
รางกาย) จุดหลอมเหลว - จุดเดือด ค่อนข้างสูง ค่อนข้างต�่า
2. ครูควรชีแ้ นะวา คําถามตางๆ ทีแ่ ตละกลุม ตัง้ ขึน้ การเผาไหม้ ติดไฟยาก ซึง่ ต้องใช้ความร้อนสูงมาก ติดไฟง่าย และอาจมีเขม่า
สามารถหาคําตอบไดเมื่อนักเรียนไดศึกษา และเมื่อติดไฟแล้วจะมีกากของแข็ง
เหลืออยู่
เนื้อหาแลว
อัตราการเกิดปฏิกิริยา เกิดได้เร็ว เกิดค่อนข้างช้า
3. ครูกระตุนใหนักเรียนศึกษาสัดสวนของนํ้าใน
รางกายมนุษย จากภาพแผนภูมิแสดงปริมาณ
สารเคมี ใ นร า งกายมนุ ษ ย ในหนั ง สื อ เรี ย น
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 แลวรวมกันอภิปราย โดยมี
B iology
Focus อะตอมและโมเลกุล
แนวอภิปราย ดังนี้ สสารทุกชนิดบนโลก จะประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด
“นํ้ า เป น องค ป ระกอบที่ พ บมากที่ สุ ด ใน เรียกว่า อะตอม (atom) ซึ่งยังแสดงคุณสมบัติของธาตุนั้นอยู่
รางกายมนุษย แสดงวานํ้ามีความสําคัญอยาง โดยภายในอะตอมจะประกอบด้วยอนุภาคย่อย ๆ ที่เป็นอนุภาค อะตอม
ยิ่งตอรางกาย ดังนั้น จึงควรดื่มนํ้าใหเพียงพอ มูลฐานอยู่ 3 ชนิด คือ โปรตอน (proton) นิวตรอน (neutron)
ตอความตองการของรางกาย อยางนอยวันละ และอิเล็กตรอน (electron) อะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 อะตอม
8-10 แกว นอกจากนี้ยังควรดื่มนํ้าหลังจาก ขึ้ น ไปจะรวมตั ว กั น เรี ย กว่ า โมเลกุ ล (molecule) ซึ่ ง การ
ยึดเหนี่ยวของอะตอมที่เกิดขึ้นนั้นต้องอาศัยแรงจากพันธะเคมี
ออกกําลังกาย และหลังจากรับประทานอาหาร (chemical bond) โมเลกุล
อยางสมํ่าเสมอ ” ภาพที่ 2.3
30

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอม ซึ่งทําใหอะตอมอยูรวมกัน ข อ ใดเปรี ย บเที ย บความแตกต า งระหว า งสารอนิ น ทรี ย  กั บ
เปนโมเลกุลได ซึ่งพันธะเคมีมีหลายชนิด ดังนี้ สารอินทรียไดไมถูกตอง
- พันธะโคเวเลนต (covalent bonding) เปนพันธะที่เกิดจากอะตอมของ ขอ สมบัติ สารอนินทรีย สารอินทรีย
อโลหะมีการนําอิเล็กตรอนมาใชรวมกัน แลวเกิดเปนแรงดึงดูดระหวาง 1 พันธะเคมี โคเวเลนต, ไอออนิก โคเวเลนต
อิเล็กตรอนกับโปรตอนที่อยูในนิวเคลียสของทั้งสองอะตอม 2 การเผาไหม ติดไฟยาก ติดไฟงาย
- พันธะไอออนิก (ionic bonding) เปนพันธะที่เกิดจากธาตุโลหะเสีย 3 สารละลายนํ้า ละลายไดดี ไมละลาย
อิเล็กตรอนใหกบั ธาตุอโลหะ ซึง่ จะเกิดเปนไอออนบวกและไอออนลบ โดย 4 ธาตุองคประกอบ คารบอนและ ทุกชนิดยกเวน
ไอออนทั้งสองจะดึงดูดกันดวยแรงดึงดูดระหวางประจุไฟฟา ไฮโดรเจนเปนหลัก คารบอน
- พันธะโลหะ (metallic bond) เปนพันธะที่เกิดภายในกอนโลหะ ซึ่ง 5 อัตราปฏิกิริยา เกิดไดเร็ว เกิดคอนขางชา
โลหะเสียเวเลนซอิเล็กตรอนไดงายและกลายเปนไอออนบวก ซึ่งเวเลนซ (วิเคราะหคําตอบ โมเลกุลของสารอนินทรีย อาจประกอบไปดวย
อิเล็กตรอนที่หลุดออกมานี้จะเคลื่อนที่อยางอิสระ จึงทําใหเกิดเปนแรง ธาตุไดทุกชนิด ยกเวนธาตุคารบอน สวนโมเลกุลของสารอินทรีย
ยึดเหนี่ยวระหวางไอออนบวกกับเวเลนซอิเล็กตรอนที่เปนอิสระนี้ จะประกอบดวยธาตุคารบอนและไฮโดรเจนเปนองคประกอบหลัก
และมีธาตุอื่นๆ เปนองคประกอบรวม ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
สารอนินทรียมีลักษณะ 2. สารอนินทรีย์ 4. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ศึ ก ษาเรื่ อ งนํ้ า จาก
อยางไร หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 แลวอภิปราย
สารอนินทรีย์ (inorganic substance) เป็นสารประกอบ
ที่ไม่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ ซึ่งสารอนินทรีย์ที่เป็น สรุปใจความสําคัญ
องค์ประกอบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั้น บางอย่างมีปริมาณมาก บางอย่างมีปริมาณน้อย แต่สาร 5. ครูใชเทคนิคการเขียนรอบโตะ (round table)
เหล่านี้ล้วนแต่มีความส�าคัญต่อการท�างานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสิ่งมีชีวิต โดยแจกกระดาษใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน
แล ว ให ส มาชิ ก แต ล ะคนในกลุ  ม เขี ย นความ
2.1 นํ้า สําคัญของนํา้ ตอสิง่ มีชวี ติ คนละ 1 ขอ ไมซาํ้ กัน
น�้า (water) เป็นสารอนินทรีย์ที่พบมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งหากสิ่งมีชีวิตขาดน�้า ซึ่งนักเรียนอาจเขียนได ดังนี้
จะท�าให้ไม่สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ - นํ้าชวยใหเกิดปฏิกิริยาเคมี
โครงสร้างโมเลกุลของน�้าจะประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม - นํ้าชวยในการลําเลียงสาร
ซึ่งมีสูตรโมเลกุล คือ H2O โดยอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนในโมเลกุลของน�้ายึดเหนี่ยว - นํ้าชวยรักษาสมดุลอุณหภูมิในรางกาย
กันด้วยพันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) ซึ่งเกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยออกซิเจนจะ - นํ้าชวยรักษาสมดุลของกรด-เบส
มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดที่เหลืออีก 4 อิเล็กตรอน ซึ่งไม่ได้ยึดเหนี่ยวกับอะตอมของธาตุอื่น ท�าให้ - นํ้าเปนตัวทําละลายที่ดี
อะตอมของออกซิเจนแสดงประจุลบ ส่วนอะตอมของไฮโดรเจนทั้ง 2 อะตอม แสดงประจุบวก
จึงท�าให้โมเลกุลของน�้าเป็นโมเลกุลที่มีขั้ว (polar)
นอกจากน�า้ จะเป็นโมเลกุลที1ม่ ขี วั้ แล้ว น�า้ ยังมีสมบัตเิ ป็นของเหลวทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ้ ง ซึง่ เกิดจาก
การยึดเหนีย่ วด้วยพันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) ระหว่างอะตอมของออกซิเจนกับอะตอมของ
ไฮโดรเจนของน�้าแต่ละโมเลกุล
โมเลกุลของน�า้ สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุลของสารอืน่ ๆ ได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิง่
สารที่มีขั้ว และสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ ด้วยสมบัตินี้น�้าจึงนับว่าเป็นตัวท�าละลายที่ดีซึ่ง
สามารถละลายสารประกอบต่าง ๆ ได้ดีกว่าตัวท�าละลายอื่น ๆ
+
δ H −
H δ

O O

+
H δ H

ภาพที่ 2.4 โมเลกุลของน�า้ ประกอบด้วยไฮโดรเจน ภาพที่ 2.5 สัญลักษณ์โมเลกุลที่มีขั้วของน�้า โดย


2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม ซึง่ ยึดเหนีย่ ว อะตอมของออกซิเจนแสดงขั้วลบ และอะตอม
กันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ของไฮโดรเจนแสดงขั้วบวก
แนวตอบ Prior Knowledge
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 31
ของสิ่งมีชีวิต
สารอนิ น ทรี ย  คื อ สารประกอบที่ ไ ม มี ธ าตุ
คารบอนเปนองคประกอบ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


นํ้ามีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอยางไร ครูอาจใช PowerPoint ประกอบการสอน
(วิเคราะหคาํ ตอบ นํา้ มีความสําคัญตอสิง่ มีชวี ติ โดยมีบทบาท ดังนี้ เรื่อง สารอนินทรีย : นํ้า เพื่อกระตุนและดึงดูด
- ชวยใหเกิดปฏิกิริยาเคมี ความสนใจของนักเรียน
- ชวยในการลําเลียงสาร
- ชวยรักษาสมดุลอุณหภูมิในรางกาย
นักเรียนควรรู
- ชวยรักษาสมดุลของกรด-เบส
1 พันธะไฮโดรเจน เกิดในโมเลกุลทีม่ พี นั ธะ H-N H-O หรือ H-F อยูใ นโมเลกุล
- เปนตัวทําละลายที่ดี)
เนื่องจากคา EN ของ F O และ N มีคาสูงกวา H ดังนั้น อะตอมของ F O และ N
จึงดึงอิเล็กตรอนของ H มาอยูล อ มรอบอะตอมของมัน แต H ก็ตอ งการอิเล็กตรอน
ลอมรอบตัวมัน 2 ตัว H จึงไปดึงอิเล็กตรอนจาก N O หรือ F ของโมเลกุลทีอ่ ยูข า งเคียง
ตัวอยางสารทีส่ ามารถเกิดพันธะไฮโดรเจน เชน HF H2O NH3 แอลกอฮอล (R-OH)
เชน เมทานอล (CH3OH) เอทานอล (C2H5OH) เปนตน กรดอินทรีย (R-COOH)
เชน กรดฟอรมิก (HCOOH) กรดแอซีติก (CH3COOH) เปนตน
T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนแตละกลุมรวม สารที่มีสมบัติในการละลายน�้าได้ดี เรียกว่า สารชอบน�้า หรือไฮโดรฟิลิก (hydrophilic) ซึ่ง
กันหาคําตอบวา สมบัติของนํ้าเกี่ยวของกับ เป็นสารทีม่ โี มเลกุลแบบมีขวั้ หรือสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ดี ส่วนสารทีไ่ ม่สามารถละลายน�้าได้
โครงสรางโมเลกุลของนํ้าอยางไร จะเป็นสารที่มีโมเลกุลแบบไม่มีขั้ว และไม่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ ซึ่งสารในกลุ่มนี้ เรียกว่า
2. ใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายการเกิดโมเลกุล สารไม่ชอบน�้า หรือไฮโดรโฟบิก (hydrophobic)
ที่มีขั้วของนํ้า รวมทั้งการเขียนสัญลักษณแทน โมเลกุลของน�้าสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ เมื่อแตกตัวแล้วจะเกิดเป็นไฮโดรเจนไอออน
ขั้วบวกและขั้วลบ แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน (H ) ซึ่งแสดงสมบัติเป็นกรด และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ซึ่งแสดงสมบัติเป็นเบส
+

โดยมีแนวการอธิบาย ดังนี้
“การเกิดโมเลกุลที่มีขั้วของนํ้า เกิดจาก -
+

-
+
- + + -
-
+ +
+ + +

อะตอมออกซิ เ จนในโมเลกุ ล ของนํ้ า ยั ง คงมี


- Na+ - - -
+

CI -
+ + + +

อิเล็กตรอนวงนอกสุดเหลืออีก 4 ตัว ซึ่งไมได H2O H + + OH-


-
+ + + +
+
ยึดเหนีย่ วกับอะตอมของธาตุอนื่ ทําใหอะตอม + -
+
- + +
-
+
+ + -
+

ของออกซิเจนแสดงประจุลบ สวนอะตอมของ +

ไฮโดรเจนทัง้ 2 อะตอม แสดงประจุบวก ซึง่ เขียน ภาพที่ 2.6 โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นโมเลกุลที่มีขั้ว ภาพที่ 2.7 โมเลกุลของน�า้ สามารถแตกตัวเป็นไฮโดรเจน
เมื่อละลายน�้าแล้ว โซเดียมไอออน (Na+) จะเกาะกับ ไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออนจ�านวนเท่า ๆ กัน ดังสมการ
สัญลักษณแทนขั้วบวกและขั้วลบได ดังภาพ อะตอมของออกซิเจน ส่วนคลอไรด์ไอออน (Cl-) จะเกาะ H2O  H+ + OH-
ในหนังสือเรียน หนา 31 ” กับอะตอมของไฮโดรเจน

ความส�าคัญของน�า้ ต่อสิง่ มีชว


ี ต
ิ Biology
in real life
ช่วยรักษาสมดุลของอุณหภูมิในร่างกาย เนื่องจากน�้ามีความจุ ภาวะขาดน�า้ เป็นภาวะทีร่ า่ งกาย
ความร้อนสูง และเก็บความร้อนได้ดี โดยอุณหภูมจิ ะเปลีย่ นแปลง สูญเสียน�้า รวมทั้งแร่ธาตุบาง
ไม่มากนัก ชนิด จนท�าให้อวัยวะต่าง ๆ ใน
เป็นตัวท�าละลายที่ดี โมเลกุลของน�้าที่มีขั้วสามารถสร้างพันธะ ร่างกายไม่สามารถท�างานได้
ไฮโดรเจนกับสารต่าง ๆ ได้ดี และด้วยสมบัตทิ แี่ สดงทัง้ ประจุบวก เป็นปกติ ซึง่ จะมีอาการกระหาย
และประจุลบในโมเลกุลเดียวกัน จึงท�าให้นา�้ เป็นตัวท�าละลายทีด่ ี ผิวแห้ง ริมฝีปากและช่องปาก
ช่วยล�าเลียงสารเคมีไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เนื่องจาก แห้ง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
โมเลกุลของน�า้ สามารถยึดเหนีย่ วกับโมเลกุลของสารอืน่ ๆ ได้ดี ปัสสาวะน้อย ท้องผูก และปวด
มีส่วนร่วมในปฏิกิริยาเคมี น�้ามีบทบาทส�าคัญในปฏิกิริยา ศีรษะ ดังนั้น ในแต่ละวันเรา
ไฮโดรไลซิส (hydrolysis) และช่วยให้กระบวนการเมแทบอลิซมึ ควรดื่มน�้าให้เพียงพอกับความ
เป็นไปอย่างปกติ ต้องการของร่างกาย (อย่างน้อย
ป้องกันอวัยวะในร่างกาย โดยป้องกันการเสียดสี หรือการ 6-8 แก้ว)
กระทบกระเทือนของอวัยวะ เช่น สมอง ปอด เป็นต้น

32

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารชอบนํ้าและสารไมชอบนํ้า ไดจากภาพยนตร พิจารณาภาพ แลวระบุวาโมเลกุลของตัวละลายควรมีประจุใด
สารคดีสั้น Twig เรื่อง ไฮโดรฟลิก พรอมทั้งอธิบายเหตุผล
https://www.twig-aksorn.com/fi f ilm/glossary/hydrophilic-6759/#
HHH H
และเรื่อง ไฮโดรโฟบิก HH O O O HH
H
https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/hydrophobic-6760/ H O O HH
H O โมเลกุล O H
H O ตัวละลาย
H O H
H O O H
HH O O O H
H
H HH HH

(วิเคราะหคําตอบ ตัวละลายมีประจุบวก เนื่องจากนํ้าหันอะตอม


ออกซิเจนซึ่งมีประจุลบเขาหาโมเลกุลตัวละลาย)

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2.2 แรธาตุ 1. ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ
แร่ธาตุ (mineral) เป็นส่วนประกอบของสารอินทรีย์หลายชนิดภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต แรธาตุ กลุมละ 1 ชนิด จากหนังสือเรียน
ซึ่งสิ่งมีชีวิตต้องการแร่ธาตุต่าง ๆ ในปริมาณที่แตกต่างกัน ชีววิทยา ม.4 เลม 1
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ
การจัดแบ่งแร่ธาตุตามความตองการของร่างกาย สาระสําคัญที่กลุมตนเองศึกษาหนาชั้นเรียน
แร่ธาตุที่ต้องการในปริมาณมาก (macronutrient elements) ได้แก่ แคลเซียม โซเดียม โพแทสเซียม โดยกลาวถึงประเด็นเกีย่ วกับความสําคัญ และ
แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คลอรีน และก�ามะถัน แหลงที่พบแรธาตุนั้นๆ
แร่ธาตุทตี่ อ้ งการในปริมาณน้อย (micronutrient elements) ได้แก่ เหล็ก ไอโอดีน แมงกานีส ทองแดง
สังกะสี ฟลูออรีน โคบอลต์ วาเนเดียม ดีบุก โมลิบดีนัม ซีลีเนียม โครเมียม นิกเกิล และซิลิคอน
อธิบายความรู้
แร่ธาตุทมี่ คี วามส�าคัญต่อกระบวนการท�างานของร่างกาย ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องแรธาตุ
ตัวอย่างเช่น โดยมีแนวการสรุป ดังนี้
1 “แรธาตุเปนสารอนินทรียซึ่งเปนสวนประกอบ
1. แคลเซียม (calcium) เป็นแร่ธาตุที่พบมากที่สุดใน
ร่างกาย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแคลเซียมฟอสเฟต (Ca3(PO4)2) ของสารอินทรียห ลายชนิด แรธาตุบางชนิดเปนสวน
และแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) มีบทบาทช่วยเสริมสร้าง ประกอบของเอนไซมและโปรตีนตางๆ ที่จําเปน
ความแข็งแรงของกระดูกและฟัน ควบคุมการท�างานของหัวใจ ตอการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย การขาด
การส่งกระแสประสาท การยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือด แรธาตุบางชนิดอาจกอใหเกิดความผิดปกติของ
แข็งตัว กระตุน้ การดูดซึมสารอาหารบริเวณล�าไส้เล็ก ซึง่ แคลเซียม ภาพที่ 2.8 แคลเซียมมีบทบาทส�าคัญ รางกาย เชน หากพืชขาดธาตุแมกนีเซียม ใบแกจะมี
พบได้มากในปลาตัวเล็ก ๆ ที่กินได้ทั้งตัว กุ้งแห้ง นม ไข่ กะปิ ในการเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แรง สีเหลืองระหวางเสนใบ ปลายใบและขอบใบมวน
ของกระดูก ซึ่งช่วยให้สามารถท�า
ผักคะน้า ขึ้นฉ่าย ใบยอ เป็นต้น กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว เปนรูปถวย หากมนุษยขาดธาตุไอโอดีน อาจทําให
2. โซเดียม (sodium) จะอยู่ในรูปของโซเดียมคลอไรด์ เกิดโรคคอพอก เปนตน ”
(NaCl) มีบทบาทในการควบคุมสมดุลของน�้าและกรด - เบส
ท�าหน้าที่ร่วมกับแคลเซียม โพแทสเซียม และแมกนีเซียมใน
การควบคุมการส่งกระแสประสาทและการยืดหดตัวของกล้ามเนือ้
ร่างกายจะต้องการโซเดียมในปริมาณเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
โดยได้รับจากอาหาร เช่น เกลือแกง อาหารทะเล เนื้อสัตว์ นม
เป็นต้น จึงไม่ค่อยพบปัญหาการขาดธาตุนี้ แต่หากร่างกายได้
รับโซเดียมเกินความต้องการ จะท�าให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง
ซึ่งปกติแล้วร่างกายจะมีกลไกขับโซเดียมออกทางปัสสาวะโดย ภาพที่ 2.9 โซเดียมพบมากใน
อาศัยการท�างานของไต เกลือแกงและอาหารทะเล

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 33
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


แรธาตุใดที่เพศหญิงตองการในปริมาณมากกวาเพศชาย 1 แคลเซียม พบมากในนํา้ นม คนทัว่ ไปมักมีความเขาใจวาควรดืม่ นมเพือ่ ให
1. เหล็ก รางกายไดรบั แคลเซียม ซึง่ มีสาระความรูเ กีย่ วกับการดืม่ นมและดูดซึมแคลเซียม
2. โซเดียม ของรางกาย ดังนี้
3. แคลเซียม ควร - ดื่มนมหลังมื้ออาหารประมาณ 1 - 2 ชั่วโมง จะทําใหรูสึกสบายทอง
4. ฟอสฟอรัส และยอยงายขึ้น
5. แมกนีเซียม - ไดรบั แสงอาทิตยออ นๆ ยามเชา จะชวยเพิม่ วิตามินดีใหแกรา งกาย
(วิเคราะหคําตอบ เพศหญิงมีประจําเดือนซึ่งทําใหสูญเสียธาตุ ซึ่งทําใหดูดซึมแคลเซียมไดมากขึ้น
เหล็กไป ดังนั้นเพศหญิงจึงตองการธาตุเหล็กในปริมาณมากกวา - รับประทานถั่วหรือเตาหู เพราะมีแคลเซียมสูง และยังมีแมกนีเซียม
เพศชาย ดังนั้น ตอบขอ 1.) ที่ชวยใหรางกายดูดซึมแคลเซียมไดดีขึ้นดวย
ไมควร - ดื่มนมขณะทองวาง เพราะกระเพาะอาหารจะไมมีกรดชวยในการ
ดูดซึมแคลเซียม
- ดื่มนมพรอมกับรับประทานอาหารทันที เพราะกรดในกระเพาะ
อาหารจะถูกนมที่มีฤทธิ์เปนเบสลดความเปนกรดลง ทําใหรางกาย
ดูดซึมแคลเซียมไมไดเต็มที่
T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับความสําคัญของสาร 3. โพแทสเซียม (potassium) ส่วนใหญ่จะอยู่ในเซลล์กล้ามเนื้อ มีหน้าที่ควบคุมสมดุล
อนินทรียตอสิ่งมีชีวิต และรวมกันอภิปรายตอ ของน�า้ และกรด - เบสในร่างกาย ท�าหน้าทีร่ ว่ มกับแคลเซียม โซเดียม และแมกนีเซียม ในการควบคุม
ไปวา หากขาดสารอนินทรียบางชนิดจะสงผล การส่งกระแสประสาทและการยืดหดตัวของกล้ามเนือ้ กระตุน้ การท�างานของเอนไซม์ทเี่ กีย่ วข้องกับ
ตอรางกายอยางไร การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ซึ่งโพแทสเซียมพบได้มากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ผักและผลไม้ทุกชนิด
2. ใหนักเรียนแตละคนเขียนผังมโนทัศน เรื่อง 4. แมกนีเซียม (magnesium) ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแมกนีเซียมฟอสเฟต (Mg3(PO4)2)
ความสําคัญของสารอนินทรียตอสิ่งมีชีวิต และแมกนีเซียมคาร์บอเนต (MgCO3) ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหาร กระตุ้น
3. ครูมอบหมายการบานใหนักเรียนทําแบบ การท�างานของเอนไซม์ ท�าหน้าที่ร่วมกับแคลเซียม โซเดียม และโพแทสเซียม ในการควบคุม
ฝกหัด ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เลม 1 การส่งกระแสประสาทและการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ อาหารที่มีแมกนีเซียมมาก เช่น เนื้อสัตว์
หนวยการเรียนรูที่ 2 นม ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี เป็นต้น
5. ฟอสฟอรัส (phosphorus) มักจะพบอยู่ร่วมกับแคลเซียม ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ
กระดูกและฟัน นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ควบคุมสมดุลกรด-เบสในร่างกาย และมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
กระบวนการเมแทบอลิซึมและการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ ซึ่งฟอสฟอรัสพบได้มากในอาหารประเภท
ขัน้ ประเมิน เนื้อสัตว์ นม ไข่ เนย ถั่วเมล็ดแห้ง และธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี
ตรวจสอบผล 6. เหล็ก (iron) เป็นองค์ประกอบของเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งช่วยในการล�าเลียง
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน ออกซิเจนไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เป็นส่วนประกอบของไมโอโกลบินในกล้ามเนื้อที่ท�าหน้าที่
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม รับและเก็บออกซิเจนไว้ในกล้ามเนื้อ เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์บางชนิดที่เกี่ยวข้องกับการ
การรวมกันอภิปราย และการนําเสนอผลงาน เผาผลาญสารอาหารต่าง ๆ ซึ่งพบมากในอาหารพวกเครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่แดง หอย ผักขม
3. ครูวดั และประเมินผังโมนทัศน เรือ่ ง ความสําคัญ ขึ้นฉ่าย เป็นต้น
ของสารอนินทรียตอสิ่งมีชีวิต 7. ไอโอดีน (iodine) เป็นส่วนประกอบที่ส�าคัญของ
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด ฮอร์โมนไทรอกซินที่ผลิตมาจากต่อมไทรอยด์ ซึ่งท�าหน้าที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร การเจริญเติบโต
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การสืบพันธุ์ และการท�างาน
ต่อมไทรอยด์ปกติ
ของระบบประสาท ซึ่งพบมากในอาหารที่มีธาตุไอโอดีนสูง เช่น
อาหารทะเล เกลือสมุทร และผลิตภัณฑ์จากทะเล เช่น น�้าปลา
กะปิ เป็นต้น
ถึงแม้วา่ ร่างกายต้องการไอโอดีนในปริมาณเพียงเล็กน้อย
ต่อมไทรอยด์ของผู้ปวยโรคคอพอก
แต่หากได้รับในปริมาณที่ไม่เพียงพอ จะท�าให้ต่อมไทรอยด์บวม
ภาพที่ 2.10 โรคคอพอกเกิดจาก และขยายตัวใหญ่ขึ้น จะเกิดเป็นโรคคอพอกชนิดไม่เป็นพิษ
ร่างกายขาดไอโอดีน ซึ่งท�าให้ต่อม (goiter)
ไทรอยด์โตผิดปกติ

34

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนในเนื้อหาเรื่อง สาร นายโดงชาวเขาจากจังหวัดเชียงรายเปนโรคคอพอก นักเรียน
อนินทรีย ไดจากการทําผังมโนทัศน เรือ่ ง ความสําคัญของสารอนินทรียต อ สิง่ มีชวี ติ จะแนะนําใหนายโดงรับประทานอาหารชนิดใด
และสังเกตไดจากการตอบคําถาม การรวมกันอภิปราย และการนําเสนอผลงาน 1. ตับ
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินผังโมนทัศน และแบบ 2. เนย
ประเมินการนําเสนอผลงานที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 3. ไขไก
4. หอยแมลงภู
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
5. ผักและผลไม
แบบประเมินผังมโนทัศน์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่

(วิเคราะหคาํ ตอบ นายโดงเปนโรคคอพอกเนือ่ งจากอาจขาดแรธาตุ


คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน 3 2 1
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน   
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 2 ความถูกต้องของเนื้อหา   

ไอโอดีน ซึง่ แรธาตุไอโอดีนพบมากในอาหารทะเล เกลือสมุทร และ


2 ความถูกต้องของเนื้อหา 3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   
3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
4 ความตรงต่อเวลา 5 วิธีการนาเสนอผลงาน   
รวม รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน

ผลิตภัณฑจากทะเล เชน นํา้ ปลา กะป จึงควรแนะนําใหนายโดง


.............../................/................ ................/.............../................

เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1

รับประทานหอยแมลงภู ซึง่ เปนอาหารทะเล ดังนัน้ ตอบขอ 4.)


1. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์ เกณฑ์การให้คะแนน
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 14-15 ดีมาก
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11-13 ดี
14-16 ดีมาก 8-10 พอใช้
11-13 ดี ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T40
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ธาตุใดบางที่เปน 3. สารอินทรีย์ 1. ครู ก ล า วนํ า เกี่ ย วกั บ สารอิ น ทรี ย  โดยถาม
องคประกอบหลักใน คําถามวา สารอินทรียแตกตางไปจากสาร
สารอินทรีย์ (organic substance) เป็นสารประกอบที่มี
โมเลกุลสารอินทรีย
ธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลักและยัง อนินทรียอยางไร จากนั้นใหครูและนักเรียน
อาจมีธาตุอื่น เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบร่วม ซึ่งโมเลกุลของ รวมกันอภิปรายวา สารอินทรียเ ปนสารทีม่ ธี าตุ
สารอินทรีย์จะมีส่วนที่เข้าท�าปฏิกิริยากับสารอื่น ที่เรียกว่า หมู่ฟังก์ชัน (functional group) คารบอนและไฮโดรเจนเปนองคประกอบหลัก
2. ครู อ ธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การยึ ด เหนี่ ย วระหว า ง
ตารางที่ 2.2 : หมู่ฟงก์ชันบำงชนิดที่เปนองค์ประกอบของสำรอินทรีย์ อะตอมของคาร บ อนกั บ คาร บ อน และ
ชื่อ โครงสร้าง แหล่งที่พบ อะตอมของคารบอนกับไฮโดรเจน เกิดเปน
ไฮดรอกซิล (hydroxyl) น�้าตาล สารประกอบไฮโดรคารบอน ซึ่งเปนสวนหนึ่ง
R O H
กลีเซอรอล ของหมู  ฟ  ง ก ชั น ในสารอิ น ทรี ย  โดยอาจจะ
เขี ย นโครงสร า งโมเลกุ ล ของสารประกอบ
คาร์บอกซิล (carboxyl) O กรดไขมัน ไฮโดรคารบอนใหนักเรียนรวมกันพิจารณา
R C กรดอะมิโน
O H ดังนี้
คาร์บอนิล O น�้าตาล H H
กลุ่มคีโตน (ketone) R C R H C C H อีเทน
คาร์บอนิล O น�้าตาล
H H
กลุ่มอัลดีไฮด์ (aldehyde) R C
H H H
H C C H เอทิลีน
อะมิโน (amino) H กรดอะมิโน
R N โปรตีน
H

ซัลฟไฮดริล (sulfhydryl) กรดอะมิโน H C C H อะเซทิลีน


R S H โปรตีน
3. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาหมู  ฟ  ง ก ชั น บางชนิ ด ที่ เ ป น
ฟอสเฟต (phosphate) O ฟอสโฟลิพิด องคประกอบในสารอินทรีย จากหนังสือเรียน
R O P O นิวคลีโอไทด์
กรดนิวคลีอิก ชีววิทยา ม.4 เลม 1
O
1
หมายเหตุ : R แทนหมู่อะตอมไฮโดรคาร์บอน

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 35
ของสิ่งมีชีวิต แนวตอบ Prior Knowledge
ธาตุคารบอนและธาตุไฮโดรเจน

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


สารในขอใดตางจากขออื่น 1 ไฮโดรคารบอน คือ สารประกอบอินทรียที่มีเฉพาะธาตุคารบอนและธาตุ
1. ลิพิด ไฮโดรเจนเปนองคประกอบ แบงเปน 4 ประเภท
2. แรธาตุ 1. แอลเคน (alkane) เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนอิ่มตัว มีโครงสรางเปน
3. โปรตีน ไดทั้งโซตรงและโซกิ่ง โดยแอลเคนโซเปดจะมีสูตรทั่วไปเปน CnH2n+2 สวน
4. กรดนิวคลีอิก แอลเคนโซปดจะมีสูตรทั่วไปเปน CnH2n
5. คารโบไฮเดรต 2. แอลคีน (alkene) เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนไมอมิ่ ตัว ภายในโมเลกุล
(วิเคราะหคําตอบ แรธาตุเปนสารอนินทรีย สวนขออื่นๆ เปนสาร จะมีพันธะคูระหวางอะตอมของคารบอนอยางนอย 1 พันธะ โดยแอลคีน
อินทรีย ดังนั้น ตอบขอ 2.) โซเปดมีสูตรทั่วไปเปน CnH2n สวนแอลคีนโซปดมีสูตรทั่วไปเปน CnH2n-2
3. แอลไคน (alkyne) เปนสารประกอบไฮโดรคารบอนไมอมิ่ ตัว ภายในโมเลกุล
จะมีพนั ธะสามระหวางอะตอมของคารบอนอยางนอย 1 พันธะ มีสตู รทัว่ ไป
เปน CnH2n-2
4. อะโรมาติกไฮโดรคารบอน (aromatic hydrocarbon) เปนสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัวที่มีเบนซีนเปนองคประกอบ

T41
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูอธิบายวา สารอินทรียที่พบในสิ่งมีชีวิตมี สารอินทรีย์ที่พบในธรรมชาติมีแหล่งก�าเนิดจากสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะมีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่
หลายชนิดที่เปนสารชีวโมเลกุล (biological ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่มาก และอาจมีโครงสร้างแบบง่าย ๆ ไปจนถึงมีโครงสร้างที่ซับซ้อน
molecule) ซึ่งมีโครงสราง สมบัติ และการ ทั้งที่มีรูปร่างตรงยาวสายเดี่ยว หรือแตกแขนงเป็นกิ่งก้าน ซึ่งเรียกสารเหล่านี้ว่า สารชีวโมเลกุล
เกิดปฏิกิริยาแตกตางกัน ทําใหสารชีวโมเลกุล สารชีวโมเลกุล (biological molecule) จัดได้ว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารอาหารที่
มีหนาที่แตกตางกัน จ�าเป็นต่อร่างกายของสิ่งมีชีวิต สารชีวโมเลกุลแต่ละชนิดมีโครงสร้าง สมบัติ และการเกิดปฏิกิริยา
2. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางอาหารที่มี แตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างนี้จะท�าให้สารชีวโมเลกุลนั้นมีหน้าที่การท�างานที่แตกต่างกัน
สารอาหารประเภทคารโบไฮเดรต
3.1 คาร์โบไฮเดรต
3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยว
คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่ประกอบด้วยธาตุหลัก 3 ชนิด คือ
กับโครงสรางของคารโบไฮเดรต โดยมีแนวการ
คาร์บอน (carbon; C) ไฮโดรเจน (hydrogen; H) และออกซิเจน (oxygen; O) โดยมีอัตราส่วน
สรุป ดังนี้
ของอะตอมไฮโดรเจนต่ออะตอมออกซิเจนเป็น 2 : 1 มีสูตรโมเลกุลเป็น (CH2O)n โดย n มีค่า
“คารโบไฮเดรต (carbohydrate) เปนสาร ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
ชีวโมเลกุลที่ประกอบดวยธาตุ 3 ชนิด ไดแก สูตรโมเลกุล (molecular formula) เป็นสูตรทางเคมีที่แสดงว่าสาร 1 โมเลกุล ประกอบด้วย
คารบอน (carbon) ไฮโดรเจน (hydrogen) อะตอมของธาตุใดบ้าง อย่างละกีอ่ ะตอม คาร์โบไฮเดรตมีสตู รโมเลกุล CH2O แสดงว่าใน 1 โมเลกุล
และออกซิเจน (oxygen) โดยมีอัตราสวนของ ของคาร์โบไฮเดรตประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) 1 อะตอม ธาตุไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และ
อะตอมไฮโดรเจนต อ อะตอมออกซิ เ จนเป น ธาตุออกซิเจน (O) 1 อะตอม
2 :1 มีสูตรโมเลกุลเปน (CH2O)n ซึ่ง n มีคา ร่างกายสิ่งมีชีวิตจะน�าคาร์โบไฮเดรตมาใช้เป็นแหล่งพลังงานและเป็นวัตถุดิบส�าหรับสร้าง
ตั้งแต 3 ขึ้นไป ” โครงร่างและส่วนประกอบของเซลล์ หากจัดจ�าแนกคาร์โบไฮเดรตตามลักษณะโครงสร้าง จะสามารถ
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ มอโนแซ็กคาไรด์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ และพอลิแซ็กคาไรด์

ภาพที่ 2.11 คาร์โบไฮเดรตพบมากในอาหารจ�าพวกข้าว แป้ง และน�้าตาล ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ส�าคัญของร่างกาย


36

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคารโบไฮเดรต ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig ขอใดจัดเปนคารโบไฮเดรตทั้งหมด
เรื่อง สารอาหาร : คารโบไฮเดรต https://www.twig-aksorn.com/fifilm/ 1. อินซูลิน เฮโมโกลบิน
food-basics-carbohydrates-8185/ หรือ https://www.twig-aksorn.com/ 2. เคอราทิน คอลลาเจน
fifilm/glossary/carbohydrate-6597/ 3. ไกลโคเจน อะไมโลส
4. เคอราทิน คอเลสเตอรอล
5. คอลลาเจน อะไมโลเพกทิน
(วิเคราะหคาํ ตอบ เนือ่ งจากคอลลาเจน อินซูลนิ เฮโมโกลบิน และ
เคราติน เปนโปรตีน สวนคอเลสเตอรอลเปนไขมัน ดังนัน้ ตอบขอ 1.)

T42
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1 1. ใหนักเรียนแบงกลุม ออกเปน 3 กลุม ศึกษา
1. มอโนแซ็กคาไรด์ (monosaccharide) หรือน�า้ ตาลโมเลกุลเดี่ยว เป็นคาร์โบไฮเดรต
ที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด จึงอาจเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า น�้าตาลเชิงเดี่ยว (simple sugar) มีสูตร ประเภทของคารโบไฮเดรต ดังนี้
โมเลกุลเป็น CnH2nOn มีจ�านวนคาร์บอนตั้งแต่ 3-7 อะตอม มีสถานะเป็นของแข็ง ละลายน�้าแล้ว กลุมที่ 1 ศึกษาเรื่อง มอโนแซ็กคาไรด
มีรสหวาน กลุมที่ 2 ศึกษาเรื่อง โอลิโกแซ็กคาไรด
กลุมที่ 3 ศึกษาเรื่อง พอลิแซ็กคาไรด
ตารางที่ 2.3 : จ�ำนวนคำร์บอนอะตอม สูตรโมเลกุล และชื่อน�้ำตำลโมเลกุลเดี่ยว
จ�านวนคาร์บอนอะตอม สูตรโมเลกุล ชื่อน�้าตาล
2. ครูแจกกระดาษขนาด A4 ใหนักเรียนแตละ
กลุม กลุม ละ 1 แผน ใหนกั เรียนแตละกลุม สรุป
3 (tri) C3H6O3 ไตรโอส (triose)
ใจความสําคัญของเรือ่ งทีก่ ลุม ตนเองศึกษาเปน
4 (tetra) C4H8O4 เทโทรส (tetrose) ผังมโนทัศนใหมีความนาสนใจ
5 (penta) C5H10O5 เพนโทส (pentose)
6 (hexa) C6H12O6 เฮกโซส (hexose)
7 (hepta) C7H14O7 เฮพโทส (heptose)

น�้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่พบได้มากที่สุดในธรรมชาติ คือ
น�้าตาลเฮกโซส ได้แก่ กลูโคส กาแลกโทส และฟรักโทส ซึ่ง CHO
น�้าตาลเฮกโซส จะมีโครงสร้าง 2 แบบ คือ แบบที่มีคาร์บอน H C OH
เรียงกันเป็นสายยาว และแบบวงแหวนคาร์บอนร่วมกับออกซิเจน HO C H
ซึ่งโครงสร้างแบบที่มีวงแหวนคาร์บอนจะเสถียรกว่า H C OH
วงแหวนคาร์บอนของน�้าตาลเฮกโซส สามารถจัดตาม H C OH
จ�านวนอะตอมของคาร์บอนได้เป็น 2 แบบ ดังนี้ CH2OH
• ไพราโนส (pyranose) เป็นน�้าตาลเฮกโซสที่มีวงแหวน
คาร์บอนและออกซิเจนแบบ 6 เหลี่ยม ได้แก่ กลูโคสและ CH2OH
กาแลกโทส
H C O H
• ฟูราโนส (furanose) เป็นน�้าตาลเฮกโซสที่มีวงแหวน H
คาร์บอนและออกซิเจนเป็น 5 เหลี่ยม ได้แก่ ฟรักโทส C OH H C
1) กลูโคส (glucose) มีลกั ษณะเป็นผลึกสีขาว สามารถ HO C C OH
ละลายน�้าได้ดี มีรสหวาน นับเป็นแหล่งพลังงานที่ส�าคัญที่สุด H OH
ในร่างกายสิ่งมีชีวิต พบมากในผักและผลไม้ต่าง ๆ น�้าผึ้ง ข้าว
ข้าวโพด ข้าวสาลี ภาพที่ 2.12 โครงสร้างของน�้าตาล
กลูโคส

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 37
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


เมื่อเรียกชื่อนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตามจํานวนคารบอนอะตอม ครูอาจใช PowerPoint ประกอบการสอน เรือ่ ง สารอินทรีย : คารโบไฮเดรต
นํ้าตาลที่มีสูตรโมเลกุล C5H10O5 มีชื่อเรียกวาอยางไร เพือ่ กระตุน และดึงดูดความสนใจของนักเรียน
1. ไตรโอส
2. เทโทรส
3. เพนโทส
4. เฮกโซส
5. เฮพโทส
(วิเคราะหคําตอบ การเรียกชื่อนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตามจํานวน นักเรียนควรรู
คารบอนอะตอม เมื่อมีคารบอน 3, 4, 5, 6 และ 7 อะตอม เรียก
วา ไตรโอส เทโทรส เพนโทส เฮกโซส และเฮพโทส ตามลําดับ ดัง 1 นํ้ า ตาลโมเลกุ ล เดี่ ย ว ในโครงสร า งของนํ้ า ตาลโมเลกุ ล เดี่ ย ว อะตอม
นั้น ตอบขอ 3.) ไฮโดรเจนและหมูไฮดรอกซิลที่อยูบนคารบอนสามารถสลับขางกันได ลักษณะ
เชนนี้ เรียกวา ไอโซเมอร โดยแบงเปนชนิด D- และ L- ซึ่งความแตกตางของ
โครงสรางนี้ ทําใหคุณสมบัติของนํ้าตาลในการทําหนาที่ทางชีวภาพแตกตางกัน

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนออกมานํ า 2) กาแลกโทส (galactose) ละลายน�้าได้ไม่ดี มีรสหวานน้อย ไม่ค่อยพบเป็นอิสระใน
เสนอผังมโนทัศนของกลุมตนเอง ใชเวลาใน ธรรมชาติ แต่มักรวมตัวอยู่กับกลูโคสกลายเป็นน�้าตาลโมเลกุลคู่ที่ชื่อว่า แลกโทส (lactose) ซึ่งพบ
การนําเสนอกลุม ละไมเกิน 5 นาที โดยเริม่ จาก ในนม และผลิตภัณฑ์จากนม
กลุมที่ 1 กอน
CHO CH2OH
2. หลังจากกลุม ที่ 1 นําเสนอเรือ่ งมอโนแซ็กคาไรด C O
H C OH CH2OH
ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ C O OH HO C H
HO C H OH
นักเรียน HO C H
H
C OH H C H C OH
ï• มอโนแซ็กคาไรดชนิดใดที่พบมากที่สุดใน H C OH H C C H
H C OH
ธรรมชาติ CH2OH
CH2OH H OH
CH2OH O CH2OH
(แนวตอบ นํ้าตาลเฮกโซส ไดแก กลูโคส C C
ภาพที่ 2.13 โครงสร้างของน�้าตาลกาแลกโทส
กาแลกโทส และฟรักโทส) 1 HO
H OH
ï• จงอธิบายลักษณะและแหลงที่พบนํ้าตาล 3) ฟรักโทส (fructose) มีลักษณะเป็นผลึกสีขาว C C
ละลายน�้าได้ดี มีรสหวานจัด เป็นน�้าตาลที่พืชสร้างขึ้นจาก OH H
กลูโคส กาแลกโทส และฟรักโทส
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง พบมากในผลไม้สุกและน�้าผึ้ง ภาพที่ 2.14 โครงสร้างของน�้าตาล
(แนวตอบ กลูโคส เปนผลึกสีขาว ละลายนํ้า ฟรักโทส
ไดดี มีรสหวาน พบมากในผัก ผลไม นํ้าผึ้ง B iology
กาแลกโทส ละลายนํา้ ไดไมดี มีรสหวานนอย Focus นํ้าตาลอัลโดสและนํ้าตาลคีโตส
มักรวมตัวอยูกับกลูโคส พบมากในนม หากแบ่งน�้าตาลโมเลกุลเดี่ยวตามจ�านวนคาร์บอน จะแบ่งได้ 5 ชนิด ดังที่กล่าวไปแล้ว แต่หาก
ฟรักโทส เปนผลึกสีขาว ละลายนํา้ ไดดี มีรส แบ่งตามลักษณะของหมู่คาร์บอนิล (carbonyl group) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
หวานจัด พบมากในผลไมสุก นํ้าผึ้ง) 1. น�้าตาลอัลโดส (aldose) เป็นน�้าตาลที่มี
O
2. น�้าตาลคีโตส (ketose) เป็นOน�้าตาลที่มี
3. ให นั ก เรี ย นฝ ก เรี ย กชื่ อ นํ้ า ตาลตามจํ า นวน หมู่คาร์บอนิลกลุ่มอัลดีไฮด์ ( C H) หมู่คาร์บอนิลกลุ่มคีโตน ( C )
คารบอนอะตอมในโมเลกุล โดยศึกษาไดจาก เป็นองค์ประกอบ เช่น กลูโคส กาแลกโทส เป็นองค์ประกอบ เช่น ฟรักโทส เป็นต้น
เป็นต้น
หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เลม 1 H O
C CH2OH
H C OH C O
HO C H HO C H
H C OH H C OH
H C OH H C OH
CH2OH CH2OH
กลูโคส เป็นน�้าตาลอัลโดส ฟรักโทส เป็นน�้าตาลคีโตส
ภาพที่ 2.15

38

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ฟรักโทส เปนองคประกอบหนึ่งของนํ้าเลี้ยงอสุจิ ซึ่งเปนอาหารของอสุจิ ขอใดกลาวเกี่ยวกับนํ้าตาลโมเลกุลเดียวไมถูกตอง
โดยนํ้าเลี้ยงอสุจินั้นมีสภาพเปนเบสออนๆ สรางมาจากตอมสรางนํ้าเลี้ยงอสุจิ 1. กลูโคสพบมากในผักผลไมตางๆ และนํ้าผึ้ง
(seminal vesicle) 2. ฟรักโทสมีรสหวานจัด พบในผลไมสุกและนํ้าผึ้ง
3. กาแลกโทสสวนมากพบอยูอยางอิสระในธรรมชาติ
4. กลูโคส กาแล็กโทส และฟรักโทส เปนนํ้าตาลเฮกโซส
สื่อ Digital 5. นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ คือ
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลูโคส ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง นํ้าตาลเฮกโซส
กลูโคส https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/glucose-7034/ (วิเคราะหคําตอบ กาแล็กโทสเปนนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว มีสมบัติ
ละลายนํา้ ไดไมดี มีรสหวานนอย ไมคอ ยพบเปนอิสระในธรรมชาติ
แตมักพบรวมตัวกับกลูโคสเปนนํ้าตาลโมเลกุลคู ชื่อวา แลกโทส
ดังนัน้ ตอบขอ 3.)

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. โอลิโกแซ็กคาไรด์ (oligosaccharide) เป็นน�้าตาล Biology 4. หลังจากกลุม ที่ 2 นําเสนอเรือ่ งโอลิโกแซ็กคาไรด
ที่เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ตั้งแต่ 2-10 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน in real
1 life ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ
ด้วยพันธะไกลโคซิดกิ (glycosidic bond) ซึง่ โอลิโกแซ็กคาไรด์ที่ น�้ า ตาลทรายสกั ด ได้ จ ากพื ช นักเรียน
หลายชนิด เช่น อ้อย (Sac-
ประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล เรียกว่า ไดแซ็กคาไรด์ charum spp.) ชู ก าร์ บี ต ï• โอลิโกแซ็กคาไรดเกิดขึ้นไดอยางไร
(disaccharides) หรือน�้าตาลโมเลกุลคู่ ได้แก่ มอลโทส ซูโครส (Beta vulgaris) ซูการ์เมเปิล (แนวตอบ เกิดจากการที่มอโนแซ็กคาไรด
และแลกโทส (Acer saccharum) ข้าวฝาง ตั้งแต 2-10 โมเลกุลมาเชื่อมตอกันดวย
(Sorghum vulgare) ซึ่งจาก
รายงานขององค์การอาหารและ พันธะไกลโคซิดิก)
การเกษตรแห่งสหประชาชาติ ï• จงอธิบายลักษณะและแหลงที่พบนํ้าตาล
หรือ FAO ค่าเฉลี่ยของการ มอลโทส แลกโทส และซูโครส
บริโภคน�้าตาลต่อคน คือ 24
กิโลกรัมต่อปี (แนวตอบ มอลโทส เกิดจากกลูโคส 2 โมเลกุล
เชื่อมตอกัน ละลายนํ้าไดดี มีรสหวานนอย
พบมากในขาวมอลต เมล็ดธัญพืชที่กําลัง
งอก ขาวโพด
CH2OH CH2OH
ภาพที่ 2.16 น�้าตาลทรายเป็นน�้าตาลโมเลกุลคู่ มีชื่อทางเคมีว่า ซูโครส O
แลกโทส เกิดจากกลูโคสเชือ่ มกับกาแลกโทส
H H H H H O H
1) มอลโทส (moltose) เกิดจากน�้าตาลกลูโคส 2 ผลึกเปนผงละเอียด ละลายนํ้าไดไมดี มีรส
OH H O OH H OH
โมเลกุลมาเชือ่ มต่อกัน เป็นน�า้ ตาลทีล่ ะลายน�า้ ได้ดี มีความหวาน
HO หวานนอย พบมากในนม
H OH H OH
น้อย (ประมาณ 0.4 เท่าของซูโครส) พบในข้าวมอลต์ทกี่ า� ลังงอก ซูโครส เกิดจากกลูโคสเชือ่ มกับฟรักโทส เปน
ภาพที่ 2.17 โครงสร้างของ
และข้าวโพด น�้าตาลมอลโทส ผลึกสีขาว ละลายนํา้ ไดดี มีรสหวาน พบมาก
CH2OH
ในออย ตาล มะพราว)
CH2OH
2) แลกโทส (lactose) เกิดจากน�้าตาลกลูโคส 1 H H O H H O OH
5. ใหนักเรียนสังเกตตําแหนงพันธะไกลโคซิดิก
โมเลกุลเชื่อมต่อกับน�้าตาลกาแลกโทส 1 โมเลกุล ผลึกจะเป็น OH H O OH H ในนํ้าตาลมอลโทสกับนํ้าตาลแลกโทส ซึ่งมี
HO H H
ผงละเอียดคล้ายทรายละเอียด ละลายน�้าได้ไม่ดี มีความหวาน ลักษณะตางกัน จากนั้นครูอธิบายวาการเกิด
H OH H OH
น้อยมากเมื่อเทียบกับซูโครส พบมากในน�้านมของมนุษย์และ ภาพที่ 2.18 โครงสร้างของ นํ้าตาลมอลโทสนั้น เกิดพันธะไกลโคซิดิกแบบ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม น�้าตาลแลกโทส α สวนการเกิดนํ้าตาลแลกโทสนั้น เกิดพันธะ
CH2OH CH2OH ไกลโคซิดิกแบบ β
3) ซูโครส (sucrose) เกิดจากน�า้ ตาลกลูโคส 1 โมเลกุล H
H
O H O H
เชื่อมต่อกับน�้าตาลฟรักโทส 1 โมเลกุล เป็นผลึกใส มีรสหวาน HO
OH H
O
H HO CH2OH
ละลายน�า้ ได้ดี โดยทัว่ ไปจะเรียกว่า น�า้ ตาลทรายหรือน�า้ ตาลอ้อย H OH OH H
พบมากในอ้อย ตาล และมะพร้าว ภาพที่ 2.19 โครงสร้างของ
น�้าตาลซูโครส
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 39
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับนํ้าตาลโมเลกุลคู 1 นํา้ ตาลทราย นอกจากมีไวเพือ่ รับประทานแลว ยังมีประโยชนอกี หลายดาน
1. มอลโทสเกิดจากกลูโคสรวมตัวกับกลูโคส ตัวอยางเชน
2. ซูโครสเกิดจากกลูโคสรวมตัวกับฟรักโทส - ทําความสะอาดมือ : นํ้าตาลทรายเปนสารที่มีฤทธิ์ในการขัดลอก จึงชวย
3. แลกโทสเกิดจากกลูโคสรวมตัวกับกาแลกโทส ขจัดคราบมันได
4. มอลโทส ซูโครส และแลกโทส เปนนํ้าตาลโมเลกุลคู - ดักมด : โดยตมนํ้าตาลทรายกับนํ้าจนเปนนํ้าเชื่อม แลวเทใสลงในขวด
5. มอโนแซ็กคาไรดเชื่อมตอกันดวยพันธะไกลโคเจนเกิดเปน ปากกวางหรือชาม จากนั้นวางทิ้งไวในที่เปดโลงเพื่อลอมด
โอลิโกแซ็กคาไรด - บรรเทาอาการลิ้นพอง : โดยโรยนํ้าตาลทรายลงบนลิ้นแลวอมไวชั่วคราว
อาการปวดแสบปวดรอนจะดีขึ้น
(วิเคราะหคาํ ตอบ มอโนแซ็กคาไรดเชือ่ มตอกันดวยพันธะไกลโค-
- ฆาแมลงสาบ : ผสมนํา้ ตาลทรายกับผงฟูในปริมาณเทากัน นํา้ ตาลทรายจะ
ซิดิก (glycosidic bond) เกิดเปนโอลิโกแซ็กคาไรด ดังนั้น ตอบ
ลอใหแมลงสาบเขามากิน สวนผงฟูจะทําใหแมลงสาบตาย
ขอ 5.) - จุดไฟ : หากมีปญหาในการติดเตาถาน ใหโรยนํ้าตาลทรายลงไปเล็กนอย
จะชวยทําใหไฟติดไดงายขึ้น
- รักษาความสดของบิสกิต : ใสนํ้าตาลทรายเล็กนอยลงในโหลใสบิสกิต
จะชวยดูดซับความชื้นและทําใหบิสกิตคงความกรอบไดยาวนาน
T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. หลังจากกลุม ที่ 3 นําเสนอเรือ่ งพอลิแซ็กคาไรด 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) เกิดจากการเชื่อมต่อกันของมอโนแซ็กคาไรด์
ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ ตั้งแต่ 11 ถึง 1,000 โมเลกุล ท�าให้เกิดเป็นรูปพอลิเมอร์ที่มีสถานะเป็นของแข็งที่ไม่ละลายน�้า
นักเรียน และไม่มรี สหวาน พอลิแซ็กคาไรด์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไปตามชนิดและจ�านวนมอโนแซ็กคาไรด์
•ï พอลิแซ็กคาไรดเกิดขึน้ ไดอยางไร ที่เป็นองค์ประกอบ ซึ่งกระบวนการเกิดพอลิเมอร์ของน�้าตาล เป็นดังสมการ
(แนวตอบ เกิดจากการที่มอโนแซ็กคาไรด
nC6H12O6 (C6H10O5)n + nH2O
ตั้งแต 11-1,000 โมเลกุลเชื่อมตอกันดวย
พันธะไกลโคซิดิก) ตัวอย่างพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบมากในธรรมชาติ มีดังนี้
•ï จงอธิ บ ายลั ก ษณะ และแหล ง ที่ พ บแป ง 1) แปง (starch) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบในพืช มีโครงสร้าง 2 รูปแบบ คือ อะไมโลส
เซลลูโลส และไกลโคเจน (amylose) ประกอบด้วยกลูโคสเรียงตัวต่อกันเป็นเส้นยาวทีไ่ ม่มกี ารแตกแขนง ซึง่ เชือ่ มต่อกันแบบ
(แนวตอบ แปง ประกอบดวยกลูโคสเรียงตัว ∝(1 4) glycosidic bond ส่วนอะไมโลเพกทิน (amylopectin) ประกอบด้วยกลูโคสเรียงต่อกัน
ตอกันเปนเสนยาว ซึ่งถาไมมีการแตกแขนง เป็นเส้นยาว และมีการแตกแขนงเป็นกิ่งก้าน โดยเชื่อมต่อกันแบบ ∝(1 6) glycosidic bond
จะไดอะไมโลส แตถา มีการแตกแขนง จะได 2) เซลลูโลส (cellulose) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบมากที่สุดในพืช เป็นองค์ประกอบ
อะไมโลเพกทิน พบในพืช ที่ส�าคัญของผนังเซลล์ เกิดจากโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวที่ไม่แตกแขนง โดย
เซลลูโลส ประกอบดวยกลูโคสเรียงตัวตอ เชื่อมกันแบบ β(1 2) glycosidic bond ท�าให้มีลักษณะเป็นเส้นใยที่เหนียว ไม่ละลายน�้า
กันเปนเสนยาวทีไ่ มแตกแขนง เสนใยเหนียว ซึ่งเมื่อมนุษย์รับประทานเข้าไปร่างกายจะไม่
1 สามารถย่อยสลายได้ เพราะไม่มีเอนไซม์ที่ท�าหน้าที่
ไมละลายนํ้า พบในพืช ย่อยสลายเซลลูโลส แต่ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่น วัว ควาย ม้า จะมีเอนไซม์เซลลูเลส (cellulase)
ไกลโคเจน ประกอบดวยกลูโคสเรียงตัวตอ ท�าหน้าที่ย่อยสลายเซลลูโลสได้เป็นกลูโคส
กันเปนเสนยาวที่มีการแตกแขนง พบใน 3) ไกลโคเจน (glycogen) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบมากในสัตว์ (บริเวณกล้ามเนื้อ
สัตว) และตับ) เกิดจากกลูโคสเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวที่มีการแตกแขนงเป็นกิ่งก้าน มีโครงสร้าง
7. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ในพืชแตละชนิดจะมี คล้ายกับอะไมโลเพกทิน แต่สายโมเลกุลจะสั้นและแตกแขนงมากกว่า
ปริมาณอะไมโลสและอะไมโลเพกทินตางกัน นอกจากนี้แล้วยังมีพอลิแซ็กคาไรด์อีกหลายชนิด เช่น ไคทิน (chitin) พบในเปลือกกุ้ง
เชน ขาวเหนียว มีอะไมโลเพกทินรอยละ 99 เพกทิน (pectin) พบในเปลือกส้มโอ เป็นต้น
มีอะไมโลสรอยละ 1 สวนขาวเจามีอะไมโลส
รอยละ 7-33 จึงทําใหขา วเหนียวมีความเหนียว
มากกวาขาวเจามาก

อะไมโลส อะไมโลเพกทิน เซลลูโลส ไกลโคเจน


ภาพที่ 2.20 พอลิแซ็กคาไรด์ชนิดต่าง ๆ

40

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สัตวเคี้ยวเอื้อง ในระบบยอยอาหารของสัตวเคี้ยวเอื้อง อาหารที่สัตวกิน โครงสรางของแปง เซลลูโลส และไกลโคลเจนแตกตางกันอยางไร
จะถูกเคี้ยวอยางหยาบๆ และกลืนลงไปกับนํ้าลายผานหลอดอาหารเขาไปใน (วิเคราะหคําตอบ โครงสรางของแปง เซลลูโลส และไกลโคลเจน
กระเพาะหมัก (rumen) ซึ่งเปนกระเพาะขนาดใหญและเปนที่อยูของจุลินทรีย มีความแตกตางกัน ดังนี้
หลายชนิดที่ชวยยอยอาหาร โดยกลุมของจุลินทรียจะทําหนาที่หลักในการผลิต โครงสรางของแปงประกอบดวยอะไมโลสที่มีโครงสรางเปนโซตรง
เอนไซมเพือ่ ยอยสลายเสนใยของพืช เชน เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) ประมาณรอยละ 20 และอะไมโลเพกตินที่มีโครงสรางเปนโซกิ่ง
เพกติน (pectin) เปนตน ประมาณรอยละ 80
โครงสร า งของเซลลู โ ลสประกอบด ว ยกลู โ คสจํ า นวนมาก
เชือ่ มตอกันเปนพอลิเมอรโซตรงเชนเดียวกับอะไมโลส แตมลี กั ษณะ
สื่อ Digital การเชื่อมตอที่แตกตางจากแปง
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเซลลูโลส ไดจาก โครงสร า งของไกลโคเจนประกอบด ว ยกลู โ คสเชื่ อ มต อ กั น
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง เซลลูโลส คลายกับอะไมโลเพกติน แตมีมวลโมเลกุลและมีโซกิ่งมากกวา)
https://www.twig-aksorn.com/fi f ilm/
glossary/cellulose-6986/

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
B iology 1. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาเรื่อง การทดสอบ
Focus การทดสอบคารโบไฮเดรต คารโบไฮเดรต จากหนังสือเรียน
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลเล็กที่สุด คือ มอโนแซ็กคาไรด์ 2. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ทํ า กิ จ กรรม เรื่ อ ง
ซึ่งเมื่อน�ามอโนแซ็กคาไรด์ตั้งแต่ 2-10 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน คารโบไฮเดรต โดยครูแจกกระดาษ A4 ให
จะเกิดเป็นโครงสร้างที่ซับซ้อนขึ้น เรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์
ซึ่งคาร์โบไฮเดรตแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน โดยการ ีน�้าต
าล นักเรียนกลุม ละ 6 แผน ใหนกั เรียนตอกระดาษ
ไม่ม
ทดสอบคาร์โบไฮเดรตประเภทต่าง ๆ ท�าได้ ดังนี้ มีน�้าตาลเล็กน้อย ให เ ป น แผ น ใหญ สรุ ป ใจความสํ า คั ญ เรื่ อ ง
มีน�้า
1. การทดสอบมอโนแซ็กคาไรด์ และโอลิโกแซ็กคาไรด์ ตาลม
าก
คารโบไฮเดรตเปนผังมโนทัศนใหมีความนา
(ยกเว้นน�้าตาลซูโครส) อาหาร + สนใจ โดยอาจมีประเด็นตางๆ ดังนี้
น�้าตาลทั้งสองชนิดนี้เป็นสารอินทรีย์ที่ในโมเลกุลมี สารละลายเบเนดิกต์ • ïสูตรโมเลกุล
หมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (- CHO) ประกอบอยู่ เมื่อน�าไปต้มกับ • ïประเภท
ภาพที่ 2.21 การทดสอบน�้าตาล
สารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ ดังสมการ มอโนแซ็กคาไรด์ - มอโนแซ็กคาไรด (ชนิด ลักษณะ แหลงทีพ่ บ)
O O - โอลิโกแซ็กคาไรด (ชนิด ลักษณะ แหลงทีพ่ บ)
R C H + 2Cu2+ + 5OH- R C O- + Cu2O + 3H2O - พอลิแซ็กคาไรด (ชนิด ลักษณะ แหลงทีพ่ บ)
มอโนแซ็กคาไรด์
หรือโอลิโกแซ็กคาไรด์ สารละลายเบเนดิ
สารละลายเบเนดิกกต์ต์* เกลืเกลื
อของกรดอิ นทรีนยทรี
อของกรดอิ ์ ยตะกอนสี แดงอิ
์ ตะกอนสี ฐ ฐน�้า น�้า
แดงอิ
ï• การทดสอบ
ยกเว้นซูโครส ï• ความสําคัญตอสิ่งมีชีวิต
* สารละลายเบเนดิกต์ (benedict solution) เป็นสารละลายผสมระหว่าง CuSO4 Na2CO3
และโซเดียมซิเตรด เป็น Cu 2+/ OH- ซึ่งมีสีน�้าเงิน

2. การทดสอบน�้าตาลพอลิแซ็กคาไรด์
สามารถแบ่งตามลักษณะของน�้าตาลพอลิแซ็กคาไรด์
ได้ดังนี้
1) แป้ง : ทดสอบได้โดยการเติมสารละลายไอโอดีน ีแป้ง
ไม่ม
ลงไป จะได้ตะกอนสีน�้าเงินเข้ม
แป้ง + I2 สารเชิงซ้อนสีน�้าเงินเข้ม (ตะกอน) มีแป
้ง

2) น�้าตาลโมเลกุลใหญ่ เช่น เซลลูโลส เมื่อน�ามา อาหาร +


สารละลายไอโอดีน
ทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น
แต่ถ้าเติมกรดลงไปแล้วน�าไปต้ม จะเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
ภาพที่ 2.22 การทดสอบแป้ง
ซึ่งจะเกิดตะกอนสีแดงอิฐกับสารละลายเบเนดิกต์ได้

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 41
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด
นําหลอดทดลอง 2 หลอด ที่ประกอบดวยสารตางกัน ดังนี้
หลอดที่ 1 ประกอบดวยนํ้าตาลทราย 1 กรัม ละลายในนํ้า 9 กรัม
หลอดที่ 2 ประกอบดวยนํ้าตาลทราย 1 กรัม ละลายในนํ้า 9 กรัม และเติม HCl ลงไปเล็กนอย
เมื่อหยดสารละลายเบเนดิกตลงไปในหลอดทดลองทั้ง 2 หลอด ขอสรุปใดถูกตอง
1. หลอดที่ 1 จะเกิดปฏิกิริยาไดตองมีการใหความรอน
2. การเติม HCl ในหลอดที่ 2 ไมมีผลตอการเกิดปฏิกิริยา
3. สารละลายในหลอดที่ 1 และ 2 จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
4. หลอดที่ 2 จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ เนื่องจากโครงสรางของนํ้าตาลมีหมูคารบอนิล
5. การเติม HCl ในหลอดที่ 2 จะชวยทําใหเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ไดนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว
(วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ไมถูกตอง เพราะนํ้าตาลทรายจะไมทําปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต แมจะมีการใหความรอน
ขอ 2. ไมถกู ตอง เพราะการเติม HCl ลงไปในหลอดที่ 2 จะชวยทําใหนาํ้ ตาลทรายถูกไฮโดรไลซไปเปนนํา้ ตาลกลูโคส และนํา้ ตาลฟรักโทส
ขอ 3. ไมถูกตอง เพราะสารละลายในหลอดที่ 1 ไมเกิดการเปลี่ยนแปลง แตสารละลายในหลอดที่ 2 จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
ขอ 4. ไมถูกตอง เพราะหลอดที่ 2 เกิดตะกอนสีแดงอิฐได เนื่องจากโครงสรางของนํ้าตาลประกอบดวยหมูคารบอกซาลดีไฮด
ดังนั้น ตอบขอ 5.)

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางอาหารที่มี 3.2 โปรตีน
สารอาหารประเภทโปรตีน โปรตีน (protein) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยหน่วยย่อย
2. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของ เรียกว่า กรดอะมิโน (amino acid) ที่เชื่อมต่อกันเป็นสายยาวด้วยพันธะเพปไทด์ (peptide bond)
นักเรียน โดยแต่ละโมเลกุลของกรดอะมิโนนั้นจะประกอบด้วยธาตุหลัก
ï• สารอาหารประเภทโปรตีนมีความสําคัญตอ 4 ชนิด ได้แก่ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) และ
รางกายอยางไร ไนโตรเจน (N) นอกจากนั้นยังมีธาตุอื่น ๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น
(แนวตอบ ก�ามะถัน (S) ฟอสฟอรัส (P) เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn) เป็นต้น
- ชวยในการเจริญเติบโต 1. กรดอะมิโน (amino acid) เป็นสารประกอบอินทรียท์ ่ี
- เปนแหลงพลังงาน มีโมเลกุลหมูอ่ ะมิโน (-NH2) และหมูค่ าร์บอกซิล (-COOH) เป็น
- เปนเอนไซมเรงปฏิกิริยาเคมีในรางกาย องค์ประกอบ กรดอะมิโนทีพ่ บว่าเป็นองค์ประกอบของโปรตีนใน
- เปนโครงสรางของเซลล เยือ่ หุม เซลล เปน สิ่งมีชีวิตทั่วไป มีเพียง 20 ชนิด โดยกรดอะมิโนแต่ละชนิดจะมี
องคประกอบของโครโมโซม ความแตกต่างกันในส่วนของหมู่แทนที่ (R-group)
ภาพที่ 2.23 โปรตีนพบในอาหาร
- เสริมสรางภูมิคุมกัน) จ�าพวกเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์
และถั่วต่าง ๆ
หมู่อะมิโน หมู่คาร์บอกซิล

H H O

H N C C O H
R
ภาพที่ 2.24 สูตรโครงสร้างหลักของกรดอะมิโน

ชนิดของกรดอะมิโน
การจ�าแนกชนิดของกรดอะมิโนตามความต้องการของร่างกาย แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
กรดอะมิโนทีจ่ า� เป็น (essential amino acid) เป็นกรดอะมิโนทีร่ า่ งกายไม่สามารถสังเคราะห์ขนึ้ ได้เอง
จึงต้องได้รับจากอาหารจ�าพวกเนื้อสัตว์ ไข่ นม และเครื่องในสัตว์ ซึ่งมนุษย์จะต้องการกรดอะมิโน
ทีจ่ า� เป็นแตกต่างกันไป ขึน้ อยูก่ บั ช่วงวัย โดยวัยผูใ้ หญ่ตอ้ งการ 8 ชนิด ส่วนในวัยเด็กต้องการ 10 ชนิด
กรดอะมิโนที่ไม่จ�าเป็น (nonessential amino acid) เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายนั้นสามารถสังเคราะห์
ขึ้นเองได้จากอาหารที่ร่างกายสะสมเอาไว้ โดยผ่านกระบวนการทรานอะมิเนชัน (transamination)
ซึ่งกรดอะมิโนที่ไม่จ�าเป็นมี 10 ชนิด

42

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรตีน ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ขอใดจัดเปนสารโปรตีนทั้งหมด
โปรตีน https://www.twig-aksorn.com/fifilm/food-basics-proteins-8187/ 1. ไกลโคเจน อินซูลิน
หรือ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/protein-6776/ 2. เฮโมโกลบิน อีลาสติน
3. เฮโมโกลบิน เซลลูโลส
4. เซลลูโลส ไกลโคเจน
5. เซลลูโลส คอลลาเจน
(วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากเฮโมโกลบิน อีลาสติน คอลลาเจน
อินซูลิน เปนโปรตีน สวนเซลลูโลส ไกลโคเจน เปนคารโบไฮเดรต
ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู

ตารางที่ 2.4 : กรดอะมิโน 20 ชนิด ในร่ำงกำยสิ่งมีชีวิต 1. ให นั ก เรี ย นสั ง เกตภาพสู ต รโครงสร า งของ
กรดอะมิโนที่จ�าเป็น กรดอะมิโนที่ไม่จ�าเป็น กรดอะมิโน จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4
อาร์จีนีน * (Arginine : Arg) อะลานีน (Alanine : Ala) เลม 1 แลวครูถามคําถามวา
ฮีสทิดีน * (Histidine : His) แอสปาราจีน (Asparagine : Asn) ï• โครงสร า งของกรดอะมิ โ นมี ธ าตุ ใ ดเป น
ไอโซลิวซีน (Isoleucine : Ile) กรดแอสปาร์ติก (Aspartic acid : Asp) องคประกอบบาง
ลิวซีน (Leucine : Leu) ซิสเทอีน (Cystein : Cys) (แนวตอบ คารบอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และ
ไลซีน (Lysine : Lys) กรดกลูตามิก (Glutamic acid : Glu) ไนโตรเจน)
เมไทโอนีน (Methionine : Met) กลูตามีน (Glutamine : Gln) •ï กรดอะมิโนทีเ่ ปนองคประกอบของโปรตีนใน
ฟีนิลอะลานีน (Phenylalanine : Phe) ไกลซีน (Glycine : Gly) สิ่งมีชีวิตมีกี่ชนิด จงยกตัวอยาง
ทรีโอนีน (Threonine : Thr) โปรลีน (Proline : Pro) (แนวตอบ 20 ชนิด ซึ่งดูขอมูลไดจากหนังสือ
ทริปโตเฟน (Tryptophan : Trp) ซีรีน (Serine : Ser) เรียน)
วาลีน (Valine : Val) ไทโรซีน (Tyrosine : Tyr) 2. ใหนกั เรียนสังเกตภาพการเชือ่ มตอกันของกรด
* อาร์จีนีนและฮีสทิดีน เป็นกรดอะมิโนที่จ�าเป็นในเด็ก อะมิโนดวยพันธะเพปไทด จากหนังสือเรียน
ชีววิทยา ม. 4 เลม 1
2. พันธะเพปไทด์ (peptide bond) เป็นพันธะทีเ่ ชือ่ มต่อกรดอะมิโน โดยอาศัยการรวมตัว ï• พันธะเพปไทดเกิดขึ้นไดอยางไร
ของหมู่คาร์บอกซิลกับหมู่อะมิโน ซึ่งจากการเชื่อมต่อกันนั้นจะได้สายของกรดอะมิโนที่เรียกว่า (แนวตอบ : เกิดจากการเชื่อมตอกันระหวาง
เพปไทด์ (peptide) และได้น�้า 1 โมเลกุล โดยหากกรดอะมิโน 2 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน จะเรียกว่า หมูคารบอกซิลของกรดอะมิโนโมเลกุลหนึ่ง
ไดเพปไทด์ (dipeptide) กรดอะมิโน 3 โมเลกุล มาเชื่อมต่อกัน เรียกว่า1 ไตรเพปไทด์ (tripeptide) กั บ หมู  อ ะมิ โ นของกรดอะมิ โ นอี ก โมเลกุ ล
และถ้ากรดอะมิโนหลายโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน เรียกว่า พอลิเพปไทด์ (polypeptide)
หนึ่ง)
ไกลซีน อะลานีน ซิสเทอีน ï• เมือ่ เกิดพันธะเพปไทดจะมีสารใดเกิดขึน้ บาง
H H O H H O H H O (แนวตอบ : เกิดสายของกรดอะมิโนทีเ่ รียกวา
H N C C O H H N C C O H H N C C O H เพปไทด และเกิดนํ้า 1 โมเลกุล)
H H C H H C H
3. ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน
H2O H H2O S
เพื่อเลนเกมตอลูกปด โดยการแจกลูกปดให
H
H H O H H O H H O นักเรียนกลุมละ 4 สี สีละ 5 เม็ด แลวให
H N C C N C C N C C O H นักเรียนลองตอลูกปดแบบตางๆ ซึ่งเปรียบได
H H C H H C H กับการสรางสายเพปไทด โดยจะแทนลูกปด
H S แตละสีเปนกรดอะมิโนแตละชนิด
พันธะเพปไทด์ H
ภาพที่ 2.25 ตัวอย่างการเชื่อมต่อกันของกรดอะมิโนด้วยพันธะเพปไทด์
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 43
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


จงอธิบายขั้นตอนวิธีการทดสอบโปรตีน 1 พอลิเพปไทด ถากรดอะมิโน n ชนิด ชนิดละ 1 โมเลกุล มาทําปฏิกิริยา
(วิเคราะหคําตอบ การทดสอบโปรตีน ใชการทดสอบที่เรียกวา เกิดเปนพอลิเพปไทดแบบตาง ๆ โดยทีพ่ อลิเพปไทดแตละแบบตางประกอบดวย
การทดสอบไบยูเร็ต โดยการเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด กรดอะมิโนแตละชนิดเทา ๆ กัน จะพบวา
(NaOH) และสารละลายคอปเปอร (II) ซัลเฟต (CuSO4) ลงไปใน
จํานวนพอลิเพปไทด = n! (อานวา n factorial)
อาหารที่ตองการทดสอบ ถาสารละลายเปลี่ยนจากสีฟาเปนสีมวง
แสดงวามีโปรตีนอยู)
สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับกรดอะมิโน ไดจาก
ภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง กรดอะมิโน
https://www.twig-aksorn.com/fi f ilm/
glossary/amino-acid-6742/#

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
4. ใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอวากลุมตนเอง 3. ประเภทของโปรตีน (protein classification) อาจจ�าแนกโปรตีนโดยอาศัยหลักเกณฑ์
ตอลูกปดไดกี่แบบ อยางไรบาง จากนั้นครู หลายแบบ เช่น จ�าแนกตามหน้าที่ ลักษณะโมเลกุล หรือสมบัติทางเคมี เป็นต้น โดยทั่วไปมักจะ
ตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบวา จ�าแนกตามสมบัติทางเคมี ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
•ï เพปไทดที่ประกอบดวยกรดอะมิโน 4 ชนิด 1) โปรตีนเชิงเดี่ยว (simple protein) เป็นโปรตีนที่
ชนิดละ 1 โมเลกุล จะมีสายเพปไทดทมี่ ลี าํ ดับ ประกอบด้วยกรดอะมิโนเพียงอย่างเดียวโดยไม่มสี ารอืน่ มาเจือปน
กรดอะมิโนที่แตกตางกันไดกี่แบบ เช่น อัลบูมิน (albumin) ในไข่ขาว เคราทิน (keratin) ในเส้นผม
(แนวตอบ 24 วิธี โดยคิดไดจากสูตร n! โกลบูลิน (globulin) ในเม็ดเลือดแดง เป็นต้น
(n factorial) ซึง่ n คือ จํานวนชนิดของกรด 2) โปรตีนเชิงประกอบ (compound protein) เป็น
อะมิโน แทนคาสูตร 4! = 4 × 3 × 2 × 1 = 24) โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนและมีสารอื่นมาเชื่อมต่อด้วย
5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปวา ตัวอย่างเช่น ภาพที่ 2.26 อัลบูมินเป็นโปรตีน
เชิงเดี่ยวที่พบในไข่ขาว
เนือ่ งจากการจัดเรียงตัวและจํานวนกรดอะมิโน • เฮโมโกลบิน (hemoglobin) ในเม็ดเลือดแดง
ทีเ่ ปนองคประกอบแตกตางกัน จึงทําใหโปรตีน ประกอบด้วยฮีม (heme) กับโกลบูลิน (globulin) H. O. T. S.
แตละชนิดมีสมบัตแิ ตกตางกัน • เคซีน (casein) ในน�้านม ประกอบด้วยกรดฟอส คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
ฟอริก (phosphoric acid) กับโปรตีน เ พ ป ไ ท ด ์ ที่
• ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) เป็นโปรตีนทีจ่ บั กับ ประกอบด้ ว ย
คาร์โบไฮเดรต ก ร ด อ ะ มิ โ น
• ลิโพโปรตีน (lipoprotein) เป็นโปรตีนที่สร้าง จ� า นวน 6 ชนิ ด ชนิดละ 1
โมเลกุล จะมีสายเพปไทด์ที่
สารประกอบเชิงซ้อนกับไขมัน มีล�าดับกรดอะมิโนที่ต่างกัน
• ฟอสโฟโปรตีน (phosphoprotein) เป็นโปรตีนที่ ได้กี่แบบ
จับกับหมู่ฟอสเฟต

B iology
Focus การทดสอบโปรตีน
การทดสอบโปรตีน ใช้การทดสอบทีเ่ รียกว่า การทดสอบไบยูเร็ต
โดยการเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และสารละลาย ีโปรต
ีน
ไม่ม
คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต (CuSO4) ลงไปในอาหารที่ต้องการทดสอบ
มีโปร
ถ้าสารละลายเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีม่วง แสดงว่ามีโปรตีนอยู่ ตีน
อาหาร +
โปรตีน + CuSO4 NaOH สารสีม่วง NaOH + CuSO4
ภาพที่ 2.27

44

ขอสอบเนน การคิด
CONH2 OH
(CH2)2 H H H CH H H
H2 CO N CO N CO N COOH พันธะเพปไทด
H CH2 H CH3
CONH2 CONH2 OH
จากสูตรโครงสรางเพปไทดที่กําหนดให ขอใดกลาวผิด (CH2)2 CH
1. โมเลกุลนี้ เรียกวา เตตระเพปไทด HH H HH
2. โมเลกุลนี้มีพันธะเพปไทด 3 พันธะ H2 CO N CO N CO N COOH
3. เพปไทดนี้ประกอบไปดวยกรดอะมิโน 3 ชนิด H H CH3
CH2
4. เพปไทดนี้ประกอบไปดวยกรดอะมิโน 4 ชนิด
CONH2
5. เมื่อนําเพปไทดนี้ไปทดสอบไบยูเร็ตจะไดสารสีมวง
(วิเคราะหคําตอบ จากสูตรโครงสราง สังเกตไดวา R1, R2, R3 และ R4 ไมซํ้ากัน จึงแสดงวามีกรดอะมิโน 4 ชนิด รวมตัวกันดวย
พันธะเพปไทด 3 พันธะ จึงเรียกโมเลกุลนี้วา เตตระเพปไทด และเมื่อนําสารนี้ไปทดสอบไบยูเร็ตจะไดสารสีมวง ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3.3 ลิพิด 1. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางอาหารที่มี
ลิพิด (lipid) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นแหล่งพลังงานที่ส�าคัญของร่างกาย มีสมบัติ สารอาหารประเภทลิพิด
ไม่ละลายน�้า แต่สามารถละลายได้ในสารละลายอินทรีย์หลายชนิด เช่น คลอโรฟอร์ม อะซิโตน 2. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของ
อีเทอร์ เป็นต้น โมเลกุลของลิพิดประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน นักเรียน
ซึ่งจ�านวนคาร์บอนและไฮโดรเจนนั้นจะมีความแตกต่างกันตามชนิดของลิพิด ï• เมือ่ กลาวถึงลิพดิ นักเรียนนึกถึงสารชนิดใด
ลิพิดที่สะสมภายในร่างกายจะช่วยป้องกันการกระทบ (แนวตอบ นํ้ามัน ไขมัน ไข)
กระเทือนของอวัยวะภายใน ช่วยรักษาความอบอุ่นของร่างกาย ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา สารจําพวก
รวมทั้งเป็นองค์ประกอบที่ส�าคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ ลิพิดนอกจากจะมีนํ้ามัน ไขมัน และไขแลว
ลิพิดจ�าแนกตามโครงสร้างได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้ ยังมีอีกหลายชนิด เชน ฟอสโฟลิพิด ไกลโค
1. ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) ได้แก่ ไขมัน น�้ามัน ลิพิด สเตรอยด เปนตน ซึ่งนักเรียนจะได
และไข โดยที่อุณหภูมิห้องไขมันมีสถานะเป็นของแข็ง น�้ามันมี ศึกษาตอไป
สถานะเป็นของเหลว ส่วนไขพบได้ตามผิวหนัง ใบไม้ และผลไม้ ï• ลิพิดละลายนํ้าไดหรือไม และละลายใน
บางชนิด สารใดไดบาง
โมเลกุลของไขมันและน�้ามันจะประกอบด้วยหน่วยย่อย ( แนวตอบ ลิ พิ ด มี ส มบั ติ ไ ม ล ะลายนํ้ า แต
2 ส่วน คือ กรดไขมัน (fatty acid) และกลีเซอรอล (glycerol) สามารถละลายไดในสารละลายอินทรีย เชน
1
หากกรดไขมันในโมเลกุลของไขมันและน�า้ มันมี 1 โมเลกุล คลอโรฟอรม อะซิโตน อีเทอร เปนตน)
จะเรียกว่า มอนอกลีเซอไรด์ (monoglyceride) หากมี 2 โมเลกุล ภาพที่ 2.28 ลิพิดพบได้ในอาหาร ï• ลิพิดมีประโยชนตอรางกายอยางไร
เรียกว่า ไดกลีเซอไรด์ (diglyceride) หากมี 3 โมเลกุล เรียกว่า จ�าพวกน�้ามัน ไขมัน และเนย (แนวตอบ ลิพดิ มีเปนสารอาหารทีใ่ หพลังงาน
ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ใหความอบอุนแกรางกาย ชวยปองกันการ
O O กระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน)
HO C R H2C O C R
H2C OH O O
HC OH + HO C R HC O C R + 3H2O
H2C OH O O
HO C R H2C O C R
กลีเซอรอล กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ น�้า

ภาพที่ 2.29 การเกิดไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์


1) กรดไขมัน (fatty acid) มีสมบัตไิ ม่ละลายน�า้ มีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูงขึน้ ตาม
จ�านวนคาร์บอนอะตอมทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยกรดไขมันส่วนมากมีจา� นวนคาร์บอนอะตอมระหว่าง 12 - 18
อะตอม
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 45
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


พิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดถูกตองเกี่ยวกับลิพิด 1 กรดไขมัน การบริโภคอาหารที่ขาดกรดไขมันจําเปนจะทําใหรางกายเกิด
1. สเตรอยดเปนลิพิดที่สามารถละลายนํ้าได ความผิดปกติได เชน ผิวหนังอักเสบ มีไขมันคั่งในตับ เกล็ดเลือดมีจํานวนลดลง
2. นํ้ามันมะกอกเหมาะกับการใชทอดอาหาร ติดเชือ้ ไดงา ย บาดแผลหายชา เสนผมหยาบ การเจริญเติบโตหยุดชะงัก เปนตน
3. ลิพิดเชิงเดี่ยวประกอบดวยกรดไขมันและโปรตีน ในนํา้ มันจากปลาทะเลมีกรดไขมันไมอมิ่ ตัว 2 ชนิด คือ EPA (eicosapentaenoic
4. DHA สามารถชวยลดระดับคอเลสเตอรอลในหลอดเลือดได acid) และ DHA (docosahexaenoic acid) ซึ่งชวยลดระดับไตรกลีเซอไรด
5. ฟอสโฟลิพิด 1 โมเลกุล ประกอบดวยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล และคอเลสเตอรอลในเลือดได
และกรดไขมัน 2 โมเลกุล
(วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกนั้น ขอ 1. ผิด เพราะ สเตรอยด
ไมสามารถละลายนํ้าได ขอ 2. ผิด เพราะ นํ้ามันมะกอกเหมาะกับ
สื่อ Digital
การผัด เนื่องจากมีกรดไขมันไมอิ่มตัวสูง ขอ 3. ผิด เพราะ ลิพิด ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ลิ พิ ด ได จ าก
เชิงเดี่ยวประกอบดวยกรดไขมันและแอลกอฮอล ขอ 5. ผิด เพราะ ภาพยนตร ส ารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง ลิ พิ ด
ฟอสโฟลิพิด ประกอบดวยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กรดไขมัน https://www.twig-aksorn.com/film/
2 โมเลกุล และหมูฟอสเฟต 1 โมเลกุล ดังนั้น ตอบขอ 4.) glossary/lipids-6763/

T51
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให นั ก เรี ย นสั ง เกตภาพการเกิ ด ไขมั น ชนิ ด ประเภทของกรดไขมัน
ไตรกลีเซอไรด จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม. 4 หากพิจารณาตามระดับความอิ่มตัว สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
เลม 1 หนา 45 แลวครูถามคําถามวา กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid)
•ï โมเลกุลของไขมันและนํ้ามันประกอบดวย - กรดไขมันที่อะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว (single bond) และไม่สามารถ
จะรับอะตอมของไฮโดรเจนเข้าไปในโมเลกุลได้อีก
หนวยยอยใดบาง - มีสูตรทั่วไปเป็น CnH2n+1COOH
( แนวตอบ โมเลกุ ล ของไขมั น และนํ้ า มั น - ตัวอย่างกรดไขมันอิ่มตัว เช่น กรดบิวไทริก (C3H7COOH)
ประกอบด ว ยหน ว ยย อ ย 2 ส ว น ได แ ก กรดสเตียริก (C17H35COOH) เป็นต้น
กรดไขมัน (fatty acid) และกลีเซอรอล - พบได้ในไขมันจากสัตว์ และน�้ามันพืชบางชนิด เช่น น�้ามัน
มะพร้าว น�้ามันปาล์ม เป็นต้น
(glycerol)) กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid)
2. ใหนักเรียนทําความเขาใจการเรียกชนิดของ - กรดไขมันที่อะตอมของคาร์บอนบางอะตอมภายในโมเลกุล
ไขมันตามจํานวนโมเลกุลของกรดไขมัน ดังนี้ ต่อกันด้วยพันธะคู่ (double bond) และยังสามารถรับอะตอม
แทน C
- หากมีกรดไขมัน 1 โมเลกุล เรียกวา ของไฮโดรเจนเพิ่มได้อีก แทน H
- มีจุดหลอมเหลวต�่า แทน O
มอโนกลีเซอไรด - ท�าปฏิกิริยากับสารอื่นได้ง่าย โดยเฉพาะออกซิเจนในอากาศ ภาพที่ 2.30 โครงสร้างของกรด
- หากมีกรดไขมัน 1 โมเลกุล เรียกวา จะเข้าท�าปฏิกริ ยิ าบริเวณพันธะคู่ เกิดสารประเภทเพอร์ออกไซด์ สเตียริก ซึ่งเป็นกรดไขมันอิ่มตัว
ไดกลีเซอไรด (peroxide) ท�าให้เกิดกลิ่นเหม็นหืน
- หากมีกรดไขมัน 1 โมเลกุล เรียกวา - ตัวอย่างกรดไขมันไม่อมิ่ ตัว เช่น กรดโอเลอิก (C17H33COOH) กรดอะราชิโดนิก (C19H31COOH)
กรดไลโนเลอิก (C17H31COOH) กรดปาล์มิโทเลอิก (C15H29COOH) เป็นต้น
ไตรกลีเซอไรด
หากพิจารณาตามความจ�าเป็นต่อร่างกายของมนุษย์ ได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
3. ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับชนิดลิพิด กรดไขมัน กรดไขมันที่จ�าเป็นต่อร่างกาย (essential fatty acid)
กลีเซอรอล จากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 - กรดไขมันทีร่ า่ งกายไม่สามารถสังเคราะห์ขนึ้ เองได้จงึ จ�าเป็นต้อง
เลม 1 ได้รับจากการบริโภคอาหาร
- มีความส�าคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็ก
- หากขาดกรดไขมันจ�าพวกนี้จะท�าให้การเจริญเติบโตผิดปกติ
ผิวหนังอักเสบ และผมร่วง
- ตัวอย่างกรดไขมันที่จ�าเป็นต่อร่างกาย เช่น กรดไลโนเลอิก
กรดไลโนเลนิก กรดอะราชิโดนิก เป็นต้น
- พบได้มากในน�้ามันถั่วเหลือง น�้ามันข้าวโพด และน�้ามัน แทน C
ดอกค�าฝอย แทน H
แทน O
กรดไขมันที่ไม่จ�าเป็นต่อร่างกาย (nonessential fatty acid)
- กรดไขมันที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้เอง ภาพที่ 2.31 โครงสร้างของกรด
- ตัวอย่างกรดไขมันที่ไม่จ�าเป็นต่อร่างกาย เช่น กรดปาล์มิติก โอเลอิก ซึ่งเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว
กรดสเตียริก เป็นต้น
46

สื่อ Digital กิจกรรม ทาทาย


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกรดไขมัน ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ครูนาํ อภิปรายเกีย่ วกับดัชนีมวลกาย (body mass index) ที่
กรดไขมันอิ่มตัว https://www.twig-aksorn.com/film/glossary/saturated- จะชวยใหทาํ ทราบวารางกายมีนาํ้ หนักเกินมาตรฐานหรือไม แลวให
fats-7167/ และกรดไขมันไมอิ่มตัว https://www.twig-aksorn.com/fifilm/ นักเรียนรวมกันสืบคนขอมูลการหาคาดัชนีมวลกาย คามาตรฐาน
glossary/unsaturated-fats-7155/ ดัชนีมวลกายของคนทัว่ ไป และคํานวณคาดัชนีมวลกายของตนเอง
โดยดัชนีมวลกาย คิดไดจาก
ดัชมีมวลกาย = นํ้าหนักรางกาย 2 2
(Kg)
สวนสูง (m )
คนปกติมีคามาตรฐานดัชนีมวลกาย 18.5-24.9 km/m2 หาก
ดัชนีมวลกายมีคาตํ่ากวานี้ แสดงวา ผอม และหากดัชนีมวลกาย
มีคาสูงกวานี้ แสดงวา นํ้าหนักเกิน และอาจเปนโรคอวน

T52
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) กลีเซอรอล (glycerol) เป็นสารในกลุม่ แอลกอฮอล์ 1. ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ
CH2 N+(CH3)3 นักเรียน
มีสูตรโมเลกุล คือ C3H8O3 คอลีน
CH2
ปฏิกริ ยิ าการรวมตัวระหว่างโมเลกุลของกรดไขมันกับ O ï• กรดไขมันมีสมบัติอยางไร
ฟอสเฟต O P O_
โมเลกุลของกลีเซอรอล เรียกว่า ดีไฮเดรชัน (dehydration) หรือ ( แนวตอบ ไม ล ะลายนํ้ า จุ ด เดื อ ดและ
O
ปฏิกิริยาควบแน่น (condensation) โดยจะได้น�้ามา 1 โมเลกุล CH2 CH2 CH2 กลีเซอรอล จุดหลอมเหลวสูงขึ้นตามจํานวนคารบอน
ซึ่งไขมันที่ได้อาจจะเป็นมอนอกลีเซอไรด์ (monoglyceride) O O อะตอมทีเ่ พิม่ ขึน้ )
C O C O
ไดกลีเซอไรด์ (diglyceride) หรือไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) CH2 CH2 ï• การรวมตัวกันระหวางโมเลกุลกรดไขมันกับ
ขึน้ อยูก่ บั จ�านวนโมเลกุลของกรดไขมันทีเ่ ข้าท�าปฏิกริ ยิ า ซึง่ อาจ CH2 CH2 โมเลกุลกลีเซอรอล เรียกวาปฏิกิริยาอะไร
CH2 CH2
เป็น 1 2 หรือ 3 โมเลกุล ตามล�าดับ CH2 CH2
(แนวตอบ ดีไฮเดรชัน (dehydration) หรือ
2. ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) ในโมเลกุลจะ CH2 CH2 ปฏิกริ ยิ าควบแนน (condensation))
ประกอบด้วยกรดไขมัน กลีเซอรอล และมีสารอื่นเชื่อมต่ออยู่ CH2 CH2 ï• จงยกตัวอยางลิพดิ เชิงซอน และลิพดิ อนุพนั ธ
CH2 CH2
ด้วย เช่น ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) ไกลโคลิพิด (glycolipid) CH2 CH2 (แนวตอบ ลิพิดเชิงซอน เชน ฟอสโฟลิพิด
กรดไขมัน
ลิโพโปรตีน (lipoprotein) เป็นต้น CH2 CH2 ไกลโคลิ พิ ด ลิ โ พโปรตี น ลิ พิ ด อนุ พั น ธ
CH2 CH2
3. ลิพิดอนุพันธ์ (derived lipid) มีโครงสร้างแตกต่าง CH2 CH2 เช น คอเลสเตอรอล โพรเจสเทอโรน
จากลิพิดทั่วไป แต่มีสมบัติคล้ายลิพิด เช่น สามารถละลายได้ CH2 CH2 เทสโทสเทอโรน)
CH2 CH2
ในตัวท�าละลายอินทรีย์ ตัวอย่างลิพิดอนุพันธ์ เช่น สเตรอยด์ CH2 CH2
มีโครงสร้างทัว่ ไปเป็นวง 4 วง ประกอบด้วยอะตอมของคาร์บอน CH2 CH2
17 อะตอม และหมู1่ R ซึ่งจะแตกต่างกันตามชนิดของสเตรอยด์ CH2 CH2
CH2 CH2
เช่น คอเลสเตอรอล (choleterol) โพรเจสเทอโรน (progesterone)
เทสโทสเทอโรน (testosterone) ภาพที่ 2.32 โครงสร้างของ
ฟอสโฟลิพิด

CH3
C O OH
CH3 CH3
CH3 CH3

O O
โพรเจสเทอโรน เทสโทสเทอโรน
ภาพที่ 2.33 โครงสร้างของโพรเจสเทอโรน และเทสโทสเทอโรน ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของสเตรอยด์
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 47
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


กรดไขมันอิ่มตัวกับกรดไขมันไมอิ่มตัวแตกตางกันอยางไร 1 คอเลสเตอรอล ลิโพโปรตีนในเลือดที่ทําหนาที่ขนสงคอเลสเตอรอลมี 3
(วิเคราะหคาํ ตอบ กรดไขมันอิม่ ตัว อะตอมของคารบอนในโมเลกุล ชนิด ดังนี้
ตอกันดวยพันธะเดี่ยว พบในไขมันจากสัตว หรือจากพืชบางชนิด - ลิ โ พโปรตี น ที่ มี ค วามหนาแน น ตํ่ า (LDL) มี ป ระมาณร อ ยละ 65 ของ
เชน นํ้ามันมะพราว นํ้ามันปาลม คอเลสเตอรอลในเลือด ทําหนาที่ขนสงคอเลสเตอรอลไปสะสมที่ผนังของ
กรดไขมันไมอิ่มตัว อะตอมของคารบอนในโมเลกุลตอกันดวย หลอดเลือดแดง ซึ่งเมื่อรวมกับสารอื่นๆ จะเปนคราบอุดตันหลอดเลือด
พันธะคู ทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ เกิดเปนสารประเภท - ลิโพโปรตีนที่มีความหนาแนนตํ่ามาก (VLDL) มีเพียงรอยละ 15 ของ
เพอรออกไซด ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นหืน) คอเลสเตอรอลในเลือด แตเปนสารที่ตับตองการเพื่อใชสราง LDL ดังนั้น
ยิ่งมี VLDL มาก ตับก็ยิ่งสราง LDL ออกมามาก ทําใหมีความเสี่ยงตอการ
เปนโรคหัวใจมากขึ้น
- ลิ โ พโปรตี น ที่ มี ค วามหนาแน น สู ง (HDL) มี ป ระมาณร อ ยละ 20 ของ
คอเลสเตอรอลในเลือด ทําหนาที่ชวยกําจัดคราบอุดตันที่ผนังหลอดเลือด
และขนสงคอเลสเตอรอลโดยไมทําใหเกิดการอุดตัน

T53
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
1. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การทดสอบหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การสังเกต
ปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัว
ปริมาณกรดไขมันไมอมิ่ ตัวในนํา้ มันชนิดตางๆ ในนํ้ามันพืชและนํ้ามันสัตว
• การทดลอง
• การลงความเห็นจากข้อมูล
ดังนี้ จิตวิทยาศาสตร์
“สามารถทดสอบปริมาณกรดไขมันไมอมิ่ ตัว วัสดุอปุ กรณ์และสารเคมี • ความสนใจใฝรู้
• ความรอบคอบ
โดยให ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ ไอโอดี น ซึ่ ง ไอโอดี น 1. น�้ามันพืช เช่น น�้ามันปาล์ม 4. ตะเกียงแอลกอฮอล์
สามารถเขาทําปฏิกริ ยิ าบริเวณพันธะคูร ะหวาง น�้ามันเมล็ดทานตะวัน พร้อมที่กั้นลม
น�้ามันถั่วเหลือง เป็นต้น 5. บีกเกอร์ขนาด 50 มิลลิลิตร
อะตอมคารบอน เกิดเปนสารที่ไมมีสี ดังนั้น 2. น�้ามันสัตว์ เช่น น�้ามันหมู 6. แท่งแก้วคนสาร
หากนํา้ มันมีปริมาณกรดไขมันไมอมิ่ ตัวอยูม าก เนย เป็นต้น 7. หลอดหยด
จะสามารถฟอกสีของไอโอดีนไดมาก ” 3. สารละลายทิงเจอร์ไอโอดีน 1% 8. ไม้ขีดไฟ
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ปฏิบัติ
กิจกรรม เรื่อง ปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัวใน วิธปี ฏิบตั ิ
นํ้ามันพืชและนํ้ามันสัตว จากหนังสือเรียน
ชีววิทยา ม.4 เลม 1 แลวรวมกันอภิปรายและ
สรุปผลการทํากิจกรรม
1. น�าน�้ามันพืชและน�้ามันสัตว์ชนิดละ 10
50 50
40 40
30 30
20 20

มิ ล ลิ ลิ ต ร ใส่ ล งในบี ก เกอร์ ข นาด 50 10 10

มิลลิลิตร ชนิดละ 1 ใบ แล้วน�าไปอุ่น


ให้ร้อน

บีกเกอร์ใบที่ 1 บีกเกอร์ใบที่ 2
(น�้ามันพืช) (น�้ามันสัตว์)

2. หยดทิ ง เจอร์ ไ อโอดี น ลงในน�้ า มั น จาก


ข้อ 1. ทีละหยด คนด้วยแท่งแก้วคนสาร สารละลาย
(เมื่ อ หยดทิ ง เจอร์ ไ อโอดี น หยดแรกไป ทิงเจอร์ไอโอดีน
แล้ว ให้รอจนสีของทิงเจอร์ไอโอดีนจาง
หายไปก่อนแล้วจึงหยดทิงเจอร์ไอโอดีน 50 50
40 40
หยดต่อ ๆ ไป) จนกระทั่งหยดสุดท้าย 30 30
20 20
ที่สีของสารละลายไม่เปลี่ยนแปลง นับ 10 10
จ�านวนหยดทิงเจอร์ไอโอดีน บันทึกผล
อภิปรายและสรุปผลการทดลอง บีกเกอร์ใบที่ 1 บีกเกอร์ใบที่ 2
(น�้ามันพืช) (น�้ามันสัตว์)
ภาพที่ 2.34
48

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน (saponifification นํานํ้ามัน 5 ชนิด ในปริมาณเทากัน มาทําการทดสอบดวย
reaction) หรือการเกิดสบู โดยเกิดจากการทําปฏิกริ ยิ าระหวางไขมันหรือนํา้ มัน สารละลายทิงเจอรไอโอดีนไดผลดังตาราง
กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด และใหความรอนโดยการผานไอนํ้าลงใน ชนิดของนํ้ามัน จํานวนหยดของทิงเจอรไอโอดีน
สารละลายเปนเวลา 12-24 ชั่วโมง แลวแยกสบูออกจากสารละลายโดยการเติม A 7
โซเดียมคลอไรด จากนั้นทําสบูใหบริสุทธิ์ แลวเติมสี กลิ่น และทําเปนกอน ซึ่ง B 12
กระบวนการทําสบูจะไดกลีเซอรอลเปนผลพลอยได C 35
ไขมั น หรื อ นํ้ า มั น ที่ ใ ช ใ นการผลิ ต สบู  นั้ น มี อ งค ป ระกอบต า งกั น ทํ า ให D 50
คุณสมบัติของสบูแตกตางกัน เชน นํ้ามันมะพราว มีกรดไขมันอิ่มตัวถึงรอยละ E 24
80 จะใหสบูที่มีเนื้อแข็ง แตกงาย เหม็นหืนงาย มีฟองมาก ขณะที่นํ้ามันมะกอก นํ้ามันชนิดใดประกอบดวยกรดไขมันไมอิ่มตัวมากที่สุด
มีกรดไขมันไมอมิ่ ตัวอยูป ระมาณรอยละ 60 จะใหสบูม สี อี อกเหลือง แข็งตัวไดชา 1. ชนิด A 2. ชนิด B 3. ชนิด C
ไมเหม็นหืนงาย ใหฟองที่นุมนวลเปนครีม ชวยเพิ่มความชุมชื้นใหกับผิวหนัง 4. ชนิด D 5. ชนิด E
(วิเคราะหคําตอบ หากนํ้ามันชนิดใดใชจํานวนหยดของทิงเจอร
ไอโอดีนมาก แสดงวา นํ้ามันนัน้ มีพนั ธะคูร ะหวางคารบอน (C=C)
หรือประกอบดวยกรดไขมันไมอมิ่ ตัวจํานวนมาก ดังนัน้ ตอบขอ 4.)
T54
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
ค�าถามท้ายกิจกรรม 4. ครูตั้งคําถามเชื่อมโยงกับชีวิตประจําวัน ดังนี้
?
ï• เหตุ ใ ดเมื่ อ นํ า นํ้ า มั น พื ช บางชนิ ด ไปแช ใ น
1. กรดไขมันจากน�้ามันชนิดใดที่ท�าปฏิกิริยากับสารละลายทิงเจอร์ ไอโอดีน ตูเย็น นํ้ามันนั้นจะไมแข็งตัว
2. จงอธิบายปฏิกิริยาระหว่างกรดไขมันกับสารละลายทิงเจอร์ ไอโอดีน
3. จงเรียงล�าดับน�้ามันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด (แนวตอบ นํ้ามันพืชนั้นจะประกอบไปดวย
กรดไขมันไมอมิ่ ตัวปริมาณมาก ซึง่ กรดไขมัน
ไมอิ่มตัวสวนใหญมักจะมีจุดหลอมเหลวตํ่า
อภิปรายกิจกรรม
ประมาณ -0.5 ถึง -49 C ํ ซึง่ ตํา่ กวาอุณหภูมิ
จากกิจกรรมพบว่า ไขมันและน�้ามันที่ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว (C = C) เมื่อท�าปฏิกิริยากับ ในตูเ ย็น นํา้ มันนัน้ จึงไมแข็งตัว สวนกรดไข
สารละลายไอโอดีน (I2) จะเกิดปฏิกิริยาการเติมไอโอดีนที่บริเวณพันธะระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนที่จับ
กันด้วยพันธะคู่ ซึง่ หากไขมันและน�า้ มันชนิดใดสามารถฟอกสีหรือท�าให้สขี องสารละลายไอโอดีนจางลงได้มาก มันอิม่ ตัวสวนใหญมจี ดุ หลอมเหลวประมาณ
แสดงว่าไขมันและน�้ามันนั้นประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวปริมาณมาก 44-48 Cํ ซึง่ สูงกวาอุณหภูมใิ นตูเ ย็น นํา้ มันนัน้
จึงแข็งตัว)
ï• นํ้ามันที่ใชประกอบอาหารที่ขายทั่วไปใน
ทองตลาด มีความแตกตางกันอยางไร
(แนวตอบ นํ้ามันที่ขายในทองตลาดมีหลาย
B iology ชนิด เชน นํา้ มันรําขาว นํา้ มันปาลม นํา้ มัน
Focus ปฏิกิริยาสพอนนิฟเคชัน ถั่ ว เหลื อ ง นํ้ า มั น ข า วโพด นํ้ า มั น เมล็ ด
ปฏิกริ ยิ าสพอนนิฟเิ คชัน (sponification) เป็นปฏิกริ ยิ าไฮโดรไลซิสของไขมันและน�า้ มันด้วยเบส ทานตะวัน ซึ่งประกอบไปดวยกรดไขมัน
เกิดเป็นเกลือของกรดไขมัน (RCOO-Na+) หรือสบู่ และกลีเซอรอล ดังสมการ ไมอมิ่ ตัว สวนนํา้ มันจากสัตว เชน นํา้ มันหมู
O O ประกอบไปดวยกรดไขมันอิม่ ตัว)
CH2 O C R1 CH2 OH Na+O- C R1 แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
O O
CH O C R2 + 3NaOH CH OH + Na+O- C R2 1. กรดไขมันจากนํ้ามันพืช เชน นํ้ามันปาลม
O O นํา้ มันเมล็ดทานตะวัน นํา้ มันถัว่ เหลือง เปนตน
CH2 O C R3 CH2 OH Na+O- C R3 เปนกรดไขมันไมอมิ่ ตัวซึง่ มีพนั ธะคูใ นโมเลกุล
ไขมันและน�้ามัน เบส กลีเซอรอล สบู่ จะทําปฏิกิริยากับสารละลายทิงเจอรไอโอดีน
ภาพที่ 2.35 2. ปฏิ กิ ริ ย าระหว า งกรดไขมั น กั บ สารละลาย
สบู่ (soap) คือ เกลือของกรดไขมัน หากละลายน�้าจะแตกตัวให้ไอออนบวก และไอออนลบ ทิ ง เจอร ไ อโอดี น นั้ น เป น ปฏิ กิ ริ ย าการเติ ม
ซึ่งไอออนลบจะเป็นตัวที่ช�าระล้างสิ่งสกปรกต่าง ๆ โดยสามารถละลายได้ทั้งในตัวท�าละลายที่มีขั้วและ ไอโอดีนที่บริเวณพันธะระหวางคารบอนกับ
ไม่มีขั้ว คารบอนทีจ่ บั กันดวยพันธะคู (C= C) ของกรด
ไขมันไมอิ่มตัว
เคมีที่เป็นพื้นฐาน
ของสิ่งมีชีวิต
49 3. ขึน้ อยูก บั ชนิดของนํา้ มันทีน่ าํ มาใชในกิจกรรม
ซึง่ กรดไขมันไมอมิ่ ตัวสวนมากพบในนํา้ มันพืช
มากกวานํ้ามันสัตว

กิจกรรม 21st Centurey Skillsน การคิด


ขอสอบเน บันทึก กิจกรรม
ผลกิจกรรมขึน้ อยูก บั ชนิดของนํา้ มันทีน่ าํ มาทดสอบ โดยหากนํา้ มันชนิดใดสามารถ
ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ 5 คน ทํา
ฟอกสีของสารละลายทิงเจอรไอโอดีนไดมาก แสดงวานํ้ามันนั้นมีปริมาณกรดไขมัน
รายงาน เรื่อง การเหม็นหืนของนํ้ามัน โดยวางแผนการดําเนินการ
ไมอิ่มตัวปริมาณมาก โดยกรดไขมันไมอิ่มตัวพบมากในนํ้ามันจากพืช
แบงหนาทีใ่ หสมาชิกในกลุม รับผิดชอบ ซึง่ ในรายงานอาจมีประเด็น
ตางๆ ดังนี้
•ï การเกิดกลิ่นหืน
- ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
- ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสระหวางไขมันกับนํ้า
ï• การปองกันการเหม็นหืน
ï• สารปองกันการเหม็นหืน

T55
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของ 3.4 กรดนิวคลีอิก
นักเรียน กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมที่
ï• ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมดวยสารใด มีหน้าทีเ่ ก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชวี ติ จากรุน่ หนึง่ ไปยังรุน่ ต่อ ๆ ไป ตลอดจน
(แนวตอบ สารพันธุกรรม) ท�าหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต กรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด
•ï สารพันธุกรรมในสิง่ มีชวี ติ แตละชนิดเปนสาร ได้แก่ ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid : DNA) และอาร์เอ็นเอ (Ribonucleic acid : RNA) ซึ่ง
เดียวกันหรือไม อยางไร มีปริมาณแตกต่างกันไปตามชนิดของสิ่งมีชีวิต
(แนวตอบ สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตแตละ โมเลกุลของกรดนิวคลีอิกประกอบด้วยหน่วยย่อย เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
ชนิดแตกตางกัน โดยอาจเปน DNA หรือ ซึ่งแต่ละโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วยส่วนย่อย 3 ส่วน ดังนี้
RNA) 1) น�า้ ตาลเพนโทส (pentose sugar) เป็นน�า้ ตาลทีม่ คี าร์บอน 5 อะตอม น�า้ ตาลเพนโทสที่
2. ครู อ าจนํ า ภาพหรื อ แบบจํ า ลอง DNA ให เป็นส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์มี 2 ชนิด คือ ดีออกซีไรโบส (deoxyribose) ที่เป็นองค์ประกอบ
นักเรียนสังเกตลักษณะและสวนประกอบตางๆ ของดีเอ็นเอ และไรโบส (ribose) ที่เป็นองค์ประกอบของอาร์เอ็นเอ
3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ 2) ไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) เป็นสารอินทรีย์ที่มีอะตอมของคาร์บอนและ
นิวคลีโอไทล นํ้าตาลเพนโทส ไนโตรจีนัสเบส อะตอมของไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ซึง่ จะเชือ่ มต่อกับคาร์บอนต�าแหน่งที่ 1 ของน�า้ ตาลเพนโทส
และหมูฟอสเฟต โดยไนโตรจีนัสเบสแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
(1) พิวรีน (purine) มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวน 2 วง ได้แก่ อะดีนนี (Adenine; A)
และกวานีน (Guanine; G)
(2) ไพริมิดีน (pyrimidine) มีโครงสร้างหลักเป็นวงแหวนวงเดียว ได้แก่ ไซโทซีน
(Cytocine; C) ไทมีน (Thymine; T) และยูราซิล (Uracil; U)
3) หมู่ฟอสเฟต (phosphate group) เป็นสารที่มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ โดยจะ
เชื่อมต่อกับคาร์บอนต�าแหน่งที่ 5 ของน�้าตาลเพนโทส

O O
O P O O P O
O O

นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน

ภาพที่ 2.36 โครงสร้างของนิวคลีโอไทด์ที่มีไนโตรจีนัสเบสในกลุ่มพิวรีน

50

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับดีเอ็นเอ ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ขอใดเปนขอความที่ถูกตองเกี่ยวกับ DNA และ RNA
ดีเอ็นเอ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/what-is-dna-7931/ หรือ 1. DNA เปนสายเดีย่ ว สวน RNA เปนสายเกลียวคู
https://www.twig-aksorn.com/fifilm/factpack-dna-7935/ 2. ไนโตรจีนสั เบสทีอ่ ยูใ นโมเลกุลของ DNA คือ อะดีนนี กวานีน
ไทมีน และยูราซิล
3. ไนโตรจีนสั เบสทีอ่ ยูใ นโมเลกุลของ RNA คือ อะดีนนี กวานีน
ไซโทซีน และไทมีน
4. โมเลกุลของทัง้ DNA และ RNA ประกอบดวยสวนยอย คือ
หมูฟ อสเฟต และนํา้ ตาลเพนโทส
5. โมเลกุลของทัง้ DNA และ RNA ประกอบดวยสวนยอย คือ
หมูฟ อสเฟต นํา้ ตาลเพนโทส และไนโตรจีนสั เบส
ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง นิวคลีโอไทด (วิเคราะหคาํ ตอบ DNA เปนสายเกลียวคู สวน RNA เปนสายเดีย่ ว
ไนโตรจีนัสเบสใน DNA คือ อะดีนีน ไทมีน ไซโทซีน และกวานีน
สวนใน RNA คือ อะดีนีน ยูราซิล ไซโทซีน กวานีน โมเลกุลของทั้ง
นิวคลีโอไทด DNA และ RNA ประกอบดวยหมูฟอสเฟต นํ้าตาลเพนโทส และ

T56 www.aksorn.com/interactive3D/RKA2B ไนโตรจีนัสเบส ดังนั้น ตอบขอ 5.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประเด็นตางๆ ดังนี้
O O - นิวคลีโอไทล
O P O O P O - นํ้าตาลเพนโทส
O O - ไนโตรจีนัสเบส
- หมูฟอสเฟต
นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน - ชนิดของกรดนิวคลีอิก
O สรุปสาระสําคัญลงในสมุดบันทึกของนักเรียน
O P O 5. ครู เ น น ยํ้ า ให นั ก เรี ย นสั ง เกตความแตกต า ง
O ระหวาง DNA กับ RNA แตยังไมตองศึกษา
โครงสรางละเอียด
นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล

ภาพที่ 2.37 โครงสร้างของนิวคลีโอไทด์ที่มีไนโตรจีนัสเบสในกลุ่มไพริมิดีน

1.1 กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก หรือ ดีเอ็นเอ


ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid; DNA)
เป็ น กรดนิ ว คลี อิ ก สายยาว ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ น
นิวเคลียสของเซลล์ เรียกว่า จีโนมิกดีเอ็นเอ
(Genomic DNA) และยังพบได้ในออร์แกเนลล์
บางชนิดอีกด้วย โดยในเซลล์พืชจะพบได้ที่
คลอโรพลาสต์ (chloroplast) และไมโทคอนเดรีย
(mitochondria) ส่วนในเซลล์สัตว์จะพบได้ใน
ภาพที่ 2.38 ดีเอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมของมนุษย์ ซึ่ง
ไมโทคอนเดรีย ท�าหน้าทีถ่ า่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุน่ หนึง่ ไปยัง
อีกรุ่นหนึ่ง
ดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกที่มีสายพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายพันกัน และม้วนเป็นเกลียว โดย
สายพอลินิวคลีโอไทด์จะยึดกันไว้ด้วยพันธะไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างเบสที่มีความจ�าเพาะ หรือ
อาจเรียกอีกอย่างว่า เบสคู่สม (complementary base) โดยอะดีนีนจะจับกับไทมีน และกวานีนจะ
จับกับไซโทซีน

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 51
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


DNA สายหนึ่งมีเบส ดังนี้ 1 ดีเอ็นเอ วันที่ 25 เมษายน เปนวันดีเอ็นเอสากล โดยวันที่ 25 เมษายน
A CA CC CG G T T AA TT พ.ศ. 2496 การคนพบที่ยิ่งใหญที่สุดเรื่องหนึ่งในรอบศตวรรษ คือ การรายงาน
A C C G T A T โครงสร า งสามมิ ติ ข องดี เ อ็ น เอว า มี ลั ก ษณะเป น เกลี ย วคู  ซึ่ ง ใช เ ทคนิ ค ทาง
DNA สายนีA้คูกCับ DNA C G สายใด T A T
C G A T T A G ผลึกศาสตร หรือ X-ray crystallography โดยเจมส วัตสัน (James Watson)
CC CC G
G TT AA TT C G A T T A G
1. A A A C G G T C G A T T A G ฟรานซิส คริก (Francis Crick) มัวริส วิลคินส (Maurice Wilkins) และโรสซาลีน
2.A A ACC AAGG AAAC CTT G GTT GAAG TTGG
C G A T T A G แฟรงคลิน (Rosaline Franklin) การคนพบที่ยิ่งใหญนี้ทําใหเขาใจถึงกลไกการ
G TT 3.
AT AG AG CC GA TG TA C G T A A C G ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนําไปสูรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือ
AA AA CC G
G G T G G C A T A C CG G
T AT A A C AG C G
T G G C A T A การแพทยในป พ.ศ. 2505
G G
G CC AA
4. C G T A A C G
TC GC G T CA AC GT A C G T A A C G
G TT AA CC GC TT AA AC GC AG
5.C CC CT TA A C C GG AA
CC TT AA CC G A
G A (วิเคราะหคําตอบ เนื่องจาก เบส A จับคูกับเบส T สวนเบส C
สื่อ Digital
จับคูกับเบส G ดังนั้น ตอบขอ 3.) ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง
โครงสรางดีเอ็นเอ
โครงสรางดีเอ็นเอ
www.aksorn.com/interactive3D/RKA2C
T57
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ 2. กรดไรโบนิวคลีอิก หรืออาร์เอ็นเอ (Ribonucleicacid; RNA) เป็นกรดนิวคลีอิก
นักเรียน ดังนี้ ที่มีสายพอลินิวคลีโอไทด์เพียงสายเดียว อาร์เอ็นเอมี 3 ชนิด ซึ่งท�าหน้าที่แตกต่างกัน ดังนี้
ï• แตละโมเลกุลของนิวคลีโอไทดประกอบดวย 1) เอ็มอาร์เอ็นเอ (Messenger RNA; mRNA) เกิดจากการถอดรหัส DNA (DNA
หนวยยอยอะไรบาง transcription) ซึ่งถูกสังเคราะห์ในนิวเคลียสและส่งออกไปยังไซโทพลาซึม ท�าหน้าที่เป็นแม่พิมพ์
(แนวตอบ นํ้าตาลเพนโทส ไนโตรจีนัสเบส (template) ในการสร้างโปรตีน
และหมูฟ อสเฟต) 2) ทีอาร์เอ็นเอ (Transfer RNA; tRNA) จะเป็นตัวแปลรหัสพันธุกรรมบน mRNA
ï• DNA กับ RNA แตกตางกันอยางไร ที่เรียกว่า โคดอน (codon) ซึ่งรหัสเหล่านี้จะเป็นตัวก�าหนดชนิดของกรดอะมิโนที่จะมาเรียงต่อกัน
(แนวตอบ แตกตางกันที่ชนิดของเบส (ใน โดย tRNA แต่ละชนิดจะมีส่วนที่ใช้อ่านรหัส เรียกว่า แอนติโคดอน (anticodon) และมีกรดอะมิโน
DNA เปน A C G T สวนใน RNA เปน A ที่จ�าเพาะต่อรหัสนั้น ๆ
C G U) ชนิดของนํา้ ตาล (ใน DNA เปน 3) อาร์อาร์เอ็นเอ (Ribosomal RNA; rRNA) เป็นองค์ประกอบส�าคัญในไรโบโซม
ดีออกซีไรโบส สวนใน RNA เปน ไรโบส)) ท�าหน้าทีส่ งั เคราะห์โปรตีน โดยจับกับทัง้ mRNA และ tRNA ทีเ่ หมาะสมแล้วช่วยเชือ่ มกรดอะมิโน
2. ครูอาจแจงวาในหนวยการรูนี้ นักเรียนอาจยัง เข้าด้วยกันเป็นพอลิเพปไทด์
ตารางที่ 2.5 : ควำมแตกต่ำงระหว่ำงดีเอ็นเอกับอำร์เอ็นเอ
ไมตองศึกษาโครงสรางและหนาที่ของ DNA
สิ�งเปรียบเทียบ DNA RNA
กับ RNA อยางละเอียด ซึง่ นักเรียนจะไดศกึ ษา
ตอไปในเรื่องพันธุศาสตร แตใหนักเรียนทราบ โครงสร้างโมเลกุล สายพอลิ นิ ว คลี โ อไทด์ 2 สาย สายพอลินิวคลีโอไทด์สายเดียว
พันกันเป็นเกลียว
เพียงวา กรดนิวคลีอิกเปนสารพันธุกรรมอยู C C
ในนิวเคลียส มีหนาที่ควบคุมการถายทอด
G G
ลักษณะทางพันธุกรรม
A A
T U

ชนิดของเบส ACGT ACGU


ชนิดของน�้าตาล ดีออกซีไรโบส ไรโบส
ขนาดโมเลกุล ใหญ่กว่า เล็กกว่า
บริเวณที่พบ ในนิวเคลียส (บางเซลล์อาจพบใน ในนิวเคลียสและไซโทพลาซึม
ไมโทคอนเดรียหรือ
คลอโรพลาสต์)
หน้าที่ เป็นสารพันธุกรรม สังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์

52

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับอารเอ็นเอ ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง หากตรวจสอบ DNA ของผูต อ งสงสัยในคดีฆาตกรรม จะไมพบ
อารเอ็นเอ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/rna-6778/# ไนโตรจีนสั เบสชนิดใด
1. ไทมีน
2. ยูราซิล
3. กวานีน
4. อะดีนนี
5. ไซโทซีน
(วิเคราะหคาํ ตอบ ไนโตรจีนสั เบสใน DNA คือ อะดีนนี ไทมีน ไซโทซีน
และกวานีน จึงไมพบยูราซิลในดีเอ็นเอ ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T58
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3.5 วิตามิน ครู ตั้ ง คํ า ถามเพื่ อ ตรวจสอบความรู  เ ดิ ม ของ
วิตามิน (vitamin) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีความจ�าเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งท�าหน้าที่ควบคุม นักเรียน
การท�างานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้อยู่ในสภาวะปกติ ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์วิตามิน ï• ใหนกั เรียนชวยกันยกตัวอยางอาการหรือโรค
ได้เอง จึงจ�าเป็นต้องได้รับจากสารอาหาร โดยสามารถจ�าแนกวิตามินตามคุณสมบัติการละลาย ที่เกิดจากการขาดวิตามิน
ได้ 2 ประเภท ซึ่งได้แก่ วิตามินที่ละลายในน�้า และวิตามินที่ละลายในไขมัน (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน
ตัวอยางเชน
วิตามินที่
- โรคตาบอดกลางคื น เกิ ด จากการขาด
ละลายในนํ้า วิตามินเอ
(water soluble vitamin) - โรคเหน็บชา เกิดจากการขาดวิตามินบี 1
- โรคลักปดลักเปด เกิดจากการขาดวิตามิน
วิตามินบีรวม วิตามินซี ซี
(vitamin B-complex) (vitamin C)
- โรคกระดูกออน เกิดจากการขาดวิตามินดี
วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินที่ - เลือดแข็งตัวชา เกิดจากการขาดวิตามินเค)
(vitamin A) (vitamin D) ละลายในไขมัน
(fat soluble vitamin)

วิตามินอี วิตามินเค
(vitamin E) (vitamin K)

ภาพที่ 2.39 ประเภทของวิตามิน


Biology
1. วิตามินทีล่ ะลายในน�า้ (water soluble vitamins) in real life
มีคณุ สมบัติ คือ ละลายในน�า้ ได้ และสลายตัวได้งา่ ย หากร่างกาย ในปัจจุบัน วิตามินซีถือว่าเป็น
ได้รับปริมาณมากจะขับออกทางปัสสาวะ แต่หากร่างกายขาด อาหารเสริ ม ส� า หรั บ ผู ้ ที่ ดู แ ล
จะแสดงอาการผิดปกติอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องได้รับ สุขภาพผิว เนื่องจากวิตามินซี
สามารถช่ ว ยลดการเกิ ด ของ
จากอาหาร ได้แก่ วิตามินซี (ascorbic acid) และวิตามินบีรวม เม็ดสีเมลานินทีท่ า� ให้ผวิ มีสคี ล�า้
(vitamin B-complex) เช่น วิตามินบี 1 (thiamine) วิตามินบี 2 และยังช่วยแก้ปัญหาจุดด่างด�า
(riboflavin) วิตามินบี 5 (niacin) วิตามินบี 6 (pyridoxine) โดยท� า หน้ า ที่ เ ป็ น สารแอนติ
วิตามินบี 12 (cobalamin) กรดโฟลิก (folic acid) ไบโอติน ออกซิแดนท์ จึงท�าให้ผวิ ดูเนียน
และมีสุขภาพที่ดีขึ้น
(biotin) เป็นต้น
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 53
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


การสํ า รวจสุ ข ภาพของประชากรในหมู  บ  า นหนึ่ ง พบว า ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิตามิน ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง
ประชากรกลุมหนึ่งมีอาการคลายกัน คือ มีเลือดออกตามไรฟน วิตามิน https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/vitamin-7159/
เหงือกอักเสบ จากอาการดังกลาวสันนิษฐานไดวาประชากรกลุม
นี้ขาดวิตามินชนิดใด
1. A 2. C
3. B1 4. E
5. K
(วิเคราะหคําตอบ อาการเลือดออกตามไรฟน เหงือกอักเสบ เปน
อาการที่เกิดจากการขาดวิตามิน C ซึ่งวิตามิน C ยังจําเปนตอ
ปฏิกิริยาการใชออกซิเจนในรางกาย ชวยตานทานเชื้อโรค และ
เกีย่ วของกับกระบวนการเผาผลาญคารโบไฮเดรต ดังนัน้ ตอบขอ 2.)

T59
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงเปนกลุม กลุมละ 6 คน ศึกษา 1) วิตามินซี หรือกรดแอสคอบิก (vitamin C or
เกี่ยวกับวิตามินชนิดตางๆ ดังนี้ HO H O ascorbic acid) มีสูตรโมเลกุลเป็น C6H8O6 ลักษณะเป็นผลึก
HO O
- คนที่ 1 ศึกษาวิตามินซี สีขาว ละลายน�้าได้ดี สลายตัวง่ายเมื่อถูกอากาศหรือความร้อน
- คนที่ 2 ศึกษาวิตามินบี HO OH
ไม่ทนต่อสภาวะเป็นเบส พบมากในผักและผลไม้สด โดยเฉพาะ
- คนที่ 3 ศึกษาวิตามินเอ อย่างยิ่งในผลไม้รสเปรี้ยว เช่น มะขามป้อม มะนาว นอกจากนี้
- คนที่ 4 ศึกษาวิตามินดี ภาพที่ 2.40 โครงสร้างของวิตามินซี ยังพบในผักใบเหลืองและผักสดอีกด้วย
- คนที่ 5 ศึกษาวิตามินอี วิตามินซีจ�าเป็นส�าหรับปฏิกิริยาการใช้ออกซิเจนในร่างกาย ช่วยต้านทานเชื้อโรค และ
- คนที่ 6 ศึกษาวิตามินเค เกี่ยวข้องกับกระบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตในร่างกาย
สรุปสาระสําคัญในประเด็นของความสําคัญ 2) วิตามินบี 1 หรือไทอามีน (vitamin B1 or thiamine) เป็นผลึกใส ไม่มีสี มีรสเค็ม
และแหลงที่พบลงในสมุดบันทึกของนักเรียน ละลายน�้าได้ดี สลายตั1วได้ง่ายเมื่อได้รับความร้อน ไม่ทนต่อสภาวะเป็นเบส ไม่ทนต่อปฏิกิริยา
2. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปความรูที่ศึกษาเปน ออกซิเดชันและรีดักชัน พบมากในเนื้อสัตว์และเครื่องในสัตว์ ถั่วเมล็ดแห้ง เห็ดฟาง ข้าวซ้อมมือ
ผังมโนทัศน หรือข้าวที่ขัดสีน้อย
วิตามินบี 1 มีหน้าทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของคาร์โบไฮเดรต ช่วยใน
การท�างานของระบบย่อยอาหารและระบบประสาท

H3C N NH2 S CH2 CH2OH

N N
CH2 CH3

ภาพที่ 2.41 โครงสร้างของวิตามินบี 1

3) วิตามินบี 2 หรือไรโบฟลาวิน (vitamin B2 or


CH2OH riboflavin) เป็นผลึกสีเหลืองส้ม เมื่อละลายน�้าจะมีสีเขียว
HO C H
HO C H อมเหลืองและสะท้อนแสงได้ มีความทนต่อกรด อากาศ และ
HO C H ความร้อน แต่จะสลายตัวเมื่อถูกแสงสว่างและเมื่ออยู่ในสภาวะ
CH2
H3C N N O
เบส พบมากในผักใบเขียว เครื่องในสัตว์ ตับ นม ไข่ เนย และ
ข้าวซ้อมมือ 2
N NH
H3C วิตามินบี 2 เป็นส่วนประกอบหนึ่งของโคเอนไซม์
O
ซึ่งท�าหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต
ภาพที่ 2.42 โครงสร้างของวิตามินบี 2 โปรตีน และไขมัน อีกทั้งยังช่วยบ�ารุงผิวหนังและนัยน์ตา

54

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน หรือปฏิกิริยารีดอกซ หมายถึง ปฏิกิริยา ผูบริโภคอาหารแบบมังสวิรัตอยางเครงครัดจะมีโอกาสขาด
เคมีที่มีการใหและรับอิเล็กตรอน โดยสารตัวหนึ่งเปนตัวใหอิเล็กตรอน เรียกวา วิตามินชนิดใดมากที่สุด
ตัวรีดิวซ ซึ่งเรียกปฏิกิริยาที่เกิดกับสารตัวใหอิเล็กตรอนวา ปฏิกิริยาออกซิเดชัน 1. B1
(oxidation) และสารอีกตัวหนึ่งเปนตัวรับอิเล็กตรอน เรียกวา ตัวออกซิไดซ ซึ่ง 2. B2
เรียกปฏิกิริยาที่เกิดกับสารตัวรับอิเล็กตรอนวา ปฏิกิริยารีดักชัน (reduction) 3. B5
2 โคเอนไซม เปนสารประกอบอินทรียที่จะจับกับเอนไซมขณะเรงปฏิกิริยา 4. B6
โดยทํ า หน า ที่ รั บ -ส ง อะตอมหรื อ ธาตุ จ ากสารตั้ ง ต น ตั ว หนึ่ ง ไปยั ง สารตั้ ง ต น 5. B12
อีกตัวหนึ่ง ซึ่งหลังจากเรงปฏิกิริยาแลว โคเอนไซมจะถูกปลดปลอยออกมาจาก (วิเคราะหคําตอบ วิตามิน B12 พบมากในตับสัตว นํ้าปลา ปลารา
โมเลกุลเอนไซม โดยอาจมีโครงสรางเปลีย่ นไปเล็กนอย แตยงั สามารถกลับมาชวย สวนวิตามิน B1 B2 B5 B6 พบไดบางในผัก ผลไมบางชนิด ดังนั้น
ในการทํางานของเอนไซมไดอีก เชน โคเอนไซม เอ (Coenzyme A) ตอบขอ 5.)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
4) วิตามินบี 5 หรือไนอะซีน (vitamin B5 or niacin) 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป
เป็นผลึกไม่มีสี มีรสขมจัด มีความทนต่อกรด เบส แสงสว่าง OH ประเด็นเกี่ยวกับเรื่องวิตามิน
O 2. ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ
อากาศ และความร้อนได้ พบมากในไข่แดง ตับ ยีสต์ ผลไม้
และผักใบเขียว นักเรียน ดังนี้
N
วิตามินบี 5 เป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์เอ ï• รางกายสิ่งมีชีวิต จําเปนตองไดรับวิตามิน
(Coenzyme A) มีส่วนช่วยในการท�างานของระบบย่อยอาหาร หรือไม อยางไร
และเป็นส่วนประกอบของน�้าย่อยบางชนิด นอกจากนี้ยังมีส่วน ภาพที่ 2.43 โครงสร้างของวิตามินบี 5 (แนวตอบ จําเปน เพราะวิตามินชวยควบคุม
ช่วยในการท�างานของเนื้อเยื่อผิวหนังอีกด้วย การทํางานของระบบตางๆ ในรางกายให
5) วิตามินบี 6 หรือไพริดอกซิน (vitamin B6 or ทํางานไดอยางปกติ ซึ่งรางกายไมสามารถ
pyridoxine) เป็นผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสเค็ม ละลายได้ในกรด CH2OH สังเคราะหวติ ามินไดเอง จึงจําเปนตองไดรบั
และด่าง สลายตัวได้ง่ายเมื่อถูกแสงแดด พบมากในอาหารพวก HO CH2OH จากสารอาหาร)
เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ธัญพืช ถั่ว และผักใบเขียว H3C +
N ï• วิตามินพบไดมากในอาหารประเภทใด
วิตามินบี 6 เป็นโคเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์1 H (แนวตอบ วิตามินพบไดในอาหารหลายชนิด
กรดอะมิโน ช่วยในการเปลีย่ นทริปโตเฟนให้กลายเป็นเซโรโทนิน แตพบไดมากในผลไม)
ซึง่ เป็นสารสือ่ ประสาททีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับการควบคุมอารมณ์ ภาพที่ 2.44 โครงสร้างของวิตามินบี 6
ความนึกคิด ช่วยสร้างสารที่จะเปลี่ยนเป็นฮีม (heme) ใน
เฮโมโกลบิน ช่วยในการสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส และช่วย
ในการสร้างกรดอะมิโนที่ไม่จ�าเป็นต่อร่างกาย เช่น อะลานีน
กรดกลูตามิกในตับ โดยอาศัยปฏิกิริยาเคลื่อนย้ายหมู่อะมิโน
(transamination) H2NOC
CONH2
6) วิตามินบี 12 หรือโคบาลามีน (vitamin B12 or H2NOC CONH2
N R +N
cobalamin) มีโครงสร้างที่ซับซ้อนมาก ลักษณะเป็นผลึกสีแดง H
Co
N N
ละลายได้ในน�้าและแอลกอฮอล์ ไม่ทนต่อสภาวะกรดหรือด่าง H2NOC CONH2
และแสงสว่าง พบมากในตับสัตว์ น�้าปลา และปลาร้า O N
การดูดซึมวิตามินบี 12 ผ่านทางผนังล�าไส้จะต้อง NH
HO N
มีเอนไซม์จากกระเพาะอาหารเป็นตัวกระตุ้น โดยขณะที่ร่างกาย O
O PO
O
ไม่ได้ใช้วติ ามินนีจ้ ะถูกเก็บไว้ทตี่ บั ซึง่ วิตามินนีม้ สี ว่ นช่วยในการ O- HO
สังเคราะห์กรดนิวคลีอิก (DNA) ช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
ในไขกระดูก และยังช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคอีกด้วย ภาพที่ 2.45 โครงสร้างของวิตามินบี 12

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 55
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


หากแอมชอบรับประทานสมตํามะละกอเปนประจํา แอมจะ 1 เซโรโทนิน เปนสารสื่อประสาทชนิดหนึ่ง สังเคราะหไดจากกรดอะมิโน
เสี่ยงตอการเปนโรคใดนอยที่สุด ทริปโตเฟน มีหนาที่ควบคุมการแสดงออกทางอารมณ ความรูสึก การนอนหลับ
1. ตาฟาง อุณหภูมิรางกาย ความดันโลหิต การหลั่งฮอรโมน การรับรูความเจ็บปวด ฯลฯ
2. คอพอก หากรางกายหลั่งเซโรโทนินอยางเพียงพอ จะชวยใหมีอารมณดี ผอนคลาย สงบ
3. โลหิตจาง มีความคิดสรางสรรค อารมณมั่นคง ตอบสนองตอความเครียดไดดี แตหากอยู
4. เบื่ออาหาร ในสภาวะเครียด ระดับเซโรโทนินจะลดลง ซึง่ สงผลในทางตรงกันขามทีก่ ลาวมา
5. เลือดออกตามไรฟน คือ จะทําใหรูสึกหงุดหงิด ขาดสมาธิ นอนไมหลับ และบางรายถึงขั้นเปนโรค
(วิเคราะหคําตอบ สมตํามะละกอประกอบดวยมะละกอ มะนาว ซึมเศราได
ถั่วฝกยาว มะเขือเทศ และอาจมีผักอื่นๆ ซึ่งมีวิตามิน C สูง หาก ดังนัน้ หากอยูใ นภาวะเครียด หงุดหงิด นอนไมหลับ ควรรับประทานอาหาร
รับประทานเปนประจํา จึงมีความเสี่ยงนอยที่จะเปนโรคเลือดออก ประเภทโปตีน เชน เนื้อสัตว นม ไข ถั่วเหลือง ปลา เปนตน เพื่อชวยใหไดรับ
ตามไรฟน ดังนั้น ตอบขอ 5.) กรดอะมิโนทริปโตเฟนไวใชสังเคราะหเซโรโทนิน

T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความ 7) กรดโฟลิก (folic acid) อาจอยูใ่ นรูปสารประกอบชนิดอืน่ ๆ ซึง่ มีชอื่ เรียกแตกต่างกัน
สําคัญของสารอินทรียแตละชนิดตอรางกาย เช่น โฟเลต (folate) โฟลาซิน (folacin) เป็นต้น เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะถูกดูดซึมที่บริเวณล�าไส้เล็ก
สิ่งมีชีวิต โดยควรสรุปประเด็นสําคัญได ดังนี้ จากนั้นจะถูกส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และจะถูกขับออก
- คารโบไฮเดรต : เปนแหลงพลังงานและ O OH จากร่างกายไปกับปัสสาวะในรูปของโฟเลต พบมากในถัว่ เมล็ดแห้ง
HN OH
วัตถุดิบสําหรับสรางโครงราง และเปนสวน O O ผักใบเขียวสด ตับสัตว์ ส้ม เป็นต้น
HN
ประกอบของเซลล N กรดโฟลิกเป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์ มีหน้าที่
N N เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิกและโปรตีน มีความ
- โปรตีน : เปนโครงสรางของเซลล เปนตัว H2N N OH
เรงปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล ควบคุมการ จ�าเป็นต่อการแบ่งเซลล์ และการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อต่าง ๆ
ทํ า งานของร า งกาย เกี่ ย วข อ งกั บ ระบบ ภาพที่ 2.46 โครงสร้างของกรดโฟลิก นอกจากนี้ยังท�าหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวใน
ภูมิคุมกัน ไขกระดูกอีกด้วย
- ลิพิด : เปนแหลงพลังงาน ชวยปองกันการ 8) ไบโอติน (biotin) เป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์
O
สูญเสียนํ้า ควบคุมอุณหภูมิรางกาย ปองกัน C
ทีม่ บี ทบาทส�าคัญในกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของคาร์โบไฮเดรต
การกระทบกระเทื อ นของอวั ย วะภายใน
HN NH โปรตีน และไขมัน ซึ่งช่วยท�าให้ผม เล็บ และผิวหนังมีสุขภาพดี
รางกาย
HC CH O ช่วยในการเจริญของเซลล์เยื่อบุผิว และยังช่วยให้ร่างกาย
H2C CH (CH2)4 C OH สามารถสร้างพลังงานในระหว่างการออกก�าลังกายหรือการท�า
- กรดนิวคลีอกิ : ควบคุมการถายทอดลักษณะ S
กิจวัตรประจ�าวันต่าง ๆ ซึ่งไบโอตินพบมากในตับสัตว์ ไข่ นม
ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
ภาพที่ 2.47 โครงสร้างของไบโอติน ผักและผลไม้
- วิตามิน : ควบคุมการทํางานของระบบตางๆ
ในรางกายใหอยูในสภาวะปกติ 2. วิตามินที่ละลายในไขมัน (fat soluble vitamins) มีคุณสมบัติทั่วไป คือ จะละลาย
2. ครูนําอภิปรายวา จากการศึกษาทําใหพบวา ในไขมันหรือน�า้ มันเท่านัน้ สามารถคงสภาพอยูไ่ ด้นาน ร่างกายจะเก็บสะสมไว้ทตี่ บั ซึง่ หากร่างกาย
ได้รับในปริมาณมากเกินความต้องการ จะมีอาการแพ้เกิดขึ้น
สารอินทรียแตละชนิดลวนมีความสําคัญตอ
สิ่งมีชีวิต ดังนั้น เราจึงควรบริโภคอาหารที่ 1) วิตามินเอ หรือเรตินอล (vitamin A or retinol) มีสเี หลืองอ่อน พบมากในตับ ไข่แดง
หลากหลายและมีประโยชน ทั้งนี้เพื่อสุขภาพ
เนย น�า้ นม น�า้ มันตับปลา และยังพบในพืชทีม่ สี ารประกอบพวกแคโรทีน (carotene) ได้แก่ ผักสีเขียว
สีเหลือง สีส้ม เช่น ข้าวโพด มะละกอสุก ฟักทอง กล้วยหอม ผักบุ้ง มะเขือเทศ เป็นต้น
รางกายที่สมบูรณแข็งแรง
วิตามินเอ มีสว่ นช่วยบ�ารุงสายตาและการมองเห็น ซึง่ หากขาดวิตามินเอ จะท�าให้เกิด
โรคตาฟางกลางคืน (night blindness) นัยน์ตาแห้ง กลัวแสง และมักมีอาการติดเชื้อโรคต่าง ๆ
ได้ง่าย
CH3 CH3 CH3
OH
CH3
CH3
ภาพที่ 2.48 โครงสร้างของวิตามินเอ
56

สื่อ Digital กิจกรรม ทาทาย


ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับผลของวิตามินตอรางกาย ไดจากภาพยนตรสารคดีสนั้ ใหนกั เรียนวางแผนการรับประทานอาหารของตนเองใน 1 วัน
Twig เรื่อง การขาดวิตามิน https://www.twig-aksorn.com/fifilm/vitamin- เพื่อใหไดสารอาหารเพียงพอตอความตองการของรางกาย โดย
deficiencies-8420/ รายการอาหารแตละอยางที่นักเรียนกําหนดนั้น ใหระบุดวยวาได
สารอาหารประเภทใดบาง และมีประโยชนตอ รางกายอยางไร
จัดทําในรูปแบบทีน่ า สนใจ อาจเปนรายงาน แผนพับ สือ่ ดิจทิ ลั
หรือรูปแบบอืน่ ๆ จากนัน้ นําผลงานมานําเสนอเพือ่ นในหอง

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
2) วิตามินดี หรือแคลซิเฟอรอล (vitamin D or 3. ครูกลาวเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาที่จะไดศึกษาตอ
CH3
calciferol) เป็นผลึกสีขาวไม่มกี ลิน่ ทนต่อความร้อน ไม่สลายตัว CH3 ไปวา สารอาหารตางๆ ทั้งสารอนินทรียและ
เมื่อถูกออกซิเจนหรือกรดและเบส ซึ่งวิตามินดีมี 2 ชนิด ได้แก่ H2C สารอินทรีย เมือ่ เขาสูร า งกายแลวจะถูกลําเลียง
CH
วิตามินดี 2 (vitamin D2) พบมากในน�้ามันตับปลา นม ไข่แดง CH3 3 ไปสูเซลล แลวเกิดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล
และยีสต์ ส่วนวิตามินดี 3 (vitamin D3) ได้จากปฏิกริ ิยาระหว่าง HO 4. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
รังสีอัลตราไวโอเลตในแสงแดดกับสารสเตรอยด์ในผิวหนัง ภาพที่ 2.49 โครงสร้างของวิตามินดี 3 ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เลม 1 หนวยการ
วิตามินดีที่ร่างกายได้รับ ส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ที่ตับ นอกจากนี้ยังเก็บไว้ที่ผิวหนัง เรียนรูที่ 2
สมอง ตับอ่อน กระดูก และล�าไส้ด้วย
3) วิตามินอี หรือโทโคเฟอรอล (vitamin E or tocoferol) ในธรรมชาติมหี ลายชนิด แต่ที่ ขัน้ ประเมิน
พบในร่างกายมนุษย์ ส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปแอลฟา - โทโคเฟอรอล (∝ - tocopherol) ซึง่ วิตามินอีพบมาก ตรวจสอบผล
ในอาหารต่าง ๆ เช่น ไข่ปลา CH3 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
CH CH3
เนื้อ ตับ ข้าวกล้อง และใน H3C O 3 การรวมกันทําผลงาน และการนําเสนอผลงาน
น�้ามันพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่ง O CH3 CH3 CH3 2. ครูตรวจผังมโนทัศน เรื่อง คารโบไฮเดรต
ในน�้ า มั น เมล็ ด ดอกค� า ฝอย CH3 3. ครูวดั และประเมินการปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง ปริมาณ
น�้ามันถั่วเหลือง น�้ามันร�าข้าว ภาพที่ 2.50 โครงสร้างของวิตามินอี กรดไขมันไมอมิ่ ตัวในนํา้ มันพืชและนํา้ มันสัตว
วิตามินอีมสี ว่ นช่วยในการท�างานของหลายระบบในร่างกาย เป็นสารต้านอนุมลู อิสระ 4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด
(antioxidant) ช่วยลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเซลล์ ช่วยบ�ารุงผิวพรรณให้สดใสและชุ่มชื้น ชะลอ
ความแก่ ช่วยให้ระบบสืบพันธุ์ เซลล์ประสาท และกล้ามเนื้อท�างานอย่างปกติ
4) วิตามินเค หรือฟิลโลควิโนน (vitamin K or phylloquinone) เป็นสารสีเหลือง ทนต่อ
ความร้อนได้ แต่ไม่ทนต่อกรดเบส และแสงสว่าง ซึ่งในธรรมชาติพบ 2 ชนิด คือ วิตามินเค 1
(vitamin K1) หรือฟิลโลควิโนน พบในผักใบเขียว และวิตามินเค 2 (vitamin K2) หรือเมนาควิโนน
(menaquinone) และนอกจากนั้นแบคทีเรียในล�าไส้ใหญ่ยังสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้
วิตามินเคท�าหน้าทีค่ วบคุมการสังเคราะห์โปรตีนทีเ่ กีย่ วข้องกับการแข็งตัวของเลือด
O
CH3

O CH3 CH3

ภาพที่ 2.51 โครงสร้างของวิตามินเค 1

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 57
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


การระบุหนวยยอยและหมูฟ ง กชนั ของสารชีวโมเลกุล ขอใดถูกตอง ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนในเนื้อหาเรื่อง สาร
สารชีวโมเลกุล หนวยยอย หมูฟงกชัน อินทรีย ไดจากการทําผังมโนทัศน เรื่อง คารโบไฮเดรต และการทํากิจกรรม
1. โปรตีน กรดอะมิโน อะมิโน เรื่อง ปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัวในนํ้ามันพืชและนํ้ามันสัตว รวมทั้งสังเกต
2. ไกลโคเจน กรดอะมิ โ น ซั ล ฟไฮดริล จากการตอบคําถาม การรวมกันอภิปราย และการนําเสนอผลงาน โดยศึกษา
3. ไขมันและนํ้ามัน ไตรกลีเซอรไรด ฟอสเฟต เกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินผังมโนทัศนและแบบประเมินการ
4. กรดนิวคลีอิก DNA และ RNA ฟอสเฟต ปฏิบัติการที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2
5. กรดนิวคลีอิก นิวคลีโอไทด คารบอกซิล แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผังมโนทัศน์
แบบประเมินการปฏิบัติการ เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ
ระดับคะแนน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ ประเด็นที่ประเมิน

(วิเคราะหคาํ ตอบ โปรตีน หนวยยอย คือ กรดอะมิโน หมูฟ ง กชนั


4 3 2 1
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ระดับคะแนน 1. การปฏิบัติการ ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ อย่างมากในการทาการ
ระดับคะแนน ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ลาดับที่ รายการประเมิน ได้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้
4 3 2 1 4 3 2 1 ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 1 การปฏิบัติการทดลอง
2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ

คือ อะมิโน คารโบไฮเดรต (ไกลโคเจน) หนวยยอย คือ นํ้าตาล


2 ความถูกต้องของเนื้อหา คล่องแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา
3 ความคิดสร้างสรรค์ 3 การนาเสนอ ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสร็จ อุปกรณ์เสียหาย
โดยไม่ต้องได้รับคา
4 ความตรงต่อเวลา รวม ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา
ชี้แนะ และทาการ
รวม เสร็จทันเวลา
ทดลองเสร็จทันเวลา
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน 3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ

โมเลกุลเดีย่ ว หมูฟ ง กชนั คือ คารบอนิลและไฮดรอกซิล ไขมันและ


.............../................/................ .............../................/................ และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล
เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์ ขั้นตอน
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1

นํ้ามัน หนวยยอย คือ กรดไขมัน หมูฟงกชัน คือ คารบอกซิลและ


1. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ

ไฮดรอกซิล กรดนิวคลีอิก หนวยยอย คือ นิวคลีโอไทด หมูฟงกชัน


สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

คือ ฟอสเฟต ดังนั้น ตอบขอ 1.)


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11-12 ดีมาก
14-16 ดีมาก 9-10 ดี
11-13 ดี 6-8 พอใช้
8-10 พอใช้ ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T63
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
1. ครูกระตุน ความสนใจของนักเรียนเกีย่ วกับเรือ่ ง เราจะสังเกตุไดอยางไรวา 4. ปฏิกริ ยิ าเคมีในเซลล์ของสิง่ มีชวี ติ
ปฏิกิริยาเคมี โดยใหนักเรียนดูสื่อดิจิทัลจาก มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น การถ่ายทอดพลังงานในสิง่ มีชวี ติ เริม่ ตัง้ แต่พชื น�าแสงจาก
อินเทอรเน็ต หรือ Powerpoint หรือ TWIG ดวงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสง เมื่อสัตว์กินพืช
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา ก็จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจากพืชไปยังสัตว์ และสัตว์จะกินต่อกันไปเป็นทอด ๆ ซึง่ สารอาหารจะ
2. ครูตั้งประเด็นเพื่อใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ ถูกย่อย ดูดซึม และส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อใช้สร้างสารต่าง ๆ และพลังงานที่จ�าเป็น
ปฏิกริ ยิ าดูดพลังงานและปฏิกริ ยิ าคายพลังงาน ต่อการด�ารงชีวิตโดยผ่านปฏิกิริยาเคมี
ดังนี้
- ปฏิกิริยาการแยกนํ้าดวยไฟฟา 4.1 ปฏิกิริยาเคมี
1
- ปฏิกิริยาการรวมตัวของอะตอมไฮโดรเจน ปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโมเลกุลของ
กับอะตอมออกซิเจนเปนโมเลกุลของนํ้า สารตั้งต้น ซึ่งระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลแล้ว
สร้างพันธะใหม่ขึ้น และมีการจัดเรียงตัวของอะตอมใหม่ เกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติต่างไป
ขัน้ สอน จากสารตั้งต้น ซึ่งปฏิกิริยาเคมีแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
สํารวจค้นหา
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงาน (endergonic reaction)
1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน ศึกษา พลังงาน
ที่ปล่อย คือ ปฏิกิริยาที่ใช้พลังงานในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
ขอมูลเกี่ยวกับปฏิกิริยาที่ครูกําหนดขางตนใน ออกมา
ระดับพลังงาน

อะตอมสูงกว่าพลังงานทีถ่ กู ปล่อยออกมาเพือ่ สร้างแรงยึดเหนีย่ ว


ประเด็นตางๆ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์
พลังงาน พลังงานที่ใช้ ระหว่างอะตอมใหม่ ท�าให้เมือ่ สิน้ สุดปฏิกริ ยิ าแล้ว สารผลิตภัณฑ์
- สารตั้งตนของปฏิกิริยา สารตั้งต้น กระตุ้น ในปฏิกิริยา
จะมีพลังงานพันธะที่สูงกว่าสารตั้งต้น ในขณะที่สิ่งแวดล้อมจะ
- ผลิตภัณฑของปฏิกิริยา สูญเสียพลังงานความร้อนไป จึงมีผลท�าให้สงิ่ แวดล้อมมีอณ ุ หภูมิ
การด�าเนินของปฏิกิริยา
- การเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยา ลดต�่าลง
ภาพที่ 2.52 การเปลี่ยนแปลง
- พันธะเคมี พลังงานในปฏิกิริยาดูดพลังงาน
- พลังงานพันธะ
- ประเภทของปฏิกิริยาเคมี พลังงาน 2. ปฏิกิริยาคายพลังงาน (exergonic reaction) คือ
สารตั้งต้น พลั งงาน ที่ปล่อย
กระตุน้ ออกมา ปฏิกิริยาที่ใช้พลังงานในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม
ระดับพลังงาน

ต�า่ กว่าพลังงานทีถ่ กู ปล่อยออกมาเพือ่ สร้างแรงยึดเหนีย่ วระหว่าง


พลังงานที่ได้ อะตอมใหม่ ท�าให้เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาแล้ว สารผลิตภัณฑ์จะมี
แนวตอบ Prior Knowledge จากปฏิกิริยา
ผลิตภัณฑ์ พลังงานพันธะที่ต�่ากว่าสารตั้งต้น ในขณะที่สิ่งแวดล้อมจะได้รับ
ปฏิกิริยาเคมี คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลง การด�าเนินของปฏิกิริยา พลังงานในรูปของความร้อน จึงมีผลท�าให้สงิ่ แวดล้อมมีอณ ุ หภูมิ
โครงสรางโมเลกุลของสารตัง้ ตน แลวเกิดสารใหม ภาพที่ 2.53 การเปลี่ยนแปลง สูงขึ้น
ซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม โดยอาจสังเกต พลังงานในปฏิกิริยาคายพลังงาน
ไดจากมีการเปลี่ยนสี มีกลิ่น เกิดตะกอน เกิด 58
ฟองแกส เกิดการระเบิด เกิดประกายไฟ หรือมี
อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โมเลกุล โมเลกุลของสารทุกชนิดมีพลังงานสะสมอยูในรูปของพลังงาน การเปลีย่ นแปลงในขอใด แสดงวามีปฏิกริ ยิ าเคมีเกิดขึน้
พันธะ (bond energy) ซึง่ จากการศึกษาการเปลีย่ นแปลงพลังงานในระหวางเกิด 1. แนฟทาลีนถูกความรอนแลวหลอมเหลว
ปฏิกริ ยิ าเคมี พบวา เมือ่ พลังงานพันธะของสารตัง้ ตนเปนจุดเริม่ ตนของปฏิกริ ยิ า 2. เมือ่ นําทรายผสมนํา้ ปรากฏวาทรายตกตะกอน
และพลังงานพันธะของผลิตภัณฑเปนจุดสิน้ สุดของปฏิกริ ยิ า ปฏิกริ ยิ าเคมีจะเกิด 3. ผสมสาร 2 ชนิด เขาดวยกัน ไดเปนสารเนือ้ เดียว
ขึ้นได 2 ลักษณะ คือ ปฏิกิริยาดูดพลังงาน และปฏิกิริยาคายพลังงาน 4. ผสมซิลเวอรไนเตรตกับกรดเกลือไดตะกอนสีขาว
5. ละลายเกลือลงในนํา้ แลวหลังจากละลายมีอณ ุ หภูมเิ พิม่ ขึน้
(วิเคราะหคําตอบ ปฏิกิริยาเคมี คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลง
สื่อ Digital โครงสรางโมเลกุลของสารตั้งตน แลวเกิดสารใหมซึ่งมีคุณสมบัติ
เปลี่ยนไปจากเดิม โดยอาจสังเกตไดจากมีการเปลี่ยนสี มีกลิ่น
ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี เกิดตะกอน เกิดฟองแกส เกิดการระเบิด เกิดประกายไฟ หรือมี
ได จ ากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ซึ่งขอ 1. และ 5. ไมใช เพราะ การละลาย
การเปลี่ ย นแปลงพลั ง งานของปฏิ กิ ริ ย า เปนเพียงการเปลี่ยนสถานะของสาร ขอ 2. ไมใช เพราะ การตก
https://www.twig-aksorn.com/fi f ilm/ ตะกอนของทราย ไมเกิดสารใหม ขอ 3. ไมใช เพราะ การผสม
energy-change-of-reactions-8252/ สารเขาดวยกันแลวไดสารเนื้อเดียว ยังไมสามารถระบุไดวาเกิด

T64 สารใหมหรือไม ดังนั้น ตอบขอ 4.)


นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
นอกจากนี้หากจําแนกปฏิกิริยาเคมี ตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลสาร สามารถ 2. ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปความรูที่ศึกษาใน
จําแนกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้ รูปแบบของผังมโนทัศน หรือรูปแบบอื่นๆ ที่
1. ปฏิกริ ยิ ารวมตัว (combination) เปนปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดจากการรวมตัวของสารโมเลกุลเล็ก นาสนใจ
กลายเปนสารโมเลกุลใหญ เชน การรวมตัวของแกสไฮโดรเจนกับแกสออกซิเจนเปนโมเลกุล 3. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายเกี่ ย วกั บ
ของนํ้า ดังสมการ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ ศึ ก ษา โดยควรมี แ นวการ
แกสออกซิเจน (O2)
อภิปราย ดังนี้
2H2 (g) + O2 (g) 2H2O (l) แกสไฮโดรเจน (H2)
- อะตอมของธาตุหรือสารประกอบรวมตัวกัน
2. ปฏิกริ ยิ าแยกสลาย (decomposition) เปนปฏิกริ ยิ า อยูไดดวยพันธะเคมีซึ่งมีพลังงานสะสมอยู
ทีเ่ กิดการแยกสลายสารโมเลกุลใหญใหไดเปนสารโมเลกุลเล็กลง - โมเลกุลของสารทุกชนิดมีพลังงานสะสมอยู
เชน การสลายโมเลกุลของนํ้า ไดเปนแกสไฮโดรเจนและแกส แบตเตอรี่ ในรูปของพลังงานพันธะ
ออกซิเจน ดังสมการ ขั้วบวก ขั้วลบ - ถ า พลั ง งานพั น ธะของสารตั้ ง ต น สู ง กว า
ภาพที่ 2.54 การแยกนํ้าดวย พลั ง งานพั น ธะของผลิ ต ภั ณ ฑ เมื่ อ เกิ ด
2H2O (l) 2H2 (g) + O2 (g) กระแสไฟฟาจะไดแกสไฮโดรเจน ปฏิ กิ ริ ย าจะมี พ ลั ง งานปลดปล อ ยออกมา
และแกสออกซิเจน
เรียกปฏิกริ ยิ าแบบนีว้ า ปฏิกริ ยิ าคายพลังงาน
3. ปฏิกริ ยิ าแทนที่ (replacement) เปนปฏิกริ ยิ าทีส่ ารชนิดหนึง่ เขาแทนทีส่ ารอีกชนิดหนึง่
- ถ า พลั ง งานพั น ธะของสารตั้ ง ต น ตํ่ า กว า
เชน ปฏิกิริยาระหวางแมกนีเซียมกับกรดซัลฟวริก ดังสมการ
พลั ง งานพั น ธะของผลิ ต ภั ณ ฑ เมื่ อ เกิ ด
Mg (s) + H2SO4 (aq) MgSO4 (aq) + H2 (g) ปฏิกริ ยิ าจําเปนตองใชพลังงานจากภายนอก
เรียกปฏิกริ ยิ าแบบนีว้ า ปฏิกริ ยิ าดูดพลังงาน

B iology
Focus ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นไดเร็วหรือชานั้น ขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ดังนี้
1. ความเขมขนของสารตัง้ ตน ถาสารตัง้ ตนเปนสารละลายทีม่ คี วามเขมขนสูง จะทําใหปฏิกริ ยิ า
เกิดไดเร็วกวาสารตั้งตนที่เจือจาง
2. พืน้ ทีผ่ วิ ของสารตัง้ ตน สารตัง้ ตนทีเ่ ปนของแข็งซึง่ มีพนื้ ทีผ่ วิ มาก จะทําใหปฏิกริ ยิ าเกิดไดเร็ว
กวาสารตั้งตนที่มีพื้นที่ผิวนอย
3. อุณหภูมิ ในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูงจะทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วกวาสภาวะที่มีอุณหภูมิตํ่า
4. ตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst) หากมีตัวเรงปฏิกิริยาจะกระตุนใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้น
5. ความดัน ความดันจะมีผลตอปฏิกิริยาของสารที่เปนแกส โดยเมื่อความดันเพิ่มขึ้น โมเลกุล
ของแกสจะเกิดการชนกันมากขึ้น ทําใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 59
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


จงอธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานในปฏิกิริยาการแยกนํ้า ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ได จ ากภาพยนตร
ดวยไฟฟา และปฏิกิริยาการรวมตัวของอะตอมไฮโดรเจนกับ สารคดีสั้น Twig เรื่อง อัตาการเกิดปฏิกิริยา https://www.twig-aksorn.com/
อะตอมออกซิเจนเปนโมเลกุลของนํ้า fifilm/rates-of-reaction-basics-8253/
(วิเคราะหคําตอบ
- ปฏิกิริยาการแยกนํ้าดวยไฟฟา จะตองมีการใชพลังงานไป
กระตุนเพื่อสลายพันธะระหวางไฮโดรเจนกับออกซิเจน และ
มีการสรางพันธะใหมระหวางไฮโดรเจนกับไฮโดรเจน และ
ออกซิเจนกับออกซิเจน โดยพลังงานทีใ่ ชกระตุน มีคา มากกวา
พลังงานที่ปลอยออกมา จึงเปนปฏิกิริยาดูดพลังงาน
- ปฏิกิริยาการรวมตัวกันระหวางอะตอมของไฮโดรเจนกับ
อะตอมออกซิเจน จะตองมีการใชพลังงานไปกระตุน เพือ่ สลาย
พันธะ และสรางพันธะใหมระหวางไฮโดรเจนกับออกซิเจน
กลายเปนนํ้า โดยพลังงานที่ปลดปลอยออกมามีคามากกวา
พลังงานกระตุน จึงเปนปฏิกิริยาคายพลังงาน)

T65
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูเปดสื่อดิจิทัล TWIG เรื่อง เอนไซม ให 4.2 เอนไซม์
นักเรียนดู เพื่อนําเขาสูเรื่องที่จะศึกษา เอนไซม์ (enzymes) เป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ท�าหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์และ
2. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกันแสดงความ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
คิดเห็น ดังนี้
สมบัต
ั ข
ิ องเอนไซม์
ï• ภายในเซลลของสิง่ มีชวี ติ มีปฏิกริ ยิ าเคมีเกิด
ขึ้นหรือไม เป็นโปรตีนทรงกลม (globular protein) โดยเอนไซม์ที่มีขนาดเล็กที่สุดจะประกอบด้วยพอลิเพปไทด์
เพียงสายเดียว ส่วนเอนไซม์ขนาดใหญ่อาจจะประกอบด้วยพอลิเพปไทด์สายยาวจ�านวนหลาย ๆ สาย
(แนวตอบ มี ซึ่งมีทั้งปฏิกิริยาสลายสารและ มีความจ�าเพาะเจาะจง (specificity) เอนไซม์ทกุ ชนิดมีรปู ร่างลักษณะทีจ่ า� เพาะ ซึง่ จะเลือกท�าปฏิกริ ยิ า
สังเคราะหสาร โดยเรียกปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น กับสารตั้งต้น (substrate) ได้เพียงชนิดเดียวหรือกลุ่มเดียว
ในเซลลสงิ่ มีชวี ติ วา เมแทบอลิซมึ ) มีประสิทธิภาพการท�างานสูง (high efficiency) โดยเอนไซม์หนึ่งโมเลกุลอาจท�าให้สารตั้งต้น
ï• เอนไซมมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอยางไร เปลี่ยนแปลงไปได้กว่า 1,000 ถึงหลายล้านโมเลกุลต่อนาที
คงสภาพเดิมตลอดปฏิกิริยา เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา เอนไซม์จะยังคงสภาพเดิมและสามารถเร่งปฏิกิริยา
(แนวตอบ เอนไซมมคี วามสําคัญตอสิง่ มีชวี ติ อื่นต่อได้อีก แต่จะเสียสภาพเมื่อได้รับความร้อนสูง หรืออยู่ในสภาวะกรด - เบส ที่ไม่เหมาะสม
เนื่ อ งจากปฏิ กิ ริ ย าเคมี ภ ายในเซลล ข อง
สิง่ มีชวี ติ ตองอาศัยเอนไซม) 1. การเรียกชื่อเอนไซม์ เรียกได้ 3 วิธี ดังนี้
1) เรียกตามชนิดของสารตั้งต้น โดยเติม -ase ลงไปท้ายชื่อสารตั้งต้น เช่น โปรติเอส
(protease) เป็นเอนไซม์ที่ใช้ย่อยสลายโปรตีน เป็นต้น
2) เรียกตามชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นกับสารตั้งต้น โดยการเติม -ase ลงไปท้ายชื่อ
ของปฏิกิริยา เช่น เมื่อสารตั้งต้นเกิดปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชัน (decarboxylation) เรียกเอนไซม์
ที่เร่งปฏิกิริยานี้ว่า ดีคาร์บอกซิเลส (decarboxylase) เป็นต้น
3) เรียกชื่อเฉพาะ เอนไซม์หลายชนิดมีชื่อเฉพาะ เช่น เพปซิน (pepsin) เป็นเอนไซม์
ที่ย่อยโปรตีนให้เป็นเพปไทด์ เรนนิน (rennin) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนในน�้านม เป็นต้น
2. กลไกการท�างานของเอนไซม์ เอนไซม์จะไปลดพลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy; Ea)
หรื อ พลั ง งานกระตุ ้ น ในการ
เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า และท� า ให้ พลังงานกระตุ้น
เมื่อไม่มีเอนไซม์
ระดับพลังงาน

อนุภาคของสารตั้งต้นชนกัน พลังงานกระตุ้น
ในทิ ศ ทางที่ เ หมาะสม ซึ่ ง เมื่อมีเอนไซม์
สารตั้งต้น
เอนไซม์ จ ะมี ต� า แหน่ ง ที่ เ ข้ า
ผลิตภัณฑ์
กระตุน้ การเกิดปฏิกริ ยิ า เรียก
ว่า บริเวณเร่ง (active site) การด�าเนินของปฏิกิริยา
ภาพที่ 2.55 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีเอนไซม์ (เส้นสีน�้าเงิน)
และเมื่อไม่มีเอนไซม์ (เส้นสีเขียว)

60
เอนไซม์

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเอนไซม ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง ปฏิกริ ยิ าเคมีในเซลลสงิ่ มีชวี ติ เอนไซมมหี นาทีใ่ ด
เอนไซม https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/enzyme-6754/ 1. ลดพลังงานภายใน
2. ลดพลังงานกระตุน
3. เพิม่ พลังงานกระตุน
4. ลดพลังงานภายนอก
5. เพิม่ พลังงานทดแทน
(วิเคราะหคาํ ตอบ เอนไซมจะทําหนาทีล่ ดพลังงานกอกํามันตหรือ
พลังงานกระตุนในการเกิดปฏิกิริยา และทําใหอนุภาคของสาร
ตั้งตนชนกันในทิศทางที่เหมาะสม ซึ่งเอนไซมมีตําแหนงที่เขา
กระตุนการเกิดปฏิกิริยา เรียกวา บริเวณเรง ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
เอนไซม์จะเข้าจับกับสารตั้งต้นแล้วได้สารประกอบเชิงซ้อนของเอนไซม์ - สารตั้งต้น 1. ใหนักเรียนกลุมเดิมจากชั่วโมงที่แลว ศึกษา
(enzyme-substrate complex) ซึ่งการจับกันระหว่างเอนไซม์กับสารตั้งต้นมี 2 ทฤษฎี ดังนี้ ขอมูลเกี่ยวกับประเด็นตางๆ ดังนี้
1) ทฤษฎีแม่กุญแจและลูกกุญแจ (lock and key theory) เป็นทฤษฎีที่เปรียบเทียบ - การเรียกชื่อเอนไซม
สารตั้งต้นเสมือนกับลูกกุญแจ และเอนไซม์เสมือนกับแม่กุญแจ โครงสร้างทั้งสองจะเข้าต่อกัน - กลไกการทํางานของเอนไซม
ในต�าแหน่งที่จ�าเพาะได้อย่างพอดี เอนไซม์จึงสามารถเร่งปฏิกิริยาได้ - ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม
2. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมสรุปความรูที่ศึกษา
สารตั้งต้น
แลวรวมกันตั้งคําถามกลุมละ 1-2 คําถาม
เกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ตัวอยางเชน
- เอนไซมมีสมบัติอยางไร
เอนไซม์ - การเรียกชื่อเอนไซมมีกี่วิธี อยางไรบาง
ภาพที่ 2.56 การท�างานของเอนไซม์ตามทฤษฎีแม่กุญแจและลูกกุญแจ
- เอนไซมมีกลไกการทํางานอยางไร
- เอนไซมเขาจับสารตั้งตนที่บริเวณใด
2) ทฤษฎีการเหนี่ยวน�า (induced fit theory) กล่าวว่า เอนไซม์มีโครงสร้างที่ยืดหยุ่น
โดยสามารถปรับรูปร่างให้มคี วามเหมาะสมทีจ่ ะจับกับสารตัง้ ต้นได้ โดยสารตัง้ ต้นจะเป็นตัวเหนีย่ วน�า - การจั บ กั น ระหว า งเอนไซม กั บ สารตั้ ง ต น
ให้เอนไซม์เปลี่ยนรูปร่างไป เสมือนสารตั้งต้นเป็นมือ ส่วนเอนไซม์เป็นถุงมือ ซึ่งเมื่อน�าถุงมือมา มีกี่ทฤษฎี อะไรบาง
สวมกับมือ ถุงมือจะเปลี่ยนรูปร่าง ให้เหมาะสมกับมือได้
สารตั้งต้น

เอนไซม์

ภาพที่ 2.57 การท�างานของเอนไซม์ตามทฤษฎีการเหนี่ยวน�า


3. ปัจจัยที่มีผลต่อการท�างานของเอนไซม์ เอนไซม์จะสามารถเร่งปฏิกิริยาต่าง ๆ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้
1) ความเข้มข้นของเอนไซม์ ในปฏิกิริยาใด ๆ ที่มีสารตั้งต้นอย่างเพียงพอ หากเพิ่ม
ความเข้มข้นของเอนไซม์ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าอัตราเร็วของ
ปฏิกริ ยิ าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของเอนไซม์ แต่หากเอนไซม์มคี วามเข้มข้นมากเกินไป
และมีสารตั้งต้นไม่เพียงพอที่จะเข้าท�าปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะคงที่

61
การจับกันระหว่างเอนไซม์กับสารตั้งต้น

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้เปนจริงเกี่ยวกับเอนไซม ครูอาจใหนกั เรียนสแกน QR Code เรือ่ ง การจับกันระหวางเอนไซมกบั สาร
1. เรงปฏิกิริยายอนกลับได ตั้งตน ที่ปรากฏในหนังสือเรียน ชีวิทยา ม.4 เลม 1 หนา 61 ทั้งนี้เพื่อรองรับการ
2. เปลี่ยนทิศทางของปฏิกิริยาเคมี เรียนรูผานสื่อดิจิทัล
3. เพิ่มพลังงานกระตุนใหปฏิกิริยา
4. การทํางานของเอนไซมแปรผันตามอุณหภูมิ
5. เมื่อทําปฏิกิริยาแลวไมสามารถกลับมาเรงปฏิกิริยาไดอีก นักเรียนควรรู
(วิเคราะหคําตอบ เอนไซมจะทําหนาที่ลดพลังงานกอกํามันต การจับกันระหวางเอนไซมกับสารตั้งตน ทฤษฎีแมกุญแจและลูกกุญแจ
หรือพลังงานกระตุนในการเกิดปฏิกิริยา โดยอัตราการทํางานของ เสนอโดยอีมิล ฟชเชอร (Emil Fischer) ซึ่งเปนนักเคมี ผูที่ไดรับรางวัลโนเบลใน
เอนไซมแปรผันตามอุณหภูมิ ซึ่งเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา เอนไซมจะยัง ป พ.ศ. 2445 สวนทฤษฎีการเหนี่ยวนํา เสนอโดยแดเนียล โคชแลนด (Daniel
คงสภาพเดิมและสามารถเรงปฏิกิริยาอื่นไดอีก ดังนั้น ตอบขอ 4.) Koshland)

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาถาม 2) ความเข้มข้นของสารตั้งต้น ในปฏิกิริยาใด ๆ ที่
คําถามเพื่อนในชั้นเรียน โดยมีแนวการตอบ มีเอนไซม์อย่างเพียงพอ หากเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น

อัตราการเกิดปฏิกิริยา
คําถาม ดังนี้ อัตราเร็วในการเกิดปฏิกริ ยิ าจะเพิม่ ขึน้ จนถึงระดับหนึง่ จะพบว่า
ï• เอนไซมมีสมบัติอยางไร อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะคงที่ เนื่องจากมีเอนไซม์ไม่เพียงพอใน
(แนวตอบ เอนไซมเปนโปรตีนทรงกลม มีความ การเกิดปฏิกิริยากับสารตั้งต้น
จําเพาะเจาะจง มีประสิทธิภาพการทํางาน 3) ความเป็นกรด - เบส การเปลี่ยนแปลงค่าความ
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
สูง คงสภาพเดิมตลอดปฏิกริ ยิ า แตอาจเสีย เป็นกรด - เบสเพียงเล็กน้อยอาจมีผลท�าให้อตั ราการเร่งปฏิกริ ยิ า
ภาพที่ 2.58 การท�างานของ
เอนไซม์เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ
สภาพเมื่อไดรับความรอน หรืออยูในภาวะ ของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากเอนไซม์แต่ละชนิดจะ สารตั้งต้น
กรด-เบสทีไ่ มเหมาะสม) เร่งปฏิกิริยาได้ดีที่สุดที่ค่า pH หนึ่ง ๆ เท่านั้น โดยจะมีค่า pH ที่เหมาะสมในการท�างาน (optimum
•ï การเรียกชื่อเอนไซมมีกี่วิธี อยางไรบาง pH) ทีแ่ ตกต่างกัน เอนไซม์สว่ นใหญ่ทา� งานได้ดใี นสภาวะความเป็นกรด - เบส ประมาณ 7 (สภาวะ
(แนวตอบ การเรียกชือ่ เอนไซมมี 3 วิธี ไดแก ปกติภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต) ยกเว้นเอนไซม์บางชนิดที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร
1. เรียกตามชนิดของสารตั้งตน โดยเติม
4) อุณหภูมิ ในปฏิกิริยาเคมีทั่วไปเมื่อเพิ่มอุณหภูมิจะท�าให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา
-ase ลงไปทายชือ่ สารตัง้ ตน
สูงขึน้ ซึง่ ปฏิกริ ยิ าทีม่ เี อนไซม์เป็นตัวเร่งนัน้ ก็มลี กั ษณะเช่นเดียวกัน แต่จากการศึกษาพบว่าเมือ่ เพิม่
2. เรียกตามชนิดของปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ โดย
อุณหภูมขิ นึ้ ไปจนถึงระดับหนึง่ จะมีผลท�าให้เอนไซม์เสียสภาพไป จนไม่สามารถจับกับสารตัง้ ต้นได้
เติม -ase ลงไปทายชือ่ ปฏิกริ ยิ า
โดยเอนไซม์แต่ละชนิดจะมีอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการท�างาน (optimum temperature) ต่างกัน
3. เรียกชือ่ เฉพาะ)
ï• เอนไซมมีกลไกการทํางานอยางไร ในมนุษย์อุณหภูมิท่ีเหมาะสมต่อการท�างานของเอนไซม์อยู่ที่ประมาณ 25 - 40 �C
(แนวตอบ เอนไซมจะไปลดพลังงานกอกัมมันต แต่ในแบคทีเรียที่เจริญได้ดีในสภาพแวดล้อมที่อุณหภูมิสูง อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการท�างานของ
หรื อ พลั ง งานกระตุ  น ในการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
เอนไซม์จะอยู่ในช่วง 65 - 80 C�
และทํ า ให ส ารตั้ ง ต น ชนกั น ในทิ ศ ทางที่ 1 2 อุณหภูมิที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อ
ต่ อ การท� า งานของ การท�างานของเอนไซม์
เหมาะสม) เพปซิน อะไมเลส ทริปซิน การท�างานของเอนไซม์ เอนไซม์ในมนุษย์ ในแบคทีเรียบางชนิด
การท�างานของเอนไซม์

ï• เอนไซมเขาจับสารตั้งตนที่บริเวณใด
(แนวตอบ บริเวณเรง (active site))
•ï การจับกันระหวางเอนไซมกับสารตั้งตนมีกี่
ทฤษฎี อะไรบาง
(แนวตอบ 2 ทฤษฎี ไดแก 1. ทฤษฎีแมกญ ุ แจ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 0 20 40 60 80 100
ค่า pH อุณหภูมิ ( �C)
และลูกกุญแจ 2. ทฤษฎีการเหนีย่ วนํา)
ภาพที่ 2.59 การท�างานของเอนไซม์ที่ pH ต่าง ๆ ภาพที่ 2.60 การท�างานของเอนไซม์ที่อุณหภูมิต่าง ๆ
ï• ป จ จั ย ใดบ า งที่ มี ผ ลต อ การทํ า งานของ
เอนไซม
( แนวตอบ 1. ความเข ม ข น ของเอนไซม 62
2. ความเขมขนของสารตัง้ ตน 3. ความเปน
กรด-เบส 4. อุณหภูม)ิ

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เพปซิน (pepsin) เอนไซมที่ยอยโปรตีนใหเปนเพปไทด ถูกผลิตจาก ในสภาวะแวดลอมใดตอไปนี้ เอนไซมในรางกายมนุษยทาํ งาน
กระเพาะอาหารในรูปของเพปซิโนเจน (pepsinogen) ทีย่ งั ไมสามารถทํางานได ไดดที สี่ ดุ
แตจะถูกเปลี่ยนเปนเพปซินเมื่ออยูในสภาวะที่เปนกรดภายในกระเพาะอาหาร 1. อุณหภูมิ 18 C ํ pH 6
2 ทริปซิน (trypsin) เอนไซมยอ ยโปรตีนใหเปนกรดอะมิโน ถูกผลิตจากตับออน 2. อุณหภูมิ 20 C ํ pH 7
ทําหนาที่ยอยโปรตีนและพอลิเพปไทดที่มาจากกระเพาะอาหารใหมีโมเลกุล 3. อุณหภูมิ 35 C ํ pH 5
เล็กลงจนเปนไดเพปไทดหรือกรดอะมิโน โดยเอนไซมทริปซินจะถูกหลัง่ ออกมาใน 4. อุณหภูมิ 40 C ํ pH 7
รูปของทริปซิโนเจน (trypsinogen) ทีย่ งั ไมสามารถทํางานได จากนัน้ ทริปซิโนเจน 5. อุณหภูมิ 55 C ํ pH 7
จะถูกเปลี่ยนเปนทริปซินโดยเอนไซมเอนเทอโรเพปทิเดส (enteropeptidase) (วิเคราะหคําตอบ เอนไซมสวนใหญในรางกายมนุษยทํางานไดดี
ที่หลั่งมาจากลําไสเล็ก ในชวงอุณหภูมิประมาณ 25-40 ํC และสภาวะความเปนกรด-เบส
ประมาณ 7 ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
• การสังเกต
1. ครู นํ าอภิ ป รายเพื่ อ เข า สู  กิ จ กรรมเรื่ อ ง การ
การทํางานของเอนไซม • การลงความเห็นจากข้อมูล ทํางานของเอนไซม โดยใหนักเรียนพิจารณา
จิตวิทยาศาสตร์ ขอความ ตอไปนี้
วัสดุอปุ กรณ์และสารเคมี วิธปี ฏิบตั ิ • ความสนใจใฝรู้
• ความรับผิดชอบ
“ไฮโดรเจนเปอร อ อกไซด (H 2O 2) เป น
1. เนื้อเยื่อต่าง ๆ เช่น ถั่วงอก ผลิตภัณฑจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นภายใน
ฝรั่ง ตับหมู เป็นต้น เซลล ซึง่ เปนสารทีอ่ นั ตรายตอเซลล หากไมถกู
2. โกร่งบดยา
50

50
ทําลายอาจสงผลใหเซลลตาย แตเซลลทั่วไป
40
30
40

20
10
30
20

3. เครื่องชั่ง 10

ยังคงมีชีวิตอยูได ดังนั้น จะเปนไปไดหรือไม


50

4. น�้ากลั่น 40
30
20

5. กระบอกตวง ว า ภายในเซลล มี ป ฏิ กิ ริ ย าสลายไฮโดรเจน


10

6. ตะเกียงแอลกอฮอล์
7. บีกเกอร์ 1. น�าถั่วงอกประมาณ 20 กรัม 2. แบ่งของเหลวจากข้อ 1. เปอรออกไซด ”
8. เทอร์มอมิเตอร์ มาบดให้ละเอียดในโกร่งบดยา ปริมาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ï• จากขอความขางตน นักเรียนสรุปขอเท็จจริง
9. หลอดทดลอง แล้วเติมน�า้ กลัน่ 20 ลูกบาศก์- ใส่หลอดทดลองแล้วน�าไปอุ่นใน ไดอยางไรบาง
10. ที่วางหลอดทดลอง เซนติเมตร คนให้เข้ากัน จากนัน้ บีกเกอร์จนมีอุณหภูมิประมาณ
11. จุกยาง ใช้ผ้าขาวบางคั้นเอาน�้าเก็บไว้ 60 - 70 �C (แนวตอบ
12. ผ้าขาวบาง ของเ ข - H 2O 2 เป น สารที่ เ กิ ด จากปฏิ กิ ริ ย าเคมี
หลวจ องเหลวจ
13. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ากขอ้ ากขอ้ นา้� กลนั่
(H2O2) ความเข้มข้น 3% 1. 2. ภายในเซลล
- H2O2 เปนอันตรายตอเซลล ถาสารนีไ้ มถกู
3. ใส่ H2O2 ความเข้มข้น 3% ลง ทําลาย เซลลอาจตายได ดังนัน้ ภายใน
ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอด H2O2 หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3 เซลลมกี ารสลาย H2O2 ซึง่ มีเอนไซมเขา
ละ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วใส่สารต่าง ๆ ลงไปในหลอดทดลอง ดังนี้ ภาพที่ 2.61 มาเกีย่ วของ)
• หลอดที่ 1 ใส่ของเหลวจากข้อ 1. ปริมาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
• หลอดที่ 2 ใส่ของเหลวจากข้อ 2. ปริมาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
• หลอดที่ 3 ใส่น�้ากลั่น ปริมาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
4. ปิดหลอดทดลองทั้งสามหลอดด้วยจุกยาง สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
5. ท�าการทดลองซ�า้ ตัง้ แต่ขอ้ 1.- 4. แต่เปลีย่ นเป็นเนือ้ เยือ่ ชนิดอืน่ แทนถัว่ งอก สังเกตและบันทึกผลการทดลอง 1. ในหลอดทดลองที่ 1 เกิดฟองแกสเนือ่ งจากการ
ค�าถามท้ายกิจกรรม สลายตัวของ H2O2 เพราะมีเอนไซมชวยเรง
? ปฏิกริ ยิ า ในหลอดทดลองที่ 2 เกิดฟองแกสเล็ก
1. ผลการทดลองจากหลอดทดลองทั้งสามหลอดมีความแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
2. เพราะเหตุใดจึงต้องน�าของเหลวที่ได้จากการบดเนื้อเยื่อไปอุ่นจนมีอุณหภูมิประมาณ 60 - 70 C� นอยเนือ่ งจากการสลายตัวของ H2O2 เพราะมี
เอนไซม แตเอนไซมบางสวนเสียประสิทธิภาพ
อภิปรายกิจกรรม
ไปเนื่องจากความรอน สวนหลอดทดลองที่ 3
จากกิจกรรมจะเห็นได้ว่า เอนไซม์จากเซลล์ท�าหน้าที่เร่งการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เกิดฟองแกสเล็กนอยเนื่องจากการสลายตัว
ซึ่งเป็นสารที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ จะสังเกตได้ว่า เมื่อขาดเอนไซม์จากเซลล์ การสลายตัวของไฮโดรเจน-
เปอร์ออกไซด์ที่อุณหภูมิห้องจะเกิดช้ามาก ของ H2O2 ตามธรรมชาติ
63
เคมีที่เป็นพื้นฐาน
ของสิ่งมีชีวิต 2. ทําใหเอนไซมเสียสภาพ เพราะเอนไซมเสีย
สภาพเมื่อไดรับความรอนสูงกวา 60 ํC

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม

ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาสารใด หลอดทดลองที่ ปริมาณแกสที่เกิดขึ้น


มีการเปลี่ยนแปลงไปมากที่สุด 1 มาก
1. นํ้า 2 นอย
2. เอนไซม
3. ออกซิเจน 3 นอย
4. สารตั้งตน
5. คารบอนไดออกไซด
(วิเคราะหคําตอบ ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต เมื่อสิ้นสุด
ปฏิกิริยา สารที่มีการเปลี่ยนแปลงไป คือ สารตั้งตน ซึ่งจะเปลี่ยน
ไปเปนผลิตภัณฑ ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ใหนักเรียนแบงกลุมเพื่อทํากิจกรรม เรื่อง การ 4. สารที่ชวยในการทํางานของเอนไซม เอนไซมบางชนิดจะตองรวมตัวกับสารอื่น
ทํางานของเอนไซม ในหนังสือเรียนชีววิทยา จึงจะสามารถเรงปฏิกิริยาได ซึ่งสารที่ชวยในการทํางานของเอนไซมมี 2 ชนิด ดังนี้
ม.4 เลม 1 โดยใหนกั เรียนรวมกันตัง้ ปญหาและ 1) โคแฟกเตอร (cofactor) เปนไอออนของโลหะ สารตั้งตน
สมมติฐานของกิจกรรม ตัวอยางเชน เชน Na+ K+ Fe2+ Mg2+ Zn2+ เปนตน ซึ่งจะรวมตัวกับเอนไซม โคแฟกเตอร
ปญหา : เอนไซมมบี ทบาทอยางไรในการสลาย แลวทําใหเอนไซมมบี ริเวณเรงทีเ่ หมาะสมตอสารตัง้ ตน จึงทําให
บริเวณเรง
H2O2 เอนไซมเรงปฏิกิริยาได
สมมุติฐาน : เอนไซมชว ยเรงปฏิกริ ยิ าการสลาย 2) โคเอนไซม (Coenzyme) เปนสารประกอบอินทรีย
H2O2 ที่จะจับกับเอนไซมในขณะเรงปฏิกิริยา โดยทําหนาที่รับสง เอนไซม ที่ไมสามารถ เอนไซมสามารถ
เรงปฏิกิริยาได เรงปฏิกิริยาได
2. ครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิค อะตอมหรือธาตุจากสารตั้งตนตัวหนึ่งไปยังสารตั้งตนอีกตัวหนึ่ง
ภาพที่ 2.62 โคแฟกเตอรจับกับ
LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกําหนดให ซึง่ หลังจากทีเ่ รงปฏิกริ ยิ าแลว โคเอนไซมจะถูกปลอยออกมาจาก เอนไซมเพื่อชวยในการทํางานของ
สมาชิกแตละคนภายในกลุม มีบทบาทหนาที่ โมเลกุลเอนไซม โดยอาจจะมีโครงสรางทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเล็กนอย เอนไซม
1
ของตนเอง ดังนี้ แตก็ยังสามารถกลับมาชวยในการทํางานของเอนไซมไดอีก เชน โคเอนไซม เอ (Coenzyme A)
ชวยเรงปฏิกิริยาของเอนไซมหลายชนิ2ด เชน เอนไซมที่ชวยในกระบวนการสังเคราะหกรดไขมัน
สมาชิกคนที่ 1 และ 2 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุ
นิโคทินาไมด อะดีนีน ไดนิวคลีโอไทด (nicotinamide adenine dinucleotide) หรือ NAD+ ชวย
อุปกรณ
ในการทํางานของเอนไซมที่เกี่ยวของกับปฏิกิริยารีดอกซ (redox reaction) เชน ดีไฮโดรจิเนส
สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาทีอ่ า นวิธกี าร (dehydrogenase) รีดักเทส (reductase)
ทํ า กิ จ กรรม และนํ า มาอธิ บ ายให ส มาชิ ก
ในกลุมฟง 5. การยับยัง้ การทํางานของเอนไซม สารกลุม หนึง่ เมือ่ ตัวยับยั้ง
เอนไซม บริเวณเรง
สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาที่บันทึกผล เขารวมปฏิกิริยาแลวจะไปขัดขวางการเรงปฏิกิริยาของเอนไซม
การทดลอง เรียกสารนี้วา ตัวยับยั้งเอนไซม (enzyme inhibitor) ซึ่งจะเขา เอนไซม
จับกับเอนไซมที่บริเวณเรง จึงทําใหเอนไซมไมสามารถจับกับ
สมาชิกคนที่ 7 และ 8 : ทําหนาที่นําเสนอ
สารตั้งตนได
ผลการทดลอง
ตัวยับยั้งการทํางานของเอนไซม จะกอใหเกิดการ
3. ระหวางทีน่ กั เรียนทํากิจกรรม ครูตงั้ คําถามเพือ่ ยับยั้งปฏิกิริยาได 2 รูปแบบ ดังนี้
สารประกอบ
ที่เสถียร
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น 1) การยับยัง้ แบบไมทวนกลับ (irreversible inhibition)
• เพราะเหตุใดจึงตองแบงการทดลองออกเปน เกิดจากการทีต่ วั ยับยัง้ จะเขาจับกับเอนไซมดว ยพันธะโคเวเลนต สารตั้งตน
3 หลอดทดลอง แลวเกิดเปนสารประกอบที่เสถียร ทําใหเอนไซมไมสามารถ
(แนวตอบ เนื่องจากการทดลองหลอดที่ 1 ทํางานไดและไมสามารถกลับคืนสูสภาพปกติได ซึ่งการสูญเสีย
และ 2 เปนชุดทดลอง สวนหลอดที่ 3 เปน สมบัตนิ พี้ บไดจากตัวยับยัง้ ทีเ่ ปนสารอินทรีย เชน ไดไอโซโพรพิล
ภาพที่ 2.63 การยับยั้งแบบ
ชุดควบคุม เพือ่ ใชเปรียบเทียบกับผลทีไ่ ดจาก ฟอสฟอฟลูออริเดรต (diisopropyl phospho fluoridate) ซึ่งจะ ไมทวนกลับทําใหเอนไซมไม
หลอดที่ 1 และ 2) ยับยั้งการทํางานของเอนไซมในระบบประสาท เปนตน สามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดอีก

64

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โคเอนไซม เอ โมเลกุลของสารประกอบอินทรียขนาดเล็กที่ประกอบดวย ขอใดไมใชสมบัตขิ องเอนไซม
อะดีโนซีนไดฟอสเฟต (adenosine triphosphate) เชือ่ มตอกับกรดแพนโทเทนิก 1. ละลายไดในนํา้ และกลีเซอรอล
(pantothenic acid) เปนสารที่จําเปนในกระบวนการเมแทบอลิซึมกรดไขมัน 2. ตกตะกอนในแอลกอฮอลเขมขน
โดยมีหนาที่เปนตัวพาหมูเอซิล (acyl) ในระหวางการออกซิไดสกรดไขมันให 3. เปนสารประเภทโปรตีนรูปทรงกลม
เปนพลังงาน 4. ทํางานไดดเี มือ่ ไดรบั ความรอนสูงมาก
5. มีความจําเพาะเจาะจงกับสารตัง้ ตนแตละชนิด
2 นิโคทินาไมด อะดีนนี ไดนิวคลีโอไทด เปนโคเอนไซมทพี่ บในเซลลสงิ่ มีชวี ติ
(วิเคราะหคาํ ตอบ เอนไซมเปนโปรตีนชนิดหนึง่ เมือ่ ไดรบั ความรอน
ทุกชนิด จัดเปนไดนิวคลีโอไทดเพราะโครงสรางประกอบดวยนิวคลีโอไทด 2 ตัว
สูงจะเสียสภาพ ซึ่งทําใหไมสามารถทํางานได ดังนั้น ตอบขอ 4.)
ที่ใชฟอสเฟตรวมกัน โดยตัวหนึ่งมีเบสอะดีนีน สวนอีกตัวหนึ่งเปนนิโคตินาไมด
พบทั้งสภาวะออกซิไดซและรีดิวซ ซึ่งใชตัวยอวา NAD+ และ NADH ตามลําดับ

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2) การยับยัง้ แบบทวนกลับได้ (reversible inhibition) เกิดจากตัวยับยัง้ เข้าจับกับเอนไซม์ 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า
ด้วยพันธะอืน่ ทีไ่ ม่ใช่พนั ธะโคเวเลนต์ ซึง่ เป็นพันธะทีไ่ ม่แข็งแรง จึงท�าให้สามารถหลุดออกจากกันได้ กิจกรรม โดยอาจใชคาํ ถามทายกิจกรรรม หรือ
ซึ่งหลังจากนั้นเอนไซม์จะสามารถกลับมาท�างานได้เช่นเดิม คําถามอื่นๆ เชน
• การยับยั้งแบบแข่งขัน (competitive inhibition) เกิดจากตัวยับยั้งมีโครงสร้าง • แกสที่เกิดขึ้นในกิจกรรมเปนแกสชนิดใด
คล้ายสารตั้งต้น จึงจับกับบริเวณเร่งของเอนไซม์แทนสารตั้งต้นได้ ซึ่งปฏิกิริยาจะถูกยับยั้ง และทดสอบไดอยางไร
มากน้อยเพียงใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณสารตัง้ ต้น โดยหากสารตัง้ ต้นมีปริมาณน้อย ตัวยับยัง้ จะแย่ง (แนวตอบ : แกสออกซิเจน ทดสอบไดโดยใช
จับบริเวณเร่งของเอนไซม์ได้มาก อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะลดลง แต่หากสารตั้งต้นมีปริมาณมาก ธูปทีต่ ดิ ไฟแลวทําใหเปลวไฟดับเหลือเฉพาะ
ก็จะสามารถแย่งจับกับเอนไซม์ได้ดีกว่า1 ปฏิกิริยาจึงเกิดขึ้นได้เช่นเดียวกับในกรณีที่ไม่มีตัวยับยั้ง เปนถานแดงๆ จอเขาไปในหลอดทดลอง ซึง่
2
ซึ่งตัวยับยั้งในกรณีนี้ เช่น กรดมาโลนิก (malonic acid) สามารถแข่งขันกับกรดซักซินิก (succinic จะมีเปลวไปสวางวาบขึน้ )
acid) ในการจับกับเอนไซม์ซักซิเนท ดีไฮโดรจิเนส (succinate dehydrogenase) 2. หลังจากอภิปรายผลการทํากิจกรรม ครูและ
นักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับการทํางานของ
ตัวยับยั้งเอนไซม์ สารตั้งต้น เอนไซม ดังนี้
บริเวณเร่ง “ในปฏิกิริยาสลาย H2O2 เอนไซมจากเซลล
ทําหนาที่เรงปฏิกิริยา ซึ่งสังเกตไดวา เมื่อขาด
เอนไซม์
เอนไซม การสลาย H2O2 จะเกิดชามาก และ
จากกิจกรรมเปนการศึกษาถึงความเขมขนของ
ภาพที่ 2.64 การยับยั้งแบบแข่งขัน ตัวยับยั้งจะมีโครงสร้างคล้ายสารตั้งต้น
เอนไซมที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม”
• การยับยั้งแบบไม่แข่งขัน (non-competitive inhibition) เกิดจากตัวยับยั้งจับกับ
เอนไซม์ในบริเวณที่ไม่ใช่บริเวณเร่งของเอนไซม์ แต่ท�าให้เอนไซม์เปลี่ยนรูปร่างจนบริเวณเร่ง
ของเอนไซม์ไม่สามารถจับกับสารตั้งต้นได้ หรือจับกับสารตั้งต้นได้แต่ไม่สามารถเกิดปฏิกิริยา
หลังจากนั้นตัวยับยัง้ ก็จะแยกออกจากเอนไซม์ไป ซึง่ ตัวยับยั้งแบบนี้ เช่น ปรอท (Hg+) ตะกัว่ (Pb)
สารหนู (As) เป็นต้น
สารตั้งต้น
บริเวณเร่ง

เอนไซม์

ตัวยับยั้งเอนไซม์

ภาพที่ 2.65 การยับยั้งแบบไม่แข่งขัน ตัวยับยั้งจะท�าให้รูปร่างของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงไป

เคมีที่เป็นพื้นฐาน 65
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดไมใชวิธีการยับยั้งการทํางานของเอนไซม 1 กรดมาโลนิก มีสูตรโครงสราง C3H4O4 ลักษณะเปนผงสีขาวกลิ่นเปรี้ยว
1. การยับยั้งแบบผกผัน ไมไวไฟแตเกิดการกัดกรอนสูง ใชทําปฏิกิริยาทางดานพอลีเมอร และใชเปน
2. การยับยั้งแบบแขงขัน สารรีดวิ ซในหองปฏิบตั กิ าร การเก็บรักษาตองปดใหมดิ ชิด เก็บในทีเ่ ย็น ในบริเวณ
3. การยับยั้งแบบไมแขงขัน ที่มีการระบายอากาศไดดี และไมใหถูกแสงแดดโดยตรง
4. การยับยั้งแบบไมทวนกลับ 2 กรดซักซินิก มีสูตรโครงสราง C4H4O4 ลักษณะเปนผงสีขาวไมมีกลิ่น
5. การยับยั้งแบบทวนกลับได ไดจากการหมักนํ้าตาล ใหรสชาติเค็มผสมขมและมีความเปรี้ยว จึงมักใชใน
(วิเคราะหคําตอบ การยับยั้งการทํางานของเอนไซมมี 2 รูปแบบ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม เชน ไวน (wine) เบียร (beer) เปนตน
คือ การยับยั้งแบบไมทวนกลับ และการยับยั้งแบบทวนกลับได ซึ่ง
การยับยั้งแบบทวนกลับไดแบงยอยไดอีก 2 ชนิด คือ การยับยั้ง
แบบแขงขัน และการยับยั้งแบบไมแขงขัน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
1. หลังจากทีน่ กั เรียนทํากิจกรรมแลว ใหนกั เรียน การยับยั้งการท�างานของเอนไซม์ ในกรณีที่กล่าว a
แตละกลุมศึกษาเรื่องตางๆ ดังนี้ ไปแล้วข้างต้นนั้น จะเป็นการยับยั้งที่เกิดจากการมีสารอื่น ๆ
- สารที่ชวยในการทํางานของเอนไซม เข้ามาร่วมในปฏิกริ ยิ า โดยเกิดการยับยัง้ ก่อนทีป่ ฏิกริ ยิ าจะเกิดขึน้ E1
- การยับยั้งการทํางานของเอนไซม ซึ่งนอกจากกรณีดังกล่าว ยังมีการยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์
- การเสียสภาพของเอนไซม ภายหลังจากที่เกิดปฏิกิริยาขึ้นแล้ว ซึ่งจะเป็นการยับยั้งด้วย b
2. ครูตงั้ คําถามเพือ่ ใหนกั เรียนแตละกลุม แขงขัน ผลิตภัณฑ์ของปฏิกริ ยิ า (end-product inhibition) โดยจะเกิดขึน้
E2
กันตอบคําถาม ดังนี้ เมื่อมีผลิตภัณฑ์มากเกินพอ ซึ่งผลิตภัณฑ์สุดท้ายนั้นจะมีผล
• สารใดบางที่ชวยในการทํางานของเอนไซม ไปยับยั้งการท�างานของเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาในขั้นแรก เช่น
(แนวตอบ โคแฟกเตอร และโคเอนไซม) สาร a จะเปลี่ยนเป็นสาร b โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ c ยับยั้ง
• การยับยัง้ การทํางานของเอนไซมมกี รี่ ปู แบบ ตัวที่ 1 (E1) แล้วสาร b จะเปลี่ยนเป็นสาร c โดยการเร่ง E3
อยางไรบาง ปฏิกิริยาของเอนไซม์ตัวที่ 2 (E2) แล้วสาร c จะเปลี่ยนเป็น
(แนวตอบ 2 รูปแบบ ไดแก 1. การยับยัง้ แบบ สาร d โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ตัวที่ 3 (E3) จากนั้น d
สาร d จะเปลี่ยนเป็นสาร e โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์
ไมทวนกลับ 2. การยับยัง้ แบบทวนกลับได) E4
ตัวที่ 4 (E4) โดยสาร e เป็นผลิตภัณฑ์ตัวสุดท้าย ซึ่งหากมีสาร
• ภาวะใดที่มีผลทําใหเอนไซมเสียสภาพ
e มากเกินความต้องการ จะมีผลย้อนกลับไปยับยั้งการท�างาน
(แนวตอบ อุณหภูมสิ งู ) ของเอนไซม์ตัวที่ 1 ที่เร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนสาร a เป็นสาร b e
3. จากการทํากิจกรรม เรื่อง การทํางานของ จึงส่งผลให้ปฏิกิริยาทั้งหมดหยุดลง โดยการยับยั้งเอนไซม์ E1
เอนไซม ใหนักเรียนแตละกลุมออกแบบการ ของสาร e มักเป็นแบบ non-competitive inhibition และ ภาพที่ 2.66 การยับยั้งด้วย
ทดลองเพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการทํางาน ผลิตภัณฑ์ของเอนไซม์
เมื่อสาร e มีความเข้มข้นลดลง ก็จะหลุดออกจากเอนไซม์ E1
ของเอนไซม ปฏิบัติการทดลอง บันทึกและ ท�าให้เอนไซม์ดังกล่าวสามารถท�างานเพื่อผลิตสาร e ได้อีกครั้ง
อภิปรายผลการทดลอง 1
6. การเสียสภาพของเอนไซม์ (denaturation) คือ การที่โครงสร้างของเอนไซม์
เปลีย่ นแปลงไปจนสารตัง้ ต้นเข้าจับกับเอนไซม์ทบี่ ริเวณเร่งไม่ได้ ท�าให้คณ
ุ สมบัตใิ นการเร่งปฏิกริ ยิ า
ของเอนไซม์หมดไป โดยปัจจัยที่มีผลท�าให้เกิดการเสียสภาพของเอนไซม์มีหลายประการ เช่น ได้
รับอุณหภูมิสูงจนท�าให้โครงสร้างของโปรตีนเปลี่ยนแปลงไป
สารตั้งต้น
ความร้อน 40 �C เอนไซม์

เอนไซม์

ภาพที่ 2.67 การเสียสภาพของเอนไซม์ เมื่อได้รับอุณหภูมิสูง


66

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 การเสี ย สภาพของเอนไซม กรณี ที่ เ อนไซม ไ ด รั บ อุ ณ หภู มิ สู ง จะทํ า ให ปฏิกริ ยิ าของสาร A และสาร B เปนดังนี้
โครงสรางของโปรตีนเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น การสกัดเอนไซมออกจากพืช หรือ ก. A+B ไมเกิดปฏิกริ ยิ า
การทํ า ให เ อนไซม บ ริ สุ ท ธิ์ จึ ง มั ก ต อ งทํ า ในที่ ที่ มี อุ ณ หภู มิ ตํ่ า เพื่ อ ป อ งกั น ข. A+B+C เกิดปฏิกริ ยิ าเร็วมาก
การเสือ่ มสภาพของเอนไซมจากความรอน ทัง้ ทีเ่ มือ่ เอนไซมอยูใ นเซลลอาจทนตอ ค. A+B+C+D ปฏิกริ ยิ าเกิดนอยลง
อุณหภูมสิ งู ระดับหนึง่ ได แตเมือ่ สกัดออกจากเซลลความทนทานตออุณหภูมสิ งู จะ ขอใดไมถกู ตอง
ลดลง หากการเสียสภาพของเอนไซมเกิดขึ้นมาก เอนไซมมีโครงสรางเปลี่ยนไป 1. สาร C เปนเอนไซม 2. สาร A เปนสารตัง้ ตน
จากเดิมมาก จะทําใหเอนไซมนนั้ หยุดทํางาน (inactive) ไมสามารถเรงปฏิกริ ยิ า 3. สาร B เปนสารตัง้ ตน 4. สาร C เปนผลิตภัณฑ
ได แตหากเกิดไมมาก อาจจะกระทบตอการทํางานของเอนไซม เชน อัตราการ 5. สาร D เปนตัวยับยัง้ เอนไซม
เรงปฏิกิริยา ชนิดและความเขมขนของสารตั้งตน (substrate) ตลอดจนสภาวะ (วิเคราะหคาํ ตอบ สาร C เปนเอนไซมทชี่ ว ยเรงปฏิกริ ยิ า โดยมีสาร
ที่เหมาะสมกับการเกิดปฏิกิริยา เชน คา pH อุณหภูมิ เปนตน A และสาร B เปนสารตัง้ ตน ซึง่ สังเกตไดจากขอ ข. โดยเมือ่ ใสสาร
C ลงไป จะเกิดปฏิกิริยาเร็วมาก สวนสาร D จะเปนตัวยับยั้ง โดย
เมื่อใสสาร D ลงไป (ในขอ ค.) ปฏิกิริยาจะเกิดชาลง ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T72
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
Summary ตรวจสอบผล
1. ใหนักเรียนศึกษาสรุปสาระสําคัญ (summary)
เคมีทเี่ ปนพืน้ ฐานของ จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เลม 1 เพื่อ
ของสิง่ มีชวี ติ ทบทวนเนื้อหาที่ศึกษามาทั้งหนวยการเรียนรู
จากนั้ น ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนสรุ ป ความรู 
สารอนินทรีย ในรู ป แบบที่ น  า สนใจ โดยอาจเป น ลั ก ษณะ
น�้า แผนผัง ตาราง หรืออื่นๆ
• โครงสร้างโมเลกุลของน�้าประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม สูตรโมเลกุล คือ H2O
• โมเลกุลของน�้าเมื่อแตกตัวจะเกิดเป็นไฮโดรเจนไอออน (H+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) 2. ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเอง
• น�้ามีความส�าคัญในการรักษาสมดุลอุณหภูมิในร่างกาย เป็นตัวท�าละลายที่ดี ช่วยล�าเลียงสารเคมีไปยังส่วนต่าง ๆ โดยพิจารณาขอความในกรอบ self check
ของร่างกาย มีส่วนช่วยในปฏิกิริยาเคมี และป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย
จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เลม 1
แร่ธาตุ
• เป็นสารอนินทรีย์ที่ไม่ให้พลังงาน แต่ร่างกายต้องการ และขาดไม่ได้ 3. ครูมอบหมายการบานใหนกั เรียนทําแบบฝกหัด
• เป็นส่วนประกอบของอวัยวะบางอย่าง เช่น กระดูก ฟัน กล้ามเนื้อ เซลล์ประสาท เป็นต้น ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เลม 1
• เป็นส่วนประกอบของสารต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น เลือด น�้าในเซลล์ เป็นต้น
สารอินทรีย
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน
• มอนอแซ็กคาไรด์ : มีสตู รโมเลกุลเป็น CnH2nOn • โมเลกุ ล จะประกอบด้ ว ยหน่ ว ยย่ อ ย เรี ย กว่ า
เช่น น�้าตาลเฮกโซส ได้แก่ กลูโคส กาแลกโทส กรดอะมิโนที่เชื่อมต่อกันเป็นสายยาวด้วยพันธะ
และฟรักโทส เพปไทด์
• โอลิโกแซ็กคาไรด์ : เกิดจากมอนอแซ็กคาไรด์ หมู่อะมิโน หมู่คาร์บอกซิล
2-10 โมเลกุลมาเชือ่ มต่อกัน ซึง่ โอลิโกแซ็กคาไรด์
ที่ประกอบด้วยมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล H H O
เรียกว่า ไดแซ็กคาไรด์ ได้แก่ มอลโทส ซูโครส
และแลกโทส H N C C O H
• พอลิแซ็กคาไรด์ : เกิดจากการเชื่อมต่อกันของ
น�้าตาลมอนอแซ็กคาไรด์ ตั้งแต่ 11 ถึง 1,000 R
ภาพที่ 2.68 สูตรโครงสร้างหลักของกรดอะมิโน
โมเลกุล เช่น แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน
ลิพิด
• ลิพิดเชิงเดี่ยว : ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 ส่วน คือ กรดไขมัน และกลีเซอรอล
• ลิพิดเชิงซ้อน : ประกอบด้วยกรดไขมัน กลีเซอรอล และมีสารอื่นเชื่อมต่ออยู่ด้วย เช่น ฟอสโฟลิพิด ไกลโคลิพิด
• ลิพิดอนุพันธ์ : มีโครงสร้างแตกต่างจากลิพิดทั่วไป แต่มีสมบัติคล้ายลิพิด เช่น สเตอรอยด์
กรดนิวคลีอิก วิตามิน
• เป็นสารพันธุกรรมซึ่งมีหน้าที่เก็บและถ่ายทอด • ควบคุมการท�างานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย
ข้อมูลทางพันธุกรรม รวมทั้งควบคุมการเจริญ- ให้อยู่ในสภาวะปกติ
เติบโตและกระบวนการต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต

ภาพที่ 2.69 เคมีที่เป็นพื้นฐาน 67


ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด
นําอาหาร 4 ชนิด คือ A, B, C และ D มาทดสอบไดผล ดังนี้
อาหาร เบเนดิกต ไอโอดีน ไบยูเร็ต กระดาษ
A ฟา นํ้าเงิน มวง โปรงแสง
B ฟา ฟา ฟา ไมโปรงแสง
C แดงอิฐ นํ้าเงิน ฟา โปรงแสง
D แดงอิฐ ฟา มวง ไมโปรงแสง
ขาวไขเจียวหมูสับ ควรเปนอาหารชนิดใด
1. A 2. B 3. C
4. D 5. A และ C
(วิเคราะหคําตอบ ขาวไขเจียวหมูสับมีแปง โปรตีน และนํ้ามัน ซึ่งเมื่อทดสอบแปงดวยสารละลาย
ไอโอดีนจะไดตะกอนสีนํ้าเงินเขม เมื่อทดสอบโปรตีนดวยการทดสอบไบยูเร็ตจะไดสีมวง และเมื่อ
ทดสอบไขมันดวยกระดาษจะไดกระดาษโปรงแสง ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T73
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม ปฏิกิริยาเคมี
• ปฏิกริ ยิ าดูดพลังงาน : ปฏิกริ ยิ าทีใ่ ช้พลังงานเพือ่ สลายแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอะตอมสูงกว่าพลังงานทีป่ ล่อย
การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอ ออกมาเพื่อสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมใหม่
ผลงาน • ปฏิกิริยาคายพลังงาน : คือ ปฏิกิริยาที่ใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมต�่ากว่าพลังงาน
3. ครูวัดและประเมินการปฏิบัติการ จากการทํา ที่ปล่อยออกมาเพื่อสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมใหม่
เอนไซม์
กิจกรรม เรื่อง การทํางานของเอนไซม และ • หน้าที่ของเอนไซม์ คือ เร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์และในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม • กลไกการท�างานของเอนไซม์
4. ครู วั ด และประเมิ น การออกแบบปฏิ บั ติ ก าร
เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม
5. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด ภาพที่ 2.70 ทฤษฎีแม่กุญแจและลูกกุญแจ ภาพที่ 2.71 ทฤษฎีการเหนี่ยวน�า
• ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการท�างานของเอนไซม์ ได้แก่ ความเข้มข้นของเอนไซม์และสารตัง้ ต้น ความเป็นกรด-เบส
และอุณหภูมิ
• สารที่ช่วยในการท�างานของเอนไซม์ ได้แก่ โคแฟกเตอร์ และโคเอนไซม์
• การยับยั้งการท�างานของเอนไซม์
- การยับยั้งแบบไม่ทวนกลับ : เกิดจากตัวยับยั้งจะเข้าจับกับเอนไซม์ด้วยพันธะโคเวเลนต์ แล้วเกิด
สารประกอบที่เสถียร ท�าให้เอนไซม์ไม่สามารถท�างานได้และไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้
- การยับยัง้ แบบทวนกลับได้ : เกิดจากตัวยับยัง้ เข้าจับกับเอนไซม์ดว้ ยพันธะทีไ่ ม่แข็งแรง จึงท�าให้สามารถ
หลุดออกจากกันได้ ซึ่งหลังจากนั้นเอนไซม์จะสามารถกลับมาท�างานได้เช่นเดิม

Self Check
ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้
ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
1. สารเคมีที่มีปริมาณมากที่สุดในร่างกายมนุษย์ คือ โปรตีน 1.
2. ด้วยสมบัตขิ องน�า้ ทีส่ ามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ จึงท�าให้นา�้ มีคณุ สมบัติ 2.
เป็นตัวท�าละลายที่ดี
3. สารอินทรียเ์ ป็นสารประกอบทีม่ ธี าตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน 3.
ุด
เป็นองค์ประกอบหลัก ใน
สม
ลง

4. พันธะเพปไทด์เป็นพันธะทีเ่ ชือ่ มต่อกรดอะมิโนโดยอาศัยการรวมตัวของ 3.2


ทึ ก
บั น

หมู่คาร์บอกซิลกับหมู่อะมิโน
5. เอนไซม์ท�าหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ โดยไปช่วยเพิ่ม 4.2
พลังงานก่อกัมมันต์ในการเกิดปฏิกิริยา
แนวตอบ Self Check
68
1. ผิด 2. ถูก 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม ทาทาย


ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียนในเนือ้ หาเรือ่ ง ปฏิกริ ยิ า ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการใชตวั ยับยัง้ เอนไซมในการ
เคมีในเซลลของสิ่งมีชีวิต ไดจากการประเมินการปฏิบัติการในการทํากิจกรรม ศึกษาลําดับของปฏิกริ ยิ าเคมีทเี่ กิดขึน้ โดยการเติมตัวยับยัง้ เอนไซม
เรื่อง การทํางานของเอนไซม และปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม รวม เขาไปขัดขวางการทํางานของเอนไซม แลววัดปริมาณสารทีเ่ พิมขึน้
ทั้งสังเกตจากการตอบคําถาม การรวมกันอภิปราย และการนําเสนอผลงาน และปริมาณสารทีล่ ดลง
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการที่อยูใน
แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ
แบบประเมินการปฏิบัติการ ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 4 3 2 1
ระดับคะแนน 1. การออกแบบ เข้าใจปัญหา เข้าใจปัญหา เข้าใจปัญหา เข้าใจปัญหา
การทดลอง ตั้งสมมติฐานได้ ตั้งสมมติฐานได้ถูกต้อง ตั้งสมมติฐานได้ถูกต้อง ตั้งสมมติฐานได้ถูกต้อง
ระดับคะแนน สอดคล้องกับปัญหา ออกแบบการทดลอง ออกแบบการทดลอง ต้องอาศัยการแนะนาใน
ลาดับที่ รายการประเมิน และใช้เทคนิควิธีถูกต้อง และใช้เทคนิควิธี การออกแบบการ
4 3 2 1 ออกแบบการทดลอง
1 การออกแบบการทดลอง ยังไม่ถูกต้อง ทดลอง
และใช้เทคนิควิธีถูกต้อง
2 การดาเนินการทดลอง แสดงถึงความคิดริเริม่
3 การนาเสนอ 2. การดาเนินการ การดาเนินการทดลองมี การดาเนินการทดลองมี การดาเนินการทดลองมี การดาเนินการทดลอง
รวม ทดลอง ขั้นตอนครบถ้วนถูกต้อง ขั้นตอนครบถ้วนถูกต้อง ขั้นตอนถูกต้องเป็นส่วน ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
มีการทาซ้า และการ แต่ไม่มีการทาซ้า และ ใหญ่ และการเก็บข้อมูล และการเก็บข้อมูล
การเก็บข้อมูลได้ ได้ครบถ้วนตามที่ ไม่ครบถ้วน
เก็บข้อมูลได้ละเอียด
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ครบถ้วนตามทีต่ ้องการ ต้องการ
รอบคอบ ครบถ้วน
................/................/............... ตามที่ต้องการ
3. การนาเสนอ เหมาะสมกับลักษณะ นาเสนอข้อมูลถูกต้อง นาเสนอข้อมูลถูกต้อง นาเสนอข้อมูลถูกต้อง
ของข้อมูล แสดงถึง ครบถ้วน วิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลได้ วิเคราะห์ข้อมูลไม่
ความคิดสร้างสรรค์ใน ข้อมูลได้ครบถ้วน ครบถ้วน นาเสนอผล ครบถ้วน สรุปผลการ
การนาเสนอ วิเคราะห์ สรุปผลการทดลอง การทดลองถูกต้อง ทดลอง
ข้อมูลได้ครบถ้วน ถูกต้อง มีการนาเหตุผล ไม่ถูกต้อง
เหมาะสม สรุปผลการ และความรู้มาอ้างอิง
ทดลองถูกต้อง มีการนา ประกอบการสรุปผล
เหตุผลและความรู้มา การทดลอง
อ้างอิงประกอบการ
สรุปผลการทดลอง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
10-12 ดีมาก
7-9 ดี
4-6 พอใช้
0-3 ปรับปรุง

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

เฉลย Unit Question

U nit
ค�าชี้แจง :
Question 2
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� า ถามต่ อ ไปนี้
1. พิจารณาจากผลงานของนักเรียน โดยอยูใน
ดุลยพินิจของครูผูสอน
1. ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โดยในผังนั้นต้องประกอบด้วย 2. สารอนินทรีย เปนสารประกอบทีไ่ มมธี าตุคารบอน
ค�าต่าง ๆ ที่ก�าหนดให้ในกรอบด้านล่าง เปนองคประกอบ ซึง่ เปนองคประกอบเพียงสวน
สารอนินทรีย์ น�้า แร่ธาตุ สารอินทรีย์ นอยในเซลล แตมคี วามสําคัญตอการทํางานของ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก ระบบตาง ๆ ในรางกายของสิง่ มีชวี ติ เชน
วิตามิน ปฏิกิริยาเคมี เอนไซม์ •ï นํ้า ทําหนาที่ชวยรักษาสมดุลอุณหภูมิใน
รางกาย เปนตัวทําละลายที่ดี ชวยลําเลียง
2. จงอธิบายว่าสารอนินทรีย์ และสารอินทรียแ์ ต่ละชนิด มีความส�าคัญต่อร่างกายของสิง่ มีชวี ติ อย่างไร สารเคมีตา ง ๆ รวมทัง้ มีสว นรวมในปฏิกริ ยิ า
3. จากภาพ ก และ ข คือน�้าตาลชนิดใด และจงอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีของการสร้างน�้าตาล เคมีทชี่ ว ยใหสงิ่ มีชวี ติ สามารถดํารงชีวติ อยูไ ด
ไดแซ็กคาไรด์จากน�้าตาล ก และ ข นี้ พร้อมทั้งบอกแหล่งที่พบของน�้าตาลไดแซ็กคาไรด์ที่ได้ ï• แรธาตุ เปนสวนประกอบของสารอินทรีย
CH2OH CH2OH
หลายชนิดในรางกายสิ่งมีชีวิต ซึ่งแรธาตุ
H C O H OH C O OH
มีความสําคัญตอกระบวนการทํางานของ
C HOH H C C HOH H C
รางกาย
HO C C OH H C C H สารอินทรีย เปนสารประกอบทีม่ ธี าตุคารบอน
H OH H OH
ภาพ ก ภาพ ข และธาตุไฮโดรเจนเปนองคประกอบหลัก และยัง
ภาพที่ 2.72 อาจมีธาตุอนื่ ๆ เปนองคประกอบรวม เชน
4. เซลลูโลสและไกลโคเจนแตกต่างกันอย่างไร ï• คาร โ บไฮเดรต เป น แหล ง พลั ง งานและ
5. หากนักเรียนจะทดสอบโปรตีน นักเรียนสามารถทดสอบได้อย่างไร เปนวัตถุดิบสําหรับสรางโครงรางและสวน
6. เพปไทด์ต่อไปนี้ประกอบด้วยกรดอะมิโนกี่โมเลกุล และมีพันธะเพปไทด์กี่พันธะ ประกอบของเซลล
O O O O ï• โปรตีน มีความสําคัญตอการเจริญเติบโต
H2NCHCNHCHCNHCHCNHCH2COH
ของรางกาย ชวยซอมแซมสวนทีส่ กึ หรอ เปน
CH2SH CH3 CH2CH2OH
ภาพที่ 2.73
ตัวกระตุนปฏิกิริยาเคมีในรางกาย
ï• ลิพดิ เปนแหลงพลังงานทีส่ าํ คัญของรางกาย
7. จงเขียนปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของไตรกลีเซอไรด์ โดยมีเอนไซม์ไลเปสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
เพราะเปนสารทีใ่ หพลังงานสูง และทําหนาที่
8. จากภาพนักเรียนคิดว่าเป็นโครงสร้างของลิพิดประเภทใด เพราะเหตุใด
H3C เปนตัวทําละลายวิตามินเอ ดี อี และเค
CH3
CH3
C CH3 ï• กรดนิวคลีอิก ทําหนาที่เก็บและถายทอด
ขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุน
CH3
หนึ่งไปยังรุนตอไป ควบคุมการเจริญเติบโต
ภาพที่ 2.74
และกระบวนการตางๆ ของสิ่งมีชีวิต
HO เคมีที่เป็นพื้นฐาน 69
ของสิ่งมีชีวิต ï• วิตามิน ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของ
ระบบตาง ๆ ในรางกายใหอยูใ นสภาวะปกติ
ซึ่งรางกายตองไดรับวิตามินจากอาหาร
3. ภาพ ก คือ กลูโคส (glucose) ภาพ ข คือ กาแล็กโทส (galactose) และไดแซ็กคาไรดที่ได คือ แล็กโทส (lactose) ซึ่งเกิดจากการเชื่อมตอกันดวยพันธะ
ไกลโคซิดิกบริเวณหมูไฮดรอกซิลของกลูโคส 1 โมเลกุล กับหมูไฮดรอกซิลของกาแล็กโทส 1 โมเลกุล และไดนํ้าออกมา 1 โมเลกุล ซึ่งแล็กโทสพบมากในนํ้านม
ของมนุษยและของสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม
CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH
C O
H H OH C O OH H
O
H
O
OH
H H H H
C C + C OH C O
OH H H OH H OH H
H C H HO H H
HO C C OH C
H OH H OH H OH H OH
กลูโคส กาแล็กโทส แล็กโทส

4. เซลลูโลสเปนพอลิแซ็กคาไรดที่พบมากที่สุดในพืช โดยพบเปนองคประกอบที่สําคัญของผนังเซลล ซึ่งเซลลูโลสเกิดจากโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมตอกันเปน


สายยาวทีไ่ มแตกแขนง ทําใหมลี กั ษณะเปนเสนใยทีเ่ หนียวและไมละลายนํา้ สวนไกลโคเจนเปนพอลิแซ็กคาไรดทพี่ บมากในสัตว ซึง่ เกิดจากโมเลกุลของกลูโคส
เชื่อมตอกันเปนสายยาวที่มีการแตกแขนงเปนกิ่งกานสั้น ๆ จํานวนมาก
5. การทดสอบโปรตีน ทําไดโดยใหโปรตีนทําปฏิกิริยากับสารละลายคอปเปอร (II) ซัลเฟต (CuSo4) ในสารละลายเบส เชน โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) ซึ่ง
สารละลายโปรตีนจะเปลี่ยนจากสีฟาเปนสีมวง ดังสมการ
โปรตีน + CuSO4 NaOH สารสีมวง
T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

6. เพปไทดนี้ประกอบดวยกรดอะมิโน 4 โมเลกุล
และมีพีพันธะเพปไทด 3 พันธะ
9. อธิบายและเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของดีเอ็นเอกับอาร์เอ็นเอ
8. จากภาพเป น โครงสร า งของคอเลสเตอรอล
ซึ่งเปนลิพิดอนุพันธเพราะมีโครงสรางทั่วไป 10. ให้นักเรียนบอกความส�าคัญของวิตามินที่ละลายในน�้าและที่ละลายในไขมันมาพอสังเขป
เปนวง 4 วง และมีหมูไฮดรอกซิลอยูดวย 11. จากการตรวจสอบสาร A B และ C ได้ผลดังตาราง
10. วิตามินทีล่ ะลายในนํา้ มีคณ
ุ สมบัตลิ ะลายในนํา้ ผลที่สังเกตได้
และสลายตัวงาย หากรางกายไดรบั ปริมาณมาก สารที่ใช้ทดลอง สาร C
สาร A สาร B สาร C หลังจากต้มกับกรด
จะขับออกทางปสสาวะ แตหากรางกายขาดจะ
แสดงอาการผิดปกติอยางรวดเร็ว สวนวิตามิน สารละลายเบเนดิกต์ ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี ตะกอนสีส้มแดง
ที่ละลายในไขมัน มีคุณสมบัติละลายในไขมัน สารละลายไอโอดีน ไม่เปลี่ยนสี เปลี่ยนเป็น ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี
หรือนํ้ามัน สามารถคงสภาพอยูไดเปนเวลา สีน�้าเงิน
นาน ซึ่งรางกายจะเก็บสะสมไวที่ตับ และหาก สารละลาย CuSO4 เปลี่ยนเป็น ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี
รางกายไดรับในปริมาณมากเกินความตองการ สีม่วง
จะมีอาการแพเกิดขึ้น
ให้นักเรียนวิเคราะห์ผลจากตารางว่า สาร A B และ C น่าจะเป็นสารชีวโมเลกุลชนิดใด
11. สาร A คือ โปรตีน เพราะโปรตีนทําปฏิกิริยากับ เพราะอะไร
สารละลาย CuSO4 แลวเปลีย่ นสีของสารละลาย 12. เอนไซม์มีความส�าคัญต่อปฏิกิริยาเคมีในร่างกายสิ่งมีชีวิตอย่างไร และเอนไซม์มีหลักการท�างาน
จากสีฟาเปนสีมวง อย่างไร
สาร B คือ แปง เพราะแปงทําปฏิกิริยากับ 13. จงอธิบายภาพทั้ง 2 ภาพ ว่าเกี่ยวข้องกับการท�างานของเอนไซม์อย่างไร
สารละลายไอโอดีนแลวไดตะกอนที่เปนสาร
อุณหภูมิที่เหมาะสม อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อ
เชิงซอนสีนํ้าเงิน ต่อการท�างานของ การท�างานของเอนไซม์
เพปซิน อะไมเลส ทริปซิน
สาร C คือ นํ้าตาลโมเลกุลใหญ เชน เซลลูโลส การท�างานของเอนไซม์ เอนไซม์ในมนุษย์ ในแบคทีเรียบางชนิด
การท�างานของเอนไซม์

เพราะเมื่ อ นํ า ไปทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ สารละลาย


เบเนดิกตจะไมเกิดการเปลี่ยนแปลง แตเมื่อ
เติ ม กรดลงไปแล ว นํ า ไปต ม จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
ไฮโดรไลซิส ซึ่งสามารถเกิดตะกอนสีสมแดง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 0 20 40 60 80 100
กับสารละลายเบเนดิกตได ค่า pH อุณหภูมิ ( �C)

12. เอนไซม เ ป น โปรตี น ชนิ ด หนึ่ ง ทํ า หน า ที่ เ ร ง ภาพที่ 2.75 ภาพที่ 2.76
ปฏิกิริยาเคมีภายในเซลลและในรางกายของ 14. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นมีผลต่อการท�างานของเอนไซม์อย่างไร
สิ่งมีชีวิต มีหลักการทํางาน คือ การเขาไปลด
พลั ง งานก อ กั ม มั น ต ห รื อ พลั ง งานกระตุ  น ใน
70
การเกิดปฏิกิริยา และทําใหอนุภาคสารตั้งตน
เข า ชนกั น ในทิ ศ ทางที่ เ หมาะสม ส ง ผลให
ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น
7. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของไตรกลีเซอไรดโดยมีเอนไซมไลเปสเปนตัวเรงปฏิกิริยา มีดังนี้
O O
H2C O C R HO C R
O H2C OH O
ไลเปส
HC O C R + 3H2O HC OH + HO C R
O H2C OH O
H2C O C R HO C R
ไตรกลีเซอไรด นํา้ กลีเซอรอล กรดไขมัน
9. ความเหมือนและความแตกตางระหวางดีเอ็นเอกับอารเอ็นเอ มีดังนี้
สิ่งเปรียบเทียบ DNA RNA
โครงสรางของโมเลกุล สายพอลินิวคลีโอไทด 2 สาย พันกันเปนเกลียว สายพอลินิวคลีโอไทดสายเดี่ยว
ชนิดของเบส A˜Â C G T A˜Â C G U
ชนิดของนํ้าตาล ดีออกซีไรโบส ไรโบส
ขนาดโมเลกุล ใหญ เล็ก
บริเวณที่พบ ในนิวเคลียส (อาจพบในไมโทคอนเดรีย) ในนิวเคลียสและไซโทพลาซึม
หนาที่ เปนสารพันธุกรรม เปนสารพันธุกรรมและสังเคราะหโปรตีน
T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

13. ภาพซาย จะเห็นวา เอนไซมเพปซินทํางานไดดที ี่


pH ประมาณ 2 เอนไซมอะไมเลสทํางานไดดีที่
15. จากการศึกษาการท�างานของเอนไซม์อะไมเลสในการย่อยแป้งที่อุณหภูมิต่าง ๆ ได้ผล ดังตาราง pH ประมาณ 6-7 และเอนไซมทริปซินทํางานได
ดีที่ pH ประมาณ 8 แสดงวาเอนไซมแตละชนิด
อุณหภูมิ ( C� ) การเปลี่ยนแปลงของแปง (กรัม / นาที)
จะเรงปฏิกริ ยิ าไดดที สี่ ดุ ทีค่ า pH หนึง่ ๆ เทานัน้
0 0 ภาพขวา จะเห็นวา เอนไซมในรางกายมนุษย
10 0.4 จะทํางานไดดีที่อุณหภูมิประมาณ 37 ํC สวน
20 0.6 เอนไซม ใ นร า งกายของแบคที เ รี ย บางชนิ ด
30 0.8 สามารถทนตอความรอนได และจะทํางานไดดี
ที่อุณหภูมิประมาณ 75-80 ํC แสดงวาเอนไซม
40 1.0
แตละชนิดมีอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการทํางาน
50 0.8
แตกตางกัน
60 0.6 จากภาพทัง้ 2 ภาพ สามารถสรุปไดวา คา pH
และอุณหภูมเิ ปนปจจัยทีม่ ผี ลตอการทํางานของ
1) จากผลการทดลองข้างต้น ให้นักเรียนระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม เอนไซม
2) นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่า เอนไซม์อะไมเลสท�างานได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิเท่าใด
3) ให้นักเรียนสรุปผลการทดลองข้างต้น 14. ในปฏิกริ ยิ าใด ๆ ทีม่ เี อนไซมอยางเพียงพอ หาก
เพิ่มความเขมขนของสารตั้งตน อัตราเร็วใน
การเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น และเมื่อเพิ่มความ
เขมของสารตั้งตนขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง จะพบวา
อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าจะคงที่ เนื่ อ งจากมี
เอนไซม ไ ม เ พี ย งพอในการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย ากั บ
สารตั้งตน
15. 1) ตัวแปรตน คือ อุณหภูมิ
ตั ว แปรตาม คื อ อั ต ราการเปลี่ ย นแปลง
ของแปง
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณของเอนไซม
อะไมเลสที่ใชในการยอยแปง
2) เอนไซมอะไมเลสทํางานไดดที สี่ ดุ ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ
40 ํC
3) การทํางานของเอนไซมอะไมเลสขึ้นอยูกับ
อุณหภูมิ คือ เอนไซมอะไมเลสทํางานได
เคมีที่เป็นพื้นฐาน 71
ของสิ่งมีชีวิต ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 40 ํC เพราะมีอัตราการ
เปลี่ ย นแปลงของแป ง มากที่ สุ ด คื อ 1.0
กรัม/นาที ซึ่งถาอุณหภูมิสูงหรือตํ่ากวานี้
การทํางานของเอนไซมอะไมเลสจะลดลง

T77
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่าง แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
เซลล์และ ม.4 เล่ม 1 สิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้ หาความรู้ (5Es ก่อนเรียน - ทกั ษะการตัง้ - ใฝ่เรียนรู้
ทฤษฎีเซลล์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงได้ (K) Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 2. วัดขนาดโดยประมาณและ Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง การ - ทกั ษะการตรวจ การท�ำงาน
4 - PowerPoint ประกอบ วาดภาพที่ปรากฏภายใต้ ไหลของไซโทพลาซึม สอบสมมติฐาน
การสอน กล้องจุลทรรศน์ได้ (K) - ประเมินการปฏิบัติการ - ทกั ษะการส�ำรวจ
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 3. บอกวิธกี ารใช้และดูแลรักษา - สังเกตพฤติกรรมการ ค้นหา
TWIG กล้องจุลทรรศน์ที่ถูกต้องได้ ทำ�งานรายบุคคล - ทักษะการระบุ
(K) - สังเกตพฤติกรรมการ - ทกั ษะการ
4. ท�ำกิจกรรมเพื่อศึกษา ทำ�งานกลุ่ม เปรียบเทียบ
โครงสร้างและขนาดของเซลล์ - สังเกตพฤติกรรม
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ได้ (P) การนำ�เสนอ
5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ - สังเกตความมีวินัย และ
สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น มุ่งมั่นในการทำ�งาน
ได้อย่างสร้างสรรค์ (A)

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


โครงสร้างของ ม.4 เล่ม 1 ของส่วนห่อหุ้มเซลล์พืชและ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
เซลล์ทศี่ กึ ษาด้วย - แบบฝึกหัดชีววิทยา เซลล์สตั ว์ได้ (K) Instructional โครงสร้างของ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
กล้องจุลทรรศน์ ม.4 เล่ม 1 2. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสรุป Model) เซลล์ที่ศึกษาด้วย - ทกั ษะการเชือ่ มโยง การท�ำงาน
อิเล็กตรอน - PowerPoint ประกอบ ชนิดและหน้าที่ของ กล้องจุลทรรศน์ - ทกั ษะการสรุป
การสอน ออร์แกเนลล์ได้ (K) อิเล็กตรอน ลงความเห็น
8 - ภ
 าพยนตร์ ส ารคดี ส น
้ ั 3. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ - สังเกตพฤติกรรมการ
ชั่วโมง TWIG ของนิวเคลียสได้ (K) ทำ�งานรายบุคคล
4. ใช้กระบวนการสืบเสาะ - สังเกตพฤติกรรมการ
หาความรู้ในการศึกษา ทำ�งานกลุ่ม
โครงสร้างของเซลล์ได้ (P) - สังเกตความมีวินัย และ
5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ มุ่งมั่นในการทำ�งาน
สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น
ได้อย่างสร้างสรรค์ (A)

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายและเปรียบเทียบการ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


การล�ำเลียงสาร ม.4 เล่ม 1 แพร่ ออสโมซิส การแพร่ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ผ่านเซลล์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา แบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟ Instructional การลำ�เลียงสารผ่าน ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 ทรานสปอร์ตได้ (K) Model) เซลล์ - ทักษะการวิเคราะห์ การท�ำงาน
6 - PowerPoint ประกอบ 2. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการสรุปลง
ชั่วโมง การสอน เขียนแผนภาพการล�ำเลียงสาร การประยุกต์ใช้ความรู้ ความเห็น
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น โมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วย เรื่องการลำ�เลียงสาร
TWIG กระบวนการเอกโซไซโทซิส ผ่านเซลล์ในชีวิต
การล�ำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ ประจำ�วัน
เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการ - ประเมินการปฏิบัติการ
เอนโดไซโทซิสได้ (K) - สังเกตพฤติกรรมการ
3. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อศึกษา ทำ�งานรายบุคคล
กระบวนการแพร่และ - สังเกตพฤติกรรมการ
ออสโมซิสได้ (P) ทำ�งานรายกลุ่ม
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ - สังเกตความมีวินัย และ
สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น มุ่งมั่นในการทำ�งาน
ได้อย่างสร้างสรรค์ (A)

T78
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายวิธีการสื่อสารของ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การสื่อสาร ม.4 เล่ม 1 เซลล์ที่อยู่ใกล้กันและเซลล์ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง การ - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ระหว่างเซลล์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา ที่อยู่ไกลกันได้ (K) Instructional สือ่ สารระหว่างเซลล์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 2. ใช้กระบวนการสืบเสาะ Model) - ประเมินการปฏิบัติการ - ทกั ษะการสรุป การท�ำงาน
2 - PowerPoint ประกอบ หาความรู้ในการศึกษาได้ - สังเกตพฤติกรรมการ ลงความเห็น
การสอน (P) ทำ�งานรายบุคคล
ชั่วโมง
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น 3. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ - สังเกตพฤติกรรมการ
TWIG สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น ทำ�งานกลุ่ม
ได้อย่างสร้างสรรค์ (A) - สังเกตความมีวินัย และ
มุ่งมั่นในการทำ�งาน
แผนฯ ที่ 5 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. สังเกตการแบ่งนิวเคลียส แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การแบ่งเซลล์ ม.4 เล่ม 1 แบบไมโทซิสและแบบ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดชีววิทยา ไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้ Instructional การแบ่งเซลล์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
8 ม.4 เล่ม 1 กล้องจุลทรรศน์ได้ (K)
- PowerPoint ประกอบ 2. อธิบายและเปรียบเทียบการ
Model) - ประเมินการปฏิบัติการ
- สังเกตพฤติกรรมการ
- ทกั ษะการ
เปรียบเทียบ
การท�ำงาน
ชั่วโมง
การสอน แบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส ทำ�งานรายบุคคล - ทกั ษะการตรวจ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น และแบบไมโอซิสได้ (K) - สังเกตพฤติกรรมการ สอบสมมติฐาน
TWIG 3. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อศึกษา ทำ�งานกลุ่ม - ทกั ษะการสรุป
การแบ่งเซลล์ได้ (P) - สังเกตพฤติกรรม ลงความเห็น
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ การนำ�เสนอ
สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น - สังเกตความมีวินัย และ
ได้อย่างสร้างสรรค์ (A) มุ่งมั่นในการทำ�งาน
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายการเปลี่ยนสภาพ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยน ม.4 เล่ม 1 ของเซลล์เพื่อไปท�ำหน้าที่ หาความรู้ (5Es - ต รวจใบงาน เรื่อง การ - ท กั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
สภาพของเซลล์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา เฉพาะอย่างได้ (K) Instructional เปลีย่ นสภาพของเซลล์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
และการชราภาพ ม.4 เล่ม 1 2. อธิบายสาเหตุของการ Model) และการชราภาพของ - ทกั ษะการสรุป การท�ำงาน
ของเซลล์ - PowerPoint ประกอบ ชราภาพของเซลล์ได้ (K) เซลล์ ลงความเห็น
การสอน 3. ใช้กระบวนการสืบเสาะ - สังเกตพฤติกรรมการ
2 - ภาพยนตร์สารคดีสั้น หาความรู้เพื่อศึกษาได้ (P) ทำ�งานรายบุคคล
ชั่วโมง TWIG 4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา และ - สังเกตพฤติกรรมการ
มีความมุ่งมั่น (A) ทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน
การทำ�งาน
แผนฯ ที่ 7 - ห นังสือเรียนชีววิทยา 1. อธิบายและสรุปขั้นตอนการ แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การหายใจ ม.4 เล่ม 1 หายใจระดับเซลล์ได้ (K) หาความรู้ (5Es หลังเรียน - ทกั ษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ระดับเซลล์ - แบบฝึกหัดชีววิทยา 2. เปรียบเทียบขั้นตอนการ Instructional - ตรวจแบบฝึกหัด ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ม.4 เล่ม 1 หายใจระดับเซลล์ในภาวะ Model) - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการ การท�ำงาน
10 - PowerPoint ประกอบ ที่มีออกซิเจนเพียงพอ และ การหายใจระดับเซลล์ เปรียบเทียบ
ชั่วโมง การสอน ภาวะที่มีออกซิเจน - ประเมินการปฏิบัติการ - ทกั ษะการน�ำ
- ภาพยนตร์สารคดีสั้น ไม่เพียงพอ (K) - สังเกตพฤติกรรมการ ความรูไ้ ปใช้
TWIG 3. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อศึกษา ทำ�งานรายบุคคล
กระบวนการหมักได้ (P) - สังเกตพฤติกรรมการ
4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A) ทำ�งานกลุ่ม
- สังเกตความมีวินัย และ
มุ่งมั่นในการทำ�งาน

T79
Chapter Concept Overview
เซลล์และทฤษฎีเซลล์
ทฤษฎีเซลล์ กล้องจุลทรรศน์
1. สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ อาจมีเซลล์เดียวหรือ ประเภท วัตถุที่ศึกษา ภาพ
หลายเซลล์ โดยภายในเซลล์มีสาร
ใช้แสงแบบธรรมดา ขนาดเล็ก ไม่เห็นด้วยตาเปล่า เสมือนหัวกลับ 2 มิติ
พันธุกรรมและมีเมแทบอลิซึม ท�าให้
สิ่งมีชีวิตสามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ ใช้แสงแบบสเตอริโอ ขนาดเล็ก ไม่เห็นรายละเอียด เสมือนหัวตั้ง 3 มิติ
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุด อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน โครงสร้างภายใน ภาพ 2 มิติ
ของสิ่งมีชีวิต ที่มีการจัดระบบการ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด โครงสร้างภายนอก ภาพ 3 มิติ
ท�างานภายในเซลล์และโครงสร้าง
ของเซลล์ ก�าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = ก�าลังขยายของเลนส์ใกล้ตา × ก�าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
3. เซลล์ต่าง ๆ ก�าเนิดมาจากเซลล์เริ่ม
แรกโดยการแบ่งเซลล์ของเซลล์เดิม ก�าลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = ขนาดของภาพ
ขนาดของวัตถุ

เส้นผ่านศูนย์กลางของภาพ (ขณะที่ศึกษา) = ก�าลังขยายของเลนส์ต�่าสุด × เส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพที่ก�าลังขยายต�่าสุด


ก�าลังขยายของเลนส์

โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
โครงสร้างของเซลล์สัตว์และเซลล์พืช
เมื่อศึกษาโครงสร้างของเซลล์สัตว์และเซลล์พืชด้วย นิวเคลียส
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบโครงสร้างพื้นฐานส�าคัญ ลักษณะเป็นทรงกลมอยูต่ รงกลางหรือค่อนไปข้างใดข้างหนึง่ ของเซลล์ เมือ่ ย้อมสี
ดังนี้ จะติดสีเข้มทึบ โดยทัว่ ไปเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส แต่บางเซลล์อาจมีหลายนิวเคลียส

นิวเคลียส : ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ
ไซโทพลาซึม ภายในเซลล์
มี ส ่ ว นประกอบที่ ส� า คั ญ 2 ส่ ว น
คื อ ออร์ แ กเนลล์ (organelle) ไลโซโซม : ขนส่งเอนไซม์
และไซโทซอล (cytosol) แวคิวโอล : ถุงบรรจุสาร
ไรโบโซม : แหล่งสร้างโปรตีน
กอลจิคอมเพล็กซ์ :
โครงสร้าง รวบรวม บรรจุ และขนส่งสาร โครงสร้าง
ของ ของ
เซลลสต
ั ว เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม : เซลลพช

ผลิตและล�าเลียงสาร
ไมโทคอนเดรีย :
เซนทริโอล : สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ คลอโรพลาสต์ :
ท�าให้โครมาทิดแยกออกจากกัน เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ในขณะที่มีการแบ่งเซลล์ สังเคราะห์ด้วยแสง

ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล
เป็นโครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม และ เยื่อหุ้มเซลล์ :
แสดงขอบเขตของเซลล์ ซึง่ ได้แก่ ผนังเซลล์ ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุม ผนังเซลล์ :
การผ่านเข้าออกของสาร ค� า
้ จุ น โครงร่ าง ปกปองเซลล์
และเยื่อหุ้มเซลล์ ช่วยให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้

T80
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
การลําเลียงสารผานเซลล์
การล�าเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การแพร่แบบธรรมดา ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต การล�าเลียงแบบใช้พลังงาน
• อนุ ภ าคสารเคลื่อ นที่จ าก • การแพร่ โ มเลกุ ล น�้ า จาก • อนุ ภ าคสารเคลื่ อ นที่ จ าก • อนุ ภ าคสารเคลื่ อ นที่ จาก
ความเข้มข้นสูงไปยังความ บริเวณน�า้ มาก (สารละลาย ความเข้มข้นสูงไปยังความ ความเข้มข้นต�า่ ไปยังความ
เข้มข้นต�่า มีความเข้มข้นต�่า) ไปยัง เข้ ม ข้ น ต�่ า โดยอาศั ย เข้มข้นสูงโดยใช้พลังงาน
บริเวณน�า้ น้อย (สารละลาย โปรตีนตัวพา ในรูป ATP
มีความเข้มข้นสูง)

ไอโซโทนิก ไฮเพอร์โทนิก ไอโซโทนิก


ความเข้มข้นภายนอก = ภายในเซลล์ ความเข้มข้นภายนอก > ภายในเซลล์ ความเข้มข้นภายนอก < ภายในเซลล์

การล�าเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์
เอกโซไซโทซิส เอนโดไซโทซิส
• ล�าเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ เช่น เอนไซม์ ฮอร์โมน • ล�าเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์

ฟาโกไซโทซิส พิโนไซโทซิส ล�าเลียงสารเข้าเซลล์โดยอาศัยตัวรับ


ล�าเลียงสารที่เป็นของแข็ง ล�าเลียงสารในรูปสารละลาย พบในการล�าเลียงลิโพโปรตีน
พบในอะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาว พบในเซลล์ไตและล�าไส้ คอเลสเตอรอล

การสื่อสารระหวางเซลล์ สารสื่อประสาท

การสือ่ สารระหว่างเซลล์ทอี่ ยูใ่ กล้กนั การสือ่ สารระหว่างเซลล์ทอี่ ยูไ่ กลกัน


เซลล์พืช เซลล์ประสาทประสานงาน

หน่วยรับความรู้สึก
เจ็บปวดที่บริเวณ
ผิวหนัง
พลาสโมเดสมาตา เดนไดรต์
ที่ผนังเซลล์ แอกซอน
ไขสันหลัง
เซลล์ประสาทสั่งการ
เซลล์สัตว์
กระแสประสาท เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
จากหน่วยรับ กล้ามเนื้อหดตัว
แกป จังก์ชันที่เยื่อหุ้มเซลล์ ความรู้สึก

T81
การแบงเซลล์
ไมโทซิส

1 อินเตอร์เฟส 6 การแบ่งไซโทพลาซึม
เห็นนิวคลีโอลัสชัดเจน แบ่งไซโทพลาซึมท�าให้
ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์

2 โพรเฟส 5 เทโลเฟส
เห็นโครโมโซมสั้นลง มีการ เส้นใยสปนเดิลสลายไป
สร้างเส้นใยสปนเดิล มีการสร้างเยื่อหุ้ม
4 แอนาเฟส
นิวเคลียส
3 เมทาเฟส เส้นใยสปนเดิลหดสั้น
เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายไป ดึงโครมาทิดให้แยกกัน
โครโมโซมอยู่กลางเซลล์

ไมโอซิส การแบ่งไซโทพลาซึม
แบ่งไซโทพลาซึมท�าให้ได้
เซลล์ลูก 4 เซลล์

1 อินเตอร์เฟส
มีการจ�าลองโครโมโซม ท�าให้
แต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิด
2 โพรเฟส I
ฮอมอโลกัสโครโมโซมอยู่กันเป็นคู่
อาจเกิดครอสซิงโอเวอร์
3 เมทาเฟส I 9 เทโลเฟส II
เส้นใยสปนเดินดึงฮอมอโลกัสโครโมโซมมาเรียงกลางเซลล์ โครโมโซมคลายออก
มีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส
4 แอนาเฟส I
เส้นใยสปนเดิลดึงฮอมอโลกัสโครโมโซมให้แยกกัน 8 แอนาเฟส II
แต่ละโครโมโซมมี 2 โครมาทิด เส้นใยสปนเดิลหดสั้นดึงโครมาทิดให้แยก
จากกัน แต่ละโครโมโซมมี 1 โครมาทิด
5 เทโลเฟส I
7 เมทาเฟส II
สร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส เส้นใยสปนเดินดึงให้โครโมโซม
แต่ละนิวเคลียสมีโครโมโซม มาเรียงอยู่กลางเซลล์
ลดลงครึ่งหนึ่ง 6 โพรเฟส II
เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายไป
โครโมโซมสั้นลง

T82
การหายใจระดับเซลล์

อาหาร ภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ
กลูโคส
ไกลโคลิซิส (glycolysis)
การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล ATP 2 โมเลกุล และ
ไกลโคลิซิส 2 ATP NADH 2 โมเลกุล
NAD+
กรดไพรูวิก การสร้างแอซิทิลโคเอนไซม์เอ (acetyl Coenzyme A production)
ไซโทพลาซึม NADH + H+ การสลายกรดไพรูวิก 1 โมเลกุล จะได้แอซิทิลโคเอนไซม์เอ 1 โมเลกุล แก๊ส
กระบวนการหมัก คาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมเลกุล และ NADH 1 โมเลกุล
แอซิทิลโคเอนไซม์เอ วัฏจักรเครบส์ (Krebs cycle)
เมือ่ กลูโคส 1 โมเลกุล เข้าสูว่ ฏั จักรเครบส์ จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 4 โมเลกุล
NADH 6 โมเลกุล FADH2 2 โมเลกุล และ ATP 2 โมเลกุล
วัฏจักร 2 ATP
เครบส์
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system)
O2
กระบวนการ
32-34
เป็นปฏิกิริยาที่น�ำอิเล็กตรอนและโปรตอน (ในรูปของอะตอมไฮโดรเจน) จาก
ถ่ายทอด ATP NADH + H+ และ FADH2 ส่งไปยังตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ โดยตัวรับอิเล็กตรอน
อิเล็กตรอน
H2O ตัวสุดท้าย คือ ออกซิเจน
ไมโทคอนเดรีย

อาหาร

กลูโคส
ภาวะที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ
ไกลโคลิซิส

กระบวนการหมักแอลกอฮอล์ (alcoholic fermentation) NAD+


กรดไพรูวิก
• พบในเซลล์ของยีสต์ โดยเริ่มจากกระบวนการไกลโคลิซิส ซึ่งจะได้กรดไพรูวิก 2 NADH + H+
โมเลกุล ATP 2 โมเลกุล และ NADH 2 โมเลกุล
• กรดไพรูวิกจะเปลี่ยนไปเป็นแอซิทัลดีไฮด์ (acetaldehyde) โดยเอนไซม์ไพรูเวท กระบวนการหมัก
ดีคาร์บอกซิเลส (pyruvate decarboxylase)
• แอซิทัลดีไฮด์จะถูกออกซิไดซ์ด้วย NADH และ H+ กลายเป็นเอทิลแอลกอฮอล์
โดยเอนไซม์แอลกอฮอล์ดีไฮโดรจีเนส (alcohol dehydrogenase) แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
• ได้ 2 ATP ไซโทพลาซึม
กระบวนการหมักกรดแลกติก (lactic acid fermentation) วัฏจักร
• พบในเซลล์กล้ามเนือ้ ลาย เซลล์ของพยาธิตวั ตืด และเซลล์แบคทีเรียบางชนิด โดย เครบส์
กลูโคสจะเข้าสู่กระบวนการไกลโคลิซิส แล้วเปลี่ยนไปเป็นกรดไพรูวิก
• กรดไพรูวิกจะเปลี่ยนเป็นกรดแลกติก (lactic acid) โดยเอนไซม์แลกเตตดีโฮโดร- กระบวนการ
จีเนส (lactate dehydrogenase) ถ่ายทอด
อิเล็กตรอน
• ได้ 2 ATP
ไมโทคอนเดรีย

T83
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

เซลล
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูน�าภาพที่แสดงโครงสร้างร่างกายสิ่งมีชีวิต

3
หนวยการเรียนรู้ที่
ซึ่งประกอบด้วยระบบอวัยวะ อวัยวะ เนื้อเยื่อ
และเซลล์ โดยอาจหาภาพจากอินเทอร์เน็ต
หรือสื่อต่างๆ มาให้นักเรียนพิจารณา จากนั้น
ครูน�าอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า เซลล์เป็น
ของสิง่ มีชวี ติ
หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้
สิ่ ง มี ชี วิ ต แต่ ล ะชนิ ด มี ลั ก ษณะเฉพาะแตกต่ า งกั น
บางชนิด
2. ครูนา� ภาพสิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียวทีด่ า� รงชีวติ อย่าง 10. บอกวิ ธี ก ารและเตรี ย มตั ว อย่ า ง มีขนาดเล็กมาก แต่บางชนิดอาจมีขนาดใหญ่มาก บางชนิด
อิสระ โดยอาจหาภาพจากอินเทอร์เน็ต หรือ สิ่ ง มี ชี วิ ต เ พื่ อ ศึ ก ษ า ภ า ย ใ ต ้ สามารถสร้ า งอาหารได้ เ อง แต่ บ างชนิ ด ไม่ ส ามารถสร้ า ง
กล้องจุลทรรศน์ ใช้แสง วัดขนาด
อาหารได้เอง จึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร แล้วนักเรียน
สื่อต่างๆ มาให้นักเรียนพิจารณา จากนั้นตั้ง โดยประมาณและวาดภาพที่ปรากฏ
ภายใต้ กล้อ ง บอกวิธี การใช้ และ ทราบหรือไม่ว่า สิ่งมีชีวิตที่กล่าวถึงนั้นมีลักษณะอย่างไร
ค�าถาม เช่น จากภาพมีสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การดู แ ลรั ก ษากล้ อ งจุ ล ทรรศน์ ที่
ถูกต้องได้
กี่ชนิด อะไรบ้าง 11. อธิ บ ายโครงสร้ า งและหน้ า ที่ ข อง
ส่วนห่อหุ้มเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ได้
12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสรุปชนิด
และหน้าที่ของออร์แกเนลล์ ได้
13. อธิ บ ายโครงสร้ า งและหน้ า ที่ ข อง
นิวเคลียสได้
14. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร่
ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต
และแอกทีฟทรานสปอร์ตได้
15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียน
แผนภาพการล�าเลียงสารโมเลกุล
ใหญ่ออกจากเซลล์ดว้ ยกระบวนการ
เอกโซไซโทซิส และการล�าเลียง
สารโมเลกุ ล ใหญ่ เ ข้ า สู ่ เ ซลล์ ด ้ ว ย
กระบวนการเอนโดไซโทซิสได้
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส
และแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้
กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทัง้ อธิบายและ
เปรียบเทียบการแบ่งนิวเคลียสแบบ
ไมโทซิสและแบบไมโอซิสได้
17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขัน้ ตอน
การหายใจระดับเซลล์ ในภาวะที่มี
ออกซิเจนเพียงพอ และภาวะทีม่ ี
ออกซิเจนไม่เพียงพอได้ ÊÔ觷ÕèàÅç¡·ÕèÊØ´
ã¹Ã‹Ò§¡ÒÂ
ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ¤×ÍÍÐäÃ

แนวตอบ Big Question


เซลล

เกร็ดแนะครู
การเรียนการสอนเรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ครูควรใช้ภาพ คลิปวิดีโอ หรือ
โมเดลประกอบการสอน เพือ่ ช่วยให้นกั เรียนเห็นภาพโครงสร้าง และกระบวนการ
ต่างๆ ภายในเซลล์ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และควรเน้นทักษะการปฏิบัติการในการท�า
กิจกรรมการทดลอง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการศึกษาในระดับต่อไปได้

T84
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
Prior Knowledge
สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมี 1. เซลล์และทฤษฎีเซลล์ 1. ครู อ าจกระตุ ้ น การเรี ย นรู ้ ข องนั ก เรี ย นโดย
การเป ด ภาพยนตร์ ส ารคดี สั้ น TWIG เรื่ อ ง
โครงสรางของเซลล เซลล์ 1(cell) คือ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด โดย
เหมือนกันหรือไม
เซลล์แต่ละชนิดจะมีรปู ร่าง ขนาด และหน้าทีแ่ ตกต่างกัน ส่วนใหญ่ เซลล์ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/
จะมีขนาดเล็กจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า การศึกษา glossary/cell-6639/ ให้นักเรียนดู
เกี่ยวกับเซลล์นั้นจึงต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์เพื่อช่วยท�าให้สามารถศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง 2. ครูน�าอภิปรายว่า จากภาพและภาพยนตร์ที่
ของเซลล์ ตลอดจนหน้าที่ของโครงสร้างต่าง ๆ นั้นได้ ให้นักเรียนพิจารณา จะเห็นได้ว่า เซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตอาจด�ารงชีวิตอยู่อย่างอิสระ หรือเป็น
1.1 ทฤษฎีเซลล์ องค์ประกอบของร่างกายสิ่งมีชีวิต จากนั้นให้
เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน และมัตทิอัส ชไลเดน นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ
(Matthias Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเยื่อต่าง ๆ ด้วย เกี่ยวกับความหมายของเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ พบว่า เนื้อเยื่อของพืชและสัตว์ประกอบด้วยเซลล์จ�านวนมาก และเซลล์เหล่านั้น 3. ให้นกั เรียนจับคูก่ นั ศึกษาเรือ่ ง ทฤษฎีเซลล์ จาก
ไม่สามารถอยู่เดี่ยว ๆ ได้ หลังจากนั้นทั้งสองจึงร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ (cell theory) โดยมีใจความ หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จากนัน้ ร่วมกัน
ส�าคัญว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด” แลกเปลี่ยนความรู้เพื่อให้ได้ข้อสรุป
ซึ่งทฤษฎีเซลล์ในปัจจุบันครอบคลุมใจความส�าคัญ 3 ประการ ดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ อาจมีเซลล์เดียวหรือมีหลายเซลล์ โดยภายในเซลล์มีสารพันธุกรรมและ
มีกระบวนการเมแทบอลิซึม ท�าให้สิ่งมีชีวิตสามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ที่มีการจัดระบบการท�างานภายในเซลล์
และโครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์ต่าง ๆ มีก�าเนิดมาจากเซลล์เริ่มแรกโดยการแบ่งเซลล์ของเซลล์เดิม

อะตอม โมเลกุล โปรตีน ไวรัส แบคทีเรีย เซลล์พืชและสัตว์ ไข่กบ 1 cm

มองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ระดับนาโน
มองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน
มองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
มองเห็นด้วยตาเปล่า

1 A� 1 nm 10 nm 100 nm 1 µm 10 µm 100 µm 1 mm 1 cm แนวตอบ Prior Knowledge


ภาพที่ 3.1 ขนาดของเซลล์บางชนิดและระดับของกล้องจุลทรรศน์ทใี่ ช้ในการสังเกต เซลลของสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดมีโครงสรางพืน้ ฐาน
เซลล์ 73
เหมือนกัน ไดแก สวนที่หอหุมเซลล ไซโทพลาซึม
ของสิ่งมีชีวิต
และนิวเคลียส แตองคประกอบภายในเซลลอาจ
แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


เซลลโพรแคริโอตกับเซลลยูแคริโอตแตกตางกันอยางไร 1 เซลล เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์ คือ เซลล์ไข่ของเพศหญิง
1. เซลล์โพรแคริโอตไม่มีนิวเคลียส แต่เซลล์ยูแคริโอตมี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.1 มิลลิเมตร ส่วนเซลล์ทมี่ ขี นาดเล็กทีส่ ดุ ใน
2. เซลล์โพรแคริโอตไม่มีไมโครทิวบูล แต่เซลล์ยูแคริโอตมี ร่างกายมนุษย์ คือ เซลล์อสุจขิ องเพศชาย ซึง่ มีความยาวประมาณ 50 ไมโครเมตร
3. เซลล์โพรแคริโอตมีเยือ่ หุม้ นิวเคลียส แต่เซลล์ยแู คริโอตไม่มี
4. เซลล์โพรแคริโอตมีไรโบโซมขนาด 80s เซลล์ยูแคริโอตมี
ไรโบโซมขนาด 70s สื่อ Digital
5. เซลล์โพรแคริโอตด�ารงชีพอยู่อย่างอิสระ เซลล์ยูแคริโอต
รวมกลุ่มกันเป็นโคโลนี ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเซลล์ ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง เซลล์
(วิเคราะหคําตอบ เซลลโพรแคริโอตไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส และ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/cell-6639/ หรือ PowerPoint
ไมมีออรแกเนลลตางๆ ในไซโทพลาซึม แตเซลลยูแคริโอตมีเยื่อ ประกอบการสอน เรื่อง ทฤษฎีเซลล์
หุมนิวเคลียส และมีออรแกเนลลในไซโทพลาซึม อีกทั้งไรโบโซม
ของเซลลโพรคาริโอตมีขนาด 70s สวนของเซลลยูคาริโอตมีขนาด
80s ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T85
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
4. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ 1.2 กล้องจุลทรรศน์
นักเรียน เช่น กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยขยายขอบเขตการมองด้วยนัยน์ตาปกติ
•ï เซลลคืออะไร ท�าให้สามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ได้
(แนวตอบ เซลล คือ หนวยโครงสรางพื้นฐาน
ที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต) กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง Light microscope
5. ครูตั้งค�าถามเพื่อน�าเข้าสู่การศึกษาเรื่อง
สร้างขึ้นจากเลนส์นูน 2 ชิ้นมาประกอบกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ
กล้องจุลทรรศน์ เช่น
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
•ï นักเรียนเคยเห็นเซลลดวยตาเปลาหรือไม 1 แบบธรรมดา
เลนส์ใกล้ตา
(แนวตอบ นักเรียนสวนมากอาจตอบวาไมเคย (bright field microscope)
(eyepiece lens)
เพราะเซลลสว นใหญนนั้ มีขนาดเล็กมาก ซึง่ ใช้ ศึ ก ษาวั ต ถุ ที่ มี ข นาดเล็ ก มากจนไม่
สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งจะท�าให้ โดยทั่วไปจะมีก�าลังขยาย 10x
ตองศึกษาดวยกลองจุลทรรศน แตนักเรียน เกิดภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ท�าหน้าที่ขยายภาพที่ได้จาก
เลนส์ใกล้วัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
บางคนอาจตอบวา เคย เชน เซลลไขของไก
ปุมปรับภำพหยำบ : ใช้หมุนเพื่อ
ไขนก ไขเตา เปนตน) เลื่อนต�าแหน่งแท่นวางวัตถุ
6. ให้นกั เรียนจับคูก่ นั ศึกษาเรือ่ ง กล้องจุลทรรศน์
ปุมปรับภำพละเอียด : ใช้หมุนเพื่อ
ใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน จาก ท�าให้เห็นภาพได้ชัดยิ่งขึ้น มีก�าลังขยายต่าง ๆ ได้แก่
หนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 จากนัน้ ร่วมกัน แขนกล้อง : ใช้จับขณะเคลื่อนย้าย
4x 10x 40x และ 100x
ท�าหน้าที่ขยายภาพของวัตถุ
แลกเปลี่ยนความรู้เพื่อให้ได้ข้อสรุป กล้องจุลทรรศน์
ฐาน
แทนวำงวัตถุ : ใช้วางสไลด์ทตี่ อ้ งการ (base)
ศึกษา
วิธใี ช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ภาพที่ได้จากการมองผ่านกล้อง
แบบธรรมดา จุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดา
1 วางกล้ อ งบนพื้ น ที่ เ รี ย บ หมุ น 2 ปรับกระจกเงาหรือเปิดสวิตช์ไฟ
เลนส์ใกล้วัตถุที่มีก�าลังขยายต�่า ให้แสงเข้าสู่กล้อง จากนั้นน�า
สุดมาอยู่ตรงกับล�ากล้อง สไลด์วางบนแท่นวางวัตถุ
3 หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้แท่น 4 หมุ น ปุ ่ ม ปรั บ ภาพหยาบช้ า ๆ
วางวัตถุเลื่อนมาอยู่ใกล้กับเลนส์ จนมองเห็นวัตถุค่อนข้างชัดเจน
ใกล้วัตถุมากที่สุด แล้วมองวัตถุ จากนัน้ หมุนปุม่ ปรับภาพละเอียด
ผ่านเลนส์ใกล้ตา
5 ถ้าต้องการเห็นภาพใหญ่ขึ้น ให้
หมุนเลนส์ใกล้วตั ถุทมี่ กี า� ลังขยาย
สูงเข้าในแนวล�ากล้อง แล้วหมุน
ปุ่มปรับภาพละเอียด
74 ภาพที่ 3.2 กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้เลนส์ใกล้วัตถุก�าลังขยาย 100x ว่า เหตุใดจึงตองใชนํ้ามันเปนตัวกลางระหวางสไลดกับเลนสใกล
จะต้องใช้คู่กับน�้ามันที่เรียกว่า oil immersion objective lens เนื่องจากเลนส์ วัตถุกําลังขยาย 100X
ใกล้วัตถุที่มีก�าลังขยายสูง จะมีความโค้งของผิวแก้วมาก มีความยาวโฟกัสน้อย 1. เพื่อยืดอายุการใช้งานของเลนส์
และมีลา� ของเลนส์ทยี่ าวมากจนเกือบชิดกับแท่นวางสไลด์ เมือ่ ใช้สอ่ งวัตถุแสงจะ 2. เพื่อลดการสะท้อนแสงจากหน้าเลนส์
เข้าสู่เลนส์ได้น้อยมาก ซึ่งอาจท�าให้มองเห็นภาพไม่ชัด การหยดน�้ามันจะช่วย 3. เพื่อลดการหักเหของแสงออกจากเลนส์
ท�าให้แสงหักเหออกจากเลนส์ได้น้อย แสงสามารถผ่านวัตถุเข้าสู่เลนส์ได้มาก 4. เพื่อเพิ่มช่วงความยาวคลื่นแสงที่เข้าสู่เลนส์
จึงท�าให้เห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น และอาจใช้ PowerPoint ประกอบการสอน เรื่อง 5. เพื่อเพิ่มก�าลังขยายของกล้องให้มากกว่า 100x
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง (วิเคราะหคําตอบ เลนสใกลวัตถุกําลังขยาย 100x จะยาวมาก
จนเกือบชิดกับสไลดที่ศึกษา ซึ่งเมื่อแสงจากแหลงกําเนิดแสงเดิน
ทางผานวัตถุเขาสูเ ลนส จะเกิดการหักเหออกไปจากเลนส ปริมาณ
แสงจึงไมเพียงพอทีจ่ ะทําใหเห็นภาพวัตถุไดอยางชัดเจน การหยด
นํา้ มันจะชวยลดการหักเหของแสงออกจากเลนส ซึง่ ทําใหเห็นภาพ
ไดชัดเจนขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T86
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียนเรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง เช่น
•ï กล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงแบบธรรมดากั บ
กล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงแบบสเตอริ โ อใช
ศึ ก ษาวั ต ถุ ที่ มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั น หรื อ ไม
อยางไร
(แนวตอบ ไมเหมือนกัน โดยกลองจุลทรรศน
ส่วนประกอบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
2 แบบสเตอริโอ ใชแสงแบบธรรมดา ใชศึกษาวัตถุที่มีขนาด
(stereoscopic microscope) เล็กมากจนไมสามารถมองเห็นไดดวยตา
ใช้ศึกษาวัตถุที่มีขนาดเล็กที่มองเห็นได้ เปล า ส ว นกล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงแบบ
สามารถปรับระยะห่างของ ด้วยตาเปล่า แต่เห็นรายละเอียดได้ไม่
นัยน์ตาทั้งสองข้างได้ และมี เพียงพอ ท�าให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง สเตอริโอ ใชศึกษาวัตถุที่มีขนาดเล็กที่ยัง
สเกลบอกก�าลังขยายของเลนส์
อยู่บริเวณรอบกระบอกตา
ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ และเป็นภาพ 3 มิติ สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา แตเห็น
ปุมปรับขยำยภำพ : ใช้หมุนเพื่อ รายละเอียดไมเพียงพอ)
เลนส์ใกล้วัตถุ ขยายภาพให้มีขนาดตามต้องการ
(objective lens) •ï หากใชกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา
ปุมปรับควำมคมชัดของภำพ : ใช้
มีก�าลังขยาย หมุนเพื่อให้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น ศึกษาเซลลชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อมองผานลํา
น้อยกว่า 10x ไฟสองบน : ใช้ส่องไฟลงบนแผ่น กลองเห็นภาพเซลลแลว แตเห็นไมชัดเจน
รองรับวัตถุ นักเรียนควรปฏิบัติอยางไร
แผนรองรับวัตถุ : ใช้วางวัตถุที่ (แนวตอบ หมุนปุมปรับภาพละเอียด)
ต้องการศึกษา •ï หากตองการเคลื่อนยายกลองจุลทรรศน
วิธใี ช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ภาพที่ได้จากการมองผ่านกล้อง นักเรียนควรปฏิบัติอยางไร
แบบสเตอริโอ
จุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ ( แนวตอบ ใช มื อ ข า งหนึ่ ง จั บ ที่ แ ขนกล อ ง
1 วางกล้องบนพื้นที่เรียบ เพื่อให้ 2 น�าวัตถุวางบนแผ่นรองรับวัตถุ สวนมืออีกขางหนึ่งสอดไวใตตัวกลอง แลว
ล�ากล้องตั้งตรงและมั่นคง แล้ว
เปิดสวิตช์ไฟส่องบน และไฟฐาน เคลื่อนยายอยางระมัดระวัง)
3 ตั้ ง ระยะห่ า งของเลนส์ ใ กล้ ต า 4 ปรับโฟกัสเลนส์ใกล้ตาทีละข้าง
ให้มีระยะพอเหมาะกับนัยน์ตา จนชัดเจน
ซึ่งจะท�าให้เห็นจอภาพอยู่ในวง
เดียวกัน
5 หากต้องการศึกษาจุดใดจุดหนึ่ง
ของตัวอย่าง ให้ปรับโฟกัสของ
เลนส์ใกล้วัตถุที่มีก�าลังขยายสูง
ก่อน
เซลล์ 75
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอมีคุณสมบัติอยางไร ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับความแตกต่างระหว่างกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบ
1. ใช้ศึกษาส่วนประกอบภายในของวัตถุ ซึ่งให้ภาพ 2 มิติ ธรรมดากับแบบสเตอริโอว่า แหล่งก�าเนิดแสงของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบ
2. ใช้ศึกษาส่วนประกอบภายนอกของวัตถุ ซึ่งให้ภาพ 3 มิติ ธรรมดามาจากด้านล่าง ดังนั้น วัตถุที่จะศึกษามักมีลักษณะโปร่งแสง หรือแสง
3. ใช้ศึกษาส่วนประกอบภายในและภายนอกของวัตถุ ซึ่งให้ สามารถส่องผ่านได้ ส่วนแหล่งก�าเนิดแสงของกล้องกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบ
ภาพ 3 มิติ สเตอริโอมาจากด้านบนและด้านล่าง ดังนั้น วัตถุที่ศึกษาจะมีลักษณะทึบแสง
4. ใช้ศึกษาวัตถุขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาแปล่า หรือโปร่งแสงก็ได้
ซึ่งให้ภาพ 2 มิติ
5. ใช้ศึกษาวัตถุขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นรายละเอียด สื่อ Digital
ซึ่งให้ภาพ 3 มิติ
(วิเคราะหคําตอบ กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ ใชศึกษา ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์
วัตถุขนาดเล็กที่มองเห็นไดดวยตาเปลา แตไมสามารถมองเห็น ได้ จ ากภาพยนตร์ ส ารคดี สั้ น Twig เรื่ อ ง
กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ
รายละเอียดได ซึ่งทําใหเกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญกวาวัตถุ
https://www.twig-aksorn.com/fifi l m/
และเปนภาพ 3 มิติ ดังนั้น ตอบขอ 5.)
glossary/compound-microscope-6651/
T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู (ตอ)
2. ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน Electron microscope
นักเรียนเรื่อง กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน เชน
กล้องจุลทรศน์อิเล็กตรอน เป็นกล้อง
•ï กลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนมีหลักการทํางาน จุ ล ทรรศน์ ที่ ใ ช้ ล� า อนุ ภ าคอิ เ ล็ ก ตรอน ส่วนประกอบ
ตางจากกลองจุลทรรศนใชแสง อยางไร พลั ง งานสู ง ในการตรวจสอบวั ต ถุ แ ทน
( แนวตอบ กล อ งจุ ล ทรรศน อิ เ ล็ ก ตรอนใช การใช้แสง และใช้เลนส์สนามแม่เหล็ก ล�าอิเล็กตรอน
ลํ า อนุ ภ าคอิ เ ล็ ก ตรอนพลั ง งานสู ง ในการ ไฟฟ้า (electromagnetic lens) ซึง่ เลนส์นี้
ประกอบด้วยขดลวดพันอยูร่ อบแท่งเหล็ก
ตรวจสอบวัตถุแทนการใชแสง และใชเลนส เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไป จะท�าให้
สนามแมเหล็กไฟฟา) เกิดสนามแม่เหล็กขึน้ โดยสนามแม่เหล็ก
•ï กลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนแบบสองผานกับ จะควบคุ ม แนวทางเดิ น ของล� า อนุ ภ าค วัตถุที่ศึกษา
กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด อิเล็กตรอนให้ไปตกกระทบกับวัตถุที่จะ
ศึกษา โดยจะได้ภาพเสมือนบนฉากรับที่ เลนส์สนามแมเหล็กไฟฟา
ใชศึกษาวัตถุที่มีลักษณะเหมือนกันหรือไม ฉาบด้วยสารเรืองแสง ซึง่ กล้องจุลทรรศน์ (เลนส์ใกลวัตถุ)

อยางไร ชนิดนี้มีก�าลังขยายสูงถึง 500,000 เท่า


(แนวตอบ กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบ
สองผาน ใชศึกษาโครงสรางภายในของ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
1 แบบส่องผ่าน เลนส์สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
วัตถุ สวนกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบ (transmission electron microscope)
(เลนส์ฉาย)
สองกราด ใชศึกษาโครงสรางภายนอกของ ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของวัตถุ ซึ่งวัตถุที่ใช้
วัตถุ) ศึกษาจะต้องมีความบางมาก และถูกย้อมด้วย
สารประกอบโลหะซึ่งล�าอิเล็กตรอนผ่านไปไม่ได้
• ภาพที่ไดจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน หากบริเวณใดที่มีโลหะติดอยู่มาก ล�าอิเล็กตรอน
แบบสองผานกับกลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอน จะผ่านได้น้อยกว่าบริเวณที่มีโลหะติดอยู่น้อย
แบบส อ งกราด เหมื อ นหรื อ แตกต า งกั น
หลักการท�างานของกล้องจุลทรรศน์
อยางไร อิเล็กตรอนแบบสองผาน
(แนวตอบ เหมือนกัน โดยไดภาพขาว-ดํา ล�าแสงอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านเลนส์รวมล�าอิเล็กตรอน และ
แต แ ตกต า งกั น โดยภาพที่ ไ ด จ ากกล อ ง ผ่านวัตถุไปยังเลนส์ใกล้วัตถุ แล้วจะถูกขยายสัญญาณให้มีขนาด
ใหญ่ขึ้น จากนั้นอิเล็กตรอนจะไปกระตุ้นโมเลกุลของซิงค์ซัลไฟด์
จุลทรรศนอเิ ล็กตรอนแบบสองผาน เปนภาพ (zinc sulfide) ที่ฉาบอยู่บนฉากรับภาพเรืองแสง (fluorescence
2 มิติ สวนภาพที่ไดจากกลองจุลทรรศน screen) ท�าให้เกิดเป็นภาพ 2 มิติ
อิเล็กตรอนแบบสองกราด เปนภาพ 3 มิติ)
• กลองจุลทรรศนที่ใชศึกษาภายในโรงเรียน
สวนใหญ เปนกลองชนิดใด
( แนวตอบ กล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงแบบ ตัวอยางภาพ 2 มิติ
ธรรมดา) 76 ภาพที่ 3.3 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอาจนําภาพเซลลหรือสิ่งมีชีวิตที่สังเกตโดยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ถานําสไลดเซลลสาหรายหางกระรอกสองดวยกลองจุลทรรศน
มาใหนกั เรียนดู เชน ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ หม 2019 ในรูปแบบวิรอิ อน (รูปแบบ กลองจุลทรรศนในขอใดจะเห็นจํานวนเซลลสาหรายหางกระรอก
ที่พรอมติดเชื้อ) ที่กอใหเกิดโรคโควิด 19 (COVID-19) โครงสรางของไวรัสมี มากที่สุด
ลักษณะกลมหรือวงรี มีเปลือกหุมดานนอกที่ประกอบดวยโปรตีนคลุมดวยกลุม ขอ กลองจุลทรรศน กําลังขยายเลนส กําลังขยายเลนส
คารโบไฮเดรตเปนปุมๆ (spikes) ยื่นออกมาจากอนุภาค ซึ่งคลายมงกุฎหรือ ใกลตา ใกลวัตถุ
โคโรนาของดวงอาทิตย ดังภาพ 1 A 10 10
2 B 10 40
3 C 5 10
4 D 5 20
5 E 5 40
(วิเคราะหคําตอบ หากใชกําลังขยายตํ่าจะเห็นจํานวนเซลล
มาก แตหากใชกําลังขยายสูงจะเห็นจํานวนเซลลนอย แตจะเห็น
โครงสรางของเซลลไดมากขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T88
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อท�า
กิจกรรม เรื่อง การศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ในหนังสือเรียน
แหลงก�าเนิด ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 โดยให้นักเรียนร่วมกัน
อิเล็กตรอน
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ตั้งปญหาและสมมติฐานของกิจกรรม
2 แบบส่องกราด ปญหา : เซลล์ของสิง่ มีชวี ติ มีลกั ษณะเหมือนกัน
เลนส์สนามแมเหล็กไฟฟา (scanning electron microscope)
(เลนส์รวมลําอิเล็กตรอน) หรือไม่
ใช้ศกึ ษาโครงสร้างภายนอกของวัตถุ ซึง่ วัตถุ
ทีศ่ กึ ษาต้องเคลือบด้วยโลหะ แล้วใช้ลา� อิเล็กตรอน สมมติ ฐ าน : เซลล์ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต มี ลั ก ษณะ
ขนาดเล็กส่องกราดไปตามผิวตัวอย่าง ซึ่งท�าให้ แตกต่างกัน โดยสามารถศึกษาได้โดยอาศัย
เกิดภาพที่มีความเข้มของเงาต่างกัน กล้องจุลทรรศน์
การเตรียมตัวอย่างเพือ่ น�ามาศึกษาด้วยกล้อง
ขดลวดส่องกราด จุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องกราด หากตัวอย่าง ปญหา : เซลล์ของสิ่งมีชีวิตด�ารงอยู่อย่างอิสระ
นั้ น เป็ น พื ช สั ต ว์ หรื อ แบคที เ รี บ ต้ อ งผ่ า น หรืออยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
กระบวนการเตรียมตัวอย่างก่อน แต่หากตัวอย่าง
นั้นเป็นผง เช่น แป้ง ถ่าน กระดูก เป็นต้น จะต้อง สมมติฐาน : เซลล์ของสิ่งมีชีวิตอาจด�ารงอยู่
1 า 6% และ
อบไล่ความชืน้ ในตัวอย่างให้มคี า่ น้อยกว่ อย่ า งอิ ส ระ หรื อ อยู ่ ร วมกั น เป็ น กลุ ่ ม โดย
น�าส่งตัวอย่างโดยใส่โถเดซิกเคเตอร์ ((desiccator)
หรือกล่องที่มีฝาปิดและใส่สารดูดความชื้นไว้ด้วย สามารถศึกษาได้โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนที่กระจายจากวัตถุ
วัตถุที่ศaึกษา
ฉากรับภาพ

หลักการท�างานของกล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนแบบสองกราด
ล�าอิเล็กตรอนชุดแรก (primary electron) จะเคลื่อนที่ไปกระทบ
วัตถุ ท�าให้มกี ารสะท้อนกลับของล�าอิเล็กตรอนชุดที่ 2 (secondary
electron) จากนั้นล�าอิเล็กตรอนชุดที่ 2 ก็จะถูกเปลี่ยนเป็น
สัญญาณอิเล็กตรอน (electrical signal) แล้วส่งสัญญาณไปยัง
จอภาพ โดยแสดงภาพออกมาในลักษณะ 3 มิติ

ตัวอยางภาพ 3 มิติ

เซลล์ 77
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


กลองจุลทรรศนอเิ ล็กตรอนตางจากกลองจุลทรรศนใชแสงอยางไร 1 โถเดซิกเคเตอร (desiccator) เป็นภาชนะทีท่ า� ด้วยแก้วหรือโลหะทีม่ ฝี าปด
( วิเคราะหคําตอบ กล อ งจุ ล ทรรศน อิ เ ล็ ก ตรอนใช ลํ า อนุ ภ าค ภายในมีสารดูดความชื้นที่วางไว้ส่วนล่างของเดซิกเคเตอร์ และมีแผ่นกระเบื้อง
อิเล็กตรอนพลังงานสูงแทนการใชแสง และใชเลนสสนามแมเหล็ก หรือแผ่นโลหะทีเ่ จาะเป็นรูวางคัน่ สารดูดความชืน้ ไว้ เพือ่ ให้ภาชนะหรือครูซเิ บิล
ไฟฟา (electromagnetic lents) แทนเลนสปกติ ใหภาพเสมือน ที่วางอยู่บนแผ่นกระเบื้องถูกก�าจัดความชื้นออกไป ตัวเดซิกเคเตอร์และฝาจะ
บนฉากรับทีฉ่ าบดวยสารเรืองแสง และมีกาํ ลังขยายสูงถึง 500,000 วางทับติดกันบริเวณขอบที่เป็นกราวน์กลาส (ground glass) ของทั้งสองส่วน
เทา) โดยมีสารหล่อลื่น เช่น วาสลีน หรือกรีส (grease) ทาบริเวณขอบฝาและขอบตัว
เดซิกเคเตอร์เพื่อให้ติดกันสนิท

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
2. ใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดใหสมาชิกแตละ • การสังเกต
การศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
คนภายในกลุ  ม มี บ ทบาทหน า ที่ ข องตนเอง ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
• การทดลอง
• การลงความเห็นจากข้อมูล
ตัวอยางเชน จิตวิทยำศำสตร์
สมาชิกคนที่ 1 และ 2 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุ วัสดุอปุ กรณ์และสำรเคมี • ความสนใจใฝ่รู้
• ความรับผิดชอบ
อุปกรณ 1. เข็มเขี่ย 7. สไลด์และกระจกปิดสไลด์
สมาชิกคนที่ 3 และ 4 : ทําหนาทีอ่ า นวิธกี าร 2. ไม้จิ้มฟัน 8. น�้ากลั่น 13. สารละลายไอโอดีน
3. ใบมีดโกน 9. หัวหอม ความเข้มข้น 2%
ทํากิจกรรม และอธิบายใหสมาชิกในกลุมฟง 4. หลอดหยด 10. เยื่อบุข้างแก้ม 14. สารละลายโซเดียมคลอไรด์
สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทําหนาที่บันทึกผล 5. กระดาษเยื่อ 11. สาหร่ายหางกระรอก (NaCl) ความเข้มข้น 0.85%
6. กล้องจุลทรรศน์ 12. เอทิลแอลกอฮอลล์ และ 2%
การทํากิจกรรม (C2H5OH) 70%
สมาชิกคนที่ 7 และ 8 : ทําหนาที่นําเสนอ วิธปี ฏิบตั ิ
ผลการทํากิจกรรม
ตอนที่ 1 ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์

ศึกษำเซลล์พืช (เซลล์เยื่อหอม) มีขั้นตอน ดังนี้ ศึกษำเซลล์สตั ว์ (เซลล์เยือ่ บุขา้ งแก้ม) มีขนั้ ตอน ดังนี้
1. หยดน�้ากลั่นลงบนสไลด์ 1-2 หยด ลอกเยื่อ 1. หยด NaCl เข้มข้น 0.85% ลงบนสไลด์ จากนั้น
ด้านในของกลีบหัวหอม วางลงบนหยดน�้านั้น ใช้ไม้จมิ้ ฟันจุม่ C2H5OH 70% ทิง้ ให้แห้งแล้วน�า
ไปขูดที่เยื่อบุข้างแก้มและน�ามาเกลี่ยบนสไลด์

2. ย้อมสีเยื่อหอมโดยหยดสารละลายไอโอดีน 1
หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ 2. ย้อมสีเยื่อบุข้างแก้มโดยหยดสารละลายไอโอดีน
1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์

3. น�าสไลด์ไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยใช้
ก�าลังขยายต่าง ๆ สังเกตลักษณะและส่วนประกอบ 3. น�าสไลด์ไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยใช้
ของเซลล์ วาดภาพเซลล์และบันทึกก�าลังขยาย ก�าลังขยายต่าง ๆ สังเกตลักษณะและส่วนประกอบ
ของกล้องจุลทรรศน์ ของเซลล์ วาดภาพเซลล์และบันทึกก�าลังขยาย
ของกล้องจุลทรรศน์

78 ภาพที่ 3.4
ภาพที่ 3.5

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ภาพที่เห็นจากกลองจุลทรรศนใชแสงมีลักษณะอยางไร
ครูทบทวนการใชสารละลายไอโอดีนในการศึกษาเซลล แลวถามนักเรียนวา 1. ภาพจริงหัวตั้ง
สารละลายไอโอดีนมีประโยชนอยางไรตอการศึกษาเซลล ซึ่งนักเรียนควรตอบ 2. ภาพจริงหัวกลับ
ไดวา ใชยอมสีนิวเคลียส และยอมเซลลที่ไมมีสี เชน เซลลเยื่อหอม เซลลเยื่อบุ 3. ภาพเสมือนหัวตั้ง
ขางแกม เซลลอะมีบา เปนตน 4. ภาพเสมือนหัวกลับ
นอกจากเซลลเยื่อบุขางแกมแลว อาจใชเซลลตับแทนได โดยเตรียมชิ้นตับ 5. ภาพกลับจากซายเปนขวา
ของไกหรือหมูขนาด 1 เซนติเมตร แตะลงบนสไลดแลวยกออก จากนั้นจึงหยด (วิเคราะหคําตอบ ภาพที่ไดจากกลองจุลทรรศนใชแสงจะเปน
สารละลายไอโอดีนลงบนตําแหนงที่มีเซลลตับอยู แลวปดดวยกระจกปดสไลด ภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดใหญกวาวัตถุ ดังนัน้ ตอบขอ 4.)

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผล
ตอนที่ 2 ศึกษาลักษณะของเซลล์ในสภาพแวดล้อมตางกัน
การทํากิจกรรม และตอบคําถามทายกิจกรรม
1. หยดน�้ากลั่น 1 หยด บนสไลด์ 2. ลอกเยื่ อ หั ว หอมด้ า นในออก 3. น�าสไลด์ไปศึกษาภายใต้กล้อง
แผ่นที่หนึ่ง และหยด NaCl ตัดแบ่งเป็น 2 ชิน้ วางบนสไลด์ จุลทรรศน์ สังเกตเปรียบเทียบ
ความเข้มข้น 2% 1 หยด บน ในข้อ 1. สไลด์ละ 1 ชิ้น ทิ้งไว้ ลักษณะของเซลล์
สไลด์แผ่นที่สอง ประมาณ 3-5 นาที

ภาพที่ 3.6

หมายเหตุ : ศึกษาเพิ่มเติมแต่เปลี่ยนเป็นเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม หรือเซลล์ใบสาหร่ายหางกระรอก

แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. ตางกัน โดยเซลลพชื มีรปู รางเปนเหลีย่ มและมี
1. โครงสร้างภายในของเซลล์ที่นักเรียนศึกษาในตอนที่ 1 เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2. จากกิจกรรม เมื่อน�าสไลด์ตัวอย่างไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ หากใช้ก�าลังขยายต่างกัน จะท�าให้เห็น
ผนังเซลล สวนเซลลสตั วมรี ปู รางคอนขางกลม
ภาพลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และไมมีผนังเซลล
3. เซลล์เยื่อหอมในสไลด์ทั้งสองแผ่นในกิจกรรมตอนที่ 2 มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร 2. ตางกัน โดยหากใชกําลังขยายตํ่า จะเห็น
4. ในกิจกรรมตอนที่ 2 หากศึกษาเซลล์ชนิดอื่น ๆ นักเรียนคิดว่าจะได้ผลเช่นเดียวกันหรือไม่อย่างไร เซลลจาํ นวนมากแตเห็นรายละเอียดภายในไม
ชัดเจน แตเมื่อใชกําลังขยายสูง จะเห็นเซลล
จํานวนนอย แตเห็นรายละเอียดของเซลลได
อภิปรายผลกิจกรรม
ชัดเจนมากขึ้น
จากกิจกรรมจะเห็นได้ว่า กิจกรรมตอนที่ 1 หากใช้ก�าลังขยายต�่าจะเห็นเซลล์จ�านวนมากแต่เห็น 3. เซลลเยือ่ หอมในสไลดทหี่ ยดนํา้ กลัน่ มีลกั ษณะ
รายละเอียดภายในได้ไม่ชัดเจน แต่เมื่อใช้ก�าลังขยายสูงจะเห็นเซลล์จ�านวนน้อยลง แต่สามารถเห็น ปกติ สวนเซลลเยื่อหอมในสไลดที่หยด NaCl
รายละเอียดของเซลล์ได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งในกิจกรรมตอนที่ 1 ยังพบว่า เซลล์พืชกับเซลล์สัตว์จะมี
จะเห็นเยื่อหุมเซลลแยกออกจากผนังเซลล
ลั ก ษณะและส่ ว นประกอบบางอย่ า งแตกต่ า งกั น โดยเซลล์ พื ช มี รู ป ร่ า งเป็ น เหลี่ ย มและมี ผ นั ง เซลล์
ส่วนเซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลมและไม่มีผนังเซลล์ เนื่องจากเซลลสูญเสียนํ้าออกสูภายนอก
ส่วนกิจกรรมตอนที่ 2 เป็นการศึกษาถึงกระบวนการรักษาดุลยภาพของน�้าในเซลล์ จะเห็นได้ว่า 4. ไดผลเชนเดียวกัน เนื่องจากเมื่อเซลลอยูใน
หากภายนอกเซลล์ มี ค วามเข้ ม ข้ น ของสารละลายสู ง น�้ า จากภายในเซลล์ จ ะออสโมซิ ส ออกจากเซลล์ สภาพแวดลอมทีม่ คี วามเขมขนของสารละลาย
เป็นผลท�าให้เซลล์เหี่ยวลง สูงกวาภายในเซลล นํา้ จากภายในเซลลนนั้ จะ
เซลล์ 79
ออสโมซิสสูภ ายนอกเซลล จึงทําใหเซลลเหีย่ ว
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET บันทึก กิจกรรม


ตอนที่ 1 เซลลพชื มีรปู รางเปนเหลีย่ มและมีผนังเซลล สวนเซลลสตั วมรี ปู รางคอนขาง
เมื่อยอมเซลลเยื่อหอมดวยสารละลายไอโอดีน แลวศึกษาดวย
กลมและไมมีผนังเซลล
กลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา จะเห็นโครงสรางใดบาง
1. นิวเคลียส เยื่อหุมเซลล ไรโบโซม
2. ไลโซโซม คลอโรพลาสต ผนังเซลล
3. เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม นิวเคลียส
4. ผนังเซลล เยื่อหุมเซลล ไมโทคอนเดรีย
5. ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล รางแหเอนโดพลาซึม
(วิเคราะหคําตอบ เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส
เปนโครงสรางพื้นฐานของเซลล ซึ่งสามารถสังเกตเห็นไดโดย
ตอนที่ 2 เซลลเยือ่ หอมในสไลดทหี่ ยดนํา้ กลัน่ มีลกั ษณะปกติ สวนเซลลในสไลดทหี่ ยด
ใชกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา และนอกจากนี้ ยังเห็น
NaCl เยื่อหุมเซลลจะแยกออกจากผนังเซลล
ผนังเซลลดวย สวนออรแกเนลลอื่นๆ จะสามารถสังเกตไดเมื่อ
ใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T91
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
ให้นักเรียนกลุ่มเดิมจากการท�ากิจกรรมที่แล้ว • การสังเกต
การหากําลังขยายของภาพและขนาดของวัตถุ
ท�ากิจกรรม เรื่อง การหาก�าลังขยายของภาพและ จากกล้องจุลทรรศน์
• การวัด
• การค�านวณ
ขนาดของวัตถุจากกล้องจุลทรรศน์ ในหนังสือ จิตวิทยำศำสตร์
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 วัสดุอปุ กรณ์ • ความสนใจใฝ่รู้
• ความรอบคอบ
1. กล้องจุลทรรศน์
อธิบายความรู้ 2. ไม้บรรทัดพลาสติกใสอย่างบาง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบค�าถามใน
วิธปี ฎิบตั ิ
กิจกรรมตอนที่ 2 โดยมีแนวการตอบ ดังนี้
•ï ถ า ขนาดจริ ง ขอ ง ยู กลี นา วั ดได  50 ตอนที่ 1 การค�านวณหาก�าลังขยายของภาพจากกล้องจุลทรรศน์
ไมโครเมตร (µm) หากนักเรียนนําไปศึกษา
ภายใตกลองจุลทรรศนกาํ ลังขยายของเลนส
1. อ่านค่าก�าลังขยายของเลนส์ใกล้ตา และเลนส์
ใกลตา 10X และกําลังขยายของเลนสใกล ใกล้วัตถุ
วัตถุ 10X นักเรียนจะเห็นภาพยูกลีนามี
ความยาวเพิม่ ขึน้ กีเ่ ทา และภาพของยูกลีนา
มีความยาวเทาใด 10×
(แนวตอบ เห็นภาพยูกลีนามีความยาวเพิม่ ขึน้ 2. ค� า นวณก� า ลั ง ขยายของกล้ อ งจุ ล ทรรศน์ โ ดย
10 × 10 = 100 เทา และภาพของยูกลีนามี คิดจาก ก�ำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = ก�ำลัง
ความยาว 0.5 cm) ขยำยของเลนส์ใกล้ตำ × ก�ำลังขยำยของเลนส์
•ï ถาวัตถุมีความยาว 7 ไมโครเมตร (μµm) 4× ใกล้วัตถุ
เมื่อนํามาศึกษาภายใตกลองจุลทรรศน จะ
มีความยาวประมาณ 7 มิลลิเมตร จงหาวา
3. วางไม้บรรทัดพลาสติกใสอย่างบางโดยให้ด้าน
กลองนี้มีกําลังขยายเทาใด เซนติเมตร (cm) อยู่ตรงกับบริเวณช่องกลมของ
(แนวตอบ กลองนี้มีกําลังขยาย 1,000 เทา) แท่นวางวัตถุ

4. ปรับกล้องจุลทรรศน์ให้มีก�าลังขยายต�่า เพื่อ
1 cm
ให้ ม องเห็ น สเกลของไม้ บ รรทั ด จากนั้ น วั ด
1 cm
ความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพจาก
กล้องจุลทรรศน์ โดยการนับจ�านวนมิลลิเมตร
1 mm 1 mm จากขอบด้านหนึง่ จนถึงขอบอีกด้านหนึง่ จากภาพ
ที่มองเห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์
80 ภาพที่ 3.7

แนวตอบ คําถามท้ายกิจกรรม
1. สวนใหญเซลลของสิ่งมีชีวิตมีขนาดเล็กมากจนไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา จึงตองอาศัยกลองจุลทรรศนในการศึกษาเซลล
เสนผานศูนยกลางของภาพ (ขณะที่ศึกษา) = กําลังขยายของเลนสตํ่าสุด เสนผานศูนยกลางของจอภาพที่กําลังขยายตํ่าสุด
×
2. จากสูตร
กําลังขยายของเลนส
เสนผานศูนยกลางของภาพ ที่กําลังขยาย 100X = 40 × 25,000 μm
= 100 μm
100
เสนผานศูนยกลางของภาพ ที่กําลังขยาย 400X = 40 25,000 μm
×
400 = 250 μm

3. ความยาวของเซลลสาหรายหางกระรอก 1 เซลล = 2,000 μm = 200 μm


10

T92
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
ตอนที่ 2 การค�านวณหาขนาดของวัตถุ หรือขนาดของภาพจากกล้องจุลทรรศน์ 1. ครูอาจให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ
ไหลของไซโทพลาซึมในเซลล์ โดยปฏิบัติตาม
1. การหาขนาดของวัตถุจากก�าลังขยายของภาพ
ขัน้ ตอน ดังนี้
ก�าลังขยายของภาพ = ขนาดของภาพ 1) หยดน�า้ 1 หยด ลงบนสไลด์ จ�านวน 2 สไลด์
ขนาดของวัตถุ
2) น�าใบสาหร่ายหางกระรอก ใบอ่อน 1 ใบ และ
• ถ้าขนาดจริงของยูกลีนาวัดได้ 50 ไมโครเมตร (µm) หากนักเรียนน�าไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ใบแก่ 1 ใบ วางลงบนสไลด์ ใบละ 1 สไลด์
ก�าลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 10x และก�าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 10x นักเรียนจะเห็นภาพยูกลีนา แล้วปดด้วยกระจกปดสไลด์
มีความยาวเพิ่มขึ้นกี่เท่า และภาพของยูกลีนามีความยาวเท่าใด 3) น� า สไลด์ ไ ปศึ ก ษาด้ ว ยกล้ อ งจุ ล ทรรศน์
• ถ้าวัตถุมีความยาว 7 ไมโครเมตร (µm) เมื่อน�ามาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จะมีความยาวประมาณ
7 มิลลิเมตร จงหาว่ากล้องนี้มีก�าลังขยายเท่าใด สั ง เกตเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะการไหลของ
2. การหาขนาดของวัตถุจากเส้นผ่านศูนย์กลางของภาพ ไซโทพลาซึมในใบทัง้ สอง
4) อภิปรายผลกิจกรรม
เส้นผ่านศูนย์กลางของภาพ (ขณะที่ศึกษา) 2. ครูถามนักเรียนว่า จากการศึกษาโครงสร้าง
= ก�าลังขยายของเลนส์ต�่าสุด × เส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพที่ก�าลังขยายต�่าสุด ภายใน ขนาดของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ และ
ก�าลังขยายของเลนส์
จากประจักษ์พยานทีไ่ ด้คน้ พบ ความรูน้ นั้ ตรง
กับทฤษฎีเซลล์ทศี่ กึ ษาไปแล้วหรือไม่
3. ครูมอบหมายการบ้านให้นกั เรียนท�าแบบฝกหัด
?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
1. เพราะเหตุใดจึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
2. ถ้ากล้องจุลทรรศน์มีก�าลังขยายเป็น 40x 100x และ 400x เมื่อใช้ไม้บรรทัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ขัน้ ประเมิน
ที่ก�าลังขยายต�่า (40x) ได้ 2.5 มิลลิเมตร (2,500 ไมโครเมตร) อยากทราบว่าเส้นผ่านศูนย์กลาง ตรวจสอบผล
ของจอภาพเมื่อก�าลังขยายของเลนส์เป็น 100x และ 400x มีค่าเท่าใด
3. ถ้าน�าสาหร่ายหางกระรอกไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ทมี่ ขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลางของจอภาพประมาณ 1. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบทดสอบก่อนเรียน
2.0 มิลลิเมตร หรือ 2,000 ไมโครเมตร พบว่าเซลล์เรียงต่อกัน 10 เซลล์ จงค�านวณหาความยาวของเซลล์ 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม
สาหร่ายหางกระรอก 1 เซลล์ และการร่วมกันท�างาน
3. ครูวดั และประเมินการปฏิบตั กิ าร จากกิจกรรม
อภิปรายผลการทดลอง เรื่อง การศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตด้วยกล้อง
จากกิจกรรม นักเรียนสามารถค�านวณหาก�าลังขยายของภาพจากกล้องจุลทรรศน์ โดยคิดจากผลคูณ
จุลทรรศน์ และเรื่อง การหาก�าลังขยายของ
ระหว่างก�าลังขยายของเลนส์ใกล้ตากับก�าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ และสามารถค�านวณหาขนาดของวัตถุ ภาพและขนาดของวัตถุจากกล้องจุลทรรศน์
หรือขนาดของภาพ โดยค�านวณจากก�าลังขยายของภาพ และสูตรการหาเส้นผ่านศูนย์กลางของภาพ 4. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบฝกหัด

เซลล์ 81
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แนวทางการวัดและประเมินผล


ถาวัตถุมคี วามยาว 10 ไมโครเมตร (μmµ ) เมือ่ นํามาศึกษาภายใต ครูวดั และประเมินการปฏิบตั กิ าร จากการท�ากิจกรรม เรือ่ ง การศึกษาเซลล์
กลองจุลทรรศน จะมีความยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร จงหาวา ของสิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ และเรื่อง การหาก�าลังขยายของภาพและ
กลองนี้มีกําลังขยายเทาใด ขนาดของวัตถุจากล้องจุลทรรศน์ โดยศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผลจาก
(วิเคราะหคําตอบ จากสูตร แบบประเมินการปฏิบัติการที่อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
กําลังขยายของภาพ = ขนาดของภาพ
ขนาดของวัตถุ แบบประเมินการปฏิบัติการ

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ ประเด็นที่ประเมิน


เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ

ระดับคะแนน

กําลังขยายของภาพ = 5 101,000 μm
4 3 2 1
ระดับคะแนน
× ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
1. การปฏิบัติการ
ทดลอง
ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ
ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ
ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้
ต้องให้ความช่วยเหลือ
อย่างมากในการทาการ
ทดลอง และการใช้

μm
4 3 2 1 ได้อย่างถูกต้อง
ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์
1 การปฏิบัติการทดลอง
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่
คล่องแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา
3 การนาเสนอ ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสร็จ อุปกรณ์เสียหาย
รวม โดยไม่ต้องได้รับคา

กําลังขยายของภาพ = 5,000 เทา


ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา
ชี้แนะ และทาการ
เสร็จทันเวลา
ทดลองเสร็จทันเวลา
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน 3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ

10 μm
.............../................/................ และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก
การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล
เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
ขั้นตอน

กําลังขยายของภาพ = 500 เทา


ดังนั้น กลองนี้มีกําลังขยาย 500 เทา)
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก
9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง

T93
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
Prior Knowledge
1. ครูนาํ สนทนาเกีย่ วกับกิจกรรม เรือ่ ง การศึกษา เซลลทุกชนิดมีโครงสราง 2. โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วย
เซลลของสิ่งมีชีวิตดวยกลองจุลทรรศนใชแสง พืน
้ ฐานใดบางทีเ่ หมือนกัน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ที่นักเรียนไดปฏิบัติไปแลว โดยอาจตั้งคําถาม
ใหนักเรียนรวมกันตอบ ดังนี้ เซลล์จะมีขนาด รูปร่าง และหน้าทีแ่ ตกต่างกัน แต่อย่างไร
ก็ตามเซลล์ทุกชนิดจะมีโครงสร้างพื้นฐานที่ส�าคัญ 3 ส่วน ได้แก่
ï• เมื่อศึกษาเซลลดวยกลองจุลทรรศนใชแสง
นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
นักเรียนสังเกตเห็นโครงสรางใดบาง
(แนวตอบ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม โครงสร้างของเซลล์สัตว์และเซลล์พืช
เยื่อหุมเซลล คลอโรพลาสต แวคิวโอล)
ï• กล อ งจุ ล ทรรศน ใ ช แ สงที่ ใ ช อ ยู  ทั่ ว ไปใน
โรงเรียนมีกําลังขยายสูงสุดเทาใด
(แนวตอบ 1,000 เทา)
•ï หากใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนศึกษา
โครงสรางของเซลล นักเรียนคิดวาจะไดผล ไซโทพลาซึม
อยางไร มีส่วนประกอบที่ส�าคัญ 2 ส่วน
(แนวตอบ พบโครงสรางอืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือจาก คือ ออร์แกเนลล์ (organelle)
และไซโทซอล (cytosol) ไลโซโซม : ขนส่งเอนไซม์ ไรโบโซม :
ที่สังเกตไดจากลองจุลทรรศนใชแสง และ แหล่งสร้างโปรตีน
เห็นรายละเอียดของโครงสรางตางๆ มากขึน้ )
โครงสร้าง
ของ
เซลล์สต
ั ว์
เอนโดพลำสมิกเรติคูลัม :
ผลิตและล�าเลียงสาร

เซนทริโอล : ท�าให้โครมาทิดแยกออก
จากกันในขณะที่มีการแบ่งเซลล์

ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
เป็นโครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม และแสดงขอบเขต
ของเซลล์ ซึ่งได้แก่ ผนังเซลล์ และเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ : ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุม
การผ่านเข้าออกของสาร
แนวตอบ Prior Knowledge ภาพที่ 3.8 โครงสร้างของเซลล์สัตว์และเซลล์พืช
82
สวนที่หอหุมเซลล ไซโทพลาซึม และ
นิวเคลียส

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ในหั ว ข อ นี้ ต  อ งการให นั ก เรี ย นศึ ก ษาโครงสร า งของเซลล ที่ ศึ ก ษาจาก กลองจุลทรรศนใชแสงทีใ่ ชในหองปฏิบตั กิ ารของโรงเรียนทัว่ ไป
กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ซึ่งมีกําลังขยายสูงกวากลองจุลทรรศนใชแสง จึง มีกําลังขยายสูงสุดเทาใด และเมื่อใชศึกษาเซลลนักเรียนจะพบ
ทําใหทราบรายละเอียดตางๆ ของโครงสรางมากขึ้น รวมทั้งศึกษาการทํางาน โครงสรางใดบาง
ของโครงสรางเหลานั้น เพื่อใหเกิดความเขาใจในหนาที่การทํางานของเซลลซึ่ง
(วิเคราะหคาํ ตอบ กลองจุลทรรศนใชแสงทีใ่ ชในหองปฏิบตั กิ ารของ
เปนหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โดยครูควรใชคําถามเพื่อกระตุนการเรียนรูของ
โรงเรียนทัว่ ไปมีกาํ ลังขยายสูงสุด 1,000 เทา เมือ่ ใชศกึ ษาเซลลจะพบ
นักเรียนเปนระยะๆ ตลอดเวลาที่จัดการเรียนการสอน
นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยือ่ หุม เซลล คลอโรพลาสต แวคิวโอล)

สื่อ Digital
ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง เซลลพืช และเซลลสัตว

เซลลพืช เซลลสัตว
www.aksorn.com/interactive3D/RKA3E www.aksorn.com/interactive3D/RKA3F

T94
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
2. ให้นกั เรียนดูภาพโครงสร้างของเซลล์ในหนังสือ
ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 หรือจาก PowerPoint

นิวเคลียส
มีลักษณะเป็นทรงกลมอยู่ตรงกลางหรือค่อนไปข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์
เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ โดยทั่วไปเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส แต่บางเซลล์
อาจมีหลายนิวเคลียส
จากนั้ น ครู ตั้ ง ค� า ถามว่ า นั ก เรี ย นเห็ น
นิวเคลียส : ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ โครงสร้างใดบ้าง และคิดว่าโครงสร้างต่างๆ
ภายในเซลล์ มีหน้าที่อย่างไร
3. ครูเปดภาพยนตร์สารคดีสั้น TWIG เรื่อง เซลล์
คืออะไร https://www.twig-aksorn.com/
แวคิวโอล : ถุงบรรจุสาร
fifilm/what-is-a-cell-7924/ ให้นักเรียนดูเพื่อ
น�าเข้าสู่เนื้อหาในบทเรียน

กอลจิคอมเพล็กซ์ : รวบรวม โครงสร้าง ขัน้ สอน


บรรจุ และขนส่งสาร ของ สํารวจค้นหา
เซลล์พช

ให้ นั ก เรี ย นแบ่ ง กลุ ่ ม 12 กลุ ่ ม เพื่ อ ศึ ก ษา
โครงสร้างของเซลล์ โดยแต่ละกลุม่ ศึกษาไม่ซา�้ กัน
สรุปสาระส�าคัญและส่งตัวแทนออกไปอธิบายให้
เพื่อนทั้งห้องฟง
ไมโทคอนเดรีย :
สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ คลอโรพลำสต์ : เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

ผนังเซลล์ : ค�้าจุนโครงร่าง ปกป้องเซลล์


ช่วยให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้
เซลล์ 83
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


กลองจุลทรรศนทมี่ กี าํ ลังขยายสูงสุดในปจจุบนั คือกลองชนิดใด ครูควรเน้นให้นักเรียนทราบว่า ภาพโครงสร้างเซลล์ที่อยู่ในหนังสือเรียน
มีกําลังขยายเทาใด และเมื่อใชศึกษาเซลลนักเรียนคิดวาผลที่ได เป็นภาพวาดซึ่งไม่ใช่ภาพที่เห็นจริง แต่ได้จากข้อเท็จจริงของนักวิทยาศาสตร์
จะเปนอยางไร ที่ได้ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนทั้งแบบส่องกราดและแบบส่องผ่าน
(วิเคราะหคาํ ตอบ กลองจุลทรรศนทมี่ กี าํ ลังขยายสูงสุดในปจจุบนั ดังนัน้ หากศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน อาจเห็นภาพทีต่ า่ งไปจากนีบ้ า้ ง
คือ กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ซึ่งมีกําลังขยาย 500,000 เทา
เมื่อใชศึกษาเซลลจะพบโครงสรางของเซลลมากกวาที่ศึกษาดวย
กลองจุลทรรศนใชแสง) สื่อ Digital
ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เซลล์ ได้ จ าก
ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง เซลล์คือ
อะไร https://www.twig-aksorn.com/fifilm/
what-is-a-cell-7924/

T95
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ให้นักเรียนกลุ่มที่ศึกษาเรื่อง ผนังเซลล์ ออก 2.1 ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
มาอธิบายให้เพือ่ นฟง จากนัน้ ครูตงั้ ค�าถามเพือ่ ส่วนทีห่ อ่ หุม้ เซลล์เป็นโครงสร้างทีห่ อ่ หุม้ ไซโทพลาซึม และแสดงขอบเขตของเซลล์ ซึง่ ได้แก่
ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทัง้ ห้อง เช่น ผนังเซลล์ และเยื่อหุ้มเซลล์
•ï สามารถพบผนังเซลลไดในเซลลทุกชนิด 1. 1ผนังเซลล์ (cell wall) เป็นโครงสร้างทีอ่ ยูด่ า้ นนอกสุดของเซลล์พชื สาหร่าย โพรโทซัว
หรือไม อยางไร แบคทีเรีย และเห็ดรา ซึ่งท�าหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และท�าให้เซลล์สามารถคงรูปร่าง
(แนวตอบ พบผนังเซลลไดในเซลลบางชนิด อยู่ได้ มิดเดิลลาเมลลา
ไดแก พืช สาหราย โพรโทซัว แบคทีเรีย (middle lamella)

และเห็ดรา) เป็นชั้นที่ท�าให้ผนังเซลล์เชื่อมติดกัน
เซลลูโลส ไมโครไฟบริล
ï• ผนังเซลลมีความสําคัญตอเซลลอยางไร (cellulose microfibril)
(แนวตอบ ผนังเซลลทําหนาที่ชวยเพิ่มความ เรียงตัวไขว้กันและยึดเข้าด้วยกันโดยเฮมิเซลลูโลส
แข็งแรงใหแกเซลล ทําใหเซลลคงรูปราง (hemicellulose)
อยูได) อาจมีสารอื่น ๆ เช่นเพกทิน (pectin)
ซูเบอริน (suberin) คิวทิน (cutin)
ï• พลาสโมเดสมาตา คืออะไร ลิกนิน (lignin) เป็นต้น สะสมอยู่ด้วย
ภาพที่ 3.9 โครงสร้างของผนังเซลล์
(แนวตอบ ชองเล็กๆ บนผนังเซลล ซึง่ เปนทาง
สําหรับใหไซโทพลาซึมของเซลลหนึ่งเชื่อม บางบริเวณของผนังเซลล์มีช่องเล็ก ๆ อยู่ ซึ่งเป็นทางส�าหรับให้ไซโทพลาซึมของเซลล์หนึ่ง
ตอกับไซโทพลาซึมของอีกเซลลหนึ่ง) เชื่อมต่อกับไซโทพลาซึมของอีกเซลล์หนึ่งที่อยู่ข้างเคียง โดยเรียกบริเวณนี้ว่า พลำสโมเดสมำตำ
(plasmodesmata)
ผนังเซลล์ของแบคทีเรียมักประกอบด้วยสารเพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan) ซึง่ มีนา�้ ตาล
เอ็น - แอซิทิลกลูโคซามีน (N - acetyl glucosamine : NAG) และกรดเอ็น - แอซิทิลมิวรามิก
(N - acetylmuramic acid : NAM) ต่อเชื่อมกันเป็นแกนหลัก และในแบคทีเรียแกรมลบจะพบ
ลิโพพอลิแซ็กคาไรด์ (lipopolysaccharide : LPS)
ผนังเซลล์ของสาหร่ายสีน�้าตาลแกมเหลือง เช่น ไดอะตอม นอกจากมีเซลลูโลสแล้ว
ยังมีซิลิกา (silica) เป็นส่วนประกอบ ส่วนผนังเซลล์ของเห็ดราจะเป็นสารประกอบไคทิน (chitin)
ซึ่งเป็นสารประกอบชนิดเดียวกันกับเปลือกกุ้ง

เพปทิโดไกลแคน

ผนังเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
ภาพที่ 3.10 ผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมบวก

84

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 แบคทีเรีย จ�าแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ อาณาจักรย่อยอาเคีย เซลลูโลสมีความสัมพันธกับสิ่งใดมากที่สุด
แบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) และอาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย 1. ผนังเซลล์
(Subkingdom Eubacteria) ซึ่งพวกยูแบคทีเรีย แบ่งตามคุณสมบัติการย้อมสี 2. เยื่อหุ้มเซลล์
ได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ 3. ไมโทคอนเดรีย
1. แบคทีเรียแกมลบ ( gram negative eubacteria) เป็นแบคทีเรียที่ย้อม 4. คลอดโรพลาสต์
ติดสีแดงของซัลฟานิน โอ (safranin o) เช่น Spirochaete sp. Escherichia coli 5. กอลจิคอมเพล็กซ์
2. แบคทีเรียแกมบวก (gram positive eubacteria) เป็นแบคทีเรียที่ย้อม (วิเคราะหคําตอบ เซลลูโลสเปนสวนประกอบของผนังเซลล มี
ติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเลต (crystal violet) เช่น Staphylococcus sp. ลักษณะเปนเสนใย มีสว นชวยเสริมสรางใหผนังเซลลมคี วามแข็งแรง
เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเซลล ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T96
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1
2. เยือ่ หุม้ เซลล์ (cell membrane) เป็นโครงสร้างทีพ่ บในเซลล์สงิ่ มีชวี ติ ทุกชนิด มีลกั ษณะ 2. ให้นกั เรียนกลุม่ ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง เยือ่ หุม้ เซลล์ ออก
เป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยฟอสโฟลิพิด (phospholipid) และมีโมเลกุลของโปรตีนแทรกกระจาย มาอธิบายให้เพือ่ นฟง จากนัน้ ครูตงั้ ค�าถามเพือ่
อยู่ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีคอเลสเตอรอล ไกลโคลิพิด และไกลโคโปรตีนเป็นส่วนประกอบด้วย ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทัง้ ห้อง เช่น
เยื่อหุ้มเซลล์มีหน้าที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม แสดงขอบเขตของเซลล์และช่วยควบคุมการ • สามารถพบเยื่อหุมเซลลไดในเซลลทุกชนิด
เข้าออกของสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน หรือไม อยางไร
(semipermeable membrane) (แนวตอบ สามารถพบเยือ่ หุม เซลลไดในเซลล
ทุกชนิด)
ไกลโคลิพิด โปรตีน ไกลโคโปรตีน
(glycolipid) (protein) (glycoprotein)
ï• โครงสรางของเยื่อหุมเซลลมีลักษระอยางไร
ลิพิดที่จับกับคาร์โบไฮเดรต โปรตีนแทรกกระจายอยู่ โปรตีนที่จับกับคาร์โบไฮเดรต (แนวตอบ ประกอบดวยฟอสโฟลิพิด และมี
ทั่วไปในเยื่อหุ้มเซลล์ โมเลกุลโปรตีนแทรกกระจายอยู อีกทั้งยัง
ฟอสโฟลิพิด
(phospholipid)
มีคอเลสเตอรอล ไกลโคลิพิด และไกลโค-
เรียงตัว 2 ชัน้ หันด้านทีม่ ขี วั้ (polar head)
ซึง่ มีสมบัตชิ อบน�า้ ออกด้านนอก หันด้าน โปรตีนดวย)
ที่ไม่มีขั้ว (nonpolar tail) ซึ่งมีสมบัติ ï• เยื่อหุมเซลลมีความสําคัญตอเซลลอยางไร
ไม่ชอบน�้าเข้าด้านใน
คอเลสเตอรอล
( แนวตอบ เยื่ อ หุ  ม เซลล ทํ า หน า ที่ แ สดง
(cholesterol) ขอบเขตของเซลล และควบคุมการเขาออก
อนุพันธ์ของลิพิด มีโครงสร้างแตกต่างจาก
ภาพที่ 3.11 โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ที่มีลักษณะการ ลิพิดทั่วไป แต่มีสมบัติคล้ายลิพิด ของสารตางๆ)
จัดเรียงตัวแบบฟลูอดิ โมเซอิกโมเดล (fluid mosaic model)

B iology
Focus ฟอสโฟลิพิด (phospholipid)
CH2 N+(CH2)3
ฟอสโฟลิพิดเป็นลิพิดที่จัดอยู่ในกลุ่ม CH2 โคลีน
O
ของลิพิดเชิงซ้อน ในโมเลกุลประกอบไปด้วย
สวนที่มีขั้ว

O P O ฟอสเฟต ไนโตรเจน
O ฟอสฟอรัส
กลีเซอรอล กรดไขมัน ฟอสเฟต และแอลกอฮอล์ CH2 CH CH2
กลีเซอรอล
ออกซิเจน
O O
ซึ่งเป็นส่วนประกอบส�าคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ที่ C OC O คำร์บอน
CH2 CH2
พบได้ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ไฮโดรเจน
สวนที่ไมมีขั้ว

CH2 CH2
กรดไขมัน
เมือ่ เรียงตัว 2 ชัน้ (bilayer) ฟอสโฟลิพดิ CH
CH
จะหันด้านที่มีขั้ว คือ ส่วนที่เป็นหมู่ฟอสเฟต CH2
CH2
และสารประกอบไนโตรเจนทีม่ ปี ระจุออกจากกัน CH3 CH3
ส่วนด้านทีไ่ ม่มขี วั้ คือ กรดไขมัน จะหันเข้าหากัน ภาพที่ 3.12 โครงสร้างของฟอสโพลิพิดชนิด
ฟอสฟาทิลิลโคลีน

เซลล์ 85
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ผนังเซลลและเยื่อหุมเซลลมีคุณสมบัติอยางไร 1 เยื่อหุมเซลล สารที่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ต้องมีคุณสมบัติในการ
1. ผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ไม่ยอมให้สารใดๆ ผ่าน รวมตัวกับไขมันได้ดี เนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์มีโครงสร้างเป็นสารประเภทไขมัน
2. ผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้สารบางชนิดผ่าน ดังนั้นสารที่รวมตัวกับไขมันได้ดีจะรวมเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี จึงมีโอกาสที่จะ
3. ผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้สารทุกชนิดผ่านได้ ผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์ได้ดี อีกทัง้ ต้องเป็นสารทีม่ ขี วั้ น้อยหรือไม่มขี วั้ (nonpolar) เช่น
4. ผนังเซลล์ยอมให้สารทุกชนิดผ่าน แต่เยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้ กลูโคส ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ กรดไขมัน
สารบางชนิดผ่าน
5. ผนังเซลล์ยอมให้สารบางชนิดผ่าน แต่เยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้
สารทุกชนิดผ่าน สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ ผนังเซลลยอมใหสารทุกชนิดผานได สวน ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับเยือ่ หุม้ เซลล์ ได้จาก
เยื่อหุมเซลลมีคุณสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน ซึ่งยอมใหสารบางชนิด ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง เยื่อหุ้มเซลล์
ผานได ดังนั้น ตอบ ขอ 4.) https://www.twig-aksorn.com/film/
glossary/cell-wall-6642/

T97
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. ให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่อง ร่างแหเอนโดพลาซึม 2.2 ไซโทพลาซึม
ออกมาอธิบายให้เพื่อนฟง จากนั้นให้ครูตั้ง ไซโทพลำซึม (cytoplasm) เป็นของเหลวที่อยู่ภายในเซลล์ มีลักษณะข้นและโปร่งแสง
ค�าถามเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ประกอบด้วยน�้าและสารอื่น เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และสารอนินทรีย์ที่ละลายน�้า
ทั้งห้อง เช่น มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บสะสมวัตถุดิบที่จะใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีของเซลล์ เป็นบริเวณที่เกิด
ï• รางแหเอนโดพลาซึมมีลักษณะอยางไร การสังเคราะห์สาร และขับถ่ายของเสียของเซลล์ ซึ่งไซโทพลาซึม แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
(แนวตอบ ลักษณะเปนทอแบนที่มีบางสวน • เอกโทพลำซึม (ectoplasm) เป็นไซโทพลาซึมที่อยู่บริเวณด้านนอกติดกับเยื่อหุ้มเซลล์
โปงออกเปนถุง แตละทอเรียงซอนกันเปน มีลักษณะค่อนข้างหนืดซึ่งเป็นบริเวณที่ไม่มีออร์แกเนลล์อยู่
• เอนโดพลำซึม (endoplasm) เป็นไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านในใกล้กับนิวเคลียส มีลักษณะ
ชั้นๆ และเชื่อมตอกัน อีกทั้งยังเชื่อมตอกับ
ค่อนข้างเหลว เป็นบริเวณที่มีออร์แกเนลล์และอนุภาคของสารต่าง ๆ อยู่มาก จึงเป็นบริเวณที่มี
เยื่อหุมนิวเคลียสดวย) การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ของเซลล์
ï• รางแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระกับแบบ ไซโทพลาซึมมีส่วนประกอบส�าคัญ 2 ส่วน คือ ออร์แกเนลล์ (organelle) และไซโทซอล
ผิวเรียบมีความแตกตางกันอยางไร (cytosol)
(แนวตอบ รางแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ ออร์แกเนลล์ต่าง ๆ จะกระจายอยู่ทั่วไปในไซโทพลาซึม ซึ่งแต่ละชนิดมีโครงสร้างและหน้าที่
จะมีไรโบโซมเกาะอยู มีหนาที่สังเคราะห แตกต่างกัน
โปรตีน สวนแบบผิวเรียบจะไมมีไรโบโซม 1. รำงแหเอนโดพลำซึม (endoplasmic reticulum: ER) ท�าหน้าที่เสมือนกับโรงงาน
เกาะอยู ทําหนาที่สังเคราะหสารพวกไขมัน ผลิตและล�าเลียงสารภายในเซลล์ ประกอบด้วยโครงสร้างทีเ่ ป็นท่อแบนและมีบางส่วนโป่งพองออก
และสเตอรอยดฮอรโมน) เป็นถุง ซึ่งแต่ละท่อจะเรียงขนานซ้อนกันเป็นชั้น ๆ และเชื่อมต่อกัน อีกทั้งยังเชื่อมต่อกับเยื่อหุ้ม
นิวเคลียสด้วย ซึ่งร่างแหเอนโดพลาซึมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบ
ผิวขรุขระ (rough endoplasmic reticulum: RER) และร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวเรียบ (smooth
endoplasmic reticulum: SER)
ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ (RER)
บริเวณที่มีไรโบโซมเกาะอยู่ที่ผิว มีหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน โดยโปรตีนที่สังเคราะห์ขึ้นจะบรรจุอยู่ในเวสิเคิล แล้ว
ถูกส่งไปยังกอลจิคอมเพล็กซ์ จากนั้นจะล�าเลียงไปนอกเซลล์ หรือไปเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ ตัวอย่าง
เซลล์ที่มี RER อยู่มาก เช่น เซลล์ตับอ่อน

ร่างแหเอนโดพลาซึม
แบบผิวเรียบ (SER)
บริเวณที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่ที่ผิว
มีหน้าทีส่ งั เคราะห์สารพวกไขมัน และ
สเตอรอยด์ฮอร์โมน พบมากในเซลล์
ทีม่ กี ารสังเคราะห์สเตอรอยด์ฮอร์โมน
เช่น เลย์ดิกเซลล์ (Leydig’s cell)
นอกจากนี้ SER ในเซลล์ตับ ยังช่วย
ก�าจัดสารพิษบางชนิดด้วย
86 ภาพที่ 3.13 ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ไซโคลซิส (cyclosis) ซึ่งเป็นการไหลของ ถาในเซลลไมมีรางแหเอนโดพลาซึมจะมีผลอยางไร
ไซโทพลาซึมไปรอบๆ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดยเป็นผลจากการหดและคลายของ 1. ไม่มีการแบ่งเซลล์
ไมโครฟลาเมนท์ และอาจศึกษาลักษณะการไหลของไซโทพลาซึมได้จาก 2. เซลล์ท�างานได้ตามปกติ
https://www.youtube.com/watch?v=BB5rvjZzgFU 3. เซลล์ไม่สามารถสร้างอาหารได้
4. ไม่มีการล�าเลียงสารภายในเซลล์
5. ขาดแหล่งพลังงานที่จ�าเป็นต่อเซลล์
(วิเคราะหคําตอบ หากไมมีรางแหเอนโดพลาซึมจะไมมีการ
ลําเลียงสารภายในเซลล ขาดแหลงสังเคราะหและสงโปรตีนออก
นอกเซลล ขาดเอนไซมเรงการสลายตัวของสารพิษ ดังนั้น ตอบ
ขอ 4.)

T98
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. ไรโบโซม (ribosome) เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ซึ่งกระจายตัวอยู่ 4. ให้นักเรียนกลุ่มที่ศึกษาเรื่อง ไรโบโซม ออกมา
อย่างอิสระในไซโทพลาซึม หรือเกาะอยูบ่ นร่างแหเอนโดพลาซึม โดยไรโบโซมทีอ่ ยูใ่ นไซโทพลาซึม อธิบายให้เพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งค�าถามเพื่อ
จะสร้างโปรตีนส�าหรับใช้ภายในเซลล์ ส่วนไรโบโซมที่เกาะอยู่ที่ร่างแหเอนโดพลาซึมจะสร้าง ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทัง้ ห้อง เช่น
โปรตีนและเอนไซม์ทจี่ ะน�าไปใช้ภายนอกเซลล์ หรือบริเวณเยือ่ หุม้ เซลล์และบริเวณออร์แกเนลต่าง ๆ ï• พบไรโบโซมไดในบริเวณใดของเซลล
ไรโบโซมประกอบด้วยสารเคมี 2 ชนิด คือ โปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic (แนวตอบ พบกระจายตัวอยูอยางอิสระใน
acid: RNA) ซึ่งไรโบโซมแต่ละหน่วยประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย (subunit) ที่สามารถจะแยกขนาด 1 ไซโทพลาซึม และบนรางแหเอนโดพลาซึม)
ออกจากกันได้จากอัตราการตกตะกอนของการหมุนเหวี่ยง เมื่อน�าเข้าเครื่องหมุนเหวี่ยงโดยการ •ï ไรโบโซมมีความสําคัญตอเซลลอยางไร
ใช้ความเร็วที่ 60S และ 40S (S คือ Svedberg unit of sedimentation coefficient) โดยหน่วยย่อย (แนวตอบ ไรโบโซมทําหนาที่สรางโปรตีน
ทัง้ สองหน่วยนีจ้ ะรวมกันเป็นหน่วยใหญ่ในขณะทีม่ กี ารสังเคราะห์โปรตีน ซึง่ ไรโบโซมทีพ่ บในเซลล์ สําหรับใชภายในเซลล และภายนอกเซลล)
ยูแคริโอต มีขนาดตามค่าความเร็วในการตกตะกอนเป็น 80S ส่วนในเซลล์โพรแคริโอต ไรโบโซม 5. ให้นกั เรียนกลุม่ ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง กอลจิคอมเพล็กซ์
จะมีขนาดเล็กกว่า คือ ขนาด 50S และ 30S ซึ่งเมื่อรวมกันจะได้เป็น 70S ออกมาอธิบายให้เพือ่ นฟง จากนัน้ ครูตงั้ ค�าถาม
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทั้งห้อง
ï• กอลจิคอมเพล็กซมีลักษณะอยางไร
(แนวตอบ ลักษณะเปนถุงกลมแบนขนาดใหญ
ที่บริเวณขอบจะโปงออก เรียกวา เวสิเคิล
แตละถุงจะเรียงซอนกันเปนชั้นๆ เรียกวา
ภาพที่ 3.14 ไรโบโซมประกอบขึ้นจาก 2 หน่วยย่อยรวมกัน
ซีสเทอรนา)
ï• กอลจิคอมเพล็กซกับรางแหเอนโดพลาซึม
มีความสัมพันธกันอยางไร
3. กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex) หรือกอลจิบอดี (Golgi body) หรือกอลจิ- (แนวตอบ กอลจิคอมเพล็กซทาํ หนาทีจ่ าํ แนก
แอพพาราตัส (Golgi apparatus) หรือดิกไทโอโซม (dictyosome) ลักษณะเป็นถุงกลมแบนขนาดใหญ่ สารที่ผลิตจากรางแหเอนโดพลาซึม บรรจุ
ที่บริเวณขอบจะโป่งพอง เรียกว่า เวสิเคิล (vesicle) โดยแต่ละถุงนั้นจะเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ สารไว ใ นเวสิ เ คิ ล แล ว จั ด ส ง ไปยั ง บริ เ วณ
เรียกว่า ซิสเทอร์นา (cisterna) ซึง่ กอลจิคอมเพล็กซ์จะพบอยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงกับร่างแหเอนโดพลาซึม ตางๆ ของเซลลหรือภายนอกเซลล และ
เนื่องจากออร์แกเนลล์ทั้งสองชนิดนี้ท�างานประสานกัน จั ด การกั บ เวสิ เ คิ ล ที่ ถู ก ส ง มาจากบริ เ วณ
กอลจิ ค อมเพล็ ก ซ์ ท� า หน้ า ที่ จั ด จ� า แนกสารต่ า ง ๆ เยื่อหุมเซลลเพื่อยอยสลายโดยไลโซโซม)
ที่ผลิตจากร่างแหเอนโดพลาซึม บรรจุไว้ในเวสิเคิลส�าหรับจัด
ส่งไปยังบริเวณต่าง ๆ ของเซลล์หรือภายนอกเซลล์ และจัดการ
กับเวสิเคิลทีส่ ง่ มาจากบริเวณเยือ่ หุม้ เซลล์หรือบริเวณอืน่ ๆ เพือ่
ย่อยสลายโดยไลโซโซม ทั้งนี้เพื่อน�าสารที่มีประโยชน์กลับ ภาพที่ 3.15 กอลจิคอมเพล็กซ์
เป็นแหล่งรวบรวม บรรจุ และ
มาใช้ใหม่ ขนส่งสาร

เซลล์ 87
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


โครงสรางใดเกี่ยวของกับการสังเคราะหและลําเลียงโปรตีน 1 เครื่องหมุนเหวี่ยง (centrifuge) เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่จ�าเป็นส�าหรับ
ออกนอกเซลล เร่งอัตราการตกตะกอนของอนุภาค หรือใช้แยก
1. ไรโบโซม นิวเคลียส ของเหลวหลายชนิดทีม่ คี วามถ่วงจ�าเพาะต่างกัน
2. ไรโบโซม คลอโรพลาสต์ ปจจุบันเครื่องหมุนเหวี่ยงถูกพัฒนาจนสามารถ
3. ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย ใช้วิเคราะห์ชนิดของสาร หาน�้าหนักโมเลกุลสาร
4. ร่างแหเอนโดพลาซึม ไลโซโซม ได้โดยอาศัยคุณสมบัติของตัวกลาง คุณสมบัติของ
5. ร่างแหเอนโดพลาซึม กอลจิคอมเพล็กซ์ อนุภาค และการสร้างแรงหนีศูนย์กลางที่เกิด
(วิเคราะหคําตอบ รางแหเอนโดพลาซึมแบบผิวขรุขระ (RER) จากการหมุนรอบจุดหมุนด้วยความเร็วรอบ
มีหนาที่สังเคราะหโปรตีนและสงโปรตีนไปยังกอลจิคอมเพล็กซ ที่สูงมาก
จากนั้นกอลจิคอมเพล็กซจะเปลี่ยนสภาพโปรตีนใหอยูในสภาพที่
เหมาะสม แลวจึงสงโปรตีนออกไปนอกเซลล ดังนั้น ตอบ ขอ 5.)

T99
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
6. ให้นกั เรียนกลุม่ ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง ไลโซโซม ออกมา 4. ไลโซโซม (lysosome) เป็นเวสิเคิลที่สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ ภายในมีเอนไซม์
อธิบายให้เพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งค�าถามเพื่อ มากกว่า 50 ชนิด ท�าหน้าที่ย่อยสารและสลายโครงสร้างของเซลล์เมื่อเซลล์ตาย พบได้เฉพาะ
ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทัง้ ห้อง เช่น ในเซลล์สัตว์เท่านั้น (ยกเว้นในเซลล์เม็ดเลือดแดง) มีลักษณะเป็นถุงกลมหรือกลมรี พบมากใน
• ไลโซโซมมีลักษณะอยางไร ฟาโกไซทิกเซลล์ (phagocytic cell) เซลล์เม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล (neutrophil) และเซลล์ในระบบ
( แนวตอบ ลั ก ษณะเป น ถุ ง กลมหรื อ กลมรี เรติคูโลเอนโดทีเลียม (reticuloendothelial system) เช่น ตับ ม้าม เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบ
สรางมาจากกอลจิคอมเพล็กซ) ไลโซโซมจ�านวนมากในเซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือมีการสลายตัวเอง เช่น เซลล์ส่วนหางลูกออด
• ไลโซโซมมีความสําคัญตอเซลลอยางไร เป็นต้น
(แนวตอบ ไลโซโซมทําหนาที่ยอยสารและ
สลายโครงสรางของเซลลเมื่อเซลลตาย) หน้าทีส
่ า� คัญของไลโซโซม

• สามารถพบไลโซโซมได ใ นเซลล ทุ ก ชนิ ด ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์


หรือไม อยางไร
ย่อยหรือท�าลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
(แนวตอบ สามารถพบไลโซโซมไดในเซลล
สัตวเทานั้น) ท�าลายออร์แกเนลล์ของเซลล์ที่เสื่อมสภาพ โดยเยื่อของไลโซโซมจะฉีกขาด แล้วปล่อยเอนไซม์
ออกมาย่อยสลายออร์แกเนลล์นั้น
ย่อยสลายโครงสร้1 างต่าง ๆ ของเซลล์ ในระยะที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงและเกิดกระบวนการ
เมทามอร์โฟซิส ((metamorphosis)

ไลโซโซม
(Lysosome)
สร้างจากกอลจิคอมเพล็กซ์

ไมโทคอนเดรียที่
เสื่อมสภาพ

เอนไซม์ในไลโซโซม
เอนไซม์ในไลโซโซมก�าลัง
ย่อยสลายไมโทคอนเดรีย
ที่เสื่อมสภาพ
ภาพที่ 3.16 ไลโซโซมที่สร้างจากกอลจิคอมเพล็กซ์ก�าลังย่อยสลายไมโทคอนเดรียที่เสื่อมสภาพ

88

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 เมทามอรโฟซิส เป็นรูปแบบการเจริญเติบโตของสัตว์ โดยตัวอ่อนมีการ เมือ่ เซลลเม็ดเลือดขาวนําแบคทีเรียเขาสูเ ซลลแลว ออรแกเนลล
เปลีย่ นแปลงรูปร่างเป็นล�าดับขัน้ ๆ จากทีม่ รี ปู ร่างไม่เหมือนพ่อแม่ จนกระทัง่ เป็น ใดทําหนาที่ยอยสลายแบคทีเรียนั้น
ตัวเต็มวัยที่มีรูปร่างเหมือนพ่อแม่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ ดังนี้ 1. ไรโบโซม
1. เมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (grandual metamorphosis) ตัวอ่อน 2. ไลโซโซม
ไม่มีปก เรียกว่า ตัวนิมพ์ (nymph) ระบบต่าง ๆ ยังไม่สมบูรณ์ ไม่มีระยะดักแด้ 3. ไมโทคอนเดรีย
(pupa) เช่น ปลวก ตั๊กแตน แมลงสาบ 4. ไซโทสเกเลตอน
2. เมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) ตัวอ่อน 5. กอลจิคอมเพล็กซ์
อยู่ในน�้า เรียกว่า ไนแอด (naiad) ใช้เหงือกหายใจ ไม่มีปก ตัวเต็มวัยมีปกอยู่ (วิเคราะหคําตอบ ไลโซโซมมีหนาที่ยอยหรือทําลายเชื้อโรคและ
บนบก หายใจโดยใช้ท่อลม ไม่มีระยะดักแด้ เช่น แมลงปอ ชีปะขาว สิ่งแปลกปลอมที่เขาสูเซลล ยอยสลายอนุภาคและโมเลกุลของ
3. เมทามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์ (completemetamorphosis) มีการเจริญ สารอาหารภายในเซลล ทําลายออรแกเนลลที่เสื่อมสภาพ และ
ครบ 4 ระยะ คือ ระยะไข่ (egg) ระยะหนอน (larva) ระยะดักแด้ (pupa) และ ยอยสลายโครงสรางตางๆ ในระยะที่เซลลมีการเปลี่ยนแปลงหรือ
ตัวเต็มวัย (adout) เช่น ยุง ผีเสื้อ ไหม มด ต่อ แตน แมลงวัน ด้วง เกิดกระบวนการเมทามอรโฟซิส ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1 7. ใหนกั เรียนกลุม ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง แวคิวโอล ออกมา
5. แวคิวโอล (vacuole) มีลักษณะเป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว เรียกว่า โทโนพลำสต์
(tonoplast) และภายในจะมีสารต่าง ๆ บรรจุอยู่ โดยแวคิวโอล มีหลายชนิดเพื่อท�าหน้าที่ต่างกัน อธิบายใหเพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อ
ตัวอย่างเช่น ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนทัง้ หอง เชน
ï• แวคิวโอลมีลักษณะอยางไร
แซบแวคิวโอล
(sap vacuole) (แนวตอบ ลักษณะเปนถุงทีม่ เี ยือ่ หุม ชัน้ เดียว)
พบได้เฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น โดยในเซลล์พืชที่อายุ ï• จงอธิ บ ายความแตกต า งของแวคิ ว โอล
น้อยจะมีแซบแวคิวโอลขนาดเล็กอยู่จ�านวนมาก แต่เมื่อ แตละชนิด
เซลล์มอี ายุมากขึน้ แวคิวโอลจะรวมตัวกันจนมีขนาดใหญ่
เกือบเต็มเซลล์ ซึ่งท�าหน้าที่สะสมสารต่าง ๆ เช่น สารสี (แนวตอบ
ไอออน น�้าตาล สารพิษ เป็นต้น แซบแวคิวโอล พบเฉพาะในเซลลพชื ทํา
คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล หนาที่สะสมสารตางๆ เชน สารสี ไอออน
ภาพที่ 3.17 แซบแวคิวโอลในเซลล์พืชมีขนาดใหญ่
ท�าให้นิวเคลียสไปอยู่ด้านข้างของเซลล์ (contractile vacuole) คอนแทร็กไทลแวคิวโอล พบในโพรโทซัว
พบในโพรโทซัวน�า้ จืดหลายชนิด เช่น อะมีบา พารามีเซียม
ซึ่งท�าหน้าที่รักษาสมดุลน�้าในเซลล์ และก�าจัดของเสียที่ นํ้าจืดหลายชนิด เชน อะมีบา พารามีเซียม
ละลายน�้าออกจากเซลล์ ทําหนาที่รักษาสมดุลนํ้าและกําจัดของเสีย
ออกจากเซลล
ฟูดแวคิวโอล
1 (food vacuole) ฟู ด แวคิ ว โอล พบในโพรโทซั ว พวก
พบในโพรโทซัวพวกอะมีบาและพารามีเซียม นอกจากนี้ อะมี บ าและพารามี เ ซี ย ม อี ก ทั้ ง ยั ง พบใน
ยั ง พบในเซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดขาวและฟาโกไซทิ ก เซลล์
(phagocytic cell) ชนิดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งฟูดแวคิวโอล เซลล เ ม็ ด เลื อ ดขาวและฟาโกไซติ ก เซลล
เกิดจากการน�าอาหารเข้าสู่เซลล์โดยการใช้เท้าเทียม ภายในฟูดแวคิวโอลมีอาหารอยู ซึ่งจะถูก
ภาพที่ 3.18 ฟูดเวคิวโอล และคอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (pseudopodium) ซึง่ เรียกการกินแบบนีว้ า่ ฟาโกไซโทซิส
ในพารามีเซียม ยอยโดยเอนไซมจากไลโซโซม)
(phagocytosis) แล้วอาหารจะถูกย่อยโดยเอนไซม์จาก
ไลโซโซม
2
6. ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) เป็นแหล่งสร้างพลังงานในเซลล์ มี DNA ของตัวเอง
เป็นโครงสร้างเกลียวคู่รูปวงแหวน ส่วนใหญ่มีการสืบทอดพันธุกรรมจากแม่สู่ลูก ไมโทคอนเดรีย
มีรูปร่างหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ โดยในเซลล์ต่อมหมวกไตจะมีรูปร่างกลม ในเซลล์ตับ
จะมีรูปร่างเป็นแท่งสั้น ๆ ส่วนในเซลล์บุผิวของล�าไส้เล็กจะมีรูปร่างค่อนข้างยาว
ไมโทคอนเดรียโดยทั่วไปจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 0.5 -1 ไมครอน ยาว
ประมาณ 5 -7 ไมครอน มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น (double unit membrane) เยื่อชั้นนอก (outer membrane)
มีลักษณะผิวเรียบ ท�าหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร ส่วนเยื่อชั้นใน (inner membrane)
จะพับทบไปมายื่นเข้าไปด้านใน เรียกว่า คริสตี (cristae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวส�าหรับเป็นแหล่งสร้าง
พลังงาน
เซลล์ 89
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


“นํ า พารามี เ ซี ย มใส ใ นนํ้ า จื ด แล ว สั ง เกตการบี บ ตั ว ของ 1 แวคิวโอล การสรางฟูดแวคิวโอลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ในชวงแรกอาจมี
คอนแทร็กไทลแวคิวโอล พบวา คอนแทร็กไทลแวคิวโอลบีบตัว ขนาดเล็กและมีจํานวนมาก แตตอมาฟูดแวคิวโอลเหลานี้จะรวมเปนถุงเดียวกัน
6 ครั้ง แตเมื่อเติมเกลือเล็กนอยลงในภาชนะที่มีพารามีเซียมอยู ทําใหมีขนาดใหญขึ้นจึงมีจํานวนลดลง
คอนแทร็กไทลแวคิวโอลจะบีบตัวนอยครั้งลง” นักเรียนจะอธิบาย สีของดอกไมสีแดง มวง นํ้าเงิน มีสารสีที่เรียกวา แอนโทไซยานิน (antho-
สนับสนุนขอมูลดังกลาวไดอยางไร cyanin) ละลายอยูในแซบแวคิวโอล เชน ดอกพุดตาน ดอกพูระหง ดอกชบา
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อใสเกลือลงไปในนํ้า นํ้านั้นจะมีจะมีความ 2 ไมโทคอนเดรีย ในไมโทคอนเดรียสามารถพบ DNA ไดเชนเดียวกับใน
เขมขนของสารสูงกวานํา้ จืดปกติ นํา้ จึงออสโมซิสเขาสูพ ารามีเซียม นิวเคลียสและคลอโรพลาสต โดยเรียกวา mtDNA ซึ่ง DNA ในไมโทคอนเดรีย
นอยกวาปกติ จึงทําใหคอนแทร็กไทลแวคิวโอลบีบตัวเพือ่ กําจัดนํา้ ไดรบั ถายทอดมาจากแม สวน DNA ทีอ่ ยูใ นนิวเคลียสนัน้ ไดรบั มาจากพอและแม
ออกจากเซลลนอยกวาปกติ)

T101
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
8. ให้นักเรียนกลุ่มที่ศึกษาเรื่อง ไมโทคอนเดรีย ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลว เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix) ซึ่งมีสารประกอบเคมี
ออกมาอธิบายให้เพือ่ นฟง จากนัน้ ครูตงั้ ค�าถาม และเอนไซม์ที่ส�าคัญหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์พลังงาน
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทั้งห้อง ในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ และกระบวนการจ�าลองตัวของไมโทคอนเดรีย
ï•ï ไมโทคอนเดรียมีลักษณะอยางไร เซลล์แต่ละชนิดนั้นจะมีจ�านวนไมโทคอนเดรียไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับชนิดและกิจกรรม
(แนวตอบ มีรปู รางหลายแบบ มีเยือ่ หุม 2 ชัน้ ของเซลล์ โดยเซลล์ทมี่ กี ระบวนการเมแทบอลิซมึ สูงจะมีไมโทคอนเดรียจ�านวนมาก เช่น เซลล์ตบั
โดยชั้นนอกผิวเรียบ ทําหนาที่ควบคุมการ เซลล์กล้ามเนือ้ หัวใจ เซลล์ไต เป็นต้น ส่วนเซลล์ทมี่ กี ระบวนการเมแทบอลิซมึ ต�า่ จะมีไมโทคอนเดรีย
ผานเขาออกของสาร สวนชั้นพับทบไปมา จ�านวนน้อย เช่น เซลล์ผิวหนัง เซลล์เยื่อเกี่ยวพัน เป็นต้น
ยื่นเขาดานในเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวสําหรับสราง เยื่อหุ้มชั้นนอก (outer membrane)
พลังงาน) มีผวิ เรียบ ท�าหน้าทีค่ วบคุมการผ่านเข้าออก
ของสาร
ï•ï ไมโทคอนเดรียมีความสําคัญตอเซลล
อยางไร เยื่อหุ้มชั้นใน (inner membrane)
(แนวตอบ ไมโทคอนเดรียทําหนาทีเ่ ปนแหลง พับทบไปมายื่นเข้าด้านใน เพื่อเพิ่มพื้นที่
ผิวส�าหรับสร้างพลังงาน
สรางพลังงานของเซลล)

เมทริกซ์ (matrix)
ของเหลวภายในไมโทคอนเดรีย ซึ่งมี
สารประกอบเคมีและเอนไซม์หลายชนิด

ภาพที่ 3.19 ไมโทคอนเดรียเป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์

B iology
Focus ไมโทคอนเดรีย
เบสอะดีนีน
NH2 ไมโทคอนเดรียท�าหน้าที่สร้างสารให้พลังงานสูงซึ่งก็คือ
N
C
C N ATP (adenosine triphosphate) โดยปฏิกริ ยิ าการสร้าง ATP ใน
C N
H C C
N
ไมโทคอนเดรียนัน้ แยกเป็น 2 ส่วน คือ บริเวณเยือ่ หุม้ ด้านนอกจะ
O O O N
-O P O P O P O CH
2
O ท�าหน้าทีเ่ กีย่ วกับการสร้างสารประกอบฟอสโฟลิพดิ ส่วนเยือ่ หุม้
O- O-
หมู่ฟอสเฟต
O- C
H
H H
C
H
ด้านในนั้นจะมีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ATP และ
C C
OH OH
ภายในเมทริกซ์มขี องเหลวทีท่ า� หน้าทีเ่ ป็นเอนไซม์ ซึง่ เกีย่ วข้อง
น�้าตาลไรโบส กับปฏิกิริยาเคมีในวัฏจักรเครบส์
ภาพที่ 3.20 โครงสร้างของ ATP

90

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอาจอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์โดยสังเขปว่า เป็น ออรแกเนลลใดที่สามารถเพิ่มจํานวนตัวเองได
กระบวนการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้สารพลังงานสูง นั้นคือ ATP ที่เซลล์จะ 1. เซนทริโอล แวคิวโอล
น�าไปใช้ในกระบวนการต่างๆ โดยกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบ่งออกเป็น 2. ไมโทคอนเดรีย ไลโซโซม
2 แบบ ได้แก่ กระบวนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะทีม่ อี อกซิเจนเพียงพอ และ 3. ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์
กระบวนการหายใจระดับเซลล์ในภาวะทีม่ อี อกซิเจนไม่พยี งพอ ซึง่ นักเรียนจะได้ 4. กอลจิคอมเพล็กซ์ คลอโรพลาสต์
ศึกษารายละเอียดต่อไปในหน่วยการเรียนรู้นี้ 5. กอลจิคอมเพล็กซ์ ไมโทคอนเดรีย
(วิเคราะหคาํ ตอบ ทัง้ ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต มีดเี อ็นเอ
เปนของตัวเอง จึงสามารถจําลองตัวเอง และเพิ่มจํานวนตัวเองได
ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T102
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
7. พลำสติด (plastid) เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น (double membrane) 9. ใหนกั เรียนกลุม ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง พลาสติด ออกมา
พบในเซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด ท�าหน้าที่สังเคราะห์สารบางชนิดและเป็นที่เก็บเม็ดสีหรือ อธิบายใหเพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อ
รงควัตถุ ซึ่งภายในพลาสติดมีรงควัตถุต่างกัน จ�าแนกได้ 3 ชนิด ดังนี้ ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนทัง้ หอง เชน
1) คลอโรพลำสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่มีสีเขียว มีสารสี คือ คลอโรฟิลล์ ï• พลาสติดมีลักษณะอยางไร และมีหนาที่
(chlorophyll) เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ มี DNA รูปวงแหวน มี RNA และไรโบโซมจึงสามารถ อยางไร
แบ่งตัวได้ คลอโรพลาสต์ทา� หน้าทีส่ ร้างอาหารให้แก่เซลล์พชื และโพรทิสต์บางชนิดจากกระบวนการ (แนวตอบ มีเยือ่ หุม 2 ชัน้ พบในเซลลพชื และ
สังเคราะห์ดว้ ยแสง ภายในมีโครงสร้างทีม่ ลี กั ษณะคล้ายถุงแบน ๆ เรียกว่า ไทลำคอยด์ (thylakoid) โพรทิสตบางชนิด ทําหนาที่สังเคราะหสาร
บนไทลาคอยด์มสี ารสีทใี่ ช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ซึง่ ไทลาคอยด์จะเรียงซ้อนกันเป็นตัง้ ๆ บางชนิดและเปนทีเ่ ก็บเม็ดสีหรือรงควัตถุ)
เรียกว่า กรานุม (granum พหูพจน์ grana) และบริเวณรอบ ๆ ไทลาคอยด์จะมีของเหลว เรียกว่า ï• จงอธิบายความแตกตางของพลาสติก
สโตรมำ (stroma) ซึ่งมีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงอยู่ แตละชนิด
กรานุม (granum) (แนวตอบ
ไทลาคอยด์ที่เรียงซ้อนกันเป็นตั้ง
เยื่อหุ้มชั้นนอก คลอโรพลาสต มีสีเขียว มีสารสี คือ
(outer membrane)
คลอโรฟลล ทําหนาที่สรางอาหารใหแกพืช
และโพรทิสตบางชนิดไดจากการบวนการ
เยื่อหุ้มชั้นใน สังเคราะหดว ยแสง
(inner membrane)
ไทลาคอยด์ (thylakoid)
โครโมพลาสต ทําหนาทีส่ งั เคราะหและ
ลักษณะเป็นถุงแบน ๆ สะสมสารสี เชน แคโรทีนอยด แซนโทฟลล
สโตรมา (stroma) มีเยื่อหุ้ม มีสารสีที่ใช้ใน
ของเหลวที่อยู่รอบ ๆ ซึง่ ทําใหสว นตางๆ ของพืชมีสสี นั ตางกัน
กระบวนการสังเคราะห์
ไทลาคอยด์ ด้วยแสง ลิวโคพลาสต ไมมสี ี ทําหนาทีเ่ ก็บสะสม
ภาพที่ 3.21 คลอโรพาสต์ท�าหน้าที่สร้างอาหารให้แก่เซลล์ แปงทีไ่ ดจากกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง
2) โครโมพลำสต์ (chromoplast) เป็นพลาสติดที่ท�าหน้าที่สังเคราะห์และสะสมสารสี พบในเซลลรากทีม่ กี ารสะสมอาหาร เชน มัน
เช่น แคโรทีนอยด์ จะให้สสี ม้ และแดง แซนโทฟิลล์ (xanthophyll) จะให้สเี หลืองน�า้ ตาล ซึง่ ท�าให้ราก เผือก แหว)
ใบ ดอก ผลของพืชมีสีสันต่าง ๆ โดยโครโมพลาสต์พบมากในผลไม้สุก เช่น มะละกอ มะเขือเทศ ï• จงอธิบายโครงสรางของคลอโรพลาสต
กลีบดอกของดอกไม้ เป็นต้น (แนวตอบ ภายในคลอโรพลาสตมีลักษณะ
3) ลิวโคพลำสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี มีหน้าที่สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการ คลายถุงแบนๆ เรียกวา ไทลาคอยด ซึ่ง
สังเคราะห์ด้วยแสง พบในเซลล์ของรากพืชที่มีการสะสมอาหาร เช่น มัน เผือก แห้ว หัวไชเท้า ไทลาคอยดเรียงซอนกันเปนตั้งๆ เรียกวา
ถั่วงอก เป็นต้น กรานุม บริเวณรอบไทลาคอยดมีของเหลว
พลาสติดทุกชนิดพัฒนามาจากโปรโตพลาสติด (protoplastid) และสามารถเปลี่ยน เรียกวา สโตมา)
จากชนิดหนึ่งไปเป็นอีกชนิดหนึ่งได้
เซลล์ 91
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิ ดแนวน O-NET


ขอสอบเน การคิด สื่อ Digital
ออรแกเนลลใดมีเอนไซมที่เกี่ยวของกับการสรางสารอินทรีย ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก QR Code เรื่อง คลอโรพลาสต
โมเลกุลใหญที่สิ่งมีชีวิตตองการใชเปนแหลงพลังงาน
1. ไรโบโซม
2. ไลโซโซม
3. คลอโรพลาสต คลอโรพลาสต
www.aksorn.com/interactive3D/RKA3G
4. ไมโทคอนเดรีย
5. กอลจิคอมเพล็กซ
(วิเคราะหคําตอบ คลอโรพลาสตมีหนาที่สําคัญในกระบวนการ
สั ง เคราะห ด  ว ยแสง ซึ่ ง ภายในจะมี เ อนไซม เ พื่ อ ตรึ ง แก ส
คารบอนไดออกไซดใหเปนกลูโคส ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T103
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
10. ให้นกั เรียนกลุม่ ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง เซนทริโอล ออกมา 8. เซนทริโอล (centriole) มีลักษณะคล้ายกับท่อทรง
อธิบายให้เพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งค�าถามเพื่อ กระบอก 2 อัน วางตั้งฉากกัน แต่ละอันประกอบด้วยชุดของ
ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนทัง้ ห้อง เช่น ไมโครทิวบูล (microtubule) ซึ่งเป็นหลอดเล็ก ๆ 9 ชุด แต่ละชุด
ï•ï เซนทริโอลมีลักษณะอยางไร มี 3 ท่อ พบในเซลล์ยแู คริโอต ยกเว้นในพวกเชือ้ ราและพืชชัน้ สูง
(แนวตอบ ลักษณะคลายทอทรงกระบอก 2 อัน เซนทริโอลอยู่ในไซโทพลาซึมในบริเวณที่เรียกว่า
วางตัง้ ฉากกัน ทอแตละอันประกอบดวยชุด เซนโทรโซม (centrosome) ซึง่ จะเพิม่ ปริมาณเป็น 2 ชุด ก่อนการ
ของไมโครทูบลู 9 ชุด แตละชุดมี 3 ทอ) แบ่งเซลล์ และเคลือ่ นทีไ่ ปอยูต่ รงข้ามกัน โดยเซนทริโอลแต่ละอัน
ï•ï เซนทริโอลมีความสําคัญตอเซลลอยางไร เป็นต้นก�าเนิดของกลุม่ ไมโครทิวบูลปริมาณมาก เรียกว่า เส้นใย
ภาพที่ 3.22 เซนทริโอลท�าหน้าที่ สปินเดิล ซึ่งท�าหน้าที่แยกโครมาทิดออกจากกันในระหว่างการ
(แนวตอบ เซนทริโอลทําหนาที่สรางเสนใย เกีย่ วข้องกับการเเบ่งเซลล์ในเซลล์
สปนเดิล ซึง่ จะแยกโครมทิดออกจากกันใน สัตว์และโพรทิสต์บางชนิด แบ่งเซลล์
ระหวางการแบงเซลล) 9. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) มีลกั ษณะเป็นเส้นใยโปรตีนทีเ่ ชือ่ มโยงกันเป็นร่างแห
ท�าหน้าที่ค�้าจุนเซลล์ ซึ่งเปรียบได้ว่าเป็นโครงกระดูกของเซลล์ โดยเป็นที่ยึดเกาะของออร์แกเนลล์
ให้คงอยู่ในต�าแหน่งต่าง ๆ และยังท�าหน้าที่ล�าเลียงออร์แกเนลล์ให้เคลื่อนที่ภายในเซลล์ ที่เรียกว่า
ไซโคลซิส (cyclosis)

เยื้อหุ้มเซลล์

ไรโบโซม

ร่างแหเอนโดพลาซึม

ไมโครฟิลาเมนท์ ไมโครทิวบูล อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์


ภาพที่ 3.23 ไซโทสเกเลตอนแต่ละประเภท

92

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับไซโคลซิสในเซลล์พืชว่า สามารถสังเกตการไหล ขอใดมีความสัมพันธกัน
ของไซโทพลาซึมได้จากการเคลือ่ นทีข่ องคลอโรพลาสต์ ซึง่ การไหลไซโทพลาซึม 1. ไรโบโซม - ขนส่งสาร
สังเกตได้อย่างชัดเจนในใบอ่อน เนื่องจากมีกระบวนการเมแทบอลิซึมสูงกว่า 2. เซนทริโอล - การแบ่งเซลล์
กิจกรรมต่างๆ เช่น การสังเคราะห์สาร การล�าเลียงสารมากกว่าในใบแก่ ส่วน 3. ร่างแหเอนโดพลาซึม - ล�าเลียงสาร
ในใบแก่อาจสังเกตเห็นการไหลของไซโทพลาซึมได้บ้าง แต่ช้ากว่าในใบอ่อน 4. ไมโทคอนเดรีย - สังเคราะห์โปรตีน
และเสนอแนะอีกว่าการศึกษาไซโคลซิสมักศึกษาจากใบสาหร่ายหางกระรอก 5. กอลจิคอมเพล็กซ์ - สร้างสารพลังงาน
(วิเคราะหคาํ ตอบ ไรโบโซมเกีย่ วของกับการสรางโปรตีน เซนทริโอล
สรางเสนใยสปนเดิลในการแบงเซลล รางแหเอนโดพลาซึมทํา
หนาที่สังเคราะหสารหลายชนิด ไมโทคอนเดรียเปนแหลงสราง
พลังงานของเซลล และกอลจิคอมเพล็กซบรรจุและขนสงสาร
ภายในและภายนอกเซลล ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T104
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
ไซโทสเกเลตอนแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ตามชนิดของหน่วยย่อยทีเ่ ป็นองค์ประกอบ ดังนี้ 11. ให้นักเรียนกลุ่มที่ศึกษาเรื่อง ไซโทสเกเลตอน
1) ไมโครฟิลำเมนท์ (microfilament) เป็นเส้นใยโปรตีนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ออกมาอธิ บ ายให้ เ พื่ อ นฟ ง จากนั้ น ครู
ประมาณ 7 นาโนเมตร เกิดจากโปรตีนแอกทิน (actin) ต่อกันเป็นสาย 2 สาย พันและบิดตัว ตั้ ง ค� า ถามเพื่ อ ตรวจสอบความเข้ า ใจของ
เป็นเกลียวคล้ายกับสายสร้อยไข่มุก จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า แอกทินฟิลำเมนท์ (actin นักเรียนทั้งห้อง เช่น
filament) ซึ่งท�าหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์ เช่น อะมีบา (amoeboid movement) ï•ï ไซโทสเกเลตอนมีลักษณะอยางไร
เซลล์เม็ดเลือดขาวซึ่งกินแบคทีเรียแบบฟาโกไซโทซิส เป็นต้น นอกจากนี้ยังท�าหน้าที่ค�้าจุน (แนวตอบ ลักษณะเปนเสนใยโปรตีนที่เชื่อม
โครงสร้างของเซลล์ โดยพบได้ในไมโครวิลไล ( microvilli) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเซลล์เยื่อบุผิว โยงกันเปนรางแห)
ในล�าไส้เล็ก และช่วยในการแบ่งไซโทพลาสซึมในกระบวนการแบ่งเซลล์ ï•ï ไซโทสเกเลตอนมี ค วามสํ า คั ญ ต อ เซลล
2) ไมโครทิวบูล (microtubule) เกิดจากโปรตีนทิวบูลิน (tubulin) เรียงต่อกันเป็นสาย อยางไร
มีลกั ษณะเป็นท่อกลวง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 25 นาโนเมตร เป็นโครงสร้างของเส้นใย (แนวตอบ ไซโทสเกเลตอนทําหนาที่คํ้าจุน
สปินเดิล เป็นส่วนประกอบของขนเซลล์ แส้เซลล์ นอกจากนี้ยังท�าหน้าที่ล�าเลียงออร์แกเนลล์ เซลล เปนที่ยึดเกาะของออรแกเนลล และ
ภายในเซลล์ด้วย ลําเลียงออรแกเนลลใหเคลือ่ นทีภ่ ายในเซลล)
3) อินเทอร์มเี ดียทฟิลำเมนท์ (intermediate filaments) เป็นเส้นใยทีป่ ระกอบด้วยโปรตีนที่
มีลกั ษณะเป็นเส้นหลายหน่วย ซึง่ เรียงตัวเป็นสายยาว 8 ชุด ชุดละ 4 สาย พันบิดกันเป็นเกลียว มีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 81-10 นาโนเมตร จัดเรียงตัวเป็นร่างแหตามลักษณะรูปร่างของเซลล์
ตัวอย่างเช่น โปรตีนเคอราทิน (keratin) ที่พบมากในผม ขน และเล็บของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม
ไซโทสเกเลตอนที่พบในบางเซลล์จะมีีการเรียงตัวเป็นระเบียบ คงรูปเป็นเส้นหรือท่อ
ตลอดเวลา เช่น ไมโครฟิลาเมนท์ในเซลล์กล้ามเนื้อโครงร่าง ไมโครทิวบูลที่เป็นแกนซิเลียและ
แฟลกเจลลัม แต่ไซโทสเกเลตอนในเซลล์ทวั่ ไป พบว่าไมโครฟิลาเมนท์และไมโครทิวบูลจะเรียงตัว
ไม่เป็นระเบียบ อีกทั้งยังมีการสลายและสร้างใหม่ได้ตลอดเวลา

B iology
Focus ไซโทซอล
ไซโทซอล (cytosol) เป็นส่วนของของเหลวในไซโทพลาซึม
ที่ไม่รวมออร์แกเนลล์ หรือน�าออร์แกเนลล์ออกไปแล้ว มีลักษณะ
กึ่งแข็งกึ่งเหลว มีอยู่ประมาณร้อยละ 50 - 60 ของปริมาตรเซลล์
ทั้งหมด และเซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโทซอลเป็น 3 เท่า
ของปริมาตรนิวเคลียส
ภาพที่ 3.24

เซลล์ 93
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


จงอธิบายความแตกตางของไซโทสเกเลตอนแตละประเภท 1 เคอราทิน เป็นส่วนประกอบส�าคัญของเส้นผม หากน�าเส้นผมมาศึกษาด้วย
(วิเคราะหคําตอบ กล้องจุลทรรศน์ จะพบการเรียงตัวของเคอราทินซ้อนกันคล้ายเกล็ดปลา หากมี
ไมโครฟลาเมนท เกิดจากโปรตีนแอกทินตอกันเปนสาย 2 สาย การเรียงตัวทีผ่ ดิ ปกติ จะส่งผลให้เส้นผมเสีย ขายง่าย หรือแข็งตัว เพราะเคราทิน
พันและบิดตัวเปนเกลียว ทําหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล มีหน้าที่หลัก คือ ควบคุมสารต่างๆ ที่เข้าสู่เซลล์ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์บ�ารุงผม
เปนสวนหนึ่งของเซลลเยื่อบุผิวผนังลําไส หลายชนิดทั้งแชมพูและครีมนวดผมจึงมีการผสมเคอราทินด้วย และวิธีที่ท�าให้
เคราทินเข้าสูเ่ ส้นผมได้ดี นัน้ คือการเปดเกล็ดผมด้วยความร้อน เช่น การอบไอน�า้
ไมโครทิวบูล เกิดจากโปรตีนทิวบูลนิ ตอกันเปนสาย ลักษณะเปน
ทอกลวง เปนโครงสรางของเสนใยสปนเดิล เปนสวนประกอบของ
ขนเซลล และลําเลียงออรแกเนลลภายในเซลล
อินเตอรมีเดียทฟลาเมนท ประกอบดวยโปรตีนที่มีลักษณะเปน
เสนหลายหนวย จัดเรียงตัวเปนรางแหตามลักษณะรูปรางของ
เซลล)

T105
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
12. ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่อง นิวเคลียส ออก 2.3 นิวเคลียส
มาอธิบายใหเพื่อนฟง จากนั้นครูตั้งคําถาม นิวเคลียส (nucleus) มีลักษณะเป็นทรงกลมอยู่บริเวณกลางเซลล์ หรือค่อนไปทางข้างใด
เพือ่ ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนทัง้ หอง ข้างหนึ่งของเซลล์ เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ โดยทั่วไปแล้วเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส แต่บางเซลล์
เชน อาจมีหลายนิวเคลียส เช่น เซลล์พารามีเซียมจะมี 2 นิวเคลียส เซลล์กล้ามเนื้อลาย เซลล์ของ
ï•ï นิวเคลียสมีความสําคัญตอเซลลอยางไร เวสเซลในพืชและเซลล์ราทีเ่ ส้นใยไม่มผี นังกัน้ จะมีหลายนิวเคลียส เป็นต้น นอกจากนีย้ งั พบว่า เซลล์
( แนวตอบ นิ ว เคลี ย สเป น ที่ อ ยู  ข องสาร เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม และเซลล์ซีฟทิวปของโฟลเอ็มที่แก่เต็มที่แล้วจะไม่มี
พันธุกรรม ซึง่ มีหนาทีค่ วบคุมการแบงเซลล นิวเคลียส
และกระบวนการเมแทบอลิซมึ ของเซลล) นิวเคลียสเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการแบ่งเซลล์และกระบวนการ
เมแทบอลิซึมของเซลล์ โดยโครงสร้างของนิวเคลียสประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ขยายความเขาใจ 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane / nuclear envelope) เป็นเยื่อบาง ๆ
ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหนาทีอ่ อรแกเนลล 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน ประกอบด้วยสารพวกลิพิดและโปรตีน บริเวณโดยรอบของเยื่อหุ้มนิวเคลียส
แตละขนิด โดยครูอาจใชขอความตางๆ เพื่อให มีช่องเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไป เรียกว่า นิวเคลียร์พอร์ (nuclear pore) หรือ แอนนูลัส (annulus)
นักเรียนรวมกันระบุวา ขอความนั้นเกี่ยวของกับ
ออรแกเนลลใด ดังนี้
- ถุงบรรจุอาหาร (ฟูดแวคิวโอล)
- แหลงสารพันธุกรรม (นิวเคลียส)
- แหลงสังเคราะหโปรตีน (ไรโบโซม)
- ผลิตอาหารใหแกพชื (คลอโรพลาสต)
- แยกโครมาทิดออกจากกัน (เซนทริโอล) เซลล์เยื่อหอม
- คํา้ จุนรูปรางของเซลล (ไซโทสเกเลตอน)
นิวเคลียร์พอร์
- แหลงพลังงานของเซลล (ไมโทคอนเดรีย)
- รวบรวมและขนสงสาร (กอลจิคอมเพล็กซ) ภาพที่ 3.26 บริเวณโดยรอบของเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีช่องเล็ก ๆ กระจายอยู่
- ทําลายออรแกเนลล (ไลโซโซม)
H. O. T. S.
คําถามทาทายการคิดขั้นสูง
หากไม่มี
เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม นิวเคลียส
ภาพที่ 3.25 เมื่อย้อมเซลล์เพื่อ
กระบวนการ
แนวตอบ H.O.T.S. ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็น ต่าง ๆ ภายในเซลล์จะ
สามารถเกิดขึ้นได้ปกติ
ในเซลล ส  ว นใหญ หากไม มี นิ ว เคลี ย ส นิวเคลียสติดสีเข้มชัดเจน
หรือไม่ อย่างไร
กระบวนการตางๆ ภายในเซลลจะไมสามารถ 94
เกิดขึ้นได แตเซลลบางชนิดเมื่อโตเต็มที่จะไมมี
นิวเคลียส เชน เซลลเม็ดเลือดแดง

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับนิวเคลียส (ในทางชีววทิยา) กับนิวเคลียส (ในทางเคมี) หากไมมนี วิ เคลียส กระบวนการตางๆ ภายในเซลลจะสามารถ
ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง นิวเคลียส เกิดขึ้นไดปกติหรือไม อยางไร
https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/nucleus-biology-7165/ และ (วิเคราะหคําตอบ นิวเคลียสเปนศูนยควบคุมกิจกรรมตางๆ ของ
https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/nucleus-chemistry-6680/ เซลล เชน ปฏิกริ ยิ าในเซลล การรักษาดุลยภาพ การสังเคราะหสาร
เชน โปรตีน ลิพิด เปนตน ดังนั้น หากไมมีนิวเคลียส กระบวนการ
ภายในเซลลจะไมสามารถเกิดขึ้นได)

T106
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
2. นิวคลีโอพลำซึม (nucleoplasm) เป็นส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส มี 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ที่ศึกษามา
ลักษณะเป็นของเหลวข้น ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างต่าง ๆ ดังนี้ ทั้งหมดให้หัวข้อนี้ แล้วท�าผังมโนทัศน์ เรื่อง
1) นิวคลีโอลัส (nucleolus) เป็นบริเวณทีท่ บึ แสง เห็นได้อย่างชัดเจนเมือ่ ย้อมสีนวิ เคลียส โครงสร้างของเซลล์ทศี่ กึ ษาด้วยกล้องจุลทรรศน์
ประกอบด้วยโปรตีนและกรดนิวคลีอิกชนิด RNA เป็นส่วนใหญ่ พบเฉพาะเซลล์ยูแคริโอตเท่านั้น อิเล็กตรอน
แต่ในเซลล์อสุจิ เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เจริญเต็มที่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม และเซลล์ไฟเบอร์ 2. ให้แต่ละกลุม่ น�าเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน และ
ของกล้ามเนื้อจะไม่มีนิวคลีโอลัส ติดบอร์ดภายในห้องเรียนเพื่อใช้เป็นแหล่ง
นิวคลีโอลัสท�าหน้าที่สังเคราะห์อาร์อาร์เอ็นเอ ( rRNA) เพื่อประกอบเข้ากับ ทบทวนความรูข้ องเพือ่ นๆ
ไรโบโซมอลโปรตีน (ribosomal protein) ซึ่งไรโบโซมอลโปรตีนที่ประกอบเสร็จแล้วจะถูกน�าออก
จากนิวเคลียสทางนิวเคลียร์พอร์ เพื่อท�าหน้าที่สร้างโปรตีนต่อไป ดังนั้น นิวคลีโอลัสจึงมีความ ขัน้ ประเมิน
ส�าคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก ตรวจสอบผล
2) โครมำทิน (chromatin) เป็นเส้นใยของ DNA ที่พันอยู่รอบโปรตีนอย่างมีระเบียบ
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม
ในขณะทีม่ กี ารแบ่งเซลล์โครมาทินจะหดสัน้ ลงมีลกั ษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม (chromosome)
ซึ่งโครโมโซมมีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทาง การร่วมกันท�างาน และการน�าเสนอผลงาน
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต 2. ครูตรวจผังมโนทัศน์ เรือ่ ง โครงสร้างของเซลล์
เส้นใยโครมาทินจะติดสีย้อมต่างกัน โดยส่วนที่ติดสีย้อมเข้มมาก เรียกว่า เฮเทอโร- ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
โครมาทิน (heterochromatin) ซึ่งเป็นส่วนของโครมาทินที่อัดกันแน่นมาก เป็นบริเวณที่มียีน 3. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบฝกหัด
น้อยมาก หรือเป็นยีนที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว ส่วนที่ติดสีย้อมจาง ๆ หรือไม่ติดสีเรียกว่า ยูโครมาทิน
(euchromatin) เป็นบริเวณที่โครมาทินคลายตัวออก ซึ่งมักอยู่ในช่วงของการจ�าลองตัวเอง หรือ
แปรรหัส

นิวคลีโอลัส นิวเคลียส
โครมาทิน

เยื่อหุ้มชั้นใน
เยื่อหุ้มชั้นนอก ร่างแหเอนโดพลาซึม

นิวเคลียร์พอร์

ภาพที่ 3.27 ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีลักษณะเป็นของเหลวข้น ประกอบด้วยนิวคลีโอลัสและโครมาทิน

เซลล์ 95
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


เซลลที่มีดีเอ็นเอ ไรโบโซม เยื่อหุมเซลล และไมโทคอนเดรีย ครูวัดและประเมินความเข้าใจของนักเรียน เรื่อง โครงสร้างของเซลล์ที่
เปนเซลลของสิ่งมีชีวิตในขอใด ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน ด้วยการตรวจผังมโนทัศน์ เรือ่ ง โครงสร้าง
1. จุลินทรีย์ ของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน โดยศึกษาเกณฑ์การวัดและ
2. แบคทีเรีย ประเมินผลจากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีอ่ ยูใ่ นแผนการจัดการ
3. พืชเท่านั้น เรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
4. สัตว์เท่านั้น แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

5. อาจเป็นไปได้ทั้งพืชและสัตว์ แบบประเมินผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน

(วิเคราะหคาํ ตอบ ดีเอ็นเอ ไรโบโซม เยือ่ หุม เซลล และไมโทคอนเดรีย


4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์

เปนออรแกเนลลที่พบในเซลลยูแคริโอตทั้งพืชและสัตว ดังนั้น
4 ความตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................

ตอบขอ 5.) ประเด็นที่


ประเมิน
1. ความ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์

3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์
2. ความถูกต้อง เนือ้ หาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี

T107
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
1. ครูตั้งค�าถามที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันเพื่อ โครงสร า งใดของเซลล ที่ 3. การล�าเลียงสารผ่านเซลล์
กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ตัวอย่างเช่น เกีย่ วกับการลําเลียงสารเขา การล� า เลี ย งสารเข้ า และออกจากเซลล์ มี ค วามส� า คั ญ
ï• เพราะเหตุใดจึงต้องแช่ดอกไม้ในแจกันที่มี และออกจากเซลล
ต่อเซลล์เป็นอย่างมาก เนือ่ งจากเซลล์ทมี่ ชี วี ติ ต้องการสารอาหาร
น�้าอยู่ เพื่อผลิตเป็นพลังงานส�าหรับใช้ในเซลล์ และในขณะเดียวกัน
ï• เพราะเหตุใดแม้คา้ ผักสดจึงมักพรมน�า้ ลงบน ก็ตอ้ งมีการขับของเสียออกจากเซลล์ สารต่าง ๆ เหล่านีส้ ามารถผ่านเข้าและออกจากเซลล์โดยผ่าน
ผักและใช้ผ้าคลุมไว้ เยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งเป็นเยื่อเลือกผ่านที่ยอมให้น�้าและสารขนาดเล็กบางชนิดผ่านเข้าออกจากเซลล์ได้
2. ครูกล่าวน�าเข้าสูก่ จิ กรรม เรือ่ ง การล�าเลียงสาร ส่วนสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ จะใช้กลไกพิเศษบางอย่างในการน�าสารเข้าและออกจากเซลล์
ผ่านเซลล์พืช ซึ่งเป็นกิจกรรมน�าเข้าสู่บทเรียน
แล้วให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1 การล�าเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
1) หยดน�้าลงบนสไลด์ 1 หยด ลอกเยื่อด้านใน สารที่สามารถล�าเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้นั้น มีทั้งสารที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแกส
ของกลีบหอมแดงวางลงบนสไลด์ ซึ่งมีวิธีการล�าเลียงที่แตกต่างกัน 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การล�าเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน (การแพร่
2) ปดด้วยกระจกปดสไลด์ แล้วน�าไปศึกษา แบบธรรมดา การออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต) และการล�าเลียงแบบใช้พลังงานหรือ
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ บันทึกลักษณะของ แอกทีฟทรานสปอร์ต
เซลล์
3) น� า สไลด์ เ ดิ ม มาหยดสารละลายกลู โ คส
ความเข้มข้น 10% ลงไปบริเวณขอบของ
กระจกปดสไลด์ด้านใดด้านหนึ่ง ในขณะ
เดี ย วกั น ใช้ ก ระดาษเยื่ อ แตะบริ เ วณขอบ
อี ก ด้ า นหนึ่ ง ของกระจกป ด สไลด์ เ พื่ อ ให้ ภายนอกเซลล์
สารละลายกลูโคสไหลเข้าไปแทนที่น�้าใน
สไลด์ เยื่อหุ้มเซลล์
4) น�าสไลด์ไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ภายในเซลล์
บันทึกลักษณะของเซลล์
ATP

การแพร่แบบธรรมดา การแพร่แบบฟาซิลิเทต การล�าเลียงแบบใช้พลังงาน

ภาพที่ 3.28 การล�าเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ด้วยวิธีการต่าง ๆ


96
แนวตอบ Prior Knowledge
เยื่อหุมเซลล

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแพร่ ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง เยื่อหุมเซลลมีบทบาทในการรักษาดุลยภาพนํ้าและแรธาตุของ
การแพร่ https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/diffusion-6658/ เซลลอยางไร
(วิเคราะหคําตอบ เยื่อหุมเซลลมีคุณสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน
มีหนาที่ควบคุมปริมาณสารตางๆ ที่ผานเขา-ออกจากเซลล โดย
ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมรอบๆ เซลล วามีสารตางๆ อยูปริมาณ
มากนอยเพียงใด ซึ่งการทํางานของเยื่อหุมเซลลนี้ ทําใหนํ้าและ
แรธาตุภายในเซลลอยูในสภาวะสมดุล)

T108
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. กำรแพร แ บบธรรมดำ (diffusion ) เป็ น การ 1. ครูน�าเข้าสู่เรื่อง การแพร่ โดยอ้างถึงผลจาก
เคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไป การท�ากิจกรรม เรื่อง การล�าเลียงสารผ่าน
ยังบริเวณที่มีความเข้1มข้นต�่า ซึ่งการเคลื่อนที่ของอนุภาคนั้น เซลล์ พื ช ที่ เ ซลล์ มี ลั ก ษณะเปลี่ ย นแปลงไป
เกิดจากพลังงานจลน์ (kinetic energy) ในอนุภาค ท�าให้อนุภาค เนือ่ งมาจากมีการล�าเลียงสารเข้าและออกจาก
เคลือ่ นทีช่ นกันโดยบังเอิญและกระจายไปทุกทิศทุกทาง จนท�าให้ เซลล์ จากนัน้ ตัง้ ค�าถามเพือ่ ให้นกั เรียนร่วมกัน
ทุกบริเวณมีความเข้มข้นของอนุภาคเท่ากัน เรียกว่า ภำวะสมดุล วิเคราะห์ว่า เซลล์มีการล�าเลียงสารเข้าและ
ของกำรแพร (diffusion equilibrium) ออกจากเซลล์อย่างไรบ้าง
สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ละลายในไขมันได้ดี และ 2. ครูเตรียมเกล็ดด่างทับทิมเพือ่ ให้นกั เรียนใส่ลง
ไม่มีขั้ว จะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์โดยกระบวนการแพร่ได้ดี และมี ในบีกเกอร์ที่มีน�้าอยู่ แล้วสังเกตการแพร่ของ
อัตราการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดีด้วย ด่างทับทิม จากนั้นครูตั้งค�าถามให้นักเรียน
1) กำรแพรของสำรที่พบในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ร่วมกันตอบ เช่น
• การแพร่ของเกลือในน�้า เมื่อใส่เกลือลงในน�้า ï• การแพรของสาร โมเลกุลสารมีทิศทางการ
เม็ดเกลือจะจมอยูท่ กี่ น้ ภาชนะ ซึง่ ต่อมาเม็ดเกลือจะค่อย ๆ ละลาย
เคลื่อนที่อยางไร
และมีขนาดเล็กลง โดยในช่วงแรกหากลองชิมน�้าที่อยู่บริเวณ
(แนวตอบ โมเลกุลของสารจะเคลื่อนที่จาก
ด้านบนของภาชนะ จะไม่มรี สเค็ม ส่วนน�า้ บริเวณด้านล่างภาชนะ
จะมีรสเค็ม ต่อมาเมื่อเกลือละลายมากขึ้น น�้าบริเวณด้านบน บริเวณที่มีความเขมขนสูงไปยังบริเวณที่มี
จะเริ่มมีรสเค็มขึ้น และถ้าปล่อยให้เกลือละลายจนหมด แล้วทิ้ง ความเขมขนตํา่ จนกระทัง่ ทุกบริเวณมีความ
ไว้สักครู่ น�้าในภาชนะนั้นจะมีรสเค็มเท่ากันทุกส่วน เป็นเช่นนี้ ภาพที่ 3.29 การแพร่เป็น
เขมขนของสารเทากัน)
เนือ่ งจากไอออนของเกลือ คือ โซเดียมไอออน (Na+) และคลอไรด์- การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสาร ï• สารที่จะเกิดการแพรนั้นอยูในสถานะใด
จากบริเวณที่มีความเข้มข้นมาก (แนวตอบ ของแข็ง ของเหลว และแกส)
ไอออน (Cl-) จากก้นภาชนะจะแพร่ขนึ้ สูด่ า้ นบน ท�าให้ทงั้ ภาชนะ ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย
มีอนุภาคของเกลือเท่ากัน
Biology
• การแพร่ของน�้าหอมในอากาศ เมื่อเปิดขวด in real life
น�้าหอมแล้ววางไว้ในห้องที่ปิดสนิท หากเรายืนอยู่ห่างจากขวด การแพร่ที่พบใน
น�้าหอมในช่วงแรกจะไม่ได้กลิ่นน�้าหอมเลย แต่เมื่อเวลาผ่าน ชีวิตประจ�าวัน ตัวอย่างเช่น
ไประยะหนึ่ง จะได้กลิ่นน�้าหอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ และเมื่อวาง - การแพร่ของสารฆ่าแมลง
- การแพร่ของกลิ่นอาหาร
น�้าหอมไว้สักระยะหนึ่ง จะพบว่า ไม่ว่าจะยืนอยู่ที่จุดใดของห้อง - การใช้ลูกเหม็นในตู้เสื้อผ้า
ก็จะได้กลิ่นน�้าหอมเท่ากันทุกจุด ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากโมเลกุล - การเติมน�้าตาลลงในถ้วย
ของน�า้ หอมเคลือ่ นทีจ่ ากขวดน�า้ หอมทีเ่ ปิดฝาไปยังบริเวณต่าง ๆ กาแฟ
ของห้อง ซึง่ มีความเข้มข้นของโมเลกุลน�า้ หอมน้อยกว่า จนท�าให้ - การแพร่ของควันจาก
ท่อไอเสียรถยนต์
ทุกบริเวณของห้องมีความหนาแน่นของโมเลกุลน�้าหอมเท่ากัน
เซลล์ 97
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง 1 พลังงานจลน คือ พลังงานที่เกิดขึ้นในขณะที่วัตถุก�าลังเคลื่อนที่ เช่น
1. การออสโมซิสเป็นการแพร่อย่างหนึ่ง รถยนต์ก�าลังแล่น เครื่องบินก�าลังบิน พัดลมก�าลังหมุน น�้าก�าลังไหล ธนูที่พุ่ง
2. การแพร่เกิดขึ้นในตัวกลางที่เป็นแกสเท่านั้น ออกจากคันศร เป็นต้น วัตถุที่ก�าลังเคลื่อนที่ล้วนมีพลังงานจลน์ทั้งสิ้น ปริมาณ
3. การแพร่เป็นการล�าเลียงสารแบบใช้พลังงาน พลังงานจลน์ในวัตถุจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับมวลและความเร็วของวัตถุนั้น
4. การแพร่ไม่เกิดขึ้นในตัวกลางที่เป็นของเหลว โดยถ้าวัตถุมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงจะมีพลังงานจลน์มาก แต่ถ้าเคลื่อนที่
5. สารต่างๆ จะผ่านเข้า-ออก โดยวิธีการแพร่เท่านั้น ด้วยความเร็วเท่ากัน วัตถุที่มีมวลมากกว่าจะมีพลังงานจลน์มากกว่า
(วิเคราะหคําตอบ การแพรเปนกระบวนการเคลื่อนที่ของโมเลกุล
สารจากบริเวณที่สารมีความเขมขนสูง ไปยังบริเวณที่สารมีความ
เขมขนตํ่า โดยผานตัวกลางที่อาจเปนแกสหรือของเหลว สวน
การออสโมซิสก็คือการแพรของโมเลกุลนํ้านั้นเอง ซึ่งทั้งการแพร
และการออสโมซิสเปนกระบวนการในการนําสารเขาและออกจาก
เซลล ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T109
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให้นกั เรียนร่วมกันค้นคว้าเพิม่ เติมเกีย่ วกับการ 2) ปจจัยที่มีผลตออัตรำกำรแพร มีดังนี้
แพร่ แล้วสรุปความรู้ โดยมีแนวทางการสรุป
ดังนี้ 1. ความเข้มข้นของสาร 2. อุณหภูมิ

ï• การแพร่เป็นการเคลือ่ นทีข่ องสารจากบริเวณ หากทั้ง 2 บริเวณมีความเข้มข้น ในขณะที่อุณหภูมิสูง อนุภาคของ


ของสารแตกต่างกันมาก จะท�าให้ สารจะมี พ ลั ง งานจลน์ ม ากขึ้ น
ที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความ เกิดการแพร่ได้เร็วขึ้น เนื่องจาก ท�าให้อนุภาคเคลื่อนที่ได้เร็วกว่า
เข้มข้นต�่า บริ เ วณที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น มาก เมือ่ อุณหภูมติ า�่ ดังนัน้ การแพร่จงึ
• สารที่สามารถเกิดการแพร่ได้นั้นอาจอยู่ใน อนุภาคของสารจะมีโอกาสชนกัน เกิดขึ้นได้เร็วในขณะที่อุณหภูมิสูง
มาก อนุภาคจึงกระจายไปบริเวณ
สถานะของแข็ง ของเหลว หรือแกส ที่มีความเข้มข้นน้อยได้เร็ว
ï• การแพร่ไม่จา� เป็นต้องผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์เสมอ
3. ความดัน 4. ขนาดอนุภาคของสาร
ï• ปจจัยทีม่ ผี ลต่อการแพร่ ได้แก่ ความเข้มข้น การเพิ่ ม ความดั น นั้ น นั บ ได้ ว ่ า สารที่มีขนาดเล็กจะเกิดการแพร่
ของสาร อุ ณ หภู มิ ความดั น และขนาด เป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่ ได้ เ ร็ ว กว่ า สารที่ มี ข นาดใหญ่
อนุภาคของสาร โมเลกุลของสาร จึงมีผลท�าให้เกิด เนื่ อ งจากอนุ ภ าคสารสามารถ
ï• เมื่ อ สารทุ ก บริ เ วณมี ค วามเข้ ม ข้ น เท่ า กั น การแพร่ของสารได้เร็วขึ้นด้วย แทรกไประหว่างอนุภาคของสาร
ตัวกลางได้ดี
เรียกว่า ภาวะสมดุลของการแพร่ ซึง่ โมเลกุล ภาพที่ 3.30 ลักษณะการแพร่ของด่างทับทิมในน�้า
ของสารยั ง คงเคลื่ อ นที่ อ ยู ่ แต่ อั ต ราการ
เคลื่อนที่ในทุกบริเวณเท่ากัน B iology
Focus สารที่ลําเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
สารต่าง ๆ สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ในอัต1ราเร็วที่ต่างกัน โดยน�้าสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ได้ดีที่สุด รองมาเป็นแกสที่ละลายน�้าได้ สารอินทรีย์ สารที่มีประจุลบ และสารที่มีประจุบวกตามล�าดับ
โดยมีกลไกการผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ 3 แบบ ดังนี้
1. การแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยการละลายไปกับเยื่อหุ้มเซลล์ เนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์ประกอบ
ด้วยไขมันเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น สารที่ละลายในไขมันได้ จึงสามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ได้ดีกว่าสารที่ไม่ละลายในไขมัน
2. การแพร่ผ่านช่องว่างของเยื่อหุ้มเซลล์ โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์มีโปรตีนเป็นส่วนประกอบ
ซึ่งจะมีช่องว่างหรือรูแทรกอยู่ ดังนั้น สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น น�้าและสารที่ไม่ละลาย
ในไขมันจะแพร่ผ่านเข้าออกทางช่องนี้ได้ และเนื่องจากโปรตีนเป็นสารประจุบวก ดังนั้น สาร
ที่มีประจุลบจึงสามารถแพร่ผ่านเข้าออกทางช่องนี้ได้ดีกว่าสารประจุบวก
3. การแพร่โดยมีตวั ช่วยหรือการแพร่แบบฟาซิลเิ ทต (facilitate diffusion) เป็นการล�าเลียงสาร
ที่มีขนาดใหญ่ พวกกรดอะมิโนหรือกลูโคสโมเลกุลเดี่ยว โดยสารดังกล่าวจะรวมตัวกับโปรตีน
ตัวพา (carrierprotein) ที่เป็นองค์ประกอบหนึ่งในโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์

98

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 สารอินทรีย (organic substance) เป็นสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและ ความเขมขนของสารมีผลตอกระบวนการแพรอยางไร
ธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก และยังมีธาตุอนื่ ๆ เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน 1. มีผลต่อเยื่อหุ้มเซลล์
ฟอสฟอรัส เป็นต้น เป็นองค์ประกอบร่วม ซึ่งโมเลกุลของสารอินทรีย์จะมีส่วนที่ 2. มีผลต่ออัตราการแพร่
เข้าท�าปฏิกิริยากับสารอื่น เรียกว่า หมู่ฟงก์ชัน (functional group) ตัวอย่าง 3. ไม่มีผลต่อกระบวนการแพร่
สารอินทรีย์ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด เป็นต้น 4. มีผลต่อปริมาณน�้าในการแพร่
ส่วนสารอนินทรีย์ (inorganic substance) เป็นสารประกอบที่ไม่มีธาตุ 5. มีผลต่อการเคลื่อนที่ของน�้าในการแพร่
คาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ ซึ่งสารอนินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบในเซลล์ของ (วิเคราะหคําตอบ ความเขมขนของสารจะมีผลตออัตราการแพร
สิ่งมีชีวิตนั้น บางอย่างมีปริมาณมาก บางอย่างมีปริมาณน้อย แต่สารเหล่านี้ โดยหากความเขมขนของสาร 2 บริเวณแตกตางกันมาก จะทําให
ล้วนแต่มีความส�าคัญต่อการท�าางานของระบบต่างๆ ในร่างกายสิ่งมีชีวิต เช่น การแพรเกิดขึ้นไดเร็ว ดังนั้น ตอบขอ 2.)
น�้า แร่ธาตุ เป็นต้น

T110
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
2. ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของโมเลกุลน�้าจากบริเวณที่มีน�้ามาก (ความเข้ม 1. ครูน�าเข้าสู่เรื่อง ออสโมซิส โดยอ้างถึงผลจาก
ข้นของสารต�่า) ไปบริเวณที่มีน�้าน้อยกว่า (ความเข้มข้นของสารสูง) โดยผ่านเยื่อบาง ๆ ที่เรียกว่า การท�ากิจกรรม เรือ่ ง การล�าเลียงสารผ่านเซลล์
เยื่อเลือกผ่าน พืช ที่เซลล์มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปเนื่องมา
จากการศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์กับความเข้มข้นของ จากมีการล�าเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
สารละลายภายนอกเซลล์ โดยการน�าเซลล์เม็ดเลือดแดงใส่ลงในสารละลายทีม่ คี วามเข้มข้นต่างกัน หรือเปดภาพยนตร์สารคดีสั้น TWIG เรื่อง
แล้วสังเกตลักษณะเซลล์เม็ดเลือดแดง ท�าให้สามารถจ�าแนกสารละลายออกเป็น 3 แบบ ดังนี้ ออสโมซิ ส https://www.twig-aksorn.
1) สำรละลำยไอโซโทนิก (isotonic solution) หมายถึง com/fifilm/glossary/osmosis-6767/ จากนั้น
สารละลายภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นเท่ากับสารละลาย ตั้งค�าถามให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ว่า
ภายในเซลล์ ดังนั้น เมื่อใส่เซลล์เม็ดเลือดแดงลงในสารละลาย ï• หากเซลลอยูใ นสภาวะทีส่ ารละลายภายนอก
ชนิดนี้ เซลล์จะไม่เปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่าง เนื่องจากน�้า เซลล มี ค วามเข ม ข น ตํ่ า กว า ภายในเซลล
ภายนอกเซลล์ และน�้าจากภายในเซลล์จะออสโมซิสเข้าและ เซลลพชื และเซลลสตั วจะมีการเปลีย่ นแปลง
ออกจากเซลล์ในอัตราที่เท่ากัน สารละลายที่เป็นไอโซโทนิกกับ เหมือนกันหรือไม อยางไร
เซลล์เม็ดเลือดแดง ได้แก่ น�้าเกลือ 0.85% สารละลายไอโซโทนิก (แนวตอบ ทั้งเซลลพืชและเซลลสัตวจะเตง
2) สำรละลำยไฮเพอร์โทนิก (hypertonic solution) มากขึ้น เนื่องจากนํ้าออสโมซิสเขาสูเซลล
หมายถึง สารละลายภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นมากกว่า แตเซลลพืชยังคงรูปรางอยูได เนื่องจากมี
สารละลายภายในเซลล์ ดังนั้น เมื่อใส่เซลล์เม็ดเลือดแดงลง ผนังเซลล สวนเซลลสัตวอาจแตกได)
ในสารละลายชนิดนี้ เซลล์จะเหี่ยว เนื่องจากน�้าภายในเซลล์ 2. ให้นักเรียนศึกษาภาพเซลล์เม็ดเลือดแดงใน
จะออสโมซิสออกจากเซลล์มากกว่าน�้าที่ออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ หนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 โดยที่ยัง
โดยการเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้หากเกิดในเซลล์พืช เรียกว่า ไม่อา่ นรายละเอียด
พลาสโมไลซิส (plasmolysis) และหากเกิดในเซลล์สัตว์ เรียกว่า สารละลายไฮเพอร์โทนิก
ครีเนชัน (crenation)
3) สำรละลำยไฮโพโทนิก (hypotonic solution)
หมายถึง สารละลายภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า
สารละลายภายในเซลล์ ดังนั้น เมื่อใส่เซลล์เม็ดเลือดแดง
ลงในสารละลายชนิดนี้ จะท�าให้เซลล์เต่งขึ้น เนื่องจากน�้า
ภายนอกเซลล์ออสโมซิสเข้าสู่เซลล์มากกว่าน�้าที่ออสโมซิส
ออกจากเซลล์ ซึ่งหากน�้าออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ปริมาณมาก สารละลายไฮโพโทนิก
เกินไปอาจส่งผลท�าให้เซลล์แตกได้ ภาพที่ 3.31 เมื่อน�าเซลล์เม็ดเลือดแดง
ใส่ลงในสารละลายที่มีความเข้มข้น
ต่างกัน เซลล์จะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ต่างกัน
เซลล์ 99
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เมื่อหยดนํ้าเกลือลงบนสไลดที่มีใบสาหรายหางกระรอกอยู ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลาสโมไลซิสที่เชื่อมโยงกับการปลูกพืชว่า
จะสังเกตเห็นการเปลีย่ นแปลงของเซลลคลายกับทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ หยด พลาสโมไลซิสก็คือ การออสโมซิสของน�้าผ่านผนังเซลล์พืชจากบริเวณที่มี
สารใดมากที่สุดและเกิดเร็วที่สุด สารละลายเข้มข้นต�า่ ไปยังบริเวณสารละลายเข้มข้นสูง ดังนัน้ เมือ่ ใส่ปยุ ทีม่ คี วาม
1. นมสด 2. น�้ากลั่น เข้มข้นมากเกินไป หรือใส่ปยุ แล้วไม่รดน�า้ ตาม หรือรดน�า้ แล้วแต่ปยุ ละลายไม่หมด
3. น�้าเชื่อม 4. น�้าปะปา หรือใส่ปุยชิดโคนต้นเกินไป น�้าก็จะออสโมซิสออกจากต้นพืช ท�าให้พืชเหี่ยวเฉา
5. แอลกอฮอล์
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อหยดนํ้าเกลือลงไปบนสไลดที่มีใบสาหราย
หางกระรอกอยูจะทําใหภายนอกเซลลมีความเขมขนของเกลือ สื่อ Digital
มากกวาภายในเซลล โมเลกุลของนํ้าภายในเซลลจะออสโมซิส ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับออสโมซิส ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง
ออกจากเซลลสงผลใหเซลลเหี่ยว ซึ่งเมื่อหยดนํ้าเชื่อมลงบนสไลด ออสโมซิส https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/diffusion-6658/
ก็จะเกิดเหตุการณลักษณะนี้เชนกัน ดังนั้น ตอบขอ 3.) และอาจใช้ Powerpoint ประกอบการสอน เรื่อง ลักษณะเซลล์เม็ดเลือดแดงใน
สารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกัน

T111
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตงั้ ค�าถามเกีย่ วกับภาพเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ แรงดันออสโมติก (osmotic pressure) คือ แรงดันที่จะต้านการเคลื่อนที่ของน�้าผ่าน
นักเรียนศึกษา เยื่อเลือกผ่าน ซึ่งแปรผันตามความเข้มข้นของสารละลาย โดยสรุปได้ ดังนี้
ï• เซลลเม็ดเลือดแดงทั้ง 3 ภาพ มีลักษณะ • น�้าบริสุทธิ์มีแรงดันออสโมติกต�่าสุด
อยางไร • สารละลายทีม่ คี วามเข้มข้นสูงจะมีแรงดันออสโมติกสูง สารละลายทีม่ คี วามเข้มข้นต�า่
(แนวตอบ ภาพแรก เซลลเปนปกติ ภาพทีส่ อง จะมีแรงดันออสโมติกต�่า
เซลลเหีย่ ว ภาพทีส่ าม เซลลเตงจนแตก) การออสโมซิสของน�า้ นัน้ จะเกิดจากบริเวณทีม่ แี รงดันออสโมติกต�า่ ไปยังบริเวณทีม่ แี รงดัน
ï• ในแตละภาพ นักเรียนคิดวาความเขมขน ออสโมติกสูง
ของสารละลายภายนอกเซลลเปนอยางไร ออสโมมิเตอร์ (osmometer) คือ เครือ่ งมือทีใ่ ช้แสดงการเกิดออสโมซิส และใช้วดั แรงดัน
( แนวตอบ ภาพแรก ความเข ม ข น ของ ที่เกิดจากการออสโมซิส มีส่วนประกอบที่ส�าคัญ ได้แก่ ภาชนะที่บรรจุน�้าบริสุทธิ์กับภาชนะที่มี
สารละลายภายนอกเทากับภายในเซลล ภาพ ลักษณะเป็นถุงซึ่งมีเยื่อบางๆ อยู่ ภายในถุงบรรจุสารละลายที่มีตัวท�าละลายเป็นน�้าบริสุทธิ์ เช่น
ทีส่ อง ความเขมขนของสารละลายภายนอก น�้าเกลือ 5% เมื่อน�าถุงดังกล่าวใส่ลงในภาชนะที่บรรจุน�้าบริสุทธิ์แล้วทิ้งไว้สักครู่ พบว่าระดับน�้า
มากกวาภายในเซลล ภาพทีส่ าม ความเขม ในภาชนะที่เป็นถุงนั้นเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งแสดงว่าเกิดการออสโมซิสของน�้า
ขนของสารละลายภายนอกนอยกวาภายใน
เซลล)
น�้าเกลือ 5%
2. ให้นักเรียนศึกษารายละเอียดของสารละลาย เยิื่อเลือกผ่าน น�้าออสโมซิส
เข้าสู่หลอดแก้ว
แต่ละประเภทจากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4
เล่ม 1 จากนัน้ ร่วมกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง ออสโมซิส
โดยมีแนวทางการสรุป ดังนี้
ภายนอกเซลล์
ï• การออสโมซิสเป็นการแพร่โมเลกุลของน�้า น�้า
จากบริเวณที่มีน�้ามาก (ความเข้มข้นของ
สารละลายต�่ า ) ไปยั ง บริ เ วณที่ มี น�้ า น้ อ ย ภาพที่ 3.32 หลักการท�างานของออสโมมิเตอร์
(ความเข้มข้นของสารละลายสูง) โดยผ่าน 3. กำรแพรแบบฟำซิลิเทต (facilitate diffusion)
เยื่อเลือกผ่าน การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยอาศัยโปรตีนตัวพา โปรตีนตัวพา
ï• การออสโมซิสจะเกิดจากบริเวณที่มีแรงดัน (carrier protein) มีทิศทางการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี
ภายในเซลล์
ออสโมติกต�่าไปยังบริเวณที่มีแรงดัน ความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต�่า โดยไม่อาศัย
ออสโมติกสูง พลังงาน ซึ่งมีอัตราการแพร่เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา เช่น
การล�าเลียงไอออนบางชนิด การแพร่ของกลูโคสเข้าไปยัง
เซลล์เม็ดเลือดแดง ซึ่งปกติกลูโคสซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ยาก
เนื่องจากมีโมเลกุลขนาดใหญ่ และไม่ละลายในไขมัน ภาพที่ 3.33 การแพร่แบบฟาซิลิเทต

100

กิจกรรม ทาทาย
ครูอาจจัดกิจรรมเพื่อศึกษาการออสโมซิส ดังนี้
วัสดุอุปกรณ
1. ไข่ไก่ 2. บีกเกอร์ขนาด 50 มิลลิลิตร 3. หลอดพลาสติก 4. เทียนไข 5. ไฟแช็ค
วิธีปฏิบัติ
1. ใส่น�้าใบบีกเกอร์ขนาด 50 มิลลิลิตร จนเต็ม
2. กะเทาะเปลือกไข่ไก่ด้านป้านเบาๆ แล้วแกะเปลือกไข่ให้เหลือเฉพาะเยื่อหุ้มบางๆ โดยให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร
3. เจาะไข่ด้านแหลมแล้วใส่หลอดพลาสติกลงไปลึกประมาณ 1 เซนติเมตร หยดน�้าตาเทียนลงไปรอบๆ หลอด เพื่อยึดหลอดให้ติดกับเปลือกไข่
4. น�าไข่ไปตั้งบนบีกเกอร์ในข้อ 1. โดยให้ด้านป้านของไข่จุ่มลงในน�้า
5. ตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง สังเกตและบันทึกผล
อภิปรายผลกิจกรรม
เมื่อตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ของเหลวในหลอดจะสูงขึ้น เนื่องจากน�้าออสโมซิสจากในบีเกอร์ผ่านเยื่อบางๆ เข้าไปในไข่ ซึ่งจากกิจกรรม
ช่วยท�าให้เข้าใจหลักการของออสโมซิสได้ชัดเจนขึ้น

T112
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
4. กำรล� ำ เลี ย งแบบใช้ พ ลั ง งำน หรื อ แอกที ฟ - 3. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง การแพร่แบบ
ทรำนสปอร์ต (active transport) เป็นการล�าเลียงสารจาก ฟาซิลเิ ทต จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม
บริเวณที่มีความเข้มข้นต�่าไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง โดย ภายนอกเซลล์ 1 หรือจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ จากนั้นครูถาม
1
ใช้พลังงานในรูป ATP ที่ได้จากกระบวนการเมแทบอลิซึม และ ค�าถามเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
อาศัยโปรตีนตัวพาเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต ï• การแพรแบบฟาซิลเิ ทตตางจากการแพรแบบ
ตัวอยำงกำรล�ำเลียงสำรแบบใช้พลังงำน เช่น ธรรมดาอยางไร
ภายในเซลล์
• การดูดซึมสารอาหาร เป็นกระบวนการที่มีทั้งการแพร่ (แนวตอบ เปนการแพรที่ตองอาศัยโปรตีน
แบบไม่ใช้พลังงาน และการล�าเลียงแบบใช้พลังงาน การดูดซึม ตัวพาซึง่ แทรกตัวอยูใ นเยือ่ หุม เซลล)
ATP ADP + Pi
สารอาหารจะเกิดขึ้นที่ผนังล�าไส้เพื่อน�าสารอาหารเข้าสู่ร่างกาย ï• อัตราการการแพรแบบฟาซิลิเทตตางจาก
โดยปกติสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก จะแพร่เข้าสู่ร่างกาย อัตราการแพรแบบธรรมดาอยางไร
ได้ทันที ส่วนสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ จ�าเป็นต้องใช้ ภาพที่ 3.34 การแพร่แบบใช้พลังงาน (แนวตอบ มีอตั ราเร็วสูงกวา เพราะมีโปรตีน
พลังงานช่วยในการล�าเลียง เปนตัวชวยพาสารในการแพร)
• การดูดกลับสารทีท่ อ่ หน่วยไต สารต่าง ๆ ทีล่ ะลายอยูใ่ นเลือดจะถูกกรองทีไ่ ต ซึง่ เป็นสารที่ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ทั้งการแพร่
มีความจ�าเป็นต่อร่างกาย ได้แก่ กลูโคส กรดอะมิโน โซเดียมไอออน ซึ่งจะมีการดูดซึมสารเหล่านี้
การออสโมซิส และการแพร่แบบฟาซิลิเทต
กลับเข้าสู่กระแสเลือดอีกครั้งโดยการล�าเลียงแบบใช้พลังงาน
• ปัมโซเดียม โพแทสเซียม (sodium potassium pump) เกิดขึ้นในเซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ เป็นการล�าเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน
ประสาท โดยเซลล์จะน�าโซเดียมไอออน (Na+) ออกจากเซลล์ได้ตลอดเวลา ทั้งที่โซเดียมไอออน 5. ให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาวิ ดี โ อเรื่ อ ง ป  ม โซเดี ย ม-
ภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ ขณะเดียวกันเซลล์ก็สามารถน�าโพแทสเซียม โพแทสเซียม แล้วสังเกตการล�าเลียงโซเดียม
ไอออน (K+) ทีอ่ ยูภ่ ายนอกเซลล์เข้าสูเ่ ซลล์ได้ดว้ ย ทัง้ ทีโ่ พแทสเซียมไอออนภายในเซลล์นนั้ มีความ และโพแทสเซียมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้นครู
เข้มข้นสูงกว่าภายนอกเซลล์หลายเท่า การน�าโซเดียมไอออนออกนอกเซลล์และน�าโพแทสเซียม ถามค�าถามเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจ
ไอออนเข้าภายในเซลล์ จะต้องใช้พลังงานในการล�าเลียง ï• การลําเลียงสารแบบใชพลังงานมีทิศทาง
การลําเลียงตางจากการแพรแบบธรรมดา
ภายนอกเซลล์ อยางไร
(แนวตอบ ทิศทางการลําเลียงตรงขามกัน โดย
การลําเลียงแบบใชพลังงานเปนการเคลือ่ นที่
Pi
ของสารจากบริเวณทีม่ คี วามเขมขนตํา่ ไปยัง
ภายในเซลล์ ATP ADP
Pi
Pi
บริเวณทีม่ คี วามเขมขนสูง)
โซเดียมจับกับ ใช้พลังงานจาก ATP โซเดียมล�าเลียง โพแทสเซียมจับ โพแทสเซียมล�าเลียง ï• หากเปรี ย บเที ย บการแพร เ ป น การปล อ ย
โปรตีนตัวพา ออกนอกเซลล์ กับโปรตีนตัวพา เข้าสู่เซลล์ นํ้าลงจากถังบนที่สูง การลําเลียงแบบใช
ภาพที่ 3.35 กระบวนการโซเดียม โพแทสเซียมปัม พลังงานจะเปรียบไดกับอะไร
เซลล์ 101
(แนวตอบ การใชพลังงานไฟฟาสูบนํ้าขึ้นไป
ของสิ่งมีชีวิต
เก็บในถังนํา้ บนทีส่ งู )

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู


การลําเลียงสารแบบใชพลังงานเปรียบเทียบไดกับเหตุการณใด 1 ATP (adenosine triphosphate) เป็นสารให้พลังงานสูงแก่เซลล์ โดย ATP
1. การตักน�้าใส่กะละมัง 1 โมเลกุล ประกอบด้วยสารอินทรีย์ 2 ชนิด คือ เบสอะดีนีน (adenine) กับ
2. การสูบน�้าขึ้นสู่ถังเก็บน�้า น�้าตาลไรโบส (ribose) เรียกว่า อะดีโนซีน (adenosine) แล้วต่อกับหมู่ฟอสเฟต
3. การเทน�้าออกจากกะละมัง 3 หมู่ โดยพลังงานในโมเลกุลจะสะสมอยู่ที่พันธะของหมู่ฟอสเฟต หากขาด
4. การปล่อยน�้าลงจากถังเก็บน�้า หมู่ฟอสเฟตไป จะท�าให้โมเลกุลนี้เป็นโมเลกุลอะดีโนซีน ซึ่งไม่มีพลังงานสะสม
5. การถ่ายน�้าออกจากตู้เลี้ยงปลา อยู่ จึงส่งผลให้เซลล์ไม่มีพลังงานใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์
(วิเคราะหคาํ ตอบ การลําเลียงสารแบบใชพลังงาน เปนการลําเลียง
สารจากบริเวณที่มีความเขมขนตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนสูง
โดยใชโปรตีนเปนตัวพา และอาศัยพลังงานจาก ATP ซึง่ อาจเปรียบ
ไดกับการสูบนํ้าขึ้นสูถังเก็บนํ้า ซึ่งตองอาศัยพลังงานไฟฟา ดังนั้น
ตอบขอ 2.)

T113
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ครูทบทวนเกีย่ วกับการน�าสารผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์ 3.2 การล�าเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์
ว่า สารที่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้มักมี
กรณีที่มีการล�าเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าหรือออกจากเซลล์ สารเหล่านี้จะไม่สามารถผ่าน
ขนาดเล็ก เช่น น�้า กลูโคส ไอออนบางชนิด เยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง จึงไม่สามารถใช้กระบวนการแพร่แบบฟาซิลิเทตหรือการล�าเลียงแบบ
จากนัน้ กระตุน้ ความสนใจของนักเรียนโดยการ ใช้พลังงานได้ แต่เซลล์สามารถล�าเลียงสารเหล่านี้ได้ด้วยกลไกการล�าเลียงสารโดยการสร้างถุง
ตั้งค�าถาม เช่น จากเยื่อหุ้มเซลล์
ï• นั ก เรี ย นคิ ด ว า สารขนาดใหญ ส ามารถ การล�าเลียงสารโดยการสร้างถุงจากเยือ่ หุม้ เซลล์ เป็นกระบวนการล�าเลียงสารขนาดใหญ่เข้า
ลําเลียงเขา-ออกจากเซลลไดอยางไร สูเ่ ซลล์หรือออกจากเซลล์ โดยอาศัยคุณสมบัตขิ องเยือ่ หุม้ เซลล์ทสี่ ามารถเปลีย่ นแปลงรูปร่างไปได้
(แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน รวมตัวกับเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ หรือแยกตัวเพื่อสร้างเวสิเคิลได้ การล�าเลียงสารโดยการสร้างถุง
จากนัน้ ครูแจงวานักเรียนจะทราบคําตอบได จากเยื่อหุ้มเซลล์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ การล�าเลียงสารออกจากเซลล์ เรียกว่า เอกโซไซโทซิส
จากการศึกษาตอไป) และการล�าเลียงสารเข้าสู่เซลล์ เรียกว่า เอนโดไซโทซิส
2. ให้นกั เรียนจับคูก่ นั ศึกษาเรือ่ ง การล�าเลียงสาร 1. เอกโซไซโทซิส (exocytosis) เป็นการล�าเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญ่ออกจากเซลล์
1
โดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์ จากหนังสือ ซึ่งสารดังกล่าว ได้แก่ เอนไซม์หรือฮอร์โมน ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นจากเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
เรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 และครูอาจเปด แบบผิวขรุขระ สารที่สังเคราะห์ขึ้นจะส่งไปยังกอลจิคอมเพล็กซ์เพื่อเก็บรวบรวมและสร้างเป็นถุง
ภาพยนตร์สารคดีสนั้ TWIG เรือ่ ง เอนโดไซโทซิส ขนาดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า เวสิเคิล (vesicle) ซึ่งเวสิเคิลจะเคลื่อนที่ไปสัมผัสกับเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้น
https://www.twig-aksorn.com/film/glossary เยื่อหุ้มเวสิเคิลจะรวมตัวเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์ ท�าให้สารที่อยู่ภายในเวสิเคิลถูกปลดปล่อยออกไปยัง
/endocytosis-6664/ ให้นักเรียนดูประกอบ นอกเซลล์
ด้วย ตัวอย่างการล�าเลียงสารออกนอกเซลล์โดยวิธีเอกโซไซโทซิส เช่น การหลั่งเอนไซม์จาก
เยื่อบุผนังกระเพาะอาหารและล�าไส้ การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ การก�าจัดของเสียที่ย่อยไม่ได้
ออกจากเซลล์ เป็นต้น

ภายนอกเซลล์

ภายในเซลล์

ภาพที่ 3.36 การล�าเลียงสารออกจากเซลล์โดยวิธีเอกโซไซโทซิส

102

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 เอนไซมหรือฮอรโมน เอนไซม์ คือ โปรตีนชนิดหนึง่ มีหน้าทีเ่ ร่งปฏิกริ ยิ าเคมี การลําเลียงสารขนาดใหญออกจากเซลล ทําไดโดยใชสมบัตใิ ด
ในสิ่งมีชีวิต เช่น เพปซิน เรนนิน ส่วนฮอร์โมนสร้างขึ้นจากต่อมไร้ท่อแล้วหลั่ง ของเยื่อหุมเซลล
เข้าสู่กระแสเลือดเพื่อล�าเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายมีหน้าที่กระตุ้น หรือ 1. สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้
ควบคุมการท�างานของร่างกาย เช่น อินซูลินช่วยควบคุมการเผาผลาญน�้าตาล 2. มีลิพิดชนิดพิเศษเป็นส่วนประกอบ
ไทรอกซินช่วยควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม เป็นต้น 3. มีไขมันชนิดพิเศษเป็นส่วนประกอบ
4. มีโปรตีนชนิดพิเศษเป็นส่วนประกอบ
5. มีช่องว่างขนาดใหญ่ให้สารเดินทางผ่าน
(วิเคราะหคําตอบ กระบวนการลําเลียงสารขนาดใหญออกจาก
เซลล เรียกวา เอกโซไซโทซิส โดยสารจะถูกบรรจุในถุงเวสิเคิล ซึง่ ถุงนี้
จะเคลื่อนที่ไปรวมตัวกับเยื่อหุมเซลล แลวเยื่อหุมเซลลจะแยกตัว
เปดเปนชองสูภายนอกเซลล ซึ่งเปนสมบัติหนึ่งของเยื่อหุมเซลลที่
สามารถเปลี่ยนแปลงรูปรางได ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
2. เอนโดไซโทซิส (endocytosis) เป็นกระบวนการที่เกิดตรงกันข้ามกับเอกโซไซโทซีส 1. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับการลําเลียงสารโดยการ
ซึ่งเป็นการล�าเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ เอนโดไซโทซิสมีกลไกการล�าเลียงแตกต่าง สรางถุงจากเยือ่ หุม เซลล เพือ่ ตรวจสอบความ
กันออกไป แบ่งออกได้ 3 วิธี คือ ฟาโกไซโทซิส พิโนไซโทซิส และการล�าเลียงสารเข้าสู่เซลล์โดย เขาใจของนักเรียน
อาศัยตัวรับ ï• การลําเลียงสารแบบเอกโซไซโทซิส มีวธิ กี าร
1) ฟำโกไซโทซิส (phagocytosis) เป็นการล�าเลียง อยางไร
สารในรูปของแข็งเข้าสู่เซลล์ โดยเซลล์สามารถยื่นไซโทพลาซึม (แนวตอบ เวสิเคิลทีบ่ รรจุสารอยูจ ะเคลือ่ นทีไ่ ป
หรือขาเทียม (pseudopodium) ออกมาโอบล้อมสารที่จะน�าเข้า ยังเยือ่ หุม เซลล แลวเยือ่ หุม เวสิเคิลจะรวมตัว
สู่เซลล์ เกิดเป็นถุงเวสิเคิลและหลุดเข้าไปภายในเซลล์ จากนั้น กับเยือ่ หุม เซลล ทําใหสารทีอ่ ยูภ ายในเวสิเคิล
เวสิเคิลนี้อาจไปรวมตัวกับไลโซโซมเพื่อย่อยสลายสารนั้นต่อไป ถูกปลอยออกไปนอกเซลล)
กระบวนการนีพ้ บได้ในเซลล์พวกอะมีบา และเซลล์เม็ดเลือดขาว ï• เวสิเคิลที่นําสารออกนอกเซลล ถูกสรางมา
บางชนิ ด ที่ ท� า หน้ า ที่ จั บ กิ น แบคที เ รี ย และสิ่ ง แปลกปลอมที่ ภาพที่ 3.37 การล�าเลียงสารเข้าสู่
เซลล์อะมีบาโดยกระบวนการ จากออรแกเนลลใด
เข้าสู่ร่างกาย ฟาโกไซโทซิส (แนวตอบ กอลจิคอมเพล็กซ)
2) พิโนไซโทซิส (pinocytosis) เป็นการล�าเลียงสารที่อยู่ในรูปสารละลายเข้าสู่เซลล์
ï• การลําเลียงสารแบบเอนโดไซโทซิส จําแนก
เกิดขึ้นโดยการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณที่โมเลกุลของสารเข้าสัมผัส ด้วย
ไดเปนกี่แบบ อะไรบาง
การเว้าตัวเข้าและโอบล้อมโมเลกุลสารนั้น ท�าให้เกิดเป็นเวสิเคิลแล้วเคลื่อนตัวเข้าสู่ด้านในเซลล์
กระบวนการนี้พบได้ในเซลล์ของไตและล�าไส้ ( แนวตอบ 3 แบบ ได แ ก ฟาโกไซโทซิ ส
พิโนไซโทซิส และการลําเลียงสารเขาสูเ ซลล
โดยอาศัยตัวรับ)

ภายนอกเซลล์

ภายในเซลล์

ภาพที่ 3.38 การล�าเลียงสารเข้าสู่เซลล์โดยกระบวนการฟิโนไซโทซิส

เซลล์ 103
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


การลําเลียงสารแบบเอนโดไซโทซิสทั้ง 3 แบบ มีวิธีการอยางไร ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เอนโดไซโทซิ ส ได จ ากภาพยนตร ส ารคดี สั้ น
(วิเคราะหคําตอบ Twig เรื่อง เอนโดไซโทซิส https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/
ฟาโกไซโทซิส ลําเลียงสารของแข็ง โดยเซลลยื่นไซโทพลาซึม endocytosis-6664/
หรือขาเทียมออกมาโอบลอมสาร เกิดเปนถุงเวสิเคิลแลวหลุดเขาไป
ในเซลล
พิโนไซโทซิส ลําเลียงสารที่เปนสารละลาย โดยเยือ่ หุม เซลลเวา
โอบลอมสาร เกิดเปนถุงเวสิเคิลแลวหลุดเขาไปในเซลล
การลําเลียงสารเขาสูเซลลโดยอาศัยตัวรับ มีโปรตีนตัวรับบน
เยือ่ หุม เซลล ซึง่ เยือ่ หุม เซลลจะเวาโอบลอมสาร เกิดเปนถุงเวสิเคิล
แลวหลุดเขาไปในเซลล)

T115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเขาใจ
1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง 3) กำรล�ำเลียงสำรเข้ำสูเ ซลล์โดยอำศัยตัวรับ (receptormediated endocytosis) เป็นการ
การลําเลียงสารผานเซลล ล�าเลียงสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยโปรตีนตัวรับ (receptor) ที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะ
2. ใหนกั เรียนชวยกันสืบคนขอมูลวา กระบวนการ มีลักษณะเว้าตื้น ๆ ซึ่งเมื่อสารเข้ามาจับกับโปรตีนตัวรับแล้ว เยื่อหุ้มเซลล์จะเว้ามากขึ้นจนเป็น
ลํ า เลี ย งสารของเซลล จ ะมี ก ารลํ า เลี ย งด ว ย ถุงเวสิเคิลและหลุดเข้าไปในเซลล์ โดยโปรตีนตัวรับแต่ละชนิดจะมีความจ�าเพาะต่อสารต่างกันไป
วิธีใดนั้น ขึ้นอยูกับปจจัยใดบาง แลวสรุปเปน การน�าสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับนี้พบได้ในการล�าเลียงสารจ�าพวกลิโพโปรตีนเข้าสู่เซลล์ไข่ไก่
องคความรูรวมกัน ที่ยังเจริญไม่เต็มที่ การน�าคอเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์ตับ
3. ให นั ก เรี ย นร ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น ว า
สามารถนําความรูเรื่อง การลําเลียงสารผาน
เซลล ไปประยุ ก ต ใ ช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น ได
โปรตีนตัวรับ
อยางไร
4. ครู ม อบหมายให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด ภายในเซลล์
ในแบบฝกหัด ชีววิทยา ม.4 เลม 1 ภายนอกเซลล์

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม
และการรวมกันทําผลงาน
2. ครูวัดและประเมินการปฏิบัติการจากการทํา ภาพที่ 3.39 การล�าเลียงสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
กิจกรรม เรื่อง การลําเลียงสารผานเซลลพืช B iology
3. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด Focus กระบวนการลําเลียงสารของเซลล์
กระบวนการล�าเลียงสารของเซลล์จะมีการล�าเลียงด้วยวิธีใดนั้นขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
1. ขนำดของสำร สารทีม่ โี มเลกุลขนาดเล็กจะสามารถผ่านเยือ่ หุม้ เซลล์ได้ดกี ว่าสารทีม่ โี มเลกุล
ใหญ่
2. ควำมสำมำรถในกำรละลำยในไขมัน สารที่ละลายในไขมันได้ดีจะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่าย
กว่าสารที่ไม่ละลายในไขมัน
3. สภำพขั้วของสำร สารที่ไม่มีขั้ว (nonpolar compound) จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดีกว่าสาร
ที่มีขั้ว (polar compound) เพราะสารที่ไม่มีขั้วจะละลายได้ดีในไขมันที่เป็นองค์ประกอบ
ของเยื่อหุ้มเซลล์
4. สำรอิเล็กโทรไลต์ สารละลายที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ (electrolyte) จะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้
ช้ากว่าสารที่ไม่เป็นอิเล็กโทรไลต์
5. จ�ำนวนโปรตีนตัวพำและพลังงำนในเซลล์ หากเยื่อหุ้มเซลล์มีโปรตีนตัวพาจ�านวนมากและ
มีพลังงานในเซลล์สูง เซลล์นั้นจะสามารถล�าเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี
104

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


ครูวดั และประเมินความเขาใจของนักเรียน เรือ่ ง การลําเลียงสารผานเซลล หากรางกายไดรับเชื้อโรคชนิดหนึ่งทางผิวหนัง รางกายจะใช
ดวยการสังเกตและประเมินการปฏิบัติการ เรื่อง การลําเลียงสารผานเซลลพืช เซลลใดและกระบวนการใดในการกําจัดเชื้อโรคดังกลาว
และสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล ขอ เซลล กระบวนการ
จากแบบประเมินการปฏิบัติการ และแบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ที่ 1 เม็ดเลือดแดง ฟาโกไซโทซิส
อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 2 เม็ดเลือดแดง ฟโนไซโทซิส
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เกณฑ์การประเมินผลงาน
3 เม็ดเลือดขาว ฟาโกไซโทซิส
4 เม็ดเลือดขาว ฟโนไซโทซิส
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินชิ้นงาน โมเดลการแบ่งเซลล์ ออกแบบชิ้นงานก่อนลง ออกแบบชิ้นงานก่อนลง ออกแบบชิ้นงานก่อนลง สร้างชิ้นงานได้
1. การออกแบบ
มือปฏิบัติ วางแผนและ มือปฏิบัติ วางแผนและ มือปฏิบัติ วางแผนและ สอดคล้องกับ
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงานตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน จุดประสงค์บางส่วน
ได้สอดคล้องกับ ได้สอดคล้องกับ ได้สอดคล้องกับ โดยไม่ได้ออกแบบและ
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน

5 เม็ดเลือดขาว เอนโดไซโทซิส
จุดประสงค์ จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางส่วน วางแผนดาเนินการ
4 3 2 1
1 การออกแบบ 2. การเลือกใช้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุไม่
2 การเลือกใช้วัสดุ วัสดุ เหมาะสม และใช้ เหมาะสม แต่ใช้ เหมาะสมพอสมควร เหมาะสม และใช้
งบประมาณอย่าง งบประมาณสูง และใช้งบประมาณสูง งบประมาณสูงมาก
3 ความสมบูรณ์ ประหยัด
4 ความตรงต่อเวลา
3. ความสมบูรณ์ ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง
รวม

(วิเคราะหคําตอบ หากรางกายไดรับเชื้อโรคชนิดหนึ่งทางผิวหนัง
แข็งแรง ทนทาน และ เป็นส่วนใหญ่ แข็งแรง เป็นส่วนน้อย แข็งแรง น้อย และไม่แข็งแรง
สวยงาม ทนทาน ทนทาน
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน 4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
................./................../.................. เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เซลลเม็ดเลือดขาวจะมีหนาที่กําจัดเชื้อโรคนั้น โดยกระบวนการ
ฟาโกไซโทซิส ดวยการยื่นไซโทพลาสซึมออกไปลอมรอบเชื้อโรค
แลวนําเขาสูเซลลเพื่อใหเกิดการยอยสลายภายในเซลล ดังนั้น
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

ตอบขอ 3.)

T116
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
เซลลตา ง ๆ ของสิง่ มีชวี ติ 4. การสื่อสารระหว่างเซลล์ 1. ครูอาจเปดคลิปวีดิโอเกี่ยวกับเรื่อง การสื่อสาร
มีการสือ่ สารกันอยางไร ระหว่างเซลล์ ให้นักเรียนศึกษาเพื่อกระตุ้นให้
เซลล์แต่ละเซลล์จะมีความสามารถสื่อสารกันได้ โดยผ่าน
ระบบที่แตกต่างกัน 2 แบบ คือ การสื่อสารโดยใช้สารเคมีหรือ เกิดความสนใจ เช่น https://www.youtube.
ฮอร์โมน และการสื่อสารโดยผ่านกระแสประสาท ซึ่งเซลล์แต่ละเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีการ com/watch?v=E-guax1Nk0E&t=318s
ตอบสนองที่ต่างกัน1 โดยเป็นผลมาจากการรับสัญญาณและการส่งสัญญาณที่ต่างกัน 2. ครูตงั้ ค�าถามกระตุน้ ความคิดของนักเรียนก่อน
ยีสต์ขนมปัง (Saccharomyces cerevisiae) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มนุษย์ยังไม่สามารถ เข้าสู่บทเรียน ตัวอย่างเช่น
จ�าแนกเพศได้ แต่พบว่ายีสต์สามารถจับคู่กับเพศตรงข้ามเพื่อผสมพันธุ์กันได้ ซึ่งเซลล์ยีสต์ จะ ï• เซลลตางๆ มีการสื่อสารกันอยางไร
หลั่งสารเคมีบางชนิดออกมาเพื่อสื่อสารให้อีกเซลล์หนึ่งรับรู้ได้ว่าต้องการจะจับคู่กัน (แนวตอบ : เซลลมีการสื่อสารกันโดยใชสาร
ตัวรับสาร α สาร α เคมี และกระแสประสาท)
ï• เพราะเหตุ ใ ดเซลล จึ ง ต อ งมี ก ารสื่ อ สาร
ระหวางกัน
(แนวตอบ : เซลลมกี ารสือ่ สารระหวางกันเพือ่
ตัวรับสาร a
ยีสต์เซลล์ a สาร a ยีสต์เซลล์ α
การทํางานรวมกันและประสานกันได)

เกิดการรวมตัวกันของเซลล์ยีสต์ a และเซลล์ยีสต์ α

ได้เซลล์ใหม่ที่มีนิวเคลียสของเซลล์ยีสต์ a และเซลล์ยีสต์ α

ภาพที่ 3.40 การสื่อสารระหว่างเซลล์ยีสต์

เซลล์พชื จะรวมกลุม่ กันเป็นเนือ้ เยือ่ โดยทีผ่ นังเซลล์


จะมีช่องเล็ก ๆ เรียกว่า พลำสโมเดสมำตำ (plasmo
desmata) ทีท่ ะลุผา่ นผนังเซลล์และเชือ่ มติดต่อกันระหว่าง
เซลล์ขา้ งเคียง เป็นช่องทางทีท่ า� ให้ไซโทพลาซึมของเซลล์
พลาสโมเดสมาตา
ที่อยู่ติดกันสามารถติดต่อกันได้ ที่ผนังเซลล์

ภาพที่ 3.41 การสื่อสารระหว่างเซลล์พืช


แนวตอบ Prior Knowledge
เซลล์ 105
ของสิ่งมีชีวิต
มีการสื่อสารกันโดยใชสารเคมีหรือฮอรโมน
และการสื่อสารโดยผานกระแสประสาท

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


จงอธิบายวิธีการสื่อสารระหวางเซลลยีสต 1 ยีสตขนมปง เป็นจุลินทรีย์ชนิดหนึ่งในอาณาจักรฟงไจ (fungi) สายพันธุ์ที่
(วิเคราะหคาํ ตอบ ยีสตเซลล a หลัง่ สารเคมีชนิด a ซึง่ ยีสตเซลล α ใช้มากในผลิตภัณฑ์เบเกอรี คือ Saccharomyces cerevisae ซึ่งแบ่งออกเป็น
มีตวั รับสารเคมีชนิด a อยู ในขณะทีย่ สี ตเซลล α หลัง่ สารเคมีชนิด 3 แบบ ดังนี้
α ซึ่งยีสตเซลล a มีตัวรับสารเคมีชนิด α อยู จึงทําใหเซลลยีสต 1. ยีสต์สด (compressed yeast)
สื่อสารกันได) ลักษณะเป็นก้อนที่ประกอบด้วยยีสต์
อัดรวมกับอาหารของยีสต์ที่เปยกชื้น
แล้ ว จึ ง ห่ อ ด้ ว ยกระดาษตะกั่ ว หรื อ
พลาสติกที่กันน�้าได้
2. ยีสต์แห้งชนิดเม็ด (active dry
yeast) เป็นยีสต์ที่อยู่ในสภาพพักตัว
โดยถูกน�าไปผ่านกระบวนการท�าให้แห้งที่อุณหภูมิต�่า แล้วอัดเป็นเม็ดเล็กๆ
ท่อนสั้นๆ
3. ยีสต์แห้งชนิดผง (instant dry yeast) มีลักษณะเป็นผงละเอียด มีความ
สามารถในการหมักสูง ซึ่งไม่ต้องละลายน�้าก่อนน�าไปใช้
T117
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให้นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง การสือ่ สารระหว่างเซลล์ เซลล์ของสัตว์จะรวมกลุ่มกันเป็นเนื้อเยื่อเช่นกัน โดยที่
ยีสต์ เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ จากหนังสือเรียน เยื่อหุ้มเซลล์จะมีโปรตีนอยู่ ซึ่งโปรตีนนี้มีช่องเล็ก ๆ เชื่อมกับ
ชีววิทยา ม. 4 เล่ม 1 เซลล์ข้างเคียง เรียกว่า แกป จังก์ชัน (gap junction) เป็นช่องที่
2. ครูอาจเปดคลิปวิดโี อเกีย่ วกับเรือ่ ง การสือ่ สาร สารเคมีโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น กรดอะมิโน มอโนแซ็กคาไรด์
ระหว่างเซลล์ การสือ่ สารระยะไกล ให้นกั เรียน แกป จังก์ชัน ไอออนต่าง ๆ เป็นต้น สามารถเคลื่อนผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยัง
ศึกษาเพือ่ เพิม่ เติมความรูจ้ ากเนือ้ หาในบทเรียน ที่เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์ข้างเคียงได้
เช่น https://www.youtube.com/watch? ภาพที่ 3.42 การสื่อสารระหว่าง เซลล์ประสาท (nerve cell) ของสัตว์สามารถสื่อสารและ
เซลล์สัตว์ น�ากระแสประสาทได้ โดยเซลล์ประสาททีเ่ ชือ่ มต่อกันจะหลัง่ สาร
v=th5qAUhnXYU ออกมาเพื่อกระตุ้นให้เซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งท�างานต่อไป
เดนไดรต์
แอกซอน

ภาพที่ 3.43 เซลล์ประสาทที่เชื่อมต่อกันจะหลั่งสารเพื่อกระตุ้นให้เซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งท�างาน


ตัวอย่างเช่น เมือ่ มือสัมผัสวัตถุทรี่ อ้ น ร่างกายจะตอบสนองโดยการดึงมือออกทันที แสดงว่า
เมื่อมือได้รับความรู้สึกร้อน จะเกิดกระแสประสาทมาจากเซลล์
1 ประสาทรับความรู้สึกผ่านไปทาง
แอกซอน ซึ่งปล่อยสารสื่อประสาท (neurotransmitter) จาก สารสื่อประสาท
เซลล์หนึ่งต่อไปยังอีกเซลล์หนึ่ง โดยที่เยื่อหุ้มเซลล์ของ เดนไดรต์
เซลล์ประสาทตัวรับจะมีโปรตีนตัวรับสารสื่อประสาท
ดังนั้น จึงมีการตอบสนองเกิดขึ้น
เซลล์ประสาทประสานงาน
หน่วยรับความรู้สึก
เจ็บปวดที่บริเวณ แอกซอน
ผิวหนัง

ไขสันหลัง

เซลล์ประสาทสั่งการ

เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
กระแสประสาท
จากหน่วยรับ กล้ามเนื้อหดตัว
ความรู้สึก ภาพที่ 3.44 การสื่อสารระหว่างเซลล์ที่อยู่ไกลกันโดยผ่านทางเซลล์ประสาท
106

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 สารสื่อประสาท คือ สารเคมีที่สร้างจากปลายเซลล์ประสาทหรือตัวเซลล์ ขอใดเปนการสื่อสารระหวางเซลลที่อยูใกลกัน
ประสาท และหลั่งออกจากปลายประสาท เพื่อเป็นตัวน�าสัญญาณประสาท 1. พืช - พลาสโมเดสมาตา สัตว์ - ฮอร์โมน
(neurotransmission) ผ่านรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาท ที่เรียกว่า ไซแนปส์ 2. พืช - พลาสโมเดสมาตา สัตว์ - แกป จังก์ชัน
(synapse) หรือช่องว่างระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์กล้ามเนื้อ หรือช่องว่าง 3. พืช - พลาสโมเดสมาตา สัตว์ - ระบบต่อมไร้ท่อ
ระหว่างเซลล์ประสาทกับเซลล์ประสาท เพือ่ ให้วงจรการท�างานของระบบประสาท 4. พืช - พลาสโมเดสมาตา สัตว์ - กระแสประสาท
เกิดความสมบูรณ์ และเกิดการท�างานขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างสารสือ่ 5. พืช - พลาสโมเดสมาตา สัตว์ - ระบบไหลเวียนเลือด
ประสาท เช่น อะซิทลิ โคลีน (acetylcholine) นอร์อะดรีนาลีน (noradrenaline) ( วิ เ คราะห คํ า ตอบ การสื่ อ สารระหว า งเซลล ที่ อ ยู  ใ กล กั น ใน
อะดรีนาลีน (adrenaline) โดปามีน (dopa mine) เอนดอร์ฟน (endorphin) เซลลพืชจะมีชองเล็กๆ ที่ผนังเซลล เรียกวา พลาสโมเดสมาตา
เป็นต้น (plasmodesmata) สวนในเซลลสัตวมีชองเล็กๆ ที่เยื่อหุมเซลล
เรียกวา แกป จังกชัน (gap junction) ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T118
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
นอกจากนี้ เซลล์ยังมีการสื่อสารกันโดยใช้การหลั่งฮอร์โมน ซึ่งต่อมไร้ท่อจะสร้างและหลั่ง 1. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
ฮอร์โมนส่งไปตามกระแสเลือด เมื่อไปยังเซลล์ของอวัยวะเป้าหมายก็จะสามารถตอบสนองการ นักเรียน โดยให้นักเรียนทั้งห้องร่วมกันตอบ
กระตุน้ นัน้ ได้ เช่น การท�างานของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าทีไ่ ปกระตุน้ การเจริญของไข่ใน เช่น
1
รังไข่ หรือกรณีที่ร่างกายขาดน�้า สมองส่วนไฮโพทาลามัสจะกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนท้าย ให้หลั่ง ï• เซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลลที่อยูไกลกัน
2
แอนติไดยูเรติกฮอร์โมนเพื่อให้มีการดูดกลับน�้าที่บริเวณท่อหน่วยไตมากขึ้น เป็นต้น มีการสื่อสารกันอยางไร
( แนวตอบ สื่ อ สารกั น โดยใช ส ารเคมี ห รื อ
ฮอรโมน และผานกระแสประสาท)
ï• การสื่อสารระหวางเซลลพืชโดยฮอรโมนนั้น
ฮอรโมนพืชลําเลียงไปยังสวนตางๆ ของพืช
ไดอยางไร
ไฮโพทาลามัส (แนวตอบ ลําเลียงไปตามทอลําเลียงนํ้าหรือ
ทอลําเลียงอาหาร หรือลําเลียงจากเซลลหนึง่
เมื่อร่างกายขาดน�้า เมื่อร่างกายได้รับน�้ามาก ผานไปยังเซลลหนึง่ โดยตรง หรือลําเลียงโดย
การแพรผา นไปทางอากาศ)
กระตุ้น ยับยั้ง 2. ให้นักเรียนศึกษาขั้นตอนการสื่อสารระหว่าง
ต่อมใต้สมองส่วนท้าย เซลล์ จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม. 4 เล่ม 1
หลั่ง ไม่หลั่ง 3. ครู ตั้ ง ค� า ถามเกี่ ย วกั บ ขั้ น ตอนการสื่ อ สาร
แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) ระหว่างเซลล์ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียน
•ï การสือ่ สารระหวางเซลลมกี ขี่ นั้ ตอน อะไรบาง
(แนวตอบ 3 ขัน้ ตอน ไดแก 1. การรับสัญญาณ
2. การสงสัญญาณ 3. การตอบสนอง)
ï• เซลล ทุ ก ชนิ ด มี ก ารตอบสนองเหมื อ นกั น
หน่วยไตดูดน�้ากลับมาก ปัสสาวะน้อย หน่วยไตดูดน�้ากลับน้อย ปัสสาวะมาก
หรือไม อยางไร
(แนวตอบ ไมเหมือนกัน โดยขึน้ อยูก บั การรับ
ภาพที่ 3.45 กลไกการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนท้าย
สัญญาณและการสงสัญญาณ ซึง่ เซลลแตละ
เซลล์พืชก็มีการสื่อสารโดยใช้ฮอร์โมน ซึ่งฮอร์โมนพืชจะล�าเลียงจากต�าแหน่งที่ถูกสร้างขึ้น ชนิดมีโปรตีนตัวรับตางชนิดกัน จึงตอบสนอง
ผ่านไปทางท่อล�าเลียงน�า้ หรือท่อล�าเลียงอาหาร แต่สว่ นใหญ่แล้วฮอร์โมนจะล�าเลียงจากเซลล์หนึง่ ตอสารตางชนิดกัน)
ไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยตรง หรืออาจแพร่ผ่านไปทางอากาศ
เซลล์ 107
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การสือ่ สารระหวางเซลลสตั วโดยฮอรโมน เกีย่ วของกับระบบใด 1 ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เป็นสมองส่วนหน้าทีอ่ ยูบ่ ริเวณใต้ทาลามัส
ในรางกายบาง ท�าหน้าทีค่ วบคุมกระบวนการส�าคัญต่างๆ ในการด�ารงชีวติ เช่น ควบคุมอุณหภูมิ
(วิเคราะหคําตอบ ของร่างกาย นอกจากนีย้ งั ควบคุมเกีย่ วกับสมดุลน�้าในร่างกาย การหลัง่ ฮอร์โมน
- ระบบตอมไรทอ ซึ่งทําหนาที่ผลิตฮอรโมน จากต่อมใต้สมอง การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต การตืน่ การหลับ ความรูส้ กึ
- ระบบไหลเวี ย นเลื อ ด ซึ่ ง ฮอร โ มนจะถู ก ลํ า เลี ย งไปตาม อยากรับประทานอาหาร
กระแสเลือดสูอวัยวะเปาหมาย) 2 แอนติไดยูเรติกฮอรโมน (antidiuretic hormone : ADH) หรือวาโซเพรสซิน
(vasopressin) เป็นเพปไทด์ฮอร์โมนที่ท�าให้เส้นเลือดหดตัว กระตุุ้นการดูดกลับ
น�้าที่ท่อหน่อยไต และลดการหลั่งปสสาวะ

T119
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครู ตั้ ง ค� า ถามเพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ ร ่ ว มกั น คิ ด จะเห็นได้ว่าเซลล์ของสิ่งมีชีวิตสามารถสื่อสารกันได้ ซึ่ง
ตอบสนอง
วิเคราะห์ ดังนี้ การสื่อสารระหว่างเซลล์นี้สามารถสรุปได้ 3 ขั้นตอน ดังนี้
ï• การสื่อสารระหวางเซลลมีบทบาทตอการ 1) กำรรับสัญญำณ (reception) เป็นการที่เซลล์ของ
ดํารงชีวิตของสิ่งมีวิตอยางไร อวัยวะเป้าหมายรับสัญญาณจากภายนอกเซลล์ โดยโปรตีนที่
(แนวตอบ การสือ่ สารระหวางเซลลเปนกลไก เซลล์ที่มีตัวรับ เยื่อหุ้มเซลล์รับสัมผัสสารที่มากระตุ้น หรือโปรตีนในเซลล์รับ
ที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง สัญญาณการกระตุ้น เพื่อท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
สภาพแวดลอม และตอบสนองความตองการ 2) กำรสงสัญญำณ (signal transduction) เมื่อเซลล์
ในการดํารงชีวติ ) ได้รับสัญญาณการกระตุ้นแล้ว จะแปลผลสัญญาณแล้วส่งต่อไป
เซลล์ที่ไม่มีตัวรับ
2. ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์ เรื่อง การสื่อสาร ยังเซลล์อื่น ๆ ซึ่งการส่งสัญญาณอาจมีเพียงขั้นตอนเดียวหรือ
หลอดเลือด
ระหว่างเซลล์ ฮอร์โมน
หลายขั้นตอนที่สลับซับซ้อนก็ได้
3. ครูอาจให้นักเรียนที่มีความสนใจเรื่องนี้เป็น 3) กำรตอบสนอง (response) เป็นขัน้ ตอนทีเ่ ซลล์ของ
พิเศษ แบ่งกลุ่มเพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ อวัยวะเป้าหมายตอบสนองต่อสัญญาณทีไ่ ด้รบั เช่น การสังเคราะห์
โปรตีน การน�ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ การแบ่งเซลล์ เป็นต้น
สือ่ สารระหว่างเซลล์ แล้วสรุปความรูใ้ นรูปแบบ
เซลล์ของต่อมไร้ท่อ จะเห็นได้ว่าเซลล์แต่ละเซลล์จะมีการตอบสนองที่ต่างกัน
ที่น่าสนใจ
ซึ่งเป็นผลจากการรับสัญญาณและการส่งสัญญาณที่ต่างกัน
4. ครูมอบหมายให้นักเรียนท�าแบบฝกหัด ใน ภาพที่ 3.46 การสือ่ สารระหว่าง โดยเซลล์ชนิดหนึ่งจะตอบสนองต่อสารที่มากระตุ้นอย่างหนึ่ง
แบบฝกหัด ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 เซลล์โดยใช้ฮอร์โมน
แต่จะไม่ตอบสนองต่อสารตัวอื่น ๆ ทั้งนี้เนื่องมาจากแต่ละเซลล์
มีโปรตีนตัวรับที่แตกต่างกัน
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม ภายนอกเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม
และการร่วมกันท�าผลงาน
1. การรับสัญญาณ 2. การส่งสัญญาณ 3. การตอบสนอง
2. ครูตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง การสื่อสารระหว่าง
เซลล์
เซลล์มีการ
3. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบฝกหัด เซลล์เปาหมาย
ตอบสนอง
โมเลกุลของสารเคมีหลายชนิดเกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณ
โมเลกุลสัญญาณ

ภาพที่ 3.47 กระบวนการการสื่อสารระหว่างเซลล์

108

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูวัดและประเมินความเข้าใจของนักเรียน เรื่อง การสื่อสารระหว่างเซลล์ การสือ่ สารระหวางเซลลประกอบไปดวยกระบวนการใดบาง
ด้วยการตรวจผังมโนทัศน์ เรือ่ ง การสือ่ สารระหว่างเซลล์ โดยศึกษาเกณฑ์การวัด (วิเคราะหคําตอบ การสื่อสารระหวางเซลล ประกอบดวย 3
และประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยู่ในแผนการ กระบวนการ ดังนี้
จัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 1. การรับสัญญาณ เปนการที่เซลลของอวัยวะเปาหมายรับ
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
สัญญาณจากภายนอกเซลล โดยโปรตีนตัวรับบริเวณเยื่อหุมเซลล
แบบประเมินผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
จับกับโมเลกุลของสารเคมีที่หลั่งออกมาจากเซลลอื่นๆ
ลาดับที่ รายการประเมิน

2. การสงสัญญาณ เปนการที่เซลลเปลี่ยนรูปสัญญาณแลวสง
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์

ไปยังเซลลอื่นๆ
4 ความตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................

ประเด็นที่
ประเมิน
1. ความ
4
ผลงานสอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์

3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้องกับ
3.การตอบสนอง เปนขัน้ ทีเ่ ซลลของอวัยวะเปาหมายแสดงออก
เพือ่ ตอบสนองตอสัญญาณทีไ่ ดรบั เชน การหลัง่ สารออกจากเซลล
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

การเปลี่ยนแปลงรูปรางของเซลล)
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T120
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
ทําไมเซลลจงึ ตองมีการ 5. การแบ่งเซลล์ 1. ครู ก ระตุ ้ น ความสนใจของนั ก เรี ย นเพื่ อ เข้ า
แบงเซลล สู่เนื้อหา โดยการเปดภาพยนตร์สารคดีสั้น
กำรแบงเซลล์ (cell division) เป็นกระบวนการเพิม่ จ�านวน
เซลล์ ซึง่ ท�าให้สงิ่ มีชวี ติ มีการเจริญเติบโต หรือเป็นการแบ่งเซลล์ TWIG เรื่อง การแบ่งเซลล์ : ไมโทซิส https://
เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งในเซลล์โพรแคริโอต เช่น แบคทีเรีย มีการแบ่งเซลล์ออกเป็นสองส่วน www.twig-aksorn.com/film/cell-division-
(binary fission) ส่วนเซลล์พวกยูแคริโอต การแบ่งเซลล์จะประกอบด้วยกระบวนการ 2 ขั้นตอน mitosis-7926/ จากนั้นตั้งค�าถามให้นักเรียน
คือ การแบ่งนิวเคลียส และการแบ่งไซโทพลาซึม ร่วมกันอภิปราย
กำรแบงนิวเคลียส (karyokinesis) มี 2 แบบ ดังนี้ ï• การแบ่งเซลล์มปี ระโยชน์ตอ่ สิง่ มีชวี ติ อย่างไร
1) กำรแบงนิวเคลียสแบบไมโทซิส (mitosis) เรียกการแบ่งเซลล์แบบนี้ว่า การแบ่งเซลล์ ï• เซลล์ ทุ ก ชนิ ด มี ก ารแบ่ ง เซลล์ ใ นลั ก ษณะ
แบบไมโทซิส ซึ่งจะได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่มีโครโมโซมเท่ากับเซลล์เดิม เดียวกันหรือไม่ อย่างไร
2) กำรแบงนิวเคลียสแบบไมโอซิส (meiosis) เรียกการแบ่งเซลล์แบบนี้ว่า การแบ่งเซลล์ ï• การแบ่งเซลล์เกิดขึ้นเมื่อใด
แบบไมโอซิส ซึ่งจะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ที่มีโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม 2. ครูอธิบายโดยสังเขปเกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ว่า
กำรแบงไซโทพลำซึม (cytokinesis) มี 2 แบบ ดังนี้ ประกอบด้วย 2 ขัน้ ตอน คือ การแบ่งนิวเคลียส
1) แบบกำรเกิดรองหรือกำรคอด (furrow type) เป็นการที่เยื่อหุ้มเซลล์คอดเข้าหากันจาก และการแบ่งไซโทพลาซึม ซึง่ การแบ่งนิวเคลียส
ทั้ง 2 ด้าน เข้าสู่กลางเซลล์ซึ่งพบในเซลล์สัตว์ มี 2 แบบ คือ การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส
2) แบบกำรเกิดแผนเยื่อเซลล์ (cell plate type) จะมีการสร้างแผ่นเยื่อเซลล์ โดยก่อตัวที่ กับการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิส ซึ่งการแบ่ง
กลางเซลล์และขยายออกไปทั้ง 2 ด้านของเซลล์ ซึ่งพบในเซลล์พืช นิวเคลียสใช้เวลานานกว่าการแบ่งไซโทพลาซึม
การแบ่ ง เซลล์ เ ป็ น กระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น โดย
มีขนั้ ตอนต่อเนือ่ งกัน ก่อนจะเกิดการแบ่งเซลล์นนั้
เซลล์จะมีการเตรียมตัวให้พร้อมก่อน โดย
ระยะจี 2
ระยะเวลาตั้งแต่การเตรียมตัวของเซลล์ G2 เฟส
ร ะย ะ

การแบ่งนิวเคลียส จนกระทั่งการแบ่ง โปร เฟส


ทมี่ กี ำรแบงนิวเคลียส

เมทำ
อินเตอร์เฟส

ไซโทพลาซึมสิ้นสุดลง เรียกว่า วัฏจักร


ของเซลล์ (cell cycle) ซึ่งประกอบไป ระยะเอส แอนำเฟส
ด้วยระยะอินเตอร์เฟส (interphase) และ S เทโล
ระยะที่มีการแบ่งเซลล์ (mitotic phase เฟส
หรือ M phase) ซึ่งใช้เวลาประมาณ 20 ระยะจี 1
ชั่วโมง G1
ระยะอินเตอร์เฟสเป็นระยะทีเ่ ซลล์เตรียม
พร้อมก่อนที่จะแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม การแบ่งไซโทพลาซึม
จากนั้นจึงเข้าสู่ระยะที่มีการแบ่งเซลล์ต่อไป ภาพที่ 3.48 วัฏจักรของเซลล์
แนวตอบ Prior Knowledge
เซลล์ 109
ของสิ่งมีชีวิต
เพื่อเพิ่มจํานวนเซลล สงผลใหรางกายเจริญ
เติบโต และเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


นักเรียนคิดวาการแบงเซลลมีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอยางไร ครูอาจเตรียมสไลด์ถาวรของเซลล์เยื่อหอมให้นักเรียนสังเกตลักษณะของ
(วิเคราะหคําตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใน โครโมโซมในแต่ละระยะของการแบ่งเซลล์ ทัง้ นีเ้ พือ่ กระตุน้ การเรียนรูข้ องนักเรียน
ดุลยพินจิ ของครูผสู อน เชน การแบงเซลลรา งกายจะทําใหมจี าํ นวน และก่อนถึงชัว่ โมงเรียนเรือ่ งการแบ่งเซลล์ ครูควรมอบหมายให้นกั เรียนเตรียมเพาะ
เซลลเพิม่ ขึน้ สงผลใหรา งกายของสิง่ มีชวี ติ เจริญเติบโตขึน้ และการ หอมแดงให้เกิดราก เพือ่ น�ามาใช้ในกิจกรรม เรือ่ ง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของ
แบงเซลลเพือ่ สรางเซลลสบื พันธุ ทําใหเซลลมกี ารถายทอดลักษณะ เซลล์ปลายรากหอม
ทางพันธุกรรมไปยังเซลลใหม)
สื่อ Digital
ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการแบ่งเซลล์แบบ
ไมโทซิส ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
เรื่อง การแบ่งเซลล์ : ไมโทซิส
https://www.twig-aksorn.com/fifi l m/
cell-division-mitosis-7926/

T121
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อท�ากิจกรรม เรื่อง การ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
แบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของเซลล์ปลายรากหอม
ในหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 โดยให้ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
นักเรียนแต่ละกลุม่ ก�าหนดให้สมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะเกิดขึ้นในเซลล์ร่างกาย (somatic cell)
มีบทบาทหน้าที่ของตนเอง ตัวอย่างเช่น
สมาชิกคนที่ 1 : ท�าหน้าทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ์ 1 อินเตอร์เฟส (interphase)
เป็นระยะเตรียมตัวก่อนแบ่งเซลล์ เซลล์จะมีนิวเคลียส เซนทริโอล
สมาชิกคนที่ 2 : ท�าหน้าที่อ่านวิธีการท�า ขนาดใหญ่ เมื่อย้อมสีจะเห็นนิวคลีโอลัสชัดเจน ซึ่งแบ่ง
กิจกรรม และน�ามาอธิบายให้สมาชิกในกลุม่ ฟง ย่อยเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1
สมาชิกคนที่ 3 : ท�าหน้าที่บันทึกผลการท�า 1) ระยะจี 1 (G1 phase) หรือระยะก่อนสร้าง DNA
ใช้เวลาประมาณ 8 ชั่วโมง เป็นระยะที่มีการสร้าง
กิจกรรม อาร์เอ็นเอและโปรตีน
สมาชิกคนที่ 4 : ท�าหน้าที่หาแหล่งข้อมูล 2) ระยะเอส (S phase) หรือระยะที่มีการสร้าง DNA ใช้
เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง ซึ่งมีการจ�าลองโครโมโซม
อ้างอิงเพื่อสนับสนุนผลการท�ากิจกรรม เพิ่มเป็น 2 เท่า 2
สมาชิกคนที่ 5 : ท�าหน้าทีน่ า� เสนอผลการท�า 3) ระยะจี 2 (G2 phase) หรือระยะหลังสร้าง DNA ใช้
เวลาประมาณ 4.5 ชั่วโมง เป็นระยะที่ยังคงมีการสร้าง
กิจกรรม RNA และโปรตีน
2. ในระหว่างท�ากิจกรรมครูควรชีแ้ นะให้นกั เรียน 3
2 โพรเฟส (prophase)
เปรี ย บเที ย บภาพเซลล์ ที่ เ ห็ น ได้ จ ากกล้ อ ง
เป็นระยะที่เห็นนิวเคลียสได้ชัดเจน นิวคลีโอลัสสลายไป เส้นใยสปินเดิล
จุลทรรศน์กับภาพในหนังสือเรียน หรือจาก เห็นโครโมโซมสั้นลง มีการสร้างเส้นใยสปินเดิล (spindle
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ จากนั้นให้นักเรียนวาด fiber) โดยในเซลล์สตั ว์สร้างมาจากเซนทริโอล (centriole)
ภาพที่สังเกตได้และเขียนก�าลังขยายของภาพ ส่วนในเซลล์พืชสร้างมาจากขั้วเซลล์ (polar cap)
ก�ากับไว้ด้วย
3. ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ ศึกษาเรือ่ ง การแบ่งเซลล์
แบบไมโทซิส จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 ภาพที่ 3.49 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
เล่ม 1 และอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุป 3 เมทาเฟส (metaphase) 4 แอนาเฟส (anaphase)
เป็นระยะที่เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายไป เส้นใยสปินเดิลจะ ระยะนีเ้ ส้นใยสปินเดิลจะหดตัวสัน้ และดึงโครมาทิดให้
จับโครโมโซมที่ไคนีโทคอร์ 1(kinetochore) ซึ่งเป็นโปรตีน แยกออกจากกันไปยังขั้วของเซลล์แต่ละด้าน ท�าให้
ที่อยู่บริเวณเซนโทรเมียร์ ((centromere) เซนทริโอล โครโมโซมแยกออกเป็น 2 กลุ่ม โดยโครโมโซมที่เกิด
เคลื่อนที่ไปยังขั้วเซลล์ที่อยู่ตรงข้ามกัน จากนั้นเส้นใย ใหม่หรือโครโมโซมลูก (daughter chromosome)
สปินเดิลดึงให้โครโมโซมเคลือ่ นทีม่ าเรียงตัวกันกลางเซลล์ แต่ละโครโมโซมจะประกอบด้วยโครมาทิด 1 เส้น
แต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด ซึ่งโครมาทิด
หดตัวสั้นมากขึ้น ท�าให้เห็นโครโมโซมมีขนาดใหญ่และ
ชัดเจน

110
การแบงเซลลแบบไมโทซิส

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 เซนโทรเมียร ต�าแหน่งของเซนโทรเมียร์ท�าให้โครโมโซมมีรูปร่างต่างกัน เซลลในระยะใดเหมาะสมตอการศึกษารูปรางและลักษณะของ
4 แบบ ดังนี้ โครโมโซมมากที่สุด
1. เมทาเซนทริก (metacentric) 1. ระยะที่ยังไม่มีการแบ่งเซลล์
มี เ ซนโทรเมี ย ร์ อ ยู ่ ต รงกลาง 2. ระยะเมทาเฟสซึ่งโครโมโซมเรียงอยู่ตรงกลางเซลล์
ซึ่ ง จะท� า ให้ แ ขนทั้ ง สี่ ข ้ า งของ 3. ระยะแอนาเฟสซึ่งโครโมโซมแยกจากกันไปยังขั้วเซลล์
โครมาทิดมีความยาวเท่ากัน 4. ระยะโพรเฟสซึ่งก�าลังเกิดกระบวนการคลอสซิงโอเวอร์
2. ซั บ เมทาเซนทริ ก (submetacentric) มี เ ซนโทรเมี ย ร์ อ ยู ่ ห ่ า งจาก 5. ระยะอินเตอร์เฟสซึ่งมีการสะสมสารส�าหรับการแบ่งเซลล์
จุดกึ่งกลางเล็กน้อย จึงท�าให้โครมาทิดมีแขนข้างหนึ่งยาวกว่าอีกข้าง (วิเคราะหคําตอบ ระยะที่เหมาะสมตอการศึกษารูปรางและ
เล็กน้อย ลักษณะของโครโมโซม คือ ระยะที่มีการแบงเซลลในขั้นเมทาเฟส
3. อะโครเซนทริก (acrocentric) มีเซนโทรเมียร์อยู่ในต�าแหน่งที่ใกล้กับ เนือ่ งจากโครโมโซมจะมาเรียงตัวอยูใ นแนวกึง่ กลางเซลล มองเห็น
ปลายของโครมาทิด ท�าให้โครมาทิดมีแขนข้างหนึ่งยาวมากกว่าอีกข้าง ไดอยางชัดเจน และยังเปนชวงทีเ่ หมาะตอการนับจํานวนโครโมโซม
4. ทีโลเซนทริก (telocentric) มีเซนโทรเมียร์อยูท่ ปี่ ลายของโครมาทิด ท�าให้ อีกดวย ดังนั้น ตอบขอ 2.)
โครมาทิดมีแขนข้างเดียว

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูตั้งคําถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจของ
นักเรียน โดยใหนักเรียนรวมกันตอบ ดังนี้
เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสแล้ว จะได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่มีจ�านวนโครโมโซม ï• เซลลทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงรูปรางไปทําหนาที่
เท่ากับเซลล์เดิม เฉพาะแลว สามารถแบงเซลลไดหรือไม
(แนวตอบ โดยปกติเซลลทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลง
รูปรางไปทําหนาทีเ่ ฉพาะ จะไมแบงเซลลอกี
แต เ ซลล บ างชนิ ด สามารถแบ ง เซลล ใ หม
เพื่อทดแทนเซลลไดตลอดเวลา เชน เซลล
6
ผิวหนัง เซลลเยือ่ บุทางเดินอาหาร)
ï• การแบงเซลลของรากหอมในระยะเทโลเฟส
พบการเปลีย่ นแปลงใดเกิดขึน้ กับไซโทพลาซึม
(แนวตอบ ชวงปลายของระยะเทโลเฟสจะมี
การสรางแผนกั้นเซลลคั่นตรงกลางระหวาง
5
นิวเคลียสใหมทงั้ สอง)
ï• การแบงเซลลแบบไมโทซิสมีกระบวนการใด
4
ทีท่ าํ ใหนวิ เคลียสทีเ่ กิดใหมทงั้ 2 นิวเคลียส มี
ปริมาณสารพันธุกรรมหรือจํานวนโครโมโซม
เทากับเซลลเดิม
(แนวตอบ มีการสราง DNA เปน 2 เทา ทําให
แตละโครโมโซมประกอบดวย 2 โครมาทิด
ซึ่งการขดตัวของโครโมโซมและการเรียงตัว
ตรงกึ่งกลางเซลลในระยะเมทาเฟสทําใหมี
การแบงโครโมโซมเปน 2 กลุม งายขึน้ การ
ขดตัวของเสนใยสปนเดิลทําใหโครโมโซม
5 เทโลเฟส (anaphase) 6 การแบ่งไซโทพลาซึม (cytokinesis)
แตละนิวเคลียสมีจาํ นวนเทากัน)
เมื่อโครมาทิดถูกดึงแยกออกจากกันมาที่ขั้วของเซลล์แล้ว เมื่อมีการแบ่งนิวเคลียสเรียบร้อยแล้วจะมีการแบ่ง
เส้นใยสปินเดิลจะสลายไป โครมาทิดจะคลายตัวออกเป็น ไซโทพลาซึม ซึ่งจะแตกต่างกันในเซลล์พืช และ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปความรู
เส้นใยโครมาทิน มีการสังเคราะหนิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้ม- เซลล์สัตว์ จากการทํากิจกรรมและการศึกษาเพิม่ เติมจาก
นิวเคลียส ท�าให้เห็นเหมือนว่าเซลล์มี 2 นิวเคลียส • เซลล์สตั ว์ เยือ่ หุม้ เซลล์จะคอดเข้าหากัน ท�าให้ แหลงตางๆ เกี่ยวกับเรื่อง การแบงเซลลแบบ
เซลล์แยกออกเป็น 2 เซลล์ 1
• เซลล์พืช จะสร้างแผ่นกันเซลล์ ((cell plate) ไมโทซิส โดยมีแนวการสรุป ดังนี้
โดยเริ่ ม ต้ น จากกลางเซลล์ แ ล้ ว ขยายไปยั ง “การแบงเซลลแบบไมโอซิสเปนการแบงเซลล
ผนังเซลล์ จากนั้นจะสร้างเซลลูโลสสะสมที่ เพื่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเกิดขึ้น
แผ่นกั้นเซลล์ เกิดเป็นผนังเซลล์ใหม่
เซลล์ 111
ในเซลลรา งกาย ประกอบไปดวยระยะโพรเฟส
ของสิ่งมีชีวิต เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส เมื่อสิ้น
สุดการแบงเซลลจะไดเซลลใหม 2 เซลล ทีม่ ี
จํานวนโครโมโซมเทากับเซลลเดิม”
ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู
ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการแบงเซลลแบบไมโทซิส 1 แผนกั้นเซลล เกิดขึ้นจากการเชื่อมรวมกันของเวสิเคิลที่สรางมาจาก
1. ไดเซลลใหม 2 เซลล กอลจิคอมเพล็กซ จนเกิดเปนโครงสรางลักษณะคลายแผนสานกันไปมาอยู
2. ไมมีการเกิดครอสซิงโอเวอร ระหวางนิวเคลียสใหมท้ังสอง และจะคอยๆ ขยายไปเชื่อมติดกับเยื่อหุมเซลล
3. เปนการแบงเซลลเพื่อเพิ่มจํานวนเซลลสืบพันธุ ของเซลลตงั้ ตน ในขณะเดียวกันจะมีการสังเคราะหเพกทิน (pectin) เพิม่ ขึน้ และ
4. นิวเคลียสของเซลลใหมมีจํานวนโครโมโซมเทาเซลลเดิม ลําเลียงมาสะสมตามแนวแผนกัน้ เซลล จนกระทัง่ เกิดเปนผนังชัน้ มิดเดิลลาเมลลา
5. ทําใหสิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโตและเพิ่มขนาดของรางกาย (middle lamella) และจากนั้ น จะมี ก ารสร า งผนั ง เซลล ทั้ ง สองข า งของ
(วิเคราะหคําตอบ การแบงเซลลแบบไมโทซิสเปนการแบงเซลล มิดเดิลลาเมลลา
รางกาย ซึง่ ไมมกี ารเกิดครอสซิงโอเวอร เมือ่ สิน้ สุดการแบงเซลลได
เซลลใหม 2 เซลล ที่นิวเคลียสมีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลลเดิม
โดยการแบงเซลลแบบนี้จะมีผลทําใหสิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต
เพิ่มขนาดของรางกาย ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ใหนักเรียนกลุมเดิมจากการทํากิจกรรมเมื่อ การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
ชั่วโมงที่แลว รวมกันศึกษาเรื่อง การแบงเซลล
แบบไมโอซิส ในหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เลม การแบงเซลลแบบไมโอซิส (meiosis) เปนการแบงเซลลเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ ซึ่งหลังการ
1 หรือจากแหลงเรียนรูตางๆ แลวแลกเปลี่ยน แบงเซลลสิ้นสุดลง จะไดเซลลใหม 4 เซลล โดยแตละเซลลจะมีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง
ความรูซึ่งกันและกัน ของเซลลเดิม
2. ครูอาจเสริมสรางความเขาใจของนักเรียนดวย
การเปดคลิปวิดีโอสารคดีสั้น TWIG เรื่อง การ ไมโอซิส I (meiosis I)
อินเตอร์เฟส I (interphase I) 1
แบงเซลล : ไมโอซิส https://www.twig-ak- จะสงผลใหมีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง หรือแยกโครโมโซม
เซลลจะเตรียมพรอมกอนเขาสู คูเหมือนออกจากกัน ซึ่งอาจเรียกขั้นตอนนี้วา ระยะการลดลงของ
sorn.com/fifilm/cell-division-meiosis-8077/ กระบวนการแบงเซลล โดยการจําลอง โครโมโซม (reductional division)
3. ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรม เรื่อง การ โครโมโซม ทําใหแตละโครโมโซม
แบงเซลลแบบไมโอซิสของเซลลดอกกุยชาย มี 2 โครมาทิด
โพรเฟส I (prophase I) 2
ในหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เลม 1 โดยให เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไป
นักเรียนแตละกลุม กําหนดใหสมาชิกแตละคน มีการสรางเสนใยสปนเดิล โครโมโซม 1
หดสั้นลง ฮอมอโลกัสโครโมโซมจะ 1
มี บ ทบาทหน า ที่ ข องตนเอง (ไม ค วรซํ้ า กั บ อยูกันเปนคู อาจเกิดครอสซิงโอเวอร 2
กิจกรรมที่ผานมา) ตัวอยางเชน (crossing over)) ซึ่งบริเวณที่เกิดการ
ไขวกัน เรียกวา ไคแอสมา (chiasma)
สมาชิกคนที่ 5 : ทําหนาทีเ่ ตรียมวัสดุอปุ กรณ
สมาชิกคนที่ 4 : ทําหนาที่อานวิธีการทํา เมทาเฟส I (metaphase I) 3 3
เซนทริโอลเคลื่อนที่ไปยังขั้วเซลลที่อยู
กิจกรรม และนํามาอธิบายใหสมาชิกในกลุม ฟง ตรงขามกัน เสนใยสปนเดิลที่จับกับ
สมาชิกคนที่ 3 : ทําหนาที่บันทึกผลการทํา ฮอมอโลกัสโครโมโซมหดตัว จึงดึงให
ฮอมอโลกัสโครโมโซมเคลื่อนที่มา 4
กิจกรรม
เรียงตัวกันกลางเซลล
สมาชิกคนที่ 2 : ทําหนาที่หาแหลงขอมูล 5
แอนาเฟส I (anaphase I) 4
อางอิงเพื่อสนับสนุนผลการทํากิจกรรม ฮอมอโลกัสโครโมโซมแยกออกจากกัน 6
สมาชิกคนที่ 1 : ทําหนาทีน่ าํ เสนอผลการทํา ไปสูขั้วของเซลลทั้ง 2 ดาน โดยแตละ
กิจกรรม โครโมโซมยังคงมี 2 โครมาทิด
4. ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมตามขั้นตอน
ที่กําหนด เทโลเฟส I (telophase I) 5
โครโมโซมที่แยกออกจากกันไปอยูที่
5. ในระหว า งทํ า กิ จ กรรมครู ค วรชี้ แ นะให ขั้วเซลลจะสรางเยื่อหุมนิวเคลียสขึ้น แตละ
นั ก เรี ย นเปรี ย บเที ย บภาพเซลล ที่ เ ห็ น จาก นิวเคลียสมีโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง (n) ภาพที่ 3.50 การแบงเซลลแบบไมโอซิส
กลองจุลทรรศนกับภาพในหนังสือเรียน หรือ เกิดการแบงไซโทพลาซึม
จากแหลงเรียนรูตางๆ จากนั้นใหนักเรียนวาด 112
ภาพที่สังเกตไดและเขียนกําลังขยายของภาพ การแบงเซลลแบบไมโอซิส
กํากับไวดวย

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ครอสซิงโอเวอร หรือการไขวเปลีย่ นของโครโมโซม คือ กระบวนการทีท่ าํ ให กําหนดเซลลตางๆ ตอไปนี้
มีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมระหวางโครโมโซมซึ่งเปนฮอมอโลกัสกัน เกิดขึ้น ก. เซลลอสุจิ ข. เซลลไข
ในชวงทายๆ ของระยะโพรเพส I ในการแบงเซลลแบบไมโอซิส ค. เซลลเม็ดเลือดขาว ง. เซลลผิวหนัง
เซลลในขอใดมีการแบงเซลลแบบไมโอซิส
1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค.
สื่อ Digital 3. ข. และ ค. 4. ข. และ ง.
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแบงเซลล 5. ค. และ ง.
แบบไมโอซิส ไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น (วิเคราะหคําตอบ การแบงเซลลแบบไมโอซิส เปนการแบงเซลล
Twig เรื่อง การแบงเซลล : ไมโอซิส เพือ่ สรางเซลลสบื พันธุ จึงพบในเซลลทเี่ กีย่ วของกับการสืบพันธุข อง
https://www.twig-aksorn.com/fifilm/ สิ่งมีชีวิต ไดแก อัณฑะและรังไขของมนุษยหรือสัตว อับสปอรหรือ
cell-division-mitosis-7926/ อับเรณูและออวุลของพืชทั่วไป และโคนของสน ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T124
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียน โดยให้นักเรียนร่วมกันตอบ ดังนี้
โครโมโซมทีเ่ ป็นคูก่ นั เรียกว่า ฮอมอโลกั1สโครโมโซม (homologous chromosome) โดยเซลล์ ï• การแบงเซลลแบบไมโอซิส เซลลใหมที่เกิด
ที่มีโครโมโซมเข้าคู่กัน เรียกว่า เซลล์ดิพลอยด์ (diploid) ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชุด หรือ 2n ส่วนเซลล์ ขึน้ มีจาํ นวนโครโมโซมเปนอยางไรเมือ่ เทียบ
สืบพันธุ์ที่มีจ�านวนโครโมโซมเพียง 1 ชุด หรือ n เรียกว่าเซลล์แฮพลอยด์ (haploid) กับเซลลเดิม
(แนวตอบ เซลลใหมจะมีจาํ นวนโครโมโซมลด
ลงครึง่ หนึง่ เมือ่ เทียบกับเซลลเดิม)
ï• การแบงเซลลแบบไมโอซิส พบไดที่ไดบาง
(แนวตอบ บริเวณเนือ้ เยือ่ ทีเ่ จริญไปเพือ่ สราง
เซลลสบื พันธุ)
ï• ฮอมอโลกัสโครโมโซมคืออะไร และพบใน
6 โพรเฟส II (prophase II)
เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสเริ่ม
เซลลชนิดใด
สลายไป โครโมโซมหดสั้นลง มีการ (แนวตอบ เปนโครโมโซมที่ทีรูปรางลักษณะ
สร้างเส้นใยสปินเดิล เพื่อจับกับโครโมโซม เหมื อ นกั น และมี ยี น ที่ ค วบคุ ม ลั ก ษณะ
ที่บริเวณเซนโทรเมียร์
เดียวกันอยูในตําแหนงตรงกัน พบในเซลล
7 เมทาเฟส II (metaphase II)
ดิพลอยด หรือเซลลรา งกาย)
9 เซนทริโอลเคลื่อนที่ไปยังขั้วเซลล์ที่อยู่ ï• เซลล ดิ พ ลอยด ต  า งจากเซลล แ ฮพลอยด
ตรงข้ามกัน เส้นใยสปินเดิลที่จับกับ อยางไร
โครโมโซมหดตัว จึงดึงให้โครโมโซม
เคลื่อนที่มาเรียงตัวกันกลางเซลล์ (แนวตอบ เซลลดพิ ลอยดมโี ครโมโซม 2 ชุด
8 หรือ 2n สวนเซลลแฮพลอยดมโี ครโมโซม 1
8 แอนาเฟส II (anaphase II) ชุด หรือ n)
7 เส้นใยสปินเดิลหดสั้น ดึงให้โครมาทิด ï• การเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียสในการแบง
แยกออกจากกันไปยังขั้วของเซลล์
ซึ่งโครโมโซมที่แยกออกจากกันนี้ เซลลแบบไมโอซิสมีความแตกตางจากใน
ประกอบด้วย 1 โครมาทิด การแบงเซลลแบบไมโทซิสอยางไร
(แนวตอบ นิวเคลียสมีการเปลี่ยนแปลง 2
9 เทโลเฟส II (telophase II) รอบ เมือ่ สิน้ สุดการแบงเซลลจงึ ไดเซลลใหม
โครโมโซมคลายเกลียวออกกลายเป็น
ไมโอซิส II (meiosis II) เส้นยาว มีนิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้มนิวเคลียส 4 เซลล)
เกิดขึ้น ซึ่งหลังจากสิ้นสุดการแบ่งนิวเคลียส ï• การแบงเซลลแบบไมโอซิสเกิดขึ้นอยางเปน
เป็นระยะที่ต่อจากเทโลเฟส I ซึ่งในระยะ แบบไมโอซิสจะมีการแบ่งไซโทพลาซึมต่อไป
อินเตอร์เฟส II จะไม่มีการจ�าลองโครโมโซม เนื่องจาก วัฏจักรหรือไม
แต่ละเซลล์มีโครโมโซมที่ประกอบด้วย 2 โครมาทิดอยู่แล้ว
เซลล์ 113
(แนวตอบ ไมเปนวัฏจักร เพราะเซลลใหมที่
ของสิ่งมีชีวิต
ไดจากการแบงเซลลจะเจริญตอไปเปนเซลล
สืบพันธุ ซึง่ เซลลสบื พันธุจ ะไมแบงเซลลอกี )

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


เพราะเหตุใดเซลลที่เกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิสจึงมี 1 เซลลดิพลอยด (diploid) คือ เซลล์ที่ประกอบด้วยโครโมโซม 2 ชุด (2n)
จํานวนโครโมโซมแตกตางจากเซลลเดิม โดยโครโมโซมจะอยู่กันเป็นคู่ๆ เช่น เซลล์ร่างกายของมนุษย์ที่ประกอบด้วย
(วิเคราะหคําตอบ เซลลที่เกิดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิสจะมี โครโมโซม 46 แท่ง ซึ่งเกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ส่วนเซลล์แฮพลอยด์
จํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม เพราะการแบงเซลล (haploid) คือ เซลล์ทปี่ ระกอบด้วยโครโมโซมเพียง 1 ชุด (n) ทีไ่ ม่เหมือนกัน เช่น
แบบนี้จะมีการแบงนิวเคลียส 2 ครั้ง ครั้งแรกแบงฮอมอโลกัส เซลล์สืบพันธุ์ของมนุษย์ คือ ไข่และอสุจิ ซึ่งเกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
โครโมโซม สวนครั้งที่สองแบงโครมาทิดของแตละโครโมโซม) จึงมีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์ คือ 23 แท่ง เมื่อเกิดการปฏิสนธิจะได้ไซโกต
(zygote) ที่มีโครโมโซม 46 แท่ง

T125
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
2. ให้นักเรียนศึกษาเปรียบเทียบการแบ่งเซลล์ ตารางที่ 3.1 : เปรียบเทียบการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส
แบบไมโทซิสกับแบบไมโอซิส โดยอาจศึกษา ไมโทซิส ไมโอซิส
จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 หรือ เป็นการแบ่งเซลล์ร่างกาย เพื่อเพิ่มจ�านวนเซลล์ เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
จากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ แล้วอภิปรายเพื่อให้ได้ ซึ่งท�าให้สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต
ข้อสรุปร่วมกัน ซึ่งมีแนวการสรุป ดังนี้ ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่มีจ�านวนโครโมโซม ได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ที่มีจ�านวนโครโมโซม
“การแบงเซลลแบบไมโทซิส เปนการแบง เท่าเดิม (2n) ลดลงครึ่งหนึ่ง (n)
เซลลรางกายเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล ทั้งนี้เพื่อ เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งตัวแบบไมโทซิส เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้นไม่สามารถแบ่งตัวแบบ
การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต ไดเซลลใหม 2 ได้อีก ไมโอซิสได้ แต่แบ่งตัวแบบไมโทซิสได้
เซลล ที่มีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลลเดิม เกิดขึ้นตั้งแต่ระยะไซโกต จนกระทั่งสิ่งมีชีวิตตายลง เกิดขึ้นเมื่อสิ่งมีชีวิตเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์
สวนการแบงเซลลแบบไมโอซิส เปนการแบง ไม่มีการเกิดไซแนปส์ มีการเกิดไซแนปส์
เซลลเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ ไดเซลลใหม 4 ไม่มีการเกิดไคแอสมา มีการเกิดไคแอสมา
เซลล ที่มีจํานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่งเมื่อ ไม่มีการเกิดครอสซิงโอเวอร์ มีการเกิดครอสซิงโอเวอร์
เทียบกับเซลลเดิม ”
B iology 1
Focus โพรเฟส I
โพรเฟส I แบ่งออกเป็น 5 ระยะย่อย ดังนี้
1. เลปโททีน (leptotene) เป็นระยะที่มองเห็นนิวคลีโอลัสชัดเจน โครโมโซมจะมีลักษณะเป็น
สายยาวและสานกันไปมาไม่สม�่าเสมอ เมื่อย้อมสีบริเวณนี้จะติดสีเข้ม ซึ่งเรียกบริเวณนี้ว่า
โครโมนีมา (chromonema) ท�าให้เห็นโครโมโซมเป็นแท่งชัดเจน
2. ไซโกทีน (zygotene) โครโมโซมทีเ่ ป็นโครโมโซมคูเ่ หมือน (ฮอมอโลกัสโครโมโซม) จะจับคูก่ นั
เรียกว่า ไซแนปส์ (synapsis) เมื่อโครโมโซมไซแนปส์กันแล้วจะมีโครมาทิดทั้งหมด 4
โครมาทิด ซึ่งเรียกโครโมโซมที่ไซแนปส์กันแล้วว่า ไบวาเลนท์ (bivalent)
3. แพคีทีน (pachytene) โครโมโซมจะหดสัน้ และหนาขึน้ ท�าให้มองเห็นได้ชดั เจน จะมองเห็น
โครโมโซมแต่ละไบวาเลนท์ประกอบด้วย 4 โครมาทิด เรียกว่า เทแทรด (tetrad) โครมาทิด
ของโครโมโซมเดียวกัน เรียกว่า ซิสเตอร์โครมาทิด (sister chromotid) ส่วนโครมาทิดของ
โครโมโซมอืน่ ทีเ่ ป็นฮอมอโลกัสโครโมโซมกัน เรียกว่า นอนซิสเตอร์โครมาทิด (nonsister
chromotid)
4. ดิโพลนีมำ (diplonema) นิวคลีโอลัสจะลดขนาดลง ฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกตัวออกจากกัน
แต่มบี างส่วนยังคงติดกันอยู่ โดยเรียกส่วนทีต่ ดิ กันนีว้ า่ ไคแอสมา (chiasma) ซึง่ เป็นบริเวณ
ที่อาจจะเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของนอนซิสเตอร์โครมาทิดที่เรียกว่า ครอสซิงโอเวอร์
(crossing over)
5. ไดอะคิเนซิส (diakinesis) ไคแอสมาจะเคลื่อนที่ไปอยู่ที่ส่วนปลายของโครโมโซม เนื่องมา
จากการหดตัวของโครโมโซม นิวคลีโอลัสและเยื่อหุ้มเซลล์เริ่มสลายไป
114

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 โพรเฟส I ระยะย่อยของโพรเพส I มีลักษณะ ดังนี้ การแบงเซลลแบบไมโทซิสกับแบบไมโอซิสแตกตางกันอยางไร
(วิเคราะหคําตอบ การแบงเซลลแบบไมโทซิสเปนการแบงเซลล
เลปโททีน ไซโกทีน
รางกายเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล โดยเซลลใหมจะมีโครโมโซมเทากับ
เซลลเดิม สวนการแบงเซลลแบบไมโอซิส เปนการแบงเซลลสบื พันธุ
โดยเซลลใหมจะมีจํานวนโครโมโซมเปนครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม)

แพคีทีน ดิโพลนีมา ไดอะคิเนซิส

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
• การสังเกต 1. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม สร า งโมเดลแทนระยะ
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของเซลล์ปลายรากหอม • การลงความเห็นจากข้อมูล
ตางๆ ของการแบงเซลล โดยเลือกอุปกรณตาม
จิตวิทยำศำสตร์ ความเหมาะสม จากนั้นวางโมเดลไวโดยไม
วัสดุอปุ กรณ์และสำรเคมี • ความสนใจใฝ่รู้ เรียงลําดับระยะ แลวใหนักเรียนกลุมอื่นๆ มา
• ความรับผิดชอบ
จัดเรียงโมเดลใหเปนไปตามระยะตางๆ ของ
1. ใบมีดโกน 6. คีมคีบ (forcep) 10. น�้ากลั่น
2. หลอดหยด 7. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 11. กระดาษทิชชู การแบงเซลลใหถูกตอง
3. หัวหอมแดง 8. ดินสอไม้ชนิดที่มียางลบ 12. สีอะซีโทคาร์มีน เข้มข้น 0.5% 2. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม นํ า เสนอผลงานของ
4. บีกเกอร์ขนาด 50 ml 9. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 13. กรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 1 โมล/ลิตร ตนเองโดยการใชเทคโนโลยีเขามาเกี่ยวของ
5. กล้องจุลทรรศน์
เชน อาจถายภาพผลงานแลวนําเสนอในรูป
วิธปี ฏิบตั ิ แบบ PowerPoint จัดทําคลิปวิดีโอ หรือใน
1. เพาะหอมแดงโดยวางบนบีกเกอร์ที่มีน�้าอยู่ จนรากงอกยาวประมาณ 1- 2 ซม. รูปแบบแอนิเมชันที่นาสนใจ
2. ตัดปลายรากหอมยาวประมาณ 0.5 ซม. วางบนสไลด์ หยดกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1 โมล/ลิตร ให้ท่วม
ผ่านสไลด์บนเปลวไฟ 3- 4 ครั้ง (ระวังอย่าให้กรดไฮโดรคลอริกแห้ง) แล้วล้างกรดไฮโดรคลอริกออกโดย
หยดน�้ากลั่นลงบนสไลด์และเทออก 2- 3 ครั้ง
3. ใช้กระดาษทิชชูซับน�้าให้แห้ง แล้วหยดสีอะซีโทคาร์มีนเข้มข้น 0.5% ให้ท่วม ผ่านสไลด์บนเปลวไฟ
(ระวังอย่าให้สีเดือดและแห้ง) แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์
4. ใช้ดินสอด้านที่มียางลบอยู่เคาะเบา ๆ บนกระจกปิดสไลด์ เพื่อให้เซลล์กระจาย แล้วใช้กระดาษทิชชูซับ
บริเวณข้าง ๆ กระจกปิดสไลด์ให้แห้ง
5. น�าสไลด์ไปศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตความแตกต่างของเซลล์แต่ละเซลล์ แล้วบันทึกภาพหรือ
วาดภาพเซลล์ที่มีการแบ่งเซลล์ในระยะต่าง ๆ
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม 1. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยขึ้นอยู
1. จากการศึกษาเซลล์ปลายรากหอมด้วยกล้องจุลทรรศน์ นักเรียนพบเซลล์ในระยะใดมากที่สุด กับผลการทํากิจกรรม
2. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกันอย่างไร 2. ในเซลล พื ช ไม มี เ ซนทริ โ อลแต มี เ ส น ใย
3. หากเซลล์ชนิดหนึง่ มีโครโมโซม 6 โครโมโซม หลังจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส จะได้เซลล์ใหม่กี่เซลล์ สป น เดิ ล กระจายออกจากขั้ ว เซลล ทั้ ง สอง
และเซลล์ใหม่มีจ�านวนโครโมโซมเท่าใด
ข า ง และในระยะเทโลเฟส เซลล พื ช จะมี
อภิปรายผลกิจกรรม แผนกั้นเซลลเกิดขึ้นบริเวณตรงกลางระหวาง
บริเวณปลายรากหอมเป็นบริเวณทีม่ กี ารแบ่งเซลล์ตลอดเวลา จึงเหมาะทีจ่ ะใช้ในการศึกษาเซลล์ ซึง่ จาก โครโมโซม 2 กลุม ซึ่งตอมาจะกลายเปน
กิจกรรมที่มีการล้างเซลล์ด้วยกรดไฮโดรคลอริกนั้น เพื่อท�าให้ผนังเซลล์อ่อนตัวและเซลล์แยกจากกันได้ง่าย ผนังเซลล สวนในเซลลสัตวจะมีเซนทริโอล
การหยดสีอะซีโตนคาร์มีนลงไปบนเซลล์ เพื่อช่วยให้เห็นโครโมโซมได้ชัดเจนขึ้น การผ่านสไลด์บนเปลวไฟ
จะช่วยให้สีย้อมติดได้ดีขึ้น ที่สรางเสนใยสปนเดิล และในระยะเทโลเฟส
การสังเกตเซลล์ปลายรากหอมภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบว่า เซลล์มีขนาดแตกต่างกัน และนิวเคลียส ไซโทพลาซึมจะคอดเขาหากันบริเวณตรงกลาง
ของแต่ละเซลลล์มีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งลักษณะดังกล่าวนั้นเนื่องมาจากการแบ่งเซลล์ ระหวางโครโมโซม 2 กลุม
เซลล์ 115
ของสิ่งมีชีวิต
3. ไดเซลลใหม 2 เซลล แตละเซลลมี 6 โครโมโซม

ขอสอบเนน การคิด บันทึก กิจกรรม


ตัวอยางภาพ การแบงเซลลแบบไมโทซิสของเซลลปลายรากหอม
นั ก เรี ย นคิ ด ว า การศึ ก ษาการแบ ง เซลล ข องปลายรากหอม
จะสั ง เกตเห็ น เซลล ใ นระยะใดของการแบ ง เซลล ม ากที่ สุ ด Interphase Prophase Metaphase Anaphase Telophase
เพราะเหตุใด จงอธิบายมาพอสังเขป
(วิเคราะหคําตอบ การศึกษาการแบงเซลล จะสังเกตเห็นเซลลใน
ระยะอินเตอรเฟสมากที่สุด เนื่องจากระยะอินเตอรเฟสเปนระยะ
เตรียมความพรอมกอนการแบงเซลล ซึง่ ใชเวลานาน ตางกับระยะ
การแบงเซลลทมี่ กี ารแบงนิวเคลียสซึง่ จะใชเวลาชวงสัน้ ๆ เทานัน้ )

T127
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
1. ใหนกั เรียนรวมกันสรุปความรูว า การแบงเซลล • การสังเกต

มีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอยางไร โดยควรมี การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสของเซลล์ดอกกุยช่าย • การลงความเห็นจากข้อมูล

แนวการสรุป ดังนี้ จิตวิทยำศำสตร์


“การแบงเซลลเปนกระบวนการเพิ่มจํานวน วัสดุอปุ กรณ์และสำรเคมี • ความสนใจใฝ่รู้
• ความรับผิดชอบ
เซลล ซึง่ ทําใหสงิ่ มีชวี ติ มีการเจริญเติบโต หรือ
1. ดอกกุยช่าย 6. คีมคีบ
เพื่อสรางเซลลสืบพันธุ หากไมมีการแบงเซลล 2. แท่งแก้วคนสาร 7. หลอดหยด
สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถดํารงชีวิตอยูได ” 3. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 8. กระดาษทิชชู
2. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ใน 4. ตะเกียงแอลกอฮอล์ 9. สีอะซีโทคาร์มีน เข้มข้น 0.5%
แบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เลม 1 5. กล้องจุลทรรศน์

วิธปี ฏิบตั ิ
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล 1. วางอับเรณูของดอกกุยช่าย 1- 2 อัน ลงบนสไลด์ที่สะอาด ใช้ปลายแท่งแก้วคนสาร (ด้านทู่) บดอับเรณู
ของดอกกุยช่ายให้เซลล์กระจายออกจากกัน
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคําถาม 2. หยดสีอะซีโทคาร์มนี เข้มข้น 0.5% 1 หยด บนอับเรณู อุน่ สไลด์ให้รอ้ นเหนือเปลวไฟบนตะเกียงแอลกอฮอล์
การรวมกันทําผลงาน และการนําเสนอผลงาน (ระวังอย่าให้เดือด และสังเกตจนกระทั่งฟองอากาศเริ่มเคลื่อนมาที่ขอบ) แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์
2. ครูวัดและประเมินการปฏิบัติการ จากการทํา 3. พับกระดาษทิชชูให้ซ้อนกันหนา ๆ วางสไลด์ลงไประหว่างกระดาษทิชชูที่พับ แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือกดบน
กิจกรรม เรือ่ ง การแบงเซลลแบบไมโทซิสของ บริเวณกระจกปิดสไลด์ที่มีกระดาษทิชชูหุ้มอยู่ (ระวังอย่าให้กระจกปิดสไลด์เลื่อน)
4. ใช้กระดาษทิชชูเช็ดขอบสไลด์ แล้วน�าสไลด์ไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตความแตกต่างของเซลล์
เซลลปลายรากหอม และการแบงเซลลแบบ แต่ละเซลล์ แล้วบันทึกภาพหรือวาดภาพเซลล์ที่มีการแบ่งเซลล์ในระยะต่าง ๆ
ไมโอซิสของเซลลดอกกุยชาย
3. ครูตรวจผลงานจากการทําโมเดลการแบงเซลล ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
4. ครูตรวจสอบผลการทําแบบฝกหัด ?
1. จากการศึกษาการแบ่งเซลล์ของเซลล์ดอกกุยช่าย แตกต่างจากการแบ่งเซลล์ของเซลล์ปลายรากหอมอย่างไร
2. เหตุใดเซลล์ที่เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจึงมีจ�านวนโครโมโซมต่างจากเซลล์เดิม
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม 3. หากเซลล์ชนิดหนึ่งมีโครโมโซมเป็น 2 n = 8 เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส จะได้เซลล์ที่มีจ�านวน
โครโมโซมเท่าใด จงอธิบายพร้อมเขียนแผนภาพประกอบ
1. การแบงเซลลของเซลลดอกกุยชาย จะเกิดการ
แบงนิวเคลียส 2 รอบ จึงไดเซลลลูก 4 เซลล อภิปรายผลกิจกรรม
2. เพราะมีการแบงนิวเคลียส 2 ครัง้ โดยครัง้ แรก
เซลล์ที่เกิดจาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะมีจ�านวนโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม เพราะมีการ
แบงฮอมอโลกัสโครโมโซม สวนครั้งที่สองแบง แบ่งนิวเคลียส 2 ครั้ง แต่เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์บางตัวอาจมีก�าลังขยายไม่สูงนัก จึงท�าให้ไม่อาจนับจ�านวน
โครมาทิดของแตละโครโมโซม 4 n โครโมโซมในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ได้ ดังนัน้ การศึกษาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจึงควรเปรียบเทียบภาพที่
3. ไดเซลลใหม 4 เซลล 4 เห็นจากกล้องจุลทรรศน์กับภาพประกอบในหนังสือเรียน เพื่อให้ทราบได้ว่าเป็นการแบ่งเซลล์ในระยะใด
n 4 n
แตละเซลลมี 4 8
2n 4 n 116
โครโมโซม ดังภาพ 4
n 4 n

แนวทางการวัดและประเมินผล บันทึก กิจกรรม

ครูวัดและประเมินความเขาใจของนักเรียน เรื่อง การแบงเซลล ดวยการ ตัวอยางภาพ การแบงเซลลแบบไมโอซิสของเซลลดอกกุยชาย


สังเกตและประเมินการปฏิบตั กิ าร จากการทํากิจกรรม เรือ่ ง การแบงเซลลแบบ Prophase I Metaphase I Anaphase I Telophase I
ไมโทซิสของเซลลปลายรากหอม และการแบงเซลลแบบไมโอซิสของเซลลดอก
กุยชาย อีกทั้งประเมินผลงาน โมเดลการแบงเซลล โดยศึกษาเกณฑการวัดและ
ประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบัติการ และแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน
(รวบยอด) ที่อยูในแผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 Prophase II Metaphase II Anaphase II Telophase II
เกณฑ์การประเมินผลงาน
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินการปฏิบัติการ ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
แบบประเมินชิ้นงาน โมเดลการแบ่งเซลล์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน 1. การออกแบบ ออกแบบชิ้นงานก่อนลง ออกแบบชิ้นงานก่อนลง ออกแบบชิ้นงานก่อนลง สร้างชิ้นงานได้
ประเด็นที่ประเมิน มือปฏิบัติ วางแผนและ มือปฏิบัติ วางแผนและ มือปฏิบัติ วางแผนและ สอดคล้องกับ
4 3 2 1 คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงานตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน ดาเนินการสร้างชิ้นงาน จุดประสงค์บางส่วน
1. การปฏิบัติการ ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ทดลอง ระดับคะแนน ได้สอดคล้องกับ ได้สอดคล้องกับ ได้สอดคล้องกับ โดยไม่ได้ออกแบบและ
ระดับคะแนน ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ อย่างมากในการทาการ
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้ ลาดับที่ รายการประเมิน จุดประสงค์ จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางส่วน วางแผนดาเนินการ
4 3 2 1 ได้อย่างถูกต้อง 4 3 2 1
ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์
1 การปฏิบัติการทดลอง 1 การออกแบบ 2. การเลือกใช้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุได้ เลือกใช้วัสดุไม่
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่ 2 การเลือกใช้วัสดุ วัสดุ เหมาะสม และใช้ เหมาะสม แต่ใช้ เหมาะสมพอสมควร เหมาะสม และใช้
3 การนาเสนอ คล่องแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา 3 ความสมบูรณ์ งบประมาณอย่าง งบประมาณสูง และใช้งบประมาณสูง งบประมาณสูงมาก
ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสร็จ อุปกรณ์เสียหาย ประหยัด
รวม โดยไม่ต้องได้รับคา 4 ความตรงต่อเวลา
ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา 3. ความสมบูรณ์ ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ชี้แนะ และทาการ รวม
เสร็จทันเวลา แข็งแรง ทนทาน และ เป็นส่วนใหญ่ แข็งแรง เป็นส่วนน้อย แข็งแรง น้อย และไม่แข็งแรง
ทดลองเสร็จทันเวลา
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน สวยงาม ทนทาน ทนทาน
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ
.............../................/................ และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน 4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล ................./................../.................. เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป
เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก 14-16 ดีมาก
9-10 ดี 11-13 ดี
6-8 พอใช้ 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T128
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
หลังจากแบงเซลล เซลล 6. การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และ ครูใช้ค�าถามกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียน
ใหมจะมีการเปลีย่ นแปลง การชราภาพของเซลล์ ï• เซลลทุกชนิดมีลักษณะเหมือนกันหรือไม
อีกหรือไม อยางไร
สิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เมื่อไข่และอสุจิ (แนวตอบ ไมเหมือนกัน เซลลแตละชนิดจะ
ปฏิสนธิกันจะได้เซลล์ใหม่ คือ ไซโกต (zygote) ซึ่งมีเพียง
มีลกั ษณะรูปรางแตกตางกัน เพราะมีหนาที่
เซลล์เดียว ต่อมาไซโกตจะแบ่งตัวเพิ่มจ�านวนเซลล์มากขึ้น หลังจากนั้นเซลล์ใหม่ที่ได้แต่ละเซลล์
ตางกัน)
จะเปลี่ยนสภาพเพื่อไปท�าหน้าที่ต่าง ๆ และเมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้นก็จะเกิดการชราภาพของเซลล์
ï• การเปลี่ยนสภาพของเซลลเกิดขึ้นเมื่อใด
6.1 การเปลี่ยนสภาพของเซลล์ (แนวตอบ หลังการแบงเซลล)
เมื่อผ่านกระบวนการแบ่งเซลล์แล้ว เซลล์แต่ละชนิดจะมีการเปลี่ยนสภาพไป สิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวมีก1ารเปลี่ยนสภาพของเซลล์ไปเพื่อท�าหน้าที่ต่าง ๆ เช่น ในเซลล์แบคทีเรียมีการสร้าง ขัน้ สอน
เอนโดสปอร์ (endospore) ที่ช่วยท�าให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ในสาหร่าย สํารวจค้นหา
สีเขียวแกมน�า้ เงินจะสร้างเซลล์พเิ ศษทีเ่ รียกว่า เฮเทอโรซิสต์ (heterocyst) ซึง่ มีผนังหนาและสามารถ 1. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การเปลี่ยนสภาพของ
จับแกสไนโตรเจนในอากาศแล้วเปลีย่ นเป็นสารประกอบไนโตรเจนทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ เซลล์ได้ ในสัตว์ เซลล์และการชราภาพของเซลล์ จากหนังสือ
มีเซลล์เม็ดเลือดแดงซึ่งท�าหน้าที่น�าส่งออกซิเจน เซลล์ประสาทท�าหน้าที่น�าส่งกระแสประสาท เรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
ส่วนในพืช มีกลุ่มเซลล์ที่ท�าหน้าที่ล�าเลียงน�้าและอาหาร เป็นต้น
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลที่
จะเห็นได้ว่า เซลล์ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะเริ่มต้นมาจากเซลล์เพียงเซลล์เดียว ซึ่งจะมี
เกิดขึน้ กับร่างกายเมือ่ เซลล์มกี ารเปลีย่ นสภาพ
การเปลี่ยนสภาพไปท�าหน้าที่ต่าง ๆ กัน เพื่อท�าให้สิ่งมีชีวิตนั้นสามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ภายใน
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อสรุป

อธิบายความรู้
ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียน
เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์เม็ดเลือดขาว ï• การชราภาพของเซลลเกิดขึ้นไดอยางไร
(แนวตอบ มีการขาดหายไปของสวนปลาย
โครโมโซมทุกครั้งที่มีการแบงเซลล ซึ่งสวน
ทีข่ าดหายไปนีอ้ าจจะเปนสวนทีค่ วบคุมการ
เปลีย่ นสภาพของเซลล)
เซลล์ประสาท เซลล์เยื่อบุผิว
ภาพที่ 3.51 ตัวอย่างเซลล์ที่เปลี่ยนสภาพไปเพื่อท�าหน้าที่เฉพาะ
แนวตอบ Prior Knowledge
เซลล์ 117
ของสิ่งมีชีวิต
เซลลจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่
เฉพาะ

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การชราภาพของเซลลเกี่ยวของกับอายุขัยของเซลลและยีน 1 เอนโดสปอร เป็นสปอร์ที่แบคทีเรียสร้างขึ้นภายในเซลล์ ช่วยให้แบคทีเรีย
หรือไม อยางไร สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้แม้สภาพอากาศแห้งแล้ง ความร้อนสูง และยังช่วยให้
(วิเคราะหคําตอบ เกี่ยวของกัน คือ เซลลมีอายุขัยที่จํากัด ซึ่งถา แบคทีเรียสามารถแพร่กระจายไปกับดิน น�้าและอากาศได้ดีขึ้น ซึ่งเมื่อสภาวะ
เซลลใชเวลาในการแบงเซลลสั้นและบอยครั้ง จะทําใหเซลลเกิด เหมาะสมสปอร์จะงอกกลายเป็นเซลล์แบคทีเรียต่อไป ตัวอย่างแบคทีเรียที่
การชราภาพเร็วและมีอายุไขสัน้ สวนยีนจะเปนตัวกําหนดใหเซลล สามารถสร้างเอนโดสปอร์ได้ เช่น แบคทีเรียทีก่ อ่ สารพิษในหน่อไม้ปบ Clostridium
ตายลงตามอายุขัยของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ เซลลที่ชราภาพจะมี botulinum แบคทีเรียที่มักถูกน�าไปใช้สร้างอาวุธชีวภาพ Bacillus anthracis
เอนไซมภายในเซลลนอ ยลง ทําใหเซลลมกี ารทํางานชาลงและอาจ
ตายในที่สุด)

T129
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายความเข้าใจ
1. ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับความชราในเด็กหรือ 6.2 การชราภาพของเซลล์
กลุม่ อาการโปรเจเรียว่า เกิดจากการกลายของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีอายุขัยจ�ากัด บางชนิดอายุสั้น บางชนิดอายุยืน โดยจากการศึกษาพบว่า
ยีน ซึ่งท�าให้เซลล์ชราภาพเร็วกว่าปกติ อายุขัยที่จ�ากัดนั้นเป็นผลเนื่องจากการชราภาพของเซลล์ ซึ่งเซลล์ที่มีอายุมากขึ้น จะมีการสะสม
2. ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับกลุม่ ของเสียมากขึ้น ท�าให้เซลล์เสื่อมสภาพ ประสิทธิภาพในการท�างานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
อาการโปรเจเรีย จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้ว ลดลงและตายในที่สุด นักวิทยาศาสตร์พบว่า เซลล์ชราภาพจะมีบริเวณส่วนปลายของโครโมโซม
สรุปความรู้มาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน สั้นลงทุกครั้งเมื่อมีการแบ่งเซลล์ จึงเป็นไปได้ว่า บริเวณส่วนปลายที่สั้นลงนี้ เป็นส่วนที่ท�าหน้าที่
ควบคุมการปรับสภาพของเซลล์
ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
การชราภาพของเซลล์ ประสิทธิภาพการ
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ทีเ่ กีย
่ วกับปจจัยภายนอก ท�างานของเซลล์ลดลง
การเปลี่ยนสภาพของเซลล์ และการชราภาพ
การได้รับสารพิษต่าง ๆ เช่น 1. การสังเคราะห์โปรตีนลดลง ท�าให้
ของเซลล์ ในรูปแบบผังมโนทัศน์ แอลกอฮอล์ ควัน บุหรี่ อนุมลู อิสระ ซึง่ กิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ที่
2. ครูมอบหมายให้นักเรียนท�าแบบฝกหัด ใน ท�าให้ DNA เกิดมิวเทชัน รวมทั้งการ เกี่ยวข้องกับโปรตีนลดลง
เปลี่ยนแปลงของโปรตีนบางชนิดใน 2. ความว่องไวในการท�างานต�่าลง
แบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 เซลล์ ท�าให้สมบัติของเซลล์เปลี่ยนไป เนื่องจากประสิทธิภาพในการ
3. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม ท�างานของไมโทคอนเดรียลดลง
และการร่วมกันท�าผลงาน ดังนั้น การสังเคราะห์สารพลังงาน
(ATP) จึงลดลงไปด้วย
4. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบฝกหัด การชราภาพของเซลล์
ที่เกี่ยวข้องกับยีน
มีสาเหตุมาจากความผิดปกติของยีน
เช่น ผู้ป่วยที่เป็นโรคโปรเจเรีย
(Progeria) หรือเวอร์เนอร์ซินโดรม
(Werner Syndrome) ภาพที่ 3.52 การชราภาพของเซลล์

B iology
Focus ความชราในเด็ก
ความชราในเด็ก หรือกลุม่ อาการโปรเจเรีย พบได้ทงั้ ในเพศหญิงและเพศชาย มีโอกาสพบเพียง 1
ใน 8 ล้านคน ซึง่ เกิดจากการกลายแบบด้อยของยีน ท�าให้เซลล์ชราภาพเร็วกว่าคนปกติ ผูป้ ว่ ยมีลกั ษณะ
เหมือนคนปกติในช่วง 10-24 เดือนแรก หลังจากนัน้ จะเริม่ มีการเจริญเติบโตช้ามาก รูปร่างแคระแกรน
เตี้ย น�้าหนักน้อย ผิวหนังเหี่ยวย่นคล้ายคนแก่ ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาโรคนี้ให้หายขาดได้ ท�าได้
เพียงรักษาตามอาการเท่านั้น ผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตในช่วงอายุ 8-21 ป หรือเฉลี่ยอายุประมาณ 13 ป

118

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูวดั และประเมินความเข้าใจของนักเรียน เรือ่ ง การเปลีย่ นสภาพของเซลล์ ขอใดกลาวไมถูกตอง
และการชราภาพของเซลล์ ด้วยการตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง การเปลี่ยนสภาพ 1. อนุมูลอิสระมีผลให้เซลล์เกิดการชราภาพ
ของเซลล์ และการชราภาพของเซลล์ โดยศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผล 2. โรคโปรเจเรียเกี่ยวข้องกับการชราภาพของเซลล์
จากแบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ทีแ่ นบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ 3. สารพิษต่างๆ เช่น ควัน บุหรี่ มีผลต่อการขราภาพของ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์
4. เซลล์ทชี่ ราภาพมีกระบวนการสร้าง ATP ในไมโทคอนเดรีย
ลดลง
แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แบบประเมินผังมโนทัศน์
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

5. เซลล์ที่ชราภาพมีบริเวณส่วนปลายของโครโมโซมยาวขึ้น
ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์

ทุกครั้งที่มีการแบ่งเซลล์
4 ความตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................./................../..................
เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์

(วิเคราะหคําตอบ เซลลที่ชราภาพจะมีบริเวณสวนปลายของ
ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 4 3 2 1
1. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
จุดประสงค์

โครโมโซมสั้นลงทุกครั้งที่มีการแบงเซลล จึงอาจเปนไปไดวา
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่

บริเวณสวนปลายที่สั้นลง เปนสวนที่ทําหนาที่ควบคุมการเปลี่ยน
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-16 ดีมาก

สภาพของเซลล ดังนั้น ตอบขอ 5.)


11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T130
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
Prior Knowledge
การสลายสารอาหาร 7 การหายใจระดับเซลล์ 1. ครู ก ล่ า วน� า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย นว่ า เซลล์ จ ะน� า
ถือเปนการเกิดปฏิกริ ยิ า พลังงานจากสารอาหารมาใช้ในกิจกรรมต่างๆ
สิ่งมีชีวิตจ�าเป็นต้องใช้พลังงานในการท�ากิจกรรมต่าง ๆ
เคมีหรือไม
ของร่างกาย เช่น การเคลื่อนไหว การท�างานของระบบต่าง ๆ ของเซลล์ แล้วนักเรียนสงสัยหรือไม่ว่า เซลล์มี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย เป็นต้น ซึ่งพลังงานดังกล่าวนั้น วิธกี ารอย่างไรจึงสามารถน�าพลังงานทีม่ อี ยูใ่ น
ได้มาจากสารอาหารที่ถูกล�าเลียงเข้าสู่เซลล์ โดยภายในเซลล์จะมีกระบวนการสลายโมเลกุลของ สารอาหารมาใช้ได้
สารอาหารเหล่านี้ให้ได้เป็นสารพลังงานสูง 2. ครู เ ป ด ภาพยนตร์ ส ารคดี สั้ น TWIG เรื่ อ ง
กระบวนการสลายสารอาหารระดับเซลล์ หรือการหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) กระบวนการสลายสารชีวโมเลกุล https://
จะท�าให้ได้สารพลังงานสูง คือ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟส (adenosine triphosphate ; ATP) ซึ่งเป็น www.twig-aksorn.com/film/glossary/
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา ดังนัน้ ภายในเซลล์จงึ มีกระบวนการสลาย ATP ตลอดเวลาเช่นกัน catabolism-6598/ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการ
ซึ่งจะได้อะดีโนซีนไดฟอสเฟต (adenosine diphosphate ; ADP) หมู่ฟอสเฟต และพลังงาน เรียนรู้
7.3 กิโลแคลอรีต่อโมล ดังสมการ 3. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ให้นักเรียนร่วมกัน
พิจารณา ดังนี้
ATP + H2O ADP + Pi + พลังงาน
ï• เมื่อน�าน�้าตาลทรายมาเผา นักเรียนคิดว่า
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
7.1 การหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ ï• การเผาไหม้น�้าตาลทรายต้องการออกซิเจน
การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน (aerobic respira- อำหำร หรือไม่
tion) เป็นกระบวนการสลายสารอินทรีย์ที่มีพลังงานสูงโดยใช้ กลูโคส ﺕ ผลที่ได้จากการเผาไหม้น�้าตาลทรายมีอะไร
ออกซิเจน ให้ได้เป็นสารอนินทรีย์ที่มีพลังงานต�่า ซึ่งจะกล่าวถึง บ้าง
การสลายกลูโคส การสลายลิพดิ และการสลายโปรตีน ตามล�าดับ ไกลโคลิซิส 2 ATP
จากสถานการณ์ข้างต้น นักเรียนควรสรุป
1. กำรสลำยกลูโคส กลูโคสเป็นสารอาหารที่เมื่อสลาย NAD+
กรดไพรูวิก ได้ว่า
ตัวแล้วจะให้พลังงานสูง ซึ่งการปลดปล่อยพลังงานจากกลูโคส ไซโทพลำซึม NADH
กระบวนกำรหมัก
“การเผาไหมนาํ้ ตาลทรายตองการออกซิเจน
เพียงครั้งเดียวจะได้พลังงานสูงมากจนอาจเป็นอันตรายต่อ ซึ่งหากนํากระจกไปอังเหนือบริเวณที่เผาไหม
เซลล์ ดังนั้น เพื่อให้มีการปลดปล่อยพลังงานออกมาทีละน้อย ๆ แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
จะสังเกตเห็นละอองนํ้า แสดงวาผลจาการ
กระบวนการสลายกลูโคส จึงประกอบด้วยหลายกระบวนการ เผาไหมจะไดนํ้า และพลังงาน ซึ่งพลังงานจะ
วัฏจักร 2 ATP
ได้แก่ ไกลโคลิซิส (glycolysis) การสร้างแอซิทิลโคเอนไซม์เอ เครบส์
อยูในรูปของพลังงานความรอน นอกจากนี้ยัง
(acetyl Co A production) วัฏจักรเครบส์ (Krebs cycle) และ กระบวนกำร
O2 ถำยทอด 32-34 ATP ไดแกสคารบอนไดออกไซดอีกดวย ซึ่งสังเกต
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system) อิเล็กตรอน
ซึ่งจะกล่าวถึงรายละเอียดของแต่ละกระบวนการต่อไป
H2O
ไมโทคอนเดรีย
ไดจากคราบสีดําของคารบอน ”
ภาพที่ 3.53 กระบวนการสลายกลูโคส

แนวตอบ Prior Knowledge


เซลล์ 119
ของสิ่งมีชีวิต
เปนการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพราะมีสารใหม
เกิดขึ้น

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การหายใจระดับเซลลแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง และ การเรียนการสอนเรือ่ ง การหายใจระดับเซลล์ มีจดุ ประสงค์เพือ่ ให้นกั เรียน
แตละประเภทมีลักษณะอยางไร เห็นขัน้ ตอนหลักของการสลายพันธะคาร์บอนในโมเลกุลของสารอาหาร เพือ่ ปล่อย
(วิเคราะหคาํ ตอบ การหายใจระดับเซลล แบงออกเปน 2 ประเภท พลังงานให้แก่สารเก็บพลังงานของเซลล์ คือ ATP ซึง่ ครูผสู้ อนไม่ควรให้รายละเอียด
ดังนี้ มากเกินกว่าในหนังสือเรียนมากนัก ทัง้ นีเ้ พือ่ ไม่ทา� ให้นกั เรียนเกิดความสับสนและ
1. การหายใจระดับเซลลในภาวะที่มีออกซิเจนพียงพอ จะใช เกิดทัศนคติไม่ดตี อ่ การศึกษา
ออกซิเจนเปนตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทายในการสลายสารอาหาร
2. การหายใจระดับเซลลในภาวะทีม่ อี อกซิเจนไมพยี งพอ เซลล สื่อ Digital
อยูในสภาวะที่ขาดออกซิเจน จึงตองหาวิธีการอื่นในการสราง
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหายใจระดับ
พลังงาน นั่นคือ การหมักแอลกอฮอล และการหมักกรดแลกติก
เซลล์ ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง
ซึ่งการหมักทั้ง 2 ชนิด ไมอาศัยออกซิเจนเปนตัวรับอิเล็กตรอน
กระบวนการสลายสารชีวโมเลกุล
ตัวสุดทาย)
https://www.twig-aksorn.com/fi f ilm/
glossary/catabolism-6598/

T131
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
1. ครูกล่าวเชื่อมโยงความรู้จากสถานการณ์การ 1) ไกลโคลิซิส (glycolysis) เป็นกระบวนการสลายน�้าตาลกลูโคส (C6H12O6) 1 โมเลกุล
เผาน�้าตาลทรายว่า การสลายสารอาหารใน ได้กรดไพรูวิก (C3H4O3) 2 โมเลกุล ซึ่งกระบวนการมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
เซลล์หรือการหายใจระดับเซลล์ มีลกั ษณะเช่น
เดียวกับการเผาไหม้นา�้ ตาลทราย โดยต้องการ ไกลโคลิซิส Glycolysis
แกสออกซิเจน และได้แกสคาร์บอนไดออกไซด์
น�้า และพลังงาน อะตอมของคาร์บอน
2. ครูตั้งค�าถามเพื่อน�าสู่การอภิปราย P หมู่ฟอสเฟต
E เอนไซม์
•ï หากปฏิ กิ ริ ย าเช น เดี ย วกั บ การเผาไหม
นํา้ ตาลทรายเกิดขึน้ ภายในเซลล จะมีผลตอ
เซลลอยางไร 1 เติมหมู่ฟอสเฟตให้กลูโคส โดยใช้ ATP
1 โมเลกุล ซึ่งอาศัยเอนไซม์เฮกโซไคเนส
(แนวตอบ ปฏิกริ ยิ าเผาไหมนาํ้ ตาลทรายตอง (hexokinase) ท�าให้ได้กลูโคส 6 ฟอสเฟต ฟอสโฟ
P กลีเซอรอลดีไฮด์
ใชพลังงานกระตุน ซึ่งพลังงานนั้นอาจทํา (glucose-6-phosphate : G6P) 5
อันตรายแกเซลลได อีกทัง้ พลังงานทีเ่ กิดจาก P NAD+
ปฏิกริ ยิ าอาจทําอันตรายแกเซลลไดเชนกัน) 2 เปลี่ยนกลูโคส 6 ฟอสเฟต ไปเป็นฟรักโทส
6 ฟอสเฟต (fructose-6-phoshate : F6P) E NADH + H+
3. จากการอภิปราย ครูควรชีแ้ จงเพิม่ เติมว่า เซลล์ โดยอาศัยเอนไซม์ฟอสโฟกลูโคไอโซเมอเรส
มีกลไกเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้พลังงานกระตุ้น (phosphoglucoisomerase) P P 1, 3 ไดฟอสโฟ
6 ADP กลีเซอริก แอซิด
ที่สูงเกินกว่าความต้านทานของเซลล์ และมี E
3 เติมหมู่ฟอสเฟตให้แก่ฟรักโทส 6 ฟอสเฟต ATP
กลไกควบคุมการปลดปล่อยพลังงานออกมา P 3 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด
โดยใช้ ATP 1 โมเลกุล ซึ่งอาศัยเอนไซม์
ไม่ให้สูงมากจนเป็นอันตรายต่อเซลล์ได้ ฟอสโฟฟรักโทไคเนส (phosphofructokinase) E
7
ท�าให้ได้ฟรักโทส 1, 6 ไดฟอสเฟต (fructose-1, P
6-diphosphate : F1, 6BP) 2 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด
8
E H2O
4 ฟรักโทส 1, 6 ไดฟอสเฟตแตกตัว โดย
อาศัยเอนไซม์อัลโดเลส (aldolase) ได้เป็น ฟอสโฟอีนอลไพรูวิก แอซิด
ฟอสโฟกลีเซอรอลดีไฮด์ (phosphoglyceral P ADP
E 9
dehydes : PGAL) และไดไฮดรอกซีอะซิโตน
ฟอสเฟต (dihydroxyacetone phosphate : ATP
DHAP)
กรดไพรูวิก
ภาพที่ 3.54 ไกลโคลิซิส

120

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


อาจศึกษาเกี่ยวกับสารเคมีต่างๆ ในประเด็นเกี่ยวกับสมบัติ สูตรโครงสร้าง หากเริ่มกระบวนการไกลโคลิซิสดวยนํ้าตาลกลูโคส 1 โมเลกุล
หรือประเด็นอื่นๆ ได้จากเว็บไซต์ https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/ จะเกิดคารบอนไดออกไซดและไฮโดรเจนจํานวนเทาใด
compound/1060#section=3D-Conformer (วิเคราะหคําตอบ หากเริ่มกระบวนการไกลโคลิซิสดวยนํ้าตาล
กลูโคส 1 โมเลกุล จะเกิดคารบอนไดออกไซด 4 โมเลกุล และ
ไฮโดรเจน 6 อะตอม)

T132
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
กลูโคส 1. ครูกล่าวน�าเข้าสูก่ ารศึกษาว่า การหายใจระดับ
1 ATP 5 เติ ม หมู ่ ฟ อสเฟตให้ ฟ อสโฟกลี เ ซอรอลดี ไ ฮด์
E โดยอาศัยเอนไซม์กลีเซอรอลดีไฮด์ ฟอสเฟต เซลล์มีทั้งในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ และ
ADP ดี ไ ฮโดรจิ เ นส(glyceraldehydes phosphate
P กลูโคส 6 ฟอสเฟต dehydrogenase) ท�าให้ได้ 1, 3 ไดฟอสโฟกลี
ภาวะทีม่ อี อกซิเจนไม่เพียงพอ ซึง่ มีกลไกต่างกัน
E 2 เซอริก แอซิด (1, 3 - diphosphoglyceric acid : โดยนักเรียนจะได้ศึกษาในล�าดับต่อไป
P ฟรักโทส 6 ฟอสเฟต
1, 3DPG) ได้ไฮโดรเจนไอออน 2 อะตอม 2. ครู เ ป ด ภาพยนตร์ ส ารคดี สั้ น TWIG เรื่ อ ง
ซึ่ ง มี นิ โ คติ น าไมด์ อะดี นี น ไดนิ ว คลี โ อไทด์
3 ATP (nicotinamide adenine dinucleotide ; NAD+) การหายใจแบบใช้ออกซิเจน https://www.
E
ADP มารับไฮโดรเจนไอออน (H+) แล้วกลายเป็นรีดวิ ซ์ twig-aksorn.com/fifilm/glossary/aerobic-
P P นิโคตินาไมด์ อะดีนีน ได นิวคลีโอไทด์ (NADH)
ฟรักโทส 1, 6 ไดฟอสเฟต respiration-6969/ เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้
E 4
3. ให้นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง การหายใจระดับเซลล์ใน
6 1, 3 ไดฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด เปลี่ยนเป็น 3 ภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ จากหนังสือเรียน
ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด (3 - phosphoglyceric
P
ไดไฮดรอกซีอะซิโตนฟอสเฟต
acid :3PG) โดยอาศัยเอนไซม์ฟอสโฟกลีเซอเรท ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
ไคเนส (phosphoglycerate kinase) ซึ่งจะปล่อย
หมู่ฟอสเฟตออกมา 1 หมู่ ให้กับ ADP ท�าให้ได้
P ฟอสโฟกลีเซอรอลดีไฮด์ ATP 1 โมเลกุล
P 5 NAD+
E
NADH + H+ 7 3 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด เปลี่ยนไปเป็น 2
P P 1, 3 ไดฟอสโฟ ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด (2 - phosphoglyceric
6 ADP กลีเซอริก แอซิด acid :2PG) โดยอาศัยเอนไซม์ฟอสโฟกลีเซอโร
E
ATP มิวเทส (phosphoglyceromutase)
P 3 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด
7
E 8 2 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด เปลีย่ นไปเป็น ฟอสโฟ-
อีนอลไพรูวิก แอซิด (phosphoenolpyruvic
P acid : PEP) โดยอาศัยเอนไซม์อโี นเลส (enolase)
2 ฟอสโฟกลีเซอริก แอซิด
8 ซึ่งท�าให้ได้น�้า 1 โมเลกุล
E H2O
ฟอสโฟอีนอลไพรูวิก แอซิด 9 ฟอสโฟอีนอลไพรูวิก แอซิด เปลี่ยนเป็นกรด
P ADP
9
ไพรูวกิ (pyruvic acid) โดยอาศัยเอนไซม์ไพรูเวท
E ไคเนส (pyruvate kinase) ซึ่งจะปล่อยหมู่
ATP
ฟอสเฟตออกมา 1 หมู่ ให้กับ ADP ท�าให้ได้
ATP 1 โมเลกุล
กรดไพรูวิก
เมื่อสิ้นสุดกระบวนการไกลโคลิซิสจะได้ ATP 2 โมเลกุล NADH 2 โมเลกุล และกรดไพรูวิก 2 โมเลกุล ดังสมการ
C6H12O6 + 2NAD+ + 2ADP + 2Pi 2CH3COCOOH + 2NADH + 2ATP
กลูโคส กรดไพรูวิก
เซลล์ 121
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digital


โครงสรางระดับโมเลกุลของ ATP คลายกับโมเลกุลของสารใด ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ
1. กลูโคส ได้จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง การหายใจแบบใช้ออกซิเจน https://
2. กรดไขมัน www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/aerobic-respiration-6969/
3. กรดอะมิโน
4. นิวคลีโอไทล์ที่มีเบสประเภทพิวรีน
5. นิวคลีโอไทล์ที่มีเบสประเภทไพริมิดีน
(วิเคราะหคาํ ตอบ ATP เปนนิวคลีโอไทล ประกอบดวยเบสอะดีนนี
ซึ่งเปนเบสประเภทพิวรีน นํ้าตาลไรโบส และหมูฟอสเฟต ดังนั้น
ตอบขอ 4.)

T133
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
1. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
2) กำรสร้ำงแอซิทิลโคเอนไซม์เอ (acetyl Coenzyme A production) ขั้นตอนนี้เป็น
นักเรียนเรื่อง ไกลโคลิซิส โดยให้นักเรียนร่วม จุดเชื่อมต่อระหว่างไกลโคลิซิสกับวัฏจักรเครบส์ มีกรดไพรูวิกเป็นสารตั้งต้น โดยจะเกิดขึ้นบริเวณ
กันตอบ ดังนี้ ของเหลวภายในไมโทคอนเดรีย (matrix)
ï• ไกลโคลิซิสเกิดขึ้นที่บริเวณใดของเซลล กรดไพรูวิกที่ได้จากกระบวนการไกลโคลิซิสจะเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย แล้วท�าปฏิกิริยา
(แนวตอบ ไซโทพลาซึม) กับโคเอนไซม์เอ (coenzyme A ; CoA) บริเวณของเหลวภายในไมโทคอนเดรีย (matrix) เกิดเป็น
ï• ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการไกลโคลิซิสซึ่ง แอซิทลิ โคเอนไซม์เอ (acetyl coenzyme A ; acetyl CoA) ซึง่ เป็นสารประกอบทีม่ คี าร์บอน 2 อะตอม
สลายกลูโคส 1 โมเลกุล มีสารใดเกิดขึน้ และ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
มีการปลดปลอยพลังงานจากปฏิกริ ยิ าตางๆ
ไกลโคลิซิส ไซโทพลาซึม
หรือไม อยางไร
(แนวตอบ จากกระบวนการไกลโคลิซิสซึ่ง 1 หมูค่ าร์บอกซิลของกรดไพรูวกิ หลุด
กรดไพรูวิก ออกเกิดคาร์บอนไดออกไซด์
สลายกลูโคส 1 โมเลกุล จะไดกรดไพรูวิก
2 โมเลกุล มีการปลดปลอยพลังงานจาก ไมโทคอนเดรีย 2 ส่วนที่เหลือของกรดไพรูวิกซึ่งมี
ปฏิกิริยาในรูปของ ATP 4 โมเลกุล และ CO2 NAD+ คาร์บอนเหลืออยู่สองอะตอมจะ
+ ถูกออกซิไดส์ด้วย NAD+ ได้เป็น
NADH 2 โมเลกุล แตเนือ่ งจากในชวงตนของ NADH +H
สารประกอบแอซิเตต ซึ่งปฏิกิริยา
กระบวนการมีการใชพลังงานจาก ATP ไป 2 แอซิเตต นี้จะได้สารพลังงานสูงในรูปของ
โคเอนไซม์เอ
โมเลกุล ดังนัน้ เมือ่ สิน้ สุดปฏิกริ ยิ าจึงได ATP NADH
2 โมเลกุล) ~CoA
แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
3 โคเอนไซม์เอ ซึ่งเป็นสารที่มีหมู่
ซั ล เฟอร์ แ ละเป็ น อนุ พั น ธ์ ข อง
วิตามินบีจะถูกน�าไปติดกับแอซิเตต
วัฏจักรเครบส์ ได้เป็นแอซิติลโคเอนไซม์เอ

ภาพที่ 3.55 การสร้างแอซิทิลโคเอนไซม์เอ


การสลายโมเลกุลของกรดไพรูวกิ 2 โมเลกุล จะได้แกสคาร์บอนไดออกไซด์ 2 โมเลกุล
และไฮโดรเจน 4 อะตอม ซึ่งจะมี NAD+ มารับไฮโดรเจนแล้วกลายเป็น NADH 2 โมเลกุล
ดังสมการ
2CH3COCOOH + 2CoA 2acetyl CoA + 2CO2 + 4H2
กรดไพรูวิก โคเอนไซม์เอ แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
จากนั้ น แอซิ ทิ ล โคเอนไซม์ เ อที่ ไ ด้ จ ากการท� า ปฏิ กิ ริ ย าระหว่ า งกรดไพรู วิ ก และ
โคเอนไซม์เอจะเข้าสู่วัฏจักรเครบส์ต่อไป
122

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานจากการหายใจระดับเซลล์ ดังนี้ พลังงานที่ไดในชวงการสรางแอซิทิลโคเอนไซมเออยูในรูปของ
ï• พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการหายใจระดับเซลล์ เป็นพลังงาน สารใด
พันธะของคาร์บอน 1. CO2
ï• เซลล์จะน�าพลังงานดังกล่าวนั้นไปใช้ได้ พลังงานนั้นจ�าเป็นต้องเป็น 2. ATP
พลังงานเคมีซงึ่ อยูใ่ นรูปสารประกอบทีเ่ ซลล์พร้อมจะน�าไปใช้ได้ เช่น ATP 3. NADH
ï• เซลล์ที่ต้องการใช้พลังงานจะต้องสร้าง ATP ขึ้นเอง เพราะ ATP ล�าเลียง 4. พลังงานแสง
ข้ามเซลล์ไม่ได้ 5. พลังงานความร้อน
(วิเคราะหคําตอบ พลังงานที่ไดในการสรางแอซิทิลโคเอนไซมเอ
จะอยูในรูปของ NADH ซึ่งถูกสงไปยังกระบวนการถายทอด
อิเล็กตรอน ดังนั้น ตอบขอ 3.)

T134
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3) วัฏจักรเครบส์ (Krebs cycle) มีขั้นตอน ดังนี้ 2. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
นักเรียนเรื่อง การสร้างแอซิทิลโคเอนไซม์เอ
วัฏจักรเครบส์ Krebs cycle โดยให้นักเรียนร่วมกันตอบ ดังนี้
ï• การสร า งแอซิ ทิ ล โคเอนไซม เ อเกิ ด ขึ้ น ที่
1 แอซิทลิ โคเอนไซม์เอรวมตัวกับ บริเวณใดของเซลล
~CoA
แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
กรดออกซาโลแอซิติก (oxalo (แนวตอบ เมทริกซของไมโทคอนเดรีย)
acetic acid) ได้กรดซิตริก
1
CoA (citric acid) และจะปลดปล่อย ï• ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการสลายกรดไพรู วิ ก 1
9 โคเอนไซม์เอให้เป็นอิสระ โมเลกุล จะไดสารใด และมีการปลดปลอย
กรดออกซาโลแอซิติก กรดซิตริก 2 กรดซิ ต ริ ก จะเปลี่ ย นไปเป็ น พลังงานจากปฏิกิริยาหรือไม อยางไร
8 NADH +H+ 2 กรดไอโซซิ ต ริ ก (isocitric (แนวตอบ การสลายกรดไพรวิก 1 โมเลกุล
NAD + acid) จะไดแอซิทลิ โคเอนไซมเอ 1 โมเลกุล และ
กรดมาลิก กรดไอโซซิตริก มีการปลดปลอยพลังงานจากปฏิกริ ยิ าในรูป
NAD+ 3 3 กรดไอโซซิตริกเปลี่ยนไปเป็น
7 H2O NADH +H+ CO2
กรดแอลฟาคี โ ตกลู ต าริ ก NADH 1 โมเลกุล
(α - ketoglutaric acid) โดย
มี NAD + มารั บ ไฮโดรเจน
กรดฟูมาริก FADH2 NAD+ กรดแอลฟาคีโตกลูตาริก
แล้วได้เป็น NADH
6 FAD NADH +H+ 4 CoA
ATP 4 กรดแอลฟาคี โ ตกลู ต าริ ก จะ
ADP+ P CO ถูกออกซิไดซ์ และมารวมตัว
กรดซักซินิก 5 -CoA 2 กับโคเอนไซม์เอ กลายเป็น
ซักซินิลโคเอนไซม์เอ ซักซินลิ โคเอนไซม์เอ (succinyl
CoA CoA) โดยมี NAD+ มารับ
ไฮโดรเจนแล้วได้เป็น NADH
ภาพที่ 3.56 วัฏจักรเครบส์
5 ซักซินลิ โคเอนไซม์เอจะแตกตัว 6 กรดซักซินิกถูกออกซิไดซ์เป็น 7 กรดฟูมาริกจะรวมตัวกับน�้า
ได้เป็นกรดซักซินิก (succinic กรดฟูมาริก (fumaric acid) ซึง่ (H2O) กลายเป็นกรดมาลิก
acid) และโคเอนไซม์เอ โดยมี เฟลวินอะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ (malic acid)
พลังงานออกมามากพอที่จะ (FAD) จะมารับไฮโดรเจนแล้ว
รวม ADP และหมู่ฟอสเฟต ได้เป็น FADH2
ให้เป็น ATP ได้
8 กรดมาลิกถูกออกซิไดซ์เป็น 9 กรดออกซาโลแอซิติกจะเข้าสู่
กรดออกซาโลแอซิติก (oxalo วัฏจักรอีกครั้ง
acetic acid) โดยมี NAD+
มารับไฮโดรเจน แล้วได้เป็น
NADH
เซลล์ 123
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตองเกี่ยวกับวัฏจักรเครบส ครูสรุปสาระส�าคัญของวัฏจักรเครบส์ ดังนี้
1. เกิดที่ของเหลวในไมโทคอนเดรีย •ï แอซิทลิ โคเอนไซม์เอ ซึง่ มีคาร์บอน 2 อะตอม จะเข้าสูก่ ระบวนการสลาย
2. เป็นกระบวนการที่มีการสร้าง ATP มากที่สุด คาร์บอนต่อไป โดยมีสารทีม่ คี าร์บอน 4 อะตอมมารับ
3. สารตั้งต้นในการเกิดปฏิกิริยา คือ acetyl coenzyme A •ï จะมีการสลายคาร์บอนทีล่ ะอะตอมจนเกิด CO2
4. น�้าตาลกลูโคส 3 โมเลกุล เกิดวัฏจักรได้ทั้งหมด 6 รอบ •ï จากการสลายแอซิทลิ โคเอนไซม์เอ 2 อะตอม จะได้พลังงานในรูปของ ATP
5. เริ่มต้นจากการที่ acetyl coenzyme A รวมตัวกับ NADH และ FADH2
กรดออกซาโลแอซิติก
(วิเคราะหคาํ ตอบ วัฏจักรเครบสเกิดขึน้ บริเวณเมทริกซ (ของเหลว
ในไมโทคอนเดรีย) โดยจะมีแอซิทลิ โคเอนไซมเอเปนสารตัง้ ตนเขา
ทําปฏิกริ ยิ ากับกรดออกซาโลแอซิตกิ ซึง่ ปกติในการสลายกลูโคส 1
โมเลกุล จะไดแอซิทิลโคเอนไซมเอ 2 โมเลกุล เขาวัฏจักรเครบส 2
รอบ ถามีกลูโคส 3 โมเลกุลจะสามารถเขาวัฏจักรเครบส 6 รอบ
สวนกระบวนการที่มีการสราง ATP มากที่สุด คือ กระบวนการ
ถายทอดอิเล็กตรอน ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T135
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ (ตอ)
3. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ ผลผลิตจากวัฏจักรเครบส์ เมื่อเริ่มต้นจากแอซิทิลโคเอนไซม์เอ 2 โมเลกุล จะได้
นักเรียนเรื่อง วัฏจักรเครบส์ โดยให้นักเรียน คาร์บอนไดออกไซด์ 4 โมเลกุล NADH 6 โมเลกุล ไฮโดรเจนไอออน 6 อะตอม FADH2 2 โมเลกุล
ร่วมกันตอบ ดังนี้ และ ATP 2 โมเลกุล ดังสมการ
ï• วัฏจักรเครบสเกิดขึ้นที่บริเวณใดของเซลล
(แนวตอบ เมทริกซของไมโทคอนเดรีย) 2acetyl CoA 4CO2 + 6NADH + 6H+ + 2FADH2 + 2ATP
ï• แอซิทิลโคเอนไซมเอ 1 โมเลกุล เมื่อเขา เมื่อค�านวณจาก 1 NADH = 3 ATP และ 1 FADH2 = 2 ATP จะได้พลังงานรวม
สู  วั ฏ จั ก รเครบส แ ล ว จะมี ก ารปลดปล อ ย ในการสลายกลูโคสเมื่อผ่านวัฏจักรเครบส์ มีค่าเท่ากับ (3 × 6) + (2 × 2) + 2 = 24 ATP
พลังงานจากปฏิกริ ยิ าตางๆ หรือไม อยางไร 4) กระบวนกำรถำยทอดอิเล็กตรอน (electron transport system) เป็นปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดเป็น
(แนวตอบ มีการปลดปลอยพลังงานในรูป ATP ลูกโซ่อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ น�าอิเล็กตรอนและโปรตอน (ในรูปของอะตอมไฮโดรเจน) จาก NADH + H+
NADH และ FADH2) และ FADH2 ส่งไปยังตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ โดยตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย คือ ออกซิเจน
ในขณะเดียวกันจะมีพลังงานเกิดขึ้น ซึ่งบางปฏิกิริยามีพลังงานสูงพอที่จะสร้าง ATP ได้
กระบวนการขนส่งอิเล็กตรอนประกอบด้วยเอนไซม์ และโคเอนไซม์หลายชนิดที่
ท�าหน้าที่รับส่งอิเล็กตรอนและโปรตอน ดังนี้
• นิโคตินามายด์ อะดินีน ไดนิวคลีโอไทด์ (nicotinamide adenine dinucleotide ;
NAD) เป็นโคเอนไซม์ของเอนไซม์ดีไฮโดรจีเนส (dehydrogenase) ซึ่งท�าหน้าที่ดึงอิเล็กตรอนและ
ไฮโดรเจนไอออนออกจากสารประกอบรีดิวซ์
• เฟลวิน อะดินีน ไดนิวคลีโอไทด์ (flavin adenine dinucleotide ; FAD) เป็น
โคเอนไซม์ของเอนไซม์ดีไฮโดรจีเนส ที่เรียกว่า เฟลโวโปรตีน (flavoprotein)
• โคเอนไซม์ คิว (coenzyme Q ; CoQ) หรือยูบิควินโนน (ubiquinone)
• ไซโตโครม (cytochrome) เป็นสารที่ท�าหน้าที่ถ่ายทอดอิเล็กตรอนต่อจากตัวรับ
ไฮโดรเจน
B iology
Focus NAD+ & FAD
NAD+ เป็นสารประกอบไพริดนี นิวคลีโอไทด์ ซึง่ จะต้องใช้อเิ ล็กตรอนถึง 2 อิเล็กตรอนมารีดวิ ซ์
แต่โมเลกุลของ NAD+ สามารถรับไฮโดรเจนได้เพียงอะตอมเดียว ดังนัน้ จึงมีไฮโดรเจนไอออน (H+)
เหลือ 1 อนุภาค ดังสมการ
NAD+ + 2H+ + 2e- NADH + H+
FAD เป็นสารไรโบเฟลวินทีจ่ ะต้องใช้อเิ ล็กตรอน 2 อิเล็กตรอน และไฮโดรเจนไอออน 2 โมเลกุล
ในการรีดิวซ์ ดังนั้น จึงไม่มีไฮโดรเจนไอออนเหลืออยู่เหมือนกับการรีดิวซ์ NAD+ ดังสมการ
FAD + 2H+ + 2e- FADH2

124

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายสรุปเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ดังนี้ การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล เมื่อเขาสูวัฏจักรเครบสแลว
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน เป็นกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจาก จะไดผลผลิตอยางไร
NADH และ FADH2 ไปยังออกซิเจน โดยผ่านตัวรับอิเล็กตรอนชนิดต่างๆ การส่ง วิเคราะหคําตอบ
ผ่านอิเล็กตรอนเป็นล�าดับขัน้ ในกระบวนการนี้ พลังงานของอิเล็กตรอนจะลดลง
วัตถุดิบ ผลผลิต
เรื่อยๆ พลังงานที่ลดลงนี้จะถูกน�าไปใช้ในการล�าเลียง H+ ที่อยู่ในเมทริกซ์ของ
2 แอซิทิลโคเอนไซม์เอ 4 CO2 และ 2 CoA
ไมโทคอนเดรียไปยังช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกและเยื่อหุ้มชั้นในของ
ไมโทคอนเดรีย ก่อให้เกิดความต่างศักย์ ซึ่งพลังงานเนื่องมาจากความต่างศักย์ 6 NAD+ 6 NADH
นี้จะถูกน�าไปใช้ในการสร้าง ATP โดยการท�างานของ ATP synthase 2 FAD 2 FADH2
2 ADP 2 ATP

T136
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
กระบวนการถ่ า ยทอดอิ เ ล็ ก ตรอนจะเกิ ด ขึ้ น ใน Red. = รีดิวซ์ 4. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
2H Ox. = ออกซิไดซ์
ไมโทคอนเดรีย ดังนัน้ ไฮโดรเจน 4 อะตอมทีเ่ กิดจากกระบวนการ Cyt. = ไซโทโครม นักเรียนเรือ่ ง กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ไกลโคลิซิส (เกิดในไซโทพลาซึมของเซลล์) จะต้องผ่านเข้า โดยให้นักเรียนร่วมกันตอบ ดังนี้
NAD+ NADH + H+ ï• กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นที่
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนในไมโทคอนเดรีย โดยไฮโดรเจน
ADP
4 อะตอมนี้ จะถูก 2 NAD+ รับไว้ แล้วรวมตัวกลายเป็น NADH ATP
2H บริเวณใดของเซลล
2 โมเลกุล และไฮโดรเจนไอออน จากนั้นจึงถ่ายทอดไฮโดรเจน FADH2 FAD (แนวตอบ เยือ่ หุม ชัน้ ในของไมโทคอนเดรีย)
ให้กับ NAD+ ภายในไมโทคอนเดรียแล้วจึงค่อยถ่ายทอดต่อไป 2e- + 2H+
ï• เพราะเหตุ ใ ด กระบวนการถ า ยทอด
จนถึงออกซิเจน ซึ่งเกิดขึ้นในเซลล์ของตับ หัวใจ ไต แต่ในเซลล์ อิ เ ล็ ก ตรอนจึ ง เกิ ด ที่ เ ยื่ อ หุ  ม ชั้ น ในของ
Ox. Cyt.b Red. Cyt.b
ของกล้ามเนื้อลายและสมองจะมี FAD มารับไฮโดรเจน แล้วจึง ไมโทคอนเดรีย
ADP
ถ่ายทอดต่อ ๆ ไปจนถึงออกซิเจนเช่นเดียวกัน ATP
2e- (แนวตอบ เยื่อหุมชั้นในของไมโทคอนเดรีย
นอกจากนัน้ ไฮโดรเจน 4 อะตอมทีเ่ กิดมาจากกรด Red. Cyt.c
เปนบริเวณที่มีสารประกอบที่เกี่ยวของกับ
Ox. Cyt.c
ซักซินิกในวัฏจักรเครบส์ จะเข้าสู่ FAD โดยไม่ผ่าน NAD+ กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอน ซึ่งมีทั้ง
2e-
การถ่ า ยทอดอิ เ ล็ ก ตรอนของไฮโดรเจน หาก
Ox. Cyt.a
Red. Cyt.a สารประกอบที่เปนตัวนําอิเล็กตรอนหลาย
ถ่ายทอดไปทาง NAD+ จะได้พลังงาน 3 ATP แต่ถ้าหาก ADP ชนิด เชน NAD+ FAD และสารประกอบอืน่ ๆ
ถ่ายทอดไปทาง FAD จะได้พลังงาน 2 ATP ATP 2e-
ออกซิเจนท�าหน้าทีเ่ ป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย Ox. Cyt.
ทีเ่ กีย่ วของ)
Red. Cyt.
(final electron accepter) ซึ่งจะเกิดการรวมตัวกับโปรตอนหรือ
oxidase oxidase ï• จากการสลายกลูโคสโดยผานกระบวนการ
ไฮโดรเจนไอออนภายในไมโทคอนเดรีย ได้เป็นน�้า (H2O) ไกลโคลิซสิ และวัฏจักรเครบสตามลําดับ ได
2e- + 2H+ + 12 O2 H2O
ภาพที่ 3.57 กระบวนการถ่ายทอด NADH 10 โมเลกุล และ FADH2 2 โมเลกุล
อิเล็กตรอน เมือ่ เกิดกระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนจะ
ตารางที่ 3.2 : พลังงานที่ได้จากการสลายกลูโคสในเซลล์แต่ละชนิด ได ATP เทาใด
กระบวนกำร
พลังงำนที่ได้ (ATP) (แนวตอบ 34 ATP)
เซลล์กล้ำมเนื้อลำย เซลล์สมอง เซลล์กล้ำมเนื้อหัวใจ ไต ตับ ï• แก ส ออกซิ เ จนมี บ ทบาทอย า งไรในการ
ไกลโคลิซิส 2 2 หายใจระดับเซลล
วัฏจักรเครบส์ 2 2 (แนวตอบ เปนตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย
ถ่ายทอดอิเล็กตรอน 32 34 แลวไปรวมตัวกับ H+ ไดเปนนํา้ )
รวม 36 38

จะเห็นว่า การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล ท�าให้ได้ผลิตภัณฑ์หลายชนิด ซึ่งได้แก่ น�้า


สารพลังงานสูง (ATP) คาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจนทีม่ อี เิ ล็กตรอนพลังงานสูง โดยพลังงานนี้
เซลล์จะน�าไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้
เซลล์ 125
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับกระบวนการถายทอดอิเล็กตรอน ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับพลังงานทีไ่ ด้รบั ในขัน้ ตอนของกระบวนการถ่ายทอด
1. O2 เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย อิเล็กตรอนว่า
2. ปฏิกิริยาเกิดเป็นลูกโซ่อย่างต่อเนื่อง ในการสลายกลูโคส 1 โมเลกุล พลังงานทีไ่ ด้รบั ในขัน้ ตอนของกระบวนการ
3. เกิดที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรีย ถ่ายทอดอิเล็กตรอนนัน้ เนือ้ เยือ่ ต่างชนิดกันอาจให้พลังงานต่างกัน
4. เกิดพลังงานจากขั้นตอนนี้มากถึง 36 - 38 ATP
5. พลังงานที่เกิดจากกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนของ
NADH จะสร้าง ATP ได้ 3 โมเลกุล
(วิเคราะหคําตอบ กระบวนการถายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นที่
เยือ่ หุม ชัน้ ในของไมโทคอนเดรีย เปนปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดเปนลูกโซอยาง
ตอเนือ่ ง เพือ่ นําอิเล็กตรอนและโปรตอน (ในรูปอะตอมไฮโดรเจน)
จาก NADH+ H+และ FADH2 สงไปยังตัวรับอิเล็กตรอนตางๆ โดย
มี O2 เปนตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดทาย ซึ่งเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะได
ATP 32 - 34 โมเลกุล ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T137
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้ (ตอ)
5. ให้นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง การสลายลิพดิ และการ 2. กำรสลำยลิพดิ เมือ่ ผ่านการย่อยอาหารแล้ว ลิพดิ จะถูกย่อยเป็นกรดไขมัน (fatty acid)
สลายโปรตีน จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 และกลีเซอรอล (glycerol) ซึง่ กรดไขมันจะถูกล�าเลียงเข้าสูเ่ ซลล์เพือ่ เก็บไว้เป็นแหล่งพลังงานส�ารอง
เล่ม 1 ส่วนกลีเซอรอลจะถูกดูดซึมเข้าสูเ่ ซลล์ตบั เมือ่ ร่างกายจ�าเป็นต้องใช้พลังงาน กลีเซอรอลจะเปลีย่ น
6. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ ไปเป็นฟอสโฟกลีเซอรอลดีไฮด์ (phosphoglyceraldehyde : PGAL) ซึง่ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ นีจ้ ะมีการ
นักเรียนเรื่อง การสลายลิพิด โดยให้นักเรียน ใช้สารพลังงานสูง คือ ATP 1 โมเลกุล และมี NADH เกิดขึ้น 1 โมเลกุล ส่วน PGAL ที่เกิดขึ้น
ร่วมกันตอบ ดังนี้ ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงตามขั้นตอนของกระบวนการไกลโคลิซิสต่อไป
ï• เมือ่ ผานกระบวนการยอยอาหาร ลิพดิ จะถูก
ยอยเปนสารใดบาง NAD+ NADH
(แนวตอบ กรดไขมัน และกลีเซอรอล) กลีเซอรอล PGAL
ï• การสลายกลีเซอรอลมีกระบวนการอยางไร ATP ADP+Pi
(แนวตอบ กลีเซอรอลจะเปลีย่ นเปนฟอสโฟ- กรดไพรูวิก วัฏจักรเครบส์
กลีเซอรอลดีไฮด ซึง่ ปกิกริ ยิ านีต้ อ งใช ATP
1 โมเลกุ ล แล ว ได NADH 1 โมเลกุ ล กระบวนการถ่ายทอด
อิเล็กตรอน
จากนั้ น ฟอสโฟกลี เ ซอรอลดี ไ ฮด จ ะเข า สู 
ภาพที่ 3.58 การสลายกลีเซอรอล
กระบวนการไกลโคลิซสิ ตอไป)
ï• การสลายกรดไขมันมีกระบวนการอยางไร กรดไขมันที่อยู่ในไซโทซอลจะถูกน�าเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย จากนั้นจึงมีการสลายกรด
1
( แนวตอบ สลายโดยกระบวนการบี ต า ไขมันเกิดขึน้ โดยกระบวนการบีตาออกซิเดชัน (β-oxidation) มีการตัดโมเลกุลของกรดไขมันออก
ออกซิเดชัน ซึ่งมีการตัดโมเลกุลกรดไขมัน ครั้งละ 2 คาร์บอนอะตอม เกิดเป็นแอซิทิลโคเอนไซม์เอ NADH และ FADH2 อย่างละ 1 โมเลกุล
ออกครั้งละ 2 คารบอนอะตอม เกิดเปน หลังจากนั้นแอซิทิลโคเอนไซม์เอจะเข้าสู่วัฏจักรเครบส์ และมีการเปลี่ยนแปลงต่อไปตามขั้นตอน
แอซิทิลโอเอนไซมเอ NADH และ FADH2 การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน
อยางละ 1 โมเลกุล แลวแอซิทลิ โคเอนไซมเอ กระบวนการบีตาออกซิเดชัน
จะเขาสูว ฏั จักรเครบสตอ ไป) CoA-SH
NAD+ NADH
กรดไขมัน fatty acyl CoA
FAD FADH2 CoA-SH
แอซิทิลโคเอนไซม์เอ วัฏจักรเครบส์
กระบวนการถ่ายทอด
อิเล็กตรอน
ภาพที่ 3.59 การสลายกรดไขมัน

126

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 บีตาออกซิเดชัน (b-oxidation) กรดไขมันจะถูกออกซิไดซ์และเสียคาร์บอน กระบวนการสลายคารโบไฮเดรตกับไขมันแตกตางกันอยางไร
ไปในรูปของแอซิทิลโคเอนไซม์เอ (C-2) โดยเริ่มจากปลายโซ่ด้านที่เป็นหมู่ 1. ไขมันให้น�้าและให้พลังงานมากกว่า
คาร์บอกซิล เช่น กรดปาล์มติ กิ (palmitic acid) ซึง่ มีคาร์บอน 16 อะตอม เริม่ แรก 2. ไขมันให้น�้าและให้พลังงานน้อยกว่า
จะเป็นการเปลี่ยนกรดปาล์มิติกให้อยู่ในรูปของ palmitoyl-CoA หลังจากนั้น 3. ไขมันให้น�้าน้อยกว่า แต่ให้พลังงานมากกว่า
palmitoyl-CoA ก็จะถูกออกซิไดซ์ถึง 7 ครั้ง โดยเริ่มจากปลายโซ่ด้านหมู่ 4. ไขมันให้น�้ามากกว่า แต่ให้พลังงานน้อยกว่า
คาร์บอกซิล การออกซิไดซ์แต่ละครั้งจะเสียคาร์บอน 2 อะตอม ไปในรูปของ 5. ไขมันให้น�้าน้อยกว่า แต่ให้ออกซิเจนมากกว่า
acetyl-CoA และการออกซิไดซ์ครั้งที่ 7 ก็จะเหลือคาร์บอน 2 อะตอมสุดท้าย (วิเคราะหคําตอบ การสลายไขมันใหพลังงานมากกวาการสลาย
อยูในรูปของ acetyl-CoA ซึ่งจากกรดปาล์มิติกจะได้ acetyl-CoA ทั้งหมด คารโบไฮเดรต 2 เทากวา และใหนํ้ามากกวาดวย เนื่องจากไขมัน
8 โมเลกุล และในการเกิด acetyl-CoA 1 โมเลกุล จะต้องมีการก�าจัด H ออกไป มีอัตราสวนของไฮโดรเจนตอนํ้าหนักสารมากกวาคารโบไฮเดรต
(dehydrogenation) ถึง 4 อะตอม ดังนั้น ตอบขอ 1.)

T138
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู้
3. กำรสลำยโปรตีน โปรตีนเมื่อผ่านกระบวนการย่อยอาหาร จะถูกย่อยให้เป็นกรด 7. ครูตั้งค�าถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
อะมิโน (amino acid) ซึ่งร่างกายสามารถน�าไปใช้ผลิตโปรตีนหรือเปลี่ยนเป็นกรดอะมิโนอื่น นักเรียนเรือ่ ง การสลายโปรตีน โดยให้นกั เรียน
และเมื่อร่างกายขาดแคลนพลังงานจะสามารถสลายกรดอะมิโนได้ โดยกรดอะมิโนจะถูกดึงหมู่ ร่วมกันตอบ ดังนี้
อะมิโน (-NH2) ออกจากโมเลกุล แล้วไปรวมกับไฮโดรเจนกลายเป็นแอมโมเนีย (NH3) ซึ่งเป็น ï• เมื่อผานกระบวนการยอยอาหาร โปรตีนจะ
1
สารพิษที่ร่างกายต้องก�าจัดทิ้ง โดยจะมีการเปลี่ยนแปลงให้ไปอยู่ในรูปของยูเรียหรือกรดยูริกก่อน ถูกยอยเปนสารใด
ส่วนที่เหลือของกรดอะมิโนหลังจากที่ถูกดึงหมู่อะมิโนออกแล้วจะเข้าสู่วัฏจักรเครบส์ได้หลายทาง (แนวตอบ กรดอมิโน)
โดยอาจเปลี่ยนไปเป็นกรดไพรูวิก หรือแอซิทิลโคเอนไซม์เอ หรือสารบางตัวในวัฏจักรเครบส์ ï• การสลายกรดอะมิโนมีกระบวนการอยางไร
กรด
(แนวตอบ กรดอะมิโนจะถูกดึงหมูอะมิโน
คีโทกลู อออกจากโมเลกุลแลวไปรวมกับไฮโดรเจน
แอมโมเนีย ทาริก
กรด กรด
กลายเปนแอมโมเนีย สวนที่เหลือของกรด
กรดยูริก ยูเรีย ซิตริก ซักซินิก อะมิโนจะเขาสูว ฏั จักรเครบส)
กรด
ออกซาโล
แอซิติก
กรด ดึงหมู่อะมิโน
อะมิโน สารตัวกลาง กรดไพรูวิก แอซิทิลโคเอนไซม์เอ

ภาพที่ 3.60 การสลายกรดอะมิโน

B iology
Focus กระบวนการมีตาออกซิเดชันในการสลายกรดไขมัน
กระบวนการบีตาออกซิเดชัน ประกอบด้วย 4 ปฏิกิริยา ดังนี้
1. ปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ท�าให้เกิดพันธะคู่ระหว่าง C และ C ของ fatty acyl CoA โดยมี
FAD เป็นโคเอนไซม์ ซึ่งจะได้ fatty acyl CoA
2. ปฏิกิริยาไฮเดรชัน (hydration) ท�าให้ได้ L-3 - Hydroxyacyl CoA
3. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ท�าให้หมู่ - OH กลายเป็นหมู่ - C=O โดยมี NAD+ เป็นโคเอนไซม์
ท�าให้ได้ 3-keto fatty acyl CoA ซึ่งจะท�าปฏิกิริยากับโคเอนไซม์เอ
4. ปฏิกิริยาที่ท�าให้โมเลกุลแตกออกเป็นกรดไขมัน และ acetyl CoA ซึ่งกรดไขมันที่เหลือ
จึงเป็นกรดไขมันที่มีจ�านวนคาร์บอนน้อยกว่าเดิม 2 อะตอม และสามารถท�าปฏิกิริยากับ
โคเอนไซม์เออิสระ แล้วให้ fatty acyl CoA เข้าสู่ปฏิกิริยาที่ 1 ต่อไปได้อีก

เซลล์ 127
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


อิเล็กตรอนพลังงานสูงจากการสลายโปรตีนสวนใหญจะถูกดึง 1 กรดยูรกิ (uric acid) เป็นของเสียทีเ่ กิดจากการบริโภคอาหารทีม่ สี ารพิวรีน
ออกมาจากโปรตีนในกระบวนการใด (purine) เป็นองค์ประกอบ เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อสัตว์ปก เครื่องในสัตว์ ฯลฯ
1. ไกลโคลิซิส ซึ่งร่างกายจะขับกรดยูริกออกจากร่างกายทางปสสาวะประมาณ 75% ส่วนอีก
2. วัฏจักรเครบส์ 25% จะถูกขับออกทางล�าไส้ปนออกมากับกากอาหาร
3. การสลายกรดไพรูวิก หากมีการสร้างและก�าจัดกรดยูรกิ ในเลือดได้ตามปกติจะไม่มผี ลต่อร่างกาย
4. การสร้างแอซิทิลโคเอนไซม์เอ แต่หากมีการสร้างมากเกินไป หรือมีการก�าจัดน้อยเกินไป จะท�าให้ระดับกรด
5. กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ยูริกในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งหากสูงเป็นเวลานานจะตกผลึกจับตัวกันเป็นของแข็ง
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อสลายโปรตีนไดกรดอะมิโน ซึ่งกรดอะมิโน และกลายเป็นผลึกแทรกอยู่ในช่องว่างระหว่างข้อต่อและกระดูก ส่งผลให้เกิด
จะถูกดึงหมูอะมิโนออกจากโมเลกุล แลวไปรวมตัวกับไฮโดรเจน อาการปวดร้าวตามข้อกระดูกต่างๆ ที่เรียกว่า โรคเกาต์ (gout)
กลายเปนแอมโมเนีย สวนที่เหลือของกรดอะมิโนจะเขาสูวัฏจักร
เครบสไดหลายทาง ดังนั้น ตอบขอ 2.)

T139
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเข้าใจ
1. ให้นักเรียนศึกษาแผนภาพกระบวนการสลาย
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดไขมัน จาก
หนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 เพื่อทบทวน
ความรู้ที่ได้ศึกษามาแล้ว
2. ครู อ าจให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาโครงสร้ า งของ
สารประกอบ ATP โดยอาจเปดภาพยนตร์
สารคดีสั้น TWIG เรื่อง เอทีพี (ATP) https:// โปรตีน คำร์โบไฮเดรต ไขมัน
www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/atp-
6591/ จากนั้นให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า กรดอะมิโน กลูโคส กลีเซอรอล กรดไขมัน
เพราะเหตุใด ATP จึงเป็นสารที่มีพลังงานสูง
ไกลโคลิซิส ATP

กรดไพรูวิก

สร้ำงแอซิทิล
โคเอนไซม์เอ

วัฏจักร CO2
เครบส์
ATP
NADH หรือ FADH2

กระบวนกำร
O2 ถำยทอด ATP
อิเล็กตรอน
NH3 CO2
H2O

ของเสีย

ภาพที่ 3.61 กระบวนการสลายโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดไขมัน

128

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างของสารประกอบ ATP ได้จากภาพยนตร์ ในขณะที่รางกายออนเพลียมาก ควรเลือกรับประทานอาหาร
สารคดีสั้น Twig เรื่อง ATP https://www.twig-aksorn.com/fifilm/glossary/ ชนิดใดเพือ่ ใหรา งกายกลับมาเปนปกติไดในเวลาอันสัน้ เพราะเหตุ
atp-6591/ ใด
1. ขนมปง เพราะย่อยได้ง่าย
2. กรดไขมัน เพราะให้พลังงานสูง
3. น�้าเกลือ เพราะสามารถทดแทนเกลือแร่ได้
4. น�้าตาลกลูโคส เพราะย่อยสลายให้พลังงานได้เร็ว
5. กรดอะมิโน เพราะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดได้เร็ว
(วิเคราะหคําตอบ รางกายสามารถยอยสลายกลูโคสเพื่อสราง
ใหพลังงานไดอยางรวดเร็ว จึงทําใหรา งกายกลับมาเปนปกติไดใน
เวลาอันสั้น ดังนั้น ตอบขอ 4.)

T140
น�า น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน้ ความสนใจ
7.2 การหายใจระดับเซลล์ ในภาวะที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ 1. ครู น� า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย นเรื่ อ ง การหายใจระดั บ
เซลล์ในภาวะทีม่ อี อกซิเจนไม่เพียงพอ โดยการ
การสลายสารอาหารไม่จ�าเป็นต้องใช้ออกซิเจนเสมอไป สิ่งมีชีวิตบางชนิดได้พลังงานจาก
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration ทบทวนบทบาทของออกซิเจนในการหายใจ
1 ) เช่น แบคทีเรียบางชนิด ยีสต์ ระดั บ เซลล์ จากนั้ น ตั้ ง ประเด็ น ให้ นั ก เรี ย น
เป็นต้น และเซลล์ในเนือ้ เยือ่ บางชนิด เช่น เนือ้ เยือ่ กล้ามเนือ้ ลาย
ก็สามารถสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนเช่นกัน
อาหาร ร่วมกันวิเคราะห์ว่า
ในสภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจน จะท�าให้ NADH และ กลูโคส ï• หากภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจน
FADH2 ไม่สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนได้ จึงมีการสะสม NADH ไม่เพียงพอ จะยังคงมีการหายใจระดับเซลล์
ไกลโคลิซิส
และ FADH2 มากขึ้น ซึ่งส่งผลให้มี NAD+ และ FAD ลดลง หรือไม่
NAD+
กระบวนการไกลโคลิซสิ วัฏจักรเครบส์ และกระบวนการถ่ายทอด กรดไพรูวิก
NADH + H+
2. ครู เ ป ด วี ดิ โ อสารคดี สั้ น TWIG เรื่ อ ง การ
อิเล็กตรอนจึงไม่สามารถด�าเนินต่อไปได้ เซลล์จงึ ขาดแคลน ATP กระบวนการหมัก หายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน https://www.
ทีจ่ ะน�าไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ดังนัน้ เซลล์จา� เป็นต้องมีกระบวน twig-aksorn.com/film/glossary/anaerobic-
การสร้าง ATP โดยการท�าให้ NADH เปลีย่ นกลับไปเป็น NAD+ เพือ่ แอซิทลิ โคเอนไซม์เอ respiration-6624/ เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้
ท�าให้กระบวนการไกลโคลิซิสด�าเนินต่อไปได้ ซึ่งกระบวนการนี้ ไซโทพลาซึม
เรียกว่า กระบวนกำรหมัก (fermentation) วัฏจักร
เครบส์
1. กระบวนกำรหมักแอลกอฮอล์ (alcoholic fermen-
กระบวนการ
tation) เป็นกระบวนการสลายกลูโคส ในสภาวะทีไ่ ม่มอี อกซิเจน ถ่ายทอด
อิเล็กตรอน
พบได้ในเซลล์ของยีสต์ โดยเริ่มต้นจากกระบวนการไกลโคลิซิส ไมโทคอนเดรีย
ซึ่งจะได้กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล ATP 2 โมเลกุลและ NADH
ภาพที่ 3.62 กระบวนการหมักใน
2 โมเลกุล ดังสมการ การหายใจระดับเซลล์แบบไม่ใช้
ออกซิเจน
C6H12O6 + 2ATP + 2ADP + 2Pi + 2NAD+ 2C3H4O3 + 4ATP + 2NADH + 2H+
กลูโคส กรดไพรูวิก

จากนั้นกรดไพรูวิกจะเปลี่ยนไปเป็นแอซิทัลดีไฮด์ (acetaldehyde) โดยจะมีเอนไซม์


ไพรูเวทดีคาร์บอกซิเลส (pyruvatede carboxylase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งแอซิทัลดีไฮด์จะเป็น
ตัวรับอิเล็กตรอนจาก NADH ดังสมการ
2C3H4O3 ไพรูเวทดีคาร์บอกซิเลส 2C2H4O + 2CO2
กรดไพรูวิก แอซิทัลดีไฮด์

เซลล์ 129
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การหายใจระดับเซลลในภาวะที่มีออกซิเจนไมเพียงพอเกิดขึ้น 1 กล า มเนื้ อ ลาย (striated muscle) คื อ กล้ า มเนื้ อ ซึ่ ง เมื่ อ ศึ ก ษาด้ ว ย
เมื่อใด และเกิดบริเวณใดของรางกาย กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเซลล์มีลักษณะเป็นเส้นลาย ซึ่งได้แก่ กล้ามเนื้อภายนอก
1. หลังออกก�าลังกาย - เลือด ร่างกายทัง้ หมด เป็นกล้ามเนือ้ ทีท่ า� งานร่วมกับกระดูกและข้อ และเป็นกล้ามเนือ้ ที่
2. หลังออกก�าลังกาย - กล้ามเนื้อลาย ท�างานภายใต้ค�าสั่งของสมอง เราจึงสามารถควบคุมการท�างานของกล้ามเนื้อ
3. หลังรับประทานอาหาร - เลือด ชนิดนี้ได้ เช่น การสั่งให้ยกแขน ยกขา เป็นต้น
4. หลังรับประทานอาหาร - กล้ามเนื้อลาย
5. หลังรับประทานอาหาร - กล้ามเนื้อเรียบ
( วิเคราะหคําตอบ เมื่ อ ออกกํ า ลั ง กายกล า มเนื้ อ ลายจะได รั บ
สื่อ Digital
ออกซิเจนไมเพียงพอ ดังนั้น จึงเกิดการหายใจระดับเซลลในภาวะ ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหายใจระดับ
ที่มีออกซิเจนไมเพียงพอ โดยการสลายกลูโคสไดเปนกรดแลกติก เซลล์ ใ นภาวะที่ มี อ อกซิ เ จนไม่ เ พี ย งพอ ได้
ดังนั้น ตอบขอ 2.) จากภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig เรื่อง การ
หายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน https://www.
twig-aksorn.com/fifilm/glossary/anaerobic-
respiration-6624/
T141
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจค้นหา
1. ให้นักเรียนศึกษาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ แอซิทัลดีไฮด์จะถูกออกซิไดซ์ด้วย NADH และ H+ กลายเป็นเอทิลแอลกอฮอล์ หรือ
ในภาวะที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ จากหนังสือ เอทานอล (ethanol) โดยมีเอนไซม์แอลกอฮอล์ดีไฮโดรจีเนส (alcohol dehydrogenase) เป็นตัวเร่ง
เรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม 1 ปฏิกิริยา ดังสมการ
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มท�ากิจกรรมเรื่อง การหมัก
2C2H4O + 2NADH + 2H+ 2C2H5OH + 2NAD+ + 2CO2
ของยีสต์ จากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.4 เล่ม แอซิทัลดีไฮด์ เอทิลแอลกอฮอล์
1 แล้วร่วมกันอภิปรายและสรุปผลกิจกรรม
กลูโคส กระบวนการหมักแอลกอฮอล์จะมีเฉพาะกระบวนการ
2 ATP
ไกลโคลิซิสเท่านั้น ท�าให้ได้ ATP เพียง 2 โมเลกุลซึ่งน้อยกว่า
ไกลโคลิซิส การสลายสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน 18-19 เท่า
2 NAD+
2 ความรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการหมักถูกน�าไปใช้ประโยชน์
กรดไพรูวิก 2 NADH + H+
ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ได้แก่ เบียร์ สุรา และไวน์
2 2
แอซิทัลดีไฮด์ เอทานอล อีกทัง้ มีการใช้กระบวนการหมักแป้งของยีสต์ ในการผลิตขนมปัง
2
คาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ซึ่งในระหว่างการหมัก
ภาพที่ 3.63 กระบวนการหมัก จะได้แอลกอฮอล์และแกสคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึน้ ท�าให้แป้ง
แอลกอฮอล์ เกิดการพองตัวฟูขึ้น
นอกจากนี้ในปัจจุบันยังมีการน�าความรู้เรื่องการหมักไปใช้ในการผลิตแอลกอฮอล์
จากของเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น การผลิตแอลกอฮอล์จากกากน�้าตาล ซึ่งนับเป็นวิธีการลด
ปัญหามลภาวะจากกากน�า้ ตาลได้อย่างมาก ซึง่ จะผลิตแอลกอฮอล์ได้สงู ถึงประมาณร้อยละ 12 และ
สามารถน�ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้เนื่องจากมีพลังงานแฝงอยู่มาก
B iology
Focus ประเภทของการหมัก
การหมักแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. การหมักที่ให้ผลผลิตเป็นตัวเซลล์ ได้แก่ การผลิตเซลล์ยีสต์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมขนมอบ
2. การหมักที่ให้ผลผลิตเป็นเอนไซม์ โดยการใช้จุลินทรีย์ในการหมัก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหาร
3. การหมักที่ให้ผลผลิตเป็นสารเมทาบอไลท์ เช่น เอทานอล กรดกลูตามิก บิวทานอล ไลซีน
วิตามิน เป็นต้น
4. การหมักที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปของสารประกอบที่เติมลงไป เช่น การผลิต
น�้าส้มสายชู สารปฏิชีวนะ สารสเตอรอยด์ เป็นต้น

130

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


สารละลายบรอมไทมอลบลู จะมีสีฟ้าอ่อนในสารละลายที่มี pH มากกว่า ระหวางการทดลอง เรื่อง การหมักของยีสต หากนําหลอด
7 และมีสีเหลืองในสารละลายที่มี pH น้อยกว่า 7 ทดลองที่มียีสตและนํ้าสับปะรดไปจุมในนํ้าอุน นักเรียนคิดวา
จะเกิดผลอยางไร
(วิเคราะหคําตอบ ปฏิกิริยาจะเกิดไดเร็วขึ้น และทําใหเกิดแกส
คารบอนไดออกไซดมากขึ้น)

T142
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
• การสังเกต ใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันตอบคําถามทาย
การหมักของยีสต์ (1) • การทดลอง
• การก�าหนดและควบคุมตัวแปร
กิจกรรมเรือ่ ง การหมักของยีสต (1) และการหมัก
จิตวิทยำศำสตร์ ของยีสต (2) และครูอาจตัง้ คําถามเพิม่ เติมดวย
• ความสนใจใฝ่รู้
วัสดุอปุ กรณ์และสำรเคมี • การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
1. ยีสต์แห้ง 6. จุกยาง สร้างสรรค์
2. สับปะรด 7. น�้ามันพืช
3. หลอดทดลอง 8. กระบอกตวง
4. ที่วางหลอดทดลอง 9. เครื่องชั่งสาร
5. สารละลายบรอมไทมอลบลู 10. สายยางขนาดเล็ก

วิธปี ฏิบตั ิ
ศึกษาการหมักของยีสต์โดยสังเกตจากการเปลี่ยนสีของบรอมไทมอลบลู
ซึ่งปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. น�าน�้าสับปะรดประมาณ 2 มิลลิลิตร ใส่ลงในหลอดทดลอง และ
ใส่ยสี ต์แห้ง 1 กรัม ผสมให้เข้ากัน แล้วค่อย ๆ เติมน�า้ มันพืช 1 มิลลิลติ ร
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
ให้ลอยอยู่บนผิวหน้าของสารละลาย จากนั้นปิดจุกยางที่ต่อสายยาง
ไปยังหลอดทดลองอีกหลอดหนึ่งที่บรรจุสารละลายบรอมไทมอลบลู 1. แก ส คาร บ อนไดออกไซด ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ
ปริมาตร 3 มิลลิลิตร สารละลาย ไมมสี ี ไมมกี ลิน่ ไมตดิ ไฟ มีความเปนกรดออน
2. ตั้งหลอดทดลองทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที สังเกตการเปลี่ยนสีของ บรอมไทมอลบลู
น�้ามันพืช น�้าสับปะรด
ละลายไดในนํ้า ดังนั้น จึงทําใหสารละลาย
บรอมไทมอลบลู
และยีสต์ บรอมไทมอลบลู เ ปลี่ ย นจากมี นํ้ า เงิ น เป น สี
ภาพที่ 3.64 เหลืองอมสม
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
? 2. เพือ่ ปองกันแกสออกซิเจนจากอากาศ ทัง้ นีเ้ พือ่
1. แกสที่เกิดขึ้นในการทดลองคือแกสใด และพิสูจน์ ได้อย่างไร ใหเกิดกระบวนการหมักของยีสต
2. เพราะเหตุใดจึงต้องใส่น�้ามันพืชลงไปในหลอดทดลองที่มียีสต์และน�้าสับปะรดอยู่
3. หากท�าการทดลองเช่นเดียวกัน แต่เปลี่ยนเป็นน�้าผลไม้ชนิดอื่น ๆ นักเรียนคิดว่าจะได้ผลการทดลอง
3. นาจะไดผลเชนเดียวกัน แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
เช่นเดียวกันหรือไม่ อย่างไร สภาพความเปนกรด-เบสของสารละลาย และ
4. หากต้องการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการหมักของยีสต์ นักเรียนจะออกแบบการทดลองอย่างไร ปริมาณนํ้าตาลในนํ้าผลไมนั้นๆ
4. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใน
อภิปรายผลกิจกรรม ดุลยพินิจของผูสอน เชน
จากกิจกรรมพบว่า สารละลายบรอมไทมอลบลูเกิดการเปลีย่ นสี โดยสารละลายบรอมไทมอลบลูจะเปลีย่ น - ศึกษาผลของปริมาณนํา้ ตาลในนํา้ ผลไมตอ
จากสีฟ้าเป็นสีเหลือง (บรอมไทมอลบลูจะเปลี่ยนสีเมื่อสารละลายมี pH น้อยกว่า 7) แสดงว่าสารละลายนั้น การหมักของยีสต
อยูใ่ นสภาพทีเ่ ป็นกรด โดยสภาพดังกล่าวเกิดจากแกสคาร์บอนไดออกไซด์ทถี่ กู ปล่อยออกมาจากกรดไพรูวกิ ใน - ศึกษาผลของอุณหภูมิตอการหมักของยีสต
กระบวนการหมักของยีสต์ และผลลัพธ์สุดท้ายที่ได้จากการหมักของยีสต์ คือ แอลกอฮอล์
เซลล์ 131
โดยออกแบบการทดลองให มี ตั ว แปรต น
ของสิ่งมีชีวิต
ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม และมีกลุม ทดลอง
และกลุมควบคุมดวย

ขอสอบเนน การคิด หองปฏิบัติการ


การหายใจระดับเซลลในภาวะที่มีออกซิเจนไมเพียงพอเกิด  à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
กระบวนการใดบาง และเกิดขึ้นบริเวณใดของเซลล ครูอาจชี้แนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทํากิจกรรมวา หากดมของเหลวที่มี
(วิเคราะหคําตอบ ไกลโคลิซิส และกระบวนการหมัก ซึ่งเกิดขึ้น ยีสตและนํ้าสับปะรดจะมีกลิ่นของแอลกอฮอล เนื่องจากผลผลิตที่ไดจาก
ในไซโทซอล) กระบวนการหมัก คือ แอลกอฮอล

บันทึก กิจกรรม
เมื่อตั้งหลอดทดลองทิ้งไว 30 นาที จะเกิดแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งทําให
สารละลายบรอมไทมอลบลูเปลี่ยนจากสีนํ้าเงินเปนสีเหลืองอมสม

T143
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
กิจกรรม ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์
1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา สามารถนํา • การสังเกต

ความรูเรื่องกระบวนการหมักไปใชประโยชน การหมักของยีสต์ (2) • การทดลอง


• การลงความเห็นจากข้อมูล
อะไรไดบาง โดยอาจมีแนวทางอภิปราย ดังนี้ จิตวิทยำศำสตร์
“ความรูเกี่ยวกับกระบวนการหมักนําไปใช วัสดุอปุ กรณ์และสำรเคมี • ความสนใจใฝ่รู้
• การท�างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง
ประโยชนในการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล 1. ยีสต์แห้ง 5. ขวดน�้าพลาสติก สร้างสรรค์
เชน เบียร สุรา ไวน ใชการการผลิตอาหาร 2. สับปะรด 6. เทปกาว
ตางๆ เชน นมเปรีย้ ว โยเกิรต เตาเจีย้ ว เตาหูย ี้ 3. ลูกโป่ง 7. เครื่องชัง่ สาร
4. กระบอกตวง
หรือใชในกระบวนการผลิตขนมปง ใชผลิต
แอลกอฮอลจากของเหลือใชทางการเกษตร วิธปี ฏิบตั ิ
เปนตน ” ศึกษาการหมักของยีสต์โดยสังเกตจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของลูกโป่ง ซึ่งปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. น�าน�้าสับปะรดประมาณ 10 มิลลิลิตร ใส่ลงในขวดพลาสติก และใส่ยีสต์แห้ง 5 กรัม แล้วน�าลูกโป่ง
ที่ไล่อากาศออกแล้วมาครอบลงบนปากขวด โดยใช้เทปกาวพันให้ลูกโป่งติดกับปากขวดจนแน่น
2. เขย่าขวดแล้วตั้งทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที (หรืออาจเขย่าขวดทุก ๆ 5 นาที จนครบ 30 นาที) สังเกตลักษณะ
ของลูกโป่ง

ภาพที่ 3.65

?
ค�ำถำมท้ำยกิจกรรม
1. หลังจากที่ตั้งขวดพลาสติกทิ้งไว้ 30 นาที มีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้นบ้าง
2. แกสที่เกิดขึ้นในการทดลองคือแกสใด
3. หากท�าการทดลองเช่นเดียวกัน แต่เปลี่ยนเป็นน�้าผลไม้ชนิดอื่น ๆ นักเรียนคิดว่าจะได้ผลการทดลอง
เช่นเดียวกันหรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ คําถามทายกิจกรรม
อภิปรายผลกิจกรรม
1. สังเกตเห็นฟองอากาศผุดขึ้นในขวดที่ใสยีสต
กับนํ้าสับปะรด และลูกโปงพองขึ้น จากกิจกรรมพบว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดของลูกโป่ง โดยจะสังเกตเห็นว่าลูกโป่งพองออก ซึ่งแกส
ที่ท�าให้ลูกโป่งพองออกนี้ คือ แกสคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากหมักของยีสต์ โดยกรดไพรูวิกจะเป็นตัวปล่อย
2. แกสคารบอนไดออกไซด แกสคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา และผลลัพธ์สุดท้ายที่ได้จากการหมักของยีสต์ คือ แอลกอฮอล์
3. นาจะไดผลเชนเดียวกัน แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
132
สภาพความเปนกรด-เบสของสารละลาย และ
ปริมาณนํ้าตาลในนํ้าผลไมนั้นๆ

หองปฏิบัติการ กิจกรรม 21st Centurey Skills


 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ครูอาจชี้แนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทํากิจกรรมวา ความแรงของการ 1. ศึกษาคนควาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการหมักของยีสต
เขย า มี ผ ลต อ ปฏิ กิ ริ ย า โดยหากเขย า แรงอนุ ภ าคของสารจะชนกั น ได 2. ตั้งคําถาม ตั้งสมมติฐาน และออกแบบการทดลองเพื่อ
มากขึ้น ทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้น และทําใหเกิดแกสคารบอนไดออกไซด พิสูจนผล
มากขึ้น 3. วางแผนดําเนินการทดลอง และเขียนรายงานการทดลอง
4. นําเสนอรายงานการทดลองในรูปแบบสื่อดิจิทัล

บันทึก กิจกรรม
เมื่อตั้งขวดทิ้งไว 30 นาที จะเกิดแกสคารบอนไดออกไซด ซึ่งทําใหลูกโปงที่
ปากขวดพองขึ้น

T144
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
2. กระบวนกำรหมักกรดแลกติก (lactic acid fermentation) เป็นกระบวนการสลาย 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน สรุป
กลูโคสแบบไม่ใช้ออกซิเจนที่พบในเซลล์กล้ามเนื้อลายของสัตว์ เซลล์ของพยาธิตัวตืด และเซลล์ ความรู้เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ทั้งในภาวะ
แบคทีเรียบางชนิด โดยกลูโคสจะเข้าสู่กระบวนการไกลโคลิซิส ที่มีออกซิเจนเพียงพอ และภาวะที่มีออกซิเจน
แล้วจึงจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นกรดไพรูวิกเช่นเดียวกับการหมัก กลูโคส ไม่เพียงพอ โดยจัดท�าในรูปแบบผังมโนทัศน์
แอลกอฮอล์ แต่ต่อมากรดไพรูวิกนั้นจะเปลี่ยนเป็นกรดแลกติก 2 ATP 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนท�าแบบฝกหัด
(lactic acid) โดยจะมีเอนไซม์แลกเตตดีโฮโดรจีเนส (lactate ไกลโคลิซิส 2 NAD+ ในแบบฝกหัดชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
dehydrogenase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา 2 NADH + H+
2
ในภาวะทีร่ า่ งกายขาดออกซิเจน หรือได้รบั ออกซิเจน กรดไพรูวิก ขัน้ ประเมิน
ไม่เพียงพอ การสลายกลูโคสในเซลล์กล้ามเนือ้ นัน้ จะไม่สมบูรณ์ ตรวจสอบผล
และไม่เข้าสู่วัฏจักรเครบส์และกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน 2 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม
แต่จะสลายไปเป็นกรดแลกติก ท�าให้ได้พลังงานเพียง 2 ATP กรดแลกติ ก
การร่วมกันท�าผลงาน และการน�าเสนอผลงาน
ต่อกลูโคส 1 โมเลกุลเท่านั้น ดังสมการ ภาพที่ 3.66 กระบวนการหมัก
กรดแลกติก 2. ครูวัดและประเมินการปฏิบัติการ จากการท�า
C6H12O6 + 2ADP + 2Pi 2C3H6O3 + 2ATP กิจกรรม เรื่อง การหมักของยีสต์
กลูโคส กรดแลกติก 3. ครูตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง การหายใจระดับ
เซลล์
กรดแลกติกที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหมัก จะมีการล�าเลียงออกจากเซลล์กล้ามเนื้อ 4. ครูตรวจสอบผลการท�าแบบฝกหัด
ไปยังตับ เพื่อสังเคราะห์กลับเป็นกลูโคส ซึ่งร่างกายสามารถน�าไปใช้ต่อได้
หากมีกรดแลกติกปริมาณมากสะสมในกล้ามเนื้อ จะท�าให้กล้ามเนื้อล้าและอ่อนแรง
จนกระทั่งไม่สามารถท�ากิจกรรมได้เป็นปกติ ดังนั้น ร่างกายจึงจ�าเป็นต้องได้รับแกสออกซิเจน
มาชดเชย เพื่อให้กรดแลกติกสลายตัวไป ได้เป็นน�้าและแกสคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งจะถูกก�าจัด
ออกนอกร่างกาย
ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการหมักสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม เช่น ใช้กระบวนการหมักแป้งของยีสต์ในการผลิตขนมปัง ใช้ยสี ต์หมักเพือ่ ผลิตเครือ่ ง
ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ รวมถึงการผลิตแอลกอฮอล์จากของเหลือใช้ทางการเกษตร ซึ่งสามารถน�า
แอลกอฮอล์นั้นมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้อีกด้วย นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์จากกระบวนการหมักกรด
แลกติกของแบคทีเรียบางชนิดในการผลิตอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ ผัก
และผลไม้ดอง เป็นต้น

เซลล์ 133
ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


กระบวนการหมักแอลกอฮอล กระบวนการหมักกรดแลกติก ครูวดั และประเมินความเข้าใจของนักเรียน เรือ่ ง การหายใจระดับเซลล์ ด้วย
และการหายใจระดับเซลลในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ เหมือน การสังเกตและประเมินการปฏิบัติการ จากการท�ากิจกรรม เรื่อง การหมักของ
หรือตางกันอยางไร ยีสต์ อีกทั้งประเมินผังมโนทัศน์ เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ โดยศึกษาเกณฑ์
( วิ เ คราะห คํ า ตอบ ส ว นที่ เ หมื อ นกั น คื อ สารตั้ ง ต น และ การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการปฏิบตั กิ าร และแบบประเมินชิน้ งาน/
กระบวนการไกลโคลิ ซิ ส จนถึ ง เกิ ด กรดไพรู วิ ก ส ว นที่ ต  า งกั น ภาระงาน (รวบยอด) ที่อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
คือ การบวนการหมัก ไมใชออกซิเจน ผลิตภัณฑที่ไดอาจเปน แบบประเมินการปฏิบัติการ
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการ แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แอลกอฮอล และแกสคารบอนไดออกไซด หรือกรดแลกติก ขึ้น


ระดับคะแนน แบบประเมินผังมโนทัศน์
ประเด็นที่ประเมิน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบัติการของนักเรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับ 4 3 2 1 คาชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินผังมโนทัศน์ตามรายการที่กาหนด แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน 1. การปฏิบัติการ ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ต้องให้ความช่วยเหลือ ต้องให้ความช่วยเหลือ
ทดลอง ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ บ้างในการทาการ อย่างมากในการทาการ ระดับคะแนน
ระดับคะแนน ได้อย่างถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้ ลาดับที่ รายการประเมิน
ลาดับที่ รายการประเมิน ได้อย่างถูกต้อง 4 3 2 1

อยูกับชนิดของสิ่งมีชีวิต และยังได 2 ATP สวนการหายใจระดับ


4 3 2 1 ต้องได้รับคาแนะนาบ้าง อุปกรณ์ อุปกรณ์ 1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
1 การปฏิบัติการทดลอง 2. ความ มีความคล่องแคล่ว มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่ 2 ความถูกต้องของเนื้อหา
คล่องแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา 3 ความคิดสร้างสรรค์
2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ ในขณะ แต่ต้องได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสร็จ อุปกรณ์เสียหาย
3 การนาเสนอ โดยไม่ต้องได้รับคา 4 ความตรงต่อเวลา
ปฏิบัติการ บ้าง และทาการทดลอง ไม่ทันเวลา
ชี้แนะ และทาการ รวม
รวม เสร็จทันเวลา

เซลลในภาวะที่มีออกซิเจนพียงพอ จะไดแกสคารบอนไดออกไซด
ทดลองเสร็จทันเวลา
3. การบันทึก สรุป บันทึกและสรุปผลการ บันทึกและสรุปผลการ ต้องให้คาแนะนาในการ ต้องให้ความช่วยเหลือ ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
และนาเสนอผล ทดลองได้ถูกต้อง รัดกุม ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อย่างมากในการบันทึก ................./................../..................
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรุป และนาเสนอผล
.............../................/................ เป็นขั้นตอนชัดเจน ทดลองยังไม่เป็น การทดลอง
ขั้นตอน เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์

นํ้า และได 36 หรือ 38 ATP) ประเด็นที่


ประเมิน
1. ความ
สอดคล้องกับ
จุดประสงค์
4
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
3
ผลงานสอดคล้องกับ
ระดับคะแนน
2
ผลงานสอดคล้องกับ
1
ผลงานไม่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์

2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน


ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก 14-16 ดีมาก
9-10 ดี 11-13 ดี
6-8 พอใช้ 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T145
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ขยายตวามเข้าใจ
1. ให้นักเรียนแต่ละคนทบทวนความรู้หน่วยการ
Summary
เรียนรู้ที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต จาก Summary เซลล์ของสิง่ มีชวี ติ
ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.4 เล่ม 1
2. ให้นักเรียนแต่ละคนตรวจสอบความรู้ความ เซลล์และทฤฎีเซลล์
เข้าใจของตนเอง โดยพิจารณาข้อความใน ทฤษฎีเซลล์
กรอบ Self Check ซึ่งหากยังเข้าใจไม่ถูกต้อง มีใจความส�าคัญว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด”
ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาในหัวข้อนั้นๆ กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำ
3. ให้นักเรียนท�าแบบทดสอบหลังเรียน ใช้ศึกษาวัตถุขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ซึ่งให้ภาพ 2 มิติ
4. ให้นักเรียนท�าแบบฝกหัดใน Unit Question 3 กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
ใช้ศึกษาวัตถุขนาดเล็กที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่ไม่เห็น
รายละเอียดเพียงพอซึ่งให้ภาพ 3 มิติ
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสองผำน
ใช้ศึกษาส่วนประกอบภายในของวัตถุซึ่งให้ภาพ 2 มิติ
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสองกรำด
ใช้ศึกษาส่วนประกอบภายนอกของวัตถุซึ่งให้ภาพ 3 มิติ
ภาพที่ 3.67
โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
สวนที่หอหุ้มเซลล์
• ผนังเซลล์ : เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ท�าให้เซลล์คงรูปอยู่ได้
• เยื่อหุ้มเซลล์ : ห่อหุ้มไซโทพลาซึม แสดงขอบเขตของเซลล์ ควบคุม
การเข้าออกของสารต่าง ๆ ระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อม
ไซโทพลำซึม
• ออร์แกเนลล์ : กระจายตัวอยู่ในไซโทพลาซึม ซึ่งออร์แกเนลล์
แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน
• ไซโทซอล : ส่วนของไซโทพลาซึมที่มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว
นิวเคลียส
ภาพที่ 3.68 • เยื่อหุ้มนิวเคลียส : เยื่อหุ้มบาง ๆ 2 ชั้น มีช่องเล็ก ๆ กระจายอยู่
ทั่วไปเรียกว่า นิวเคลียร์พอร์
• นิวคลีโอพลำซึม : ประกอบด้วยนิวคลีโอลัส และโครมาทิน
การลําเลียงสารผ่านเซลล์
กำรล�ำเลียงสำรผำนเยื่อหุ้มเซลล์
• การแพร่แบบธรรมดา : การล�าเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต�่า
• การออสโมซิส : การแพร่ของโมเลกุลน�้าจากบริเวณที่มีน�้ามากไปยังบริเวณที่มีน�้าน้อย
• การแพร่แบบฟาซิลิเทต : การล�าเลียงสารโดยอาศัยโปรตีนตัวพา
• การล�าเลียงแบบใช้พลังงาน : การล�าเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต�่าไปยังบริเวณความเข้มข้นสูง
โดยใช้พลังงาน
134

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


อาจให้นกั เรียนทบทวนความรูท้ งั้ หมดทีไ่ ด้เรียนมาทัง้ หน่วยการเรียนรู้ แล้ว ให้ นั ก เรี ย นประเมิ น ตนเองว่ า ยั ง ไม่ เ ข้ า ใจเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ
จับคูถ่ ามตอบ และแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกัน ก่อนจะท�าแบบทดสอบหลังเรียน หัวข้อใด แล้วทบทวนเนื้อหาดังกล่าวนั้น โดยอาจให้เพื่อนช่วยกัน
และแบบฝกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ถามตอบเพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจของตนเอง

กิจกรรม ทาทาย
ให้นกั เรียนรวมกลุม่ กัน ศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติมเกีย่ วกับเซลล์ของ
สิง่ มีชวี ติ แล้วเลือกหัวข้อทีส่ นใจเป็นพิเศษ จากนัน้ สรุปองค์ความรู้
หัวข้อนัน้ ๆ ในรูปแบบทีน่ า่ สนใจ โดยใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการสืบค้น
จัดกระท�าข้อมูล และน�าเสนอข้อมูล

T146
น�า สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
กำรล�ำเลียงสำรโดยกำรสร้ำงถุงจำกเยื่อหุ้มเซลล์ 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบค�าถาม
• เอกโซไซโทซิส : การล�าเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ การร่วมกันท�าผลงาน และการน�าเสนอผลงาน
• เอนโดไซโทซิส : การล�าเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์
• ฟาโกไซโทซิส : การล�าเลียงสารในรูปของแข็ง 2. ครูตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
• พิโนไซโทซิส : การล�าเลียงสารในรูปสารละลาย 3. ครูตรวจแบบฝกหัดใน Unit Question 3
• การล�าเลียงสารโดยอาศัยตัวรับ : การล�าเลียงสารโดยอาศัยโปรตีนตัวรับที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
การสื่อสารระหว่างเซลล์
กระบวนกำรสื่อสำรระหวำงเซลล์
• กำรสื่อสำรโดยใช้กระแสประสำท : เซลล์ประสาทของสัตว์สามารถสื่อสารและน�ากระแสประสาทได้ โดย
เซลล์ประสาทที่เชื่อมต่อกันจะหลั่งสารออกมากระตุ้นให้เซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่งท�างานต่อไป
• กำรสือ่ สำรโดยใช้สำรเคมีหรือฮอร์โมน : ในสัตว์ฮอร์โมนจะถูกหลัง่ จากต่อมไร้ทอ่ แล้วส่งไปตามกระแสเลือด
เพื่อไปยังเซลล์ของอวัยวะเป้าหมาย ส่วนในพืชส่วนใหญ่แล้วฮอร์โมนจะถูกล�าเลียงจากเซลล์หนึ่งไปยัง
อีกเซลล์หนึ่งโดยตรง หรือแพร่ผ่านไปทางอากาศ
การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์
กำรเปลี่ยนสภำพของเซลล์ กำรชรำภำพของเซลล์
• หลังจากการแบ่งเซลล์แล้ว เซลล์แต่ละชนิดจะมี • เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น จ�านวนซ�้าของการ
การเปลี่ยนสภาพไปท�าหน้าที่ต่าง ๆ แบ่งเซลล์ท�าให้ความยาวเทโลเมียร์ลดลง เซลล์
มี ก ารสะสมของเสี ย มากขึ้ น หรื อ จากปั จ จั ย
ภายนอก ซึง่ การชราภาพของเซลล์จะท�าให้เซลล์
มีประสิทธิภาพในการท�างานลดลง
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน รังสี
เซลล์กระดูก
บุหรี่
DNA
เซลล์กล้ามเนื้อ เกิดความ สารพิษ
เสียหาย จากโรงงาน

เซลล์ผิวหนัง
ภาพที่ 3.69 การแบ่งเซลล์ ไมโทคอนเดรียเสื่อมสภาพ
การหายใจระดับเซลล์ ภาพที่ 3.70
กำรหำยใจระดับเซลล์ในภำวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ
กำรสลำยกลูโคส
• กระบวนการสลายน�้าตาลกลูโคส 1 โมเลกุล ซึ่งมีเอนไซม์ต่าง ๆ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
• ได้ ATP 2 โมเลกุล NADH 2 โมเลกุล และกรดไพรูวิก 2 โมเลกุล
NAD+ NADH 2 ADP 2 ATP

2 ATP 2 ADP PGAL กรดไพรูวิก


กลูโคส ฟรักโทส 1,6 ไดฟอสเฟต
DHAP กรดไพรูวิก

ภาพที่ 3.71 NAD+ NADH 2 ADP 2 ATP เซลล์ 135


ของสิ่งมีชีวิต

ขอสอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล


กรดแลกติ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเซลล ก ล า มเนื้ อ มี ก ระบวนการ ครูวัดและประเมินความเข้าใจของนักเรียน ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์
เปลี่ยนแปลงอยางไร ของสิง่ มีชวี ติ ด้วยการสังเกตและประเมินพฤติกรรมการตอบค�าถาม การท�างาน
(วิเคราะหคําตอบ กรดแลกติกถูกลําเลียงจากเซลลกลามเนื้อไป รายบุคคล การท�างานกลุม่ และการน�าเสนอผลงาน โดยศึกษาเกณฑ์การวัดและ
ยังตับ เพือ่ สังเคราะหเปนกลูโคสซึง่ รางกายสามารถนําไปใชตอ ได) ประเมินผลจากแบบประเมินที่อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน
ตรงกับระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน การมี
ระดับคะแนน ระดับคะแนน การแสดง การทางาน ส่วนร่วมใน
ลาดับที่ รายการประเมิน ลาดับที่ รายการประเมิน การยอมรับ ความมี รวม
3 2 1 3 2 1 ชื่อ–สกุล ความ ตามที่ได้รับ การ
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน    ลาดับที่ ฟังคนอื่น น้าใจ 15
1 การแสดงความคิดเห็น    ของนักเรียน คิดเห็น มอบหมาย ปรับปรุง
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น    ผลงานกลุ่ม คะแนน
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ   
4 ความมีน้าใจ   
5 วิธีการนาเสนอผลงาน   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม
รวม
ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
.............../................/................ ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน
................/................./...............

ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน


เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ................/................./...............
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี 14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้ 8-10 พอใช้ 11-13 ดี
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T147
น�า สอน สรุป ประเมิน

แนวตอบ Self Check


1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด วัฏจักรเครบส์ กำรสลำยลิพิด
4. ถูก 5. ถูก • ได้คาร์บอนไดออกไซด์ 4 โมเลกุล NADH 6 • กรดไขมัน เมือ่ ผ่านกระบวนการบีตาออกซิเดชัน
โมเลกุล ไฮโดรเจนไอออน 6 อะตอม FADH2 จะได้แอซิทลิ โคเอนไซม์เอ ซึง่ เข้าสูว่ ฏั จักรเครบส์
2 โมเลกุล และ ATP 2 โมเลกุล ต่อไป
เฉลย Unit Question กระบวนกำรถำยทอดอิเล็กตรอน • กลีเซอรอลจะเปลีย่ นไปเป็นฟอสโฟกลีเซอรอล-
1. หากต้องการเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ควร • เป็ น ปฏิ กิ ร ิ ย าที ่ เ กิ ด เป็ น ลู ก โซ่ อ ย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง ดี ไ ฮด์ และจะเปลี่ ย นแปลงตามขั้ น ตอนของ
หมุนให้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีก�าลังขยายต�่าสุดอยู่ เพื่อน�าอิเล็กตรอนและโปรตอนส่งไปยังตัวรับ กระบวนการไกลโคลิซิสต่อไป
อิเล็กตรอน กำรสลำยโปรตีน : ได้กรดอะมิโนที่ส่วนหนึ่งถูก
ตรงกับล�ากล้อง และหมุนแท่นวางวัตถุให้อยูต่ า�่ • ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ก�าจัดในรูปของเสีย และอีกส่วนเข้าสูว่ ฏั จักรเครบส์
ทีส่ ดุ ซึง่ การเคลือ่ นย้ายท�าได้โดยใช้มอื ข้างหนึง่ • ได้ ATP 32-34 โมเลกุล ต่อไป
จับที่แขนของกล้อง และใช้มืออีกข้างหนึ่งรองที่ กำรหำยใจระดับเซลล์ในภำวะที่มีออกซิเจนไมเพียงพอ
ไกลโคลิซิส : มีกระบวนการเช่นเดียวกับการหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ
ฐานของกล้อง แล้วยกกล้องในลักษณะที่กล้อง กระบวนกำรหมัก
ตั้งตรง กระบวนการหมักแอลกอฮอล กระบวนการหมักกรดแลกติก
2. จากสูตร • พบได้ในเซลล์ของยีสต์ และพืชบางชนิด • พบในเซลล์กล้ามเนื้อลายของสัตว์ เซลล์พยาธิ
ก�าลังขยายของภาพ = ขนาดของภาพ • ผลจากการหมักกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้ ATP ตัวตืดและเซลล์แบคทีเรียบางชนิด
ขนาดของวัตถุ 2 โมเลกุล แกสคาร์บอนไดออกไซด์ 2 โมเลกุล • ผลจากการหมักกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้ ATP
10 × 10 = ขนาดของภาพ และเอทิลแอลกอฮอล์ 2 โมเลกุล 2 โมเลกุล และกรดแลกติก 2 โมเลกุล
1 มม.
ขนาดของภาพ = 10 × 10 × 1 มม.
ขนาดของภาพ = 100 มม.
ขนาดของภาพ = 10 ซม. Self Check
ดังนัน้ จะเห็นภาพพยัญชนะ ง มีความสูง 10 ซม. ให้นักเรียนตรวจสอบควำมเข้ำใจ โดยพิจำรณำข้อควำมวำถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด
หำกพิจำรณำข้อควำมไมถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหำตำมหัวข้อที่ก�ำหนดให้
3. ถูก/ผิด ทบทวนที่หัวขอ
เซลล์สัตว์ 1. เซลล์ทุกชนิดมีส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์เหมือนกัน ซึ่งได้แก่ ผนังเซลล์และ 2.1
ร่างแหเอนโดพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์
นิวเคลียส ไรโบโซม
2. สารที่สามารถล�าเลียงผ่านเซลล์ได้ต้องเป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก 3
เซนทริโอล ไลโซโซม เท่านั้น
ไมโทคอนเดรีย

ุด
3. หลังจากการแบ่งเซลล์ เซลล์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกระทั่งมีการ 6
สม
ชราภาพของเซลล์ ใน
ลง
เยื่อหุ้มเซลล์
ทึ ก
บั น

กอลจิคอมเพล็กซ์ 4. การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล ท�าให้ได้ ATP 2 โมเลกุล NADH 2 7


เซลล์พืช โมเลกุล และกรดไพรูวิก 2 โมเลกุล
ไรโบโซม 5. ในกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน จะมีน�้าเป็นตัวรับอิเล็กตรอน 7
กอลจิคอมเพล็กซ์ ตัวสุดท้าย
นิวเคลียส
ร่างแหเอนโด
พลาซึม แวคิวโอล 136
คลอโรพลาสต์
ผนังเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ ไมโทคอนเดรีย

ส่วนประกอบต่างๆ ของเซลล์ มีหน้าที่ ดังนี้


• ผนังเซลล์ : ห่อหุ้มเซลล์ และช่วยให้เซลล์คงรูปร่างอยู่ได้ พบเฉพาะในเซลล์พืช
• เยื่อหุ้มเซลล์ : ห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร
• ร่างแหเอนโดพลาซึม : ผลิตและล�าเลียงสารภายในเซลล์
• กอลจิคอมเพล็กซ์ : รวบรวม บรรจุ และขนส่งสารต่างๆ
• ไรโบโซม : สังเคราะห์โปรตีน
• ไลโซโซม : ขนส่งเอนไซม์ และย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์
• เซนทริโอล : แยกโครมาติดออกจากกันในระยะที่มีการแบ่งเซลล์
• ไมโทคอนเดรีย : สร้างพลังงานให้แก่เซลล์
• แวคิวโอล : เป็นถุงบรรจุสารต่างๆ (เซลล์พืช) หรือรักษาสมดุลน�้าและก�าจัดของเสียออกจากเซลล์ (เซลล์สัตว์)
• คลอโรพลาสต์ : เกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
• นิวเคลียส : ควบคุมกระบวนการต่างๆ ภายในเซลล์

T148
น�ำ สอน สรุป ประเมิน

4. เยื่ อ หุ ้ ม เซลล์ เ ปรี ย บเสมื อ นส่ ว นรั ก ษาความ

U nit
ค�าชี้แจง :
Question 3
ให้ นั ก เรี ย นตอบค� ำ ถำมต อ ไปนี้
ปลอดภัย เพราะท�ำหน้าที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึมที่
อยูภ่ ายใน แสดงขอบเขตของเซลล์ และควบคุม
การผ่านเข้าออกของสารบางชนิดระหว่างเซลล์
1. เมื่อต้องการเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ควรปฏิบัติอย่างไร กับสิ่งแวดล้อม
2. ถ้าพยัญชนะ ง มีขนาดความสูง 1 มิลลิเมตร เมื่อน�ามาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่มีก�าลังขยาย 5. ไรโบโซมท�ำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน ถ้าไม่มี
ของเลนส์ใกล้ตา 10x และก�าลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 10x จะเห็นภาพพยัญชนะ ง มีความสูง ไรโบโซมจะไม่มีการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์
เท่าใด ซึ่งจะส่งผลให้ไม่เกิดการจ�ำลองตัวเองเพื่อเพิ่ม
3. ให้นักเรียนถ่ายเอกสารภาพเซลล์ที่ก�าหนดให้ด้านล่าง หรือหาภาพเซลล์จากหนังสือหรือ จ�ำนวนเซลล์ และท�ำให้เกิดความผิดปกติกับ
อินเทอร์เน็ต แล้วชี้ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ พร้อมทั้งบอกหน้าที่ของส่วนประกอบนั้น ๆ ร่างกายได้
6. แวคิวโอลของเซลล์พืช ท�ำหน้าที่เก็บสะสมสาร
ต่าง ๆ เช่น รงควัตถุ น�้ำตาล สารพิษ และสาร
ต่าง ๆ ทีล่ ะลายน�ำ ้ ส่วนของเซลล์สตั ว์ทำ� หน้าที่
รักษาสมดุลน�้ำในเซลล์ และก�ำจัดของเสียที่
ละลายน�ำ้ ออกจากเซลล์
7. แ ตกต่ า งกั น โดยการทดลองที่ 1 เมื่ อ น� ำ
นิ ว เคลี ย สออก อะมี บ าจะไม่ ส ามารถแบ่ ง
ภาพที่ 3.72 เซลล์ได้ ซึ่งจะท�ำให้อะมีบาตายในที่สุด ส่วน
4. ถ้าเปรียบเทียบเซลล์เป็นโรงงาน เยื่อหุ้มเซลล์จะเทียบได้กับส่วนใดของโรงงาน เพราะเหตุใด การทดลองที่ 2 เมื่อน�ำนิวเคลียสออก แล้ว
5. ถ้าในเซลล์ไม่มีไรโบโซมอยู่เลย จะมีผลอย่างไร น�ำนิวเคลียสของอะมีบาอีกตัวหนึ่งมาใส่แทน
6. แวคิวโอลที่อยู่ในเซลล์พืชกับในเซลล์สัตว์ ท�าหน้าที่เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร อะมีบาจะยังมีชีวิตและสามารถแบ่งเซลล์ต่อ
7. นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งศึกษาหน้าที่ของนิวเคลียส ดังนี้ ไปได้ ซึ่งจากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า
นิวเคลียสท�ำหน้าทีค่ วบคุมการท�ำงานของเซลล์
การทดลองที่ 1 น�านิวเคลียสออกจากเซลล์อะมีบา
และเกี่ยวกับการแบ่งเซลล์
การทดลองที่ 2 น�านิวเคลียสออกจากเซลล์อะมีบาตัวที่ 1 แล้วน�านิวเคลียสของเซลล์อะมีบา
ตัวที่ 2 มาใส่แทน 8. ส ารต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กจะล�ำเลียงเข้าออก
จากเซลล์โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนสารที่มี
นักเรียนคิดว่าผลการทดลองทั้ง 2 การทดลอง จะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
โมเลกุลใหญ่จะมีกลไกพิเศษบางอย่างในการ
8. จงอธิบายถึงกระบวนการล�าเลียงสารผ่านเซลล์ และบอกความส�าคัญของการล�าเลียงสารผ่านเซลล์
ล�ำเลียงสาร ซึ่งการล�ำเลียงสารเข้าและออก
9. จงเปรียบเทียบปริมาณน�า้ ทีเ่ ข้าและออกจากเซลล์เม็ดเลือดแดงทีน่ า� ไปใส่ในสารละลายไอโซโทนิก จากเซลล์มีความส�ำคัญต่อเซลล์เป็นอย่างมาก
ไฮเพอร์โทนิก และไฮโพโทนิก และบอกลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดแดงในสารละลายนั้น ๆ
เนื่ อ งจากเซลล์ ต ้ อ งการสารอาหารเพื่ อ สร้ า ง
10. สารสื่อประสาทและฮอร์โมนเกี่ยวข้องกับการสื่อสารระหว่างเซลล์อย่างไร
พลังงาน และในขณะเดียวกันก็ต้องมีการขับ
เซลล์ 137 ของเสียออกจากเซลล์ด้วย
ของสิ่งมีชีวิต

9. เมื่อเซลล์เม็ดเลือดแดงอยู่ในสารละลายไอโซโทนิก (isotonic solution) ซึ่งมีความเข้มข้นเท่ากับภายในเซลล์ น�้ำทั้งภายในและภายนอกเซลล์ออสโมซิสเข้าและ


ออกในอัตราที่เท่ากัน เซลล์จึงไม่เปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่าง
 เมือ่ เซลล์เม็ดเลือดแดงอยูใ่ นสารละลายไฮเพอร์โทนิก (hypertonic solution) ซึง่ มีความเข้มข้นสูงกว่าภายในเซลล์ น�ำ้ ภายในเซลล์จงึ ออสโมซิสออกไปภายนอก
เซลล์ ส่งผลให้เซลล์เหี่ยว
 เมื่อเซลล์เม็ดเลือดแดงอยู่ในสารละลายไฮโพโทนิก (hypotonic solution) ซึ่งมีความเข้มข้นต�่ำกว่าภายในเซลล์ น�้ำภายนอกเซลล์จึงออสโมซิสเข้าสู่ภายใน
เซลล์ ส่งผลให้เซลล์เต่งและอาจแตกได้
10. สารสื่อประสาท เป็นสารเคมีที่สร้างจากเซลล์ประสาท และหลั่งออกจากปลายประสาท เพื่อน�ำกระแสประสาทไปควบคุมหรือประสานงานระหว่างอวัยวะที่อยู่
ห่างไกลกัน โดยมีลักษณะการท�ำงานที่รวดเร็วแต่ให้ผลในร่างกายไม่นาน เพื่อให้ร่างกายตอบสนองต่ออันตรายได้ในทันที เช่น เมื่อเราเดินเหยียบตะปูจะรีบ
ชักเท้าออกทันที เป็นต้น ส่วนฮอร์โมนเป็นสารเคมีที่สร้างจากต่อมไร้ท่อ และถูกล�ำเลียงไปยังเซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างไกล ซึ่งท�ำให้เกิดการสื่อสารระหว่างเซลล์
ที่อยู่ไกลกันได้ มีลักษณะการท�ำงานที่ช้าแต่ให้ผลควบคุมการท�ำงานได้นาน เช่น การควบคุมการเจริญเติบโต เป็นต้น

T149
น�า สอน สรุป ประเมิน

11. A ระยะอินเตอร์เฟส
B ระยะเมทาเฟส
C ระยะแอนนาเฟส 11. จากภาพการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสที่ก�าหนดให้ จงระบุว่าเซลล์ A B และ C อยู่ในระยะใด
12. 12.1 เซลล์ C อยู่ในระยะแอนาเฟส II เพราะมี ของการแบ่งเซลล์
การแยกโครมาทิดของแต่ละโครโมโซม
12.2 เซลล์ A และ B เพราะมีโครโมโซม 3
โครโมโซม
A
13. การชราภาพของเซลล์เกิดจากหลายสาเหตุ ดังนี้
1. เซลล์มกี ารสะสมของเสีย ท�าให้เกิดผลกระทบ B
ต่อความอยู่รอดของเซลล์
2. ยีนที่มีบทบาทก�าหนดการตายตามอายุขัย
เมื่อมีการแบ่งเซลล์ทุกๆ ครั้งส่วนปลายของ
โครโมโซมจะสั้นลง จึงอาจจะเป็นไปได้ว่าที่ C
ส่วนปลายของโครโมโซมมียีนที่ควบคุมการ
ปรับสภาพของเซลล์
ภาพที่ 3.73
3. ปจจัยภายนอกเซลล์ เช่น อนุมูลอิสระ (free
radical) ส่งผลให้ดีเอ็นเอเกิดการกลาย เกิด 12. พิจารณาภาพที่ก�าหนดให้แล้วตอบค�าถาม
12.1 เซลล์ใดแบ่งเซลล์อยู่ในระยะแอนาเฟส II
การสร้างโปรตีนที่ผิดปกติ 12.2 เซลล์ใดมาจากสิ่งมีชีวิต n = 3
เซลล์ที่อยู่ในช่วงชราภาพหรือแก่ตัว จะมี
ประสิทธิภาพการท�างานลดลงในด้านต่างๆ
ดังนี้
1. การสังเคราะห์โปรตีนลดลง ท�าให้กจิ กรรม
ต่างๆ ภายในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับโปรตีน
ลดลง เช่น การสังเคราะห์เอนไซม์ ฮอร์โมน
สารสื่อประสาท A B C
ภาพที่ 3.74
2. ความว่องไวในการท�างานต�่าลง เนื่องจาก
ไมโทคอนเดรียมีประสิทธิภาพการท�างาน 13. การชราภาพของเซลล์เกิดจากสาเหตุใด และส่งผลอย่างไรต่อการท�างานของเซลล์
ลดลง การสังเคราะห์สารพลังงานสูง (ATP) 14. หากกระบวนการสลายกลูโคสปลดปล่อยพลังงานออกมาปริมาณมากในครัง้ เดียว จะส่งผลต่อเซลล์
จึงลดลงไปด้วย อย่างไร
14. การสลายกลูโคส หากมีการปลดปล่อยพลังงาน 15. เมือ่ เซลล์อยูใ่ นภาวะทีม่ แี กสออกซิเจนไม่เพียงพอหรือไม่มแี กสออกซิเจนเลย เซลล์จะยังคงด�าเนิน
ออกมาปริมาณมากในครั้งเดียวจะได้พลังงาน กิจกรรมต่าง ๆ ต่อไปได้หรือไม่ อย่างไร
สูงมาก ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ได้ 138
15. ในภาวะขาดแก ส ออกซิ เ จน เซลล์ จ ะยั ง คง
ด�าเนินกิจกรรมต่างๆ ต่อไปได้ ซึ่งเซลล์จะ
มี ก ระบวนการสร้ า ง ATP โดยวิ ธีก ารท� า ให้
NADH เปลี่ยนกลับไปเป็น NAD+ เพื่อท�าให้
กระบวนการไกลโคลิซิสสามารถด�าเนินต่อไป
เรียกกระบวนการดังกล่าวว่า กระบวนการหมัก
(fermentation)

T150
S T E M Project
ความเร็วลมกับการเลี้ยงผึ้ง
การเลี้ยงผึ้งในสวนผลไม้เป็นแนวทางหนึ่งในการเพิ่ม
รายได้ให้กบั เกษตรกร ซึง่ เกษตรกรต้องศึกษาพฤติกรรมของผึง้
ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการด�ารงชีวิตของผึ้ง
ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ แสง ทิศทางลม และความเร็วลม และ
เนื่องด้วยเครื่องมือตรวจวัดความเร็วลมมีราคาค่อนข้างสูง
ดังนั้น หากประดิษฐ์เครื่องมือตรวจวัดความเร็วลมได้เองจะ
ช่วยลดต้นทุนในการเลี้ยงผึ้งได้

สถานการณ
เกษตรกรต้องการประดิษฐ์เครื่องมือตรวจวัดความเร็วลมใช้เอง เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงผึ้ง นักเรียนจะช่วยเกษตรกร
ออกแบบและประดิษฐ์เครื่องตรวจวัดความเร็วลมได้อย่างไร

ขอจํากัด
เครื่องวัดความเร็วลมที่ประดิษฐ์ขึ้นต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
• แอนีมอมิเตอร์ที่วัดความเร็วลมได้อย่างแม่นย�า มีความ เชื่อมโยงสูไอเดีย
แข็งแรง สวยงาม มีขนาดเหมาะสมกับสถานที่
• เลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่เหมาะสม Science ผึ้ ง บิ น ในทิ ศ ทางทวนลม ความเร็ ว ลมที่
เหมาะสมต่อการบินของผึ้ง คือ ประมาณ
25 กิโลเมตร/ชั่วโมง
วัสดุและอุปกรณ แอนีมอมิเตอร์ประกอบด้วยถ้วยที่อยู่บริเวณ
ปลายก้ า นซึ่ ง หมุ น ได้ อ ย่ า งอิ ส ระ เมื่ อ ลม
1. พัดลม ปะทะด้านเว้าของถ้วย ถ้วยนั้นจะหมุนรอบ
2. กรรไกร แกนกลาง
3. ดินน�้ามัน Technology แอนีมอมิเตอร์ท�ามือ
4. ปากกาเมจิก
5. ตะเกียบ 1 อัน Engineering ออกแบบเครื่องแอนีมอมิเตอร์ให้ตรงตาม
6. แก้วพลาสติก 4 ใบ เงื่อนไข และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม
7. แอนีมอมิเตอร์ดิจิทัล
8. หลอดพลาสติก 1 อัน
Mathematics การค�านวณอัตราเร็วในการหมุนของแอนีมอ
มิเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้น เทียบกับความเร็วลมที่
9. ฟวเจอร์บอร์ด 1 แผ่น วัดได้จากแอนีมอมิเตอร์ดิจิทัล
10. ขวดน�้าพลาสติก 1 ขวด

T151
1 ระบุปญหา
วิเคราะห์สถานการณ์ และระบุ
แนวทางการแก้ปญหา เพื่อเป็น
แนวทางในการสร้างสรรค์ชนิ้ งาน
6 นําเสนอวิธีการแกปญหา 2 รวบรวมขอมูลและแนวคิด
รวบรวมแนวคิดที่ได้ และปญหา สืบค้นความรู้ และรวบรวม
ที่พบในกิจกรรม เพื่อน�าเสนอวิธี ข้อมูลที่น�าไปแก้ปญหา แล้ว
การแก้ปญหา สรุปข้อมูลความรู้ที่ได้มาโดย
สังเขป

ขั้นตอน
การท�ากิจกรรม

5 ทดสอบ ประเมินผล 3 ออกแบบวิธก


ี ารแกปญ
 หา
และปรับปรุงแกไข
คิ ด วิ ธี ก ารแก้ ป  ญ หาและ
บั น ทึ กรายละเอี ย ดของชิ้ น งาน ออกแบบชิน้ งาน ตามแนวทาง
แล้วทดสอบเพื่อหาแนวทางการ ทีเ่ ตรียมไว้
ปรับปรุงชิ้นงาน 4 วางแผนและดําเนินการ
แกปญหา

ร่วมกันวางแผนการสร้างสรรค์
ชิ้นงานอย่างเป็นล�าดับขั้นตอน
แล้ ว ตรวจสอบการด� า เนิ น การ
หากไม่ตรงตามแผนจะมีวิธีการ
แก้ไขอย่างไร

การประเมินผลงาน
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การประเมิน
1 2 3 4 5
• สามารถวัดความเร็วลมได้อย่างแม่นย�า
• ใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่เหมาะสม
• ความแข็งแรงและสวยงาม
• ความคิดสร้างสรรค์

T152
บรรณานุ ก รม
เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์. 2553. เซลล์ชีววิทยา. กรุงเทพมหานคร : ไอกรุ๊ป เพรส.
จารุณี ควรพิบลู ย์ และประกานต์ ฤดีกลุ ธ�ำรง. 2555. ชีวเคมีระดับเซลล์. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เชาว์ ชิโนรักษ์ และพรรณี ชิโนรักษ์. 2552. ชีววิทยา 1. กรุงเทพมหานคร : ศิลปาบรรณาคาร.
ณิชกานต์ กลิ่นกุสุม. 2552. ชีววิทยาของเซลล์. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยรังสิต.
ดาวัลย์ ฉิมภู่. 2555. ชีวเคมี. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พงศธร นันทธเนศ และสุนทร ภูรีปรีชาเลิศ. 2555. สารและสมบัติของสาร. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ. 2555. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด�ำรงชีวิต ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2544. การสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นทักษะกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (ม.ป.ป.). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
ศุภณัฐ ไพโรหกุล. 2555. Essential Biology. กรุงเทพมหานคร : ธนาเพรส.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ม.ป.ป. คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับหลักสูตร
อนาคต ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สตาร์, ซีซาย. 2551. ชีววิทยา เล่ม 1. แปลโดย คณาจารย์ภาควิชาชีววิทยา. กรุงเทพมหานคร : เซนเกจ เลินนิง่ (ประเทศไทย).
สตาร์, ซีซาย. 2553. ชีววิทยา เล่ม 2. แปลโดย คณาจารย์ภาควิชาชีววิทยา. กรุงเทพมหานคร : เซนเกจ เลินนิง่ (ประเทศไทย).
Campbell, Neil A., Reece, Jane B. 2005. Biology. San Francisco : Pearson, Benjamin Cummings.
Grimm, A. et al. 2008. Science & Technology. United Kingdom: Parragon Publishing.
Joan, Fong. et.al. 2008. Science Matters volume A. Singapore : Marshall Cavendish Education.
Karp, Gerald. 2008. Cell and molecular biology. Chichester : John Wiley.
Kim, Sandra, Glucksman, Marc J, and Marks, Dawn B. 2007. Biochemistry and molecular biology. Philadelphia :
Lippincott Williams & Wilkins.
Knee, Boone. 2007. Biology Expression. Singapore : EPB Pan Pacific.
Kwan, Lam Peng and Lam, Eric Y K. 2010. Discover Biology. Singapore : Marshall Cavendish Education.
Pollard, Thomas D. et.al. 2008. Cell biology. Philadelphia : Saunders/Elsevier.
Schomburg, D. and Michal Gerhard. 2012. Biochemical pathways. Hoboken, N.J. : John Wiley & Sons.
Tay, B. 2007. Biology Insights. Singapore : Pearson Education.

T153
บั น ทึ ก

...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................

T154
สร้างอนาคตเด็กไทย
ด้วยนวัตกรรมการเรี ย นรู ร
้ ะดั
ĔïðøąÖĆîÙčèõćóÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšøć÷üĉßćđóĉęöđêĉö
บโลก
ĀîĆÜÿČĂđøĊ÷îøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ßĊüüĉì÷ćǰ ßĆĚîöĆí÷öýċÖþćðŘìĊęǰ  đúŠöǰ 

คู่มือครู
êćöñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰÖúŠčöÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċǰ ÞïĆïðøĆïðøčÜǰóýǰ ǰêćöĀúĆÖÿĎêø
ĒÖîÖúćÜÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîǰóčìíýĆÖøćßǰǰđúŠöîĊĚǰïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆéǰđðŨîñĎšÝĆéóĉöóŤ
đñ÷ĒóøŠǰĒúąÝĞćĀîŠć÷ǰēé÷ĕéšÝĆéìĞćÙĞćĂíĉïć÷øć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęöĊìĆĚÜñúÖćøđøĊ÷îøĎšǰÿćøąÖćøđøĊ÷îøĎšđóĉęöđêĉö
ĒúąĂÜÙŤ ð øąÖĂïÿĞ ć ÙĆ â ĂČę î ìĊę ÿĞ ć îĆ Ö óĉ ö óŤ ÝĆ é ìĞ ć ×ċĚ î ǰ đóČę Ă ĔĀš ÿ ëćîýċ Ö þćĕéš đ ìĊ ÷ ïđÙĊ ÷ ÜÖĆ ï ĀúĆ Ö ÿĎ ê ø×ĂÜ
ÿëćîýċÖþćǰĒúąóĉÝćøèćđúČĂÖĔßšĀîĆÜÿČĂîĊĚðøąÖĂïÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎšǰĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïĀúĆÖÿĎêøÿëćîýċÖþć

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒà¾ÔèÁàµÔÁÇÔ·ÂÒÈÒʵÏáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ªÕÇÇÔ·ÂÒ Á.4 àÅ‹Á 1


×ĂÜêîĕéšêćöÙüćöđĀöćąÿö
ǰ ǰ ñĎšđøĊ÷ïđøĊ÷Üǰ øý éøùìíĉĝǰǰüĆçîßĆ÷÷ĉęÜđÝøĉâ
ǰ ǰ ñĎšêøüÝǰ ǰ éøîĞćßĆ÷ǰǰßĊüüĉüøøíîŤ
ǰ ǰ ǰ ǰ éøðŞü÷ǰǰĂčŠîĔÝ
ǰ ǰ ǰ ǰ ñý éøýýĉüĉöúǰǰĒÿüÜñú
ïøøèćíĉÖćø ǰ ñý éøîĞĚćÙšćÜǰǰýøĊüĆçîćēøìĆ÷
ǰ ǰ ǰ ǰ îćÜÿćüüøćõøèŤǰǰìšüöéĊ
ïøĉ þĆ ì ǰ ĂĆ Ö þøđÝøĉ â ìĆ ý îŤ ǰ ĂÝìǰ ÝĞ ć ÖĆ é ǰ ×ĂøĆ ï øĂÜüŠ ć ǰ ñĎš đøĊ ÷ ïđøĊ ÷ Üǰ ñĎš ê øüÝǰ Ēúąïøøèćíĉ Ö ćøǰ
éĆÜÖúŠćüǰđðŨîñĎìš öĊę ÙĊ üćöøĎÙš üćöÿćöćøëĔîÖćøÝĆéìĞćĀîĆÜÿČĂîĊĔĚ ĀšöÙĊ üćöëĎÖêšĂÜǰĒúąöĊÙè č õćóĔîÖćøÝĆéÖćøđøĊ÷îøĎš
êćöüĆêëčðøąÿÜÙŤ×ĂÜøć÷üĉßćđóĉęöđêĉöìĊęÖĞćĀîé
ĀćÖñĎšĔßšĀîĆÜÿČĂĀøČĂÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćîóïüŠćǰĀîĆÜÿČĂđúŠöîĊĚöĊךĂïÖóøŠĂÜǰ
đîČĚĂĀćĕöŠëĎÖêšĂÜǰ đÖĉéñúđÿĊ÷Āć÷êŠĂÖćøđøĊ÷îøĎšǰ ÿŠÜñúÖøąìïìĆĚÜéšćîÙčèíøøöǰ Ýøĉ÷íøøöǰ ĒúąÙüćööĆęîÙÜ
×ĂÜßćêĉǰ đöČęĂïøĉþĆìĄǰĕéšìøćïĒúšüǰïøĉþĆìĄǰ÷ĉîéĊÜéÖćøÝĞćĀîŠć÷ìĆîìĊǰ ĒúąđøĊ÷ÖđÖĘïĀîĆÜÿČĂìĊęÝĞćĀîŠć÷ìĆĚÜĀöé
đóČęĂĒÖšĕ×ĔĀšëĎÖêšĂÜǰêúĂéÝîßéĔßšÙŠćđÿĊ÷Āć÷ìĊęđÖĉé×ċĚîÝøĉÜĔĀšÖĆïñĎšìĊęĕéšøĆïÙüćöđÿĊ÷Āć÷îĆĚîǰìĆĚÜîĊĚǰĔĀšđðŨîĕðêćö
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰóýǰǰóøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰĒúą
óøąøćßïĆââĆêĉÙčšöÙøĂÜñĎšïøĉēõÙǰ ÞïĆïìĊęǰ  ǰóýǰǰøüöìĆĚÜ÷ĉî÷ĂöĔĀšÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøÖćøýċÖþć
×ĆĚîóČĚîåćîëĂéëĂîøć÷ßČęĂĀîĆÜÿČĂîĊĚĂĂÖÝćÖïĆâßĊÖĞćĀîéÿČęĂÖćøđøĊ÷îøĎšÿĞćĀøĆïđúČĂÖĔßšĔîÿëćîýċÖþćĕðÖŠĂî
ÝîÖüŠćÝąĕéšøĆïĒÝšÜüŠćöĊÖćøĒÖšĕ×ĒúšüǰóøšĂöìĆĚÜÖćøĒÝšÜðøąßćÿĆöóĆîíŤĔĀšÿëćîýċÖþćìøćï

ǰ ǰ
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ îć÷ßĆ÷èøÜÙŤ úĉöðşÖĉêêĉÿĉî
ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÖøøöÖćøñĎšÝĆéÖćøǰïøĉþĆìǰĂĆÖþøđÝøĉâìĆýîŤǰĂÝìǰÝĞćÖĆé

นร.ชีววิทยา ม.4 ล.1


ISBN : 978 - 616 - 203 - 775 - 7
บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
บริ
ษทั อักษรเจริ
โทร./แฟกซ์ ญทั2999
0 2622 ศน์ อจท. จำกัตดิ 20 คูส
(อัตโนมั ่ าย)
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร
www.aksorn.com Aksornกรุ
ACTงเทพมหานคร 10200 9 786162 037757
โทร./แฟกซ์. 02 6222 999 (อัตโนมัติ 20 คูส ่ าย) www.aksorn.com 85.-
òāñöăÙāċíăēðċäăðöăæñā÷āùäòŞ ÙĄööăæñāð ċôŚð 
êÐúôĀÖ úèĀÖùĆüċòĄñè.....................................................................................................................................................................................

>> ราคาเล่มนักเรียนโปรดดูจากใบสัง
่ ซือ
้ ของ อจท.
คู่มือครู นร. ชีววิทยา ม.4 ล.1

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 8 858649 138088
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย) 350.-
ID Line : @aksornkrumattayom www.aksorn.com อักษรเจริญทัศน์ อจท.
ราคานีเ้ ป็นของฉบับคูม
่ อ
ื ครูเท่านัน

You might also like