You are on page 1of 146

คู่มือครู

Teacher Script

วิทยาศาสตร์ ป. 5
และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
เล่ม 2
ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียงหนังสือเรียน ผูตรวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรียน


ดร.เพ็ญพักตร ภูศิลป ดร.รักซอน รัตนวิจิตตเวช นายฐาปกรณ คําหอมกุล
ดร.พลอยทราย โอฮามา นางศรินภัสร เพ็งมีศรี นายวันเฉลิม กลิ่นศรีสุข
นางวชิราภรณ ปถวี

ผูเรียบเรียงคูมือครู บรรณาธิการคูมือครู
นางสาวสุวิภา วงษแสง นายวันเฉลิม กลิ่นศรีสุข
นางสาวอภิญญา อินไรขิง นางสาวอัญชลี คําเหลือง

พิมพครั้งที่ 41
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา 1548041
1448047
ค� ำ แนะน� ำ กำรใช้
คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.5 จัดท�าขึน้
ส�าหรับให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการประกันคุณภาพผู้เรียน
ตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.)

ิ่ม คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได


เพ นํา นํา สอน สรุป ประเมิน
โซน 1
อยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขัน้ นํา

5
กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่

ิ่ม
เพ คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบขายเนื้อหาสาระของรายวิชา
1. ครูทักทายกับนักเรียน จากนั้นแจงจุดประสงค
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย
การเปลีย่ นแปลง
ซึง่ ครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ตามทีห่ ลักสูตร การเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง
3. ครูใหนักเรียนอานสาระสําคัญและดูภาพ จาก
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสสาร คือ
การเปลีย่ นแปลงลักษณะทางกายภาพ โดยไม่ทา� ให้
เกิดสารใหม่ และท�าให้สารกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
กําหนด หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 หนานี้
จากนั้นถามคําถามนักเรียนวา ภาพนี้เกิดการ
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร คือ การที่
สารเปลี่ยนแปลงไปโดยท�าให้เกิดสารใหม่ และจะ
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพหรือทางเคมี แลวให ท�าให้กลับมาเป็นสารเดิมได้ยากหรือไม่ได้
ิ่ม Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ นักเรียนแสดงความคิดเห็นรวมกัน เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วเปลี่ยนกลับ

เพ
มาเป็นสารเดิมได้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่
(แนวตอบ นํา้ เดือดจนกลายไปเปนไอนํา้ คือ การ ผันกลับได้ ส่วนสารที่ ไม่สามารถเปลี่ยนกลับมา
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ สวนการเผาไหม คือ เป็ น สารเดิ ม ได้ เรี ย กว่ า การเปลี่ ย นแปลงที่
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมี) ผันกลับไม่ได้

ประสิทธิภาพ
ิ่ม Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ
เพ
จั ด การเรี ย นการสอนทั้งหมดของรายวิชากอนที่จะลงมือ
สอนจริง
ิ่ม Chapter Overview ชวยสรางความเขาใจและเห็นภาพรวม
เพ
ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนวย ตัวชี้วัด
1. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท�าให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/1)
2. อธิบายการละลายของสารในน�้า โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/2)

ิ่ม Chapter Concept Overview ชวยใหเ ห็นภาพรวม


3. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/3)
4. วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ (มฐ. ว 2.1 ป.5/4)

เพ
Concept และเนื้อหาสําคัญของหนวยการเรียนรู
เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด
กอนเขาสูบ ทเรียน ครูสามารถใชแบบทดสอบกอนเรียนหนวยการเรียนรูท ี่ 5 ขอใดกลาวเกี่ยวกับสสารไดถูกตอง
ิ่ม
เพ ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม
การเปลี่ยนแปลง จากทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 5 ได 1. มีนํ้าหนักเทานั้น
เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนกอนเรียน ดังภาพตัวอยาง 2. สัมผัสสสารไมได
3. สสาร คือ สิ่งที่มองไมเห็นดวยตาเปลาเทานั้น
ความพรอมของผูเรียนสูการสอนในระดับตาง ๆ แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลี่ยนแปลง

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่สถานะของสสาร 6. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร


4. เปนสิ่งตางๆ ที่มีตัวตน มีนํ้าหนัก ตองการที่อยู สัมผัสได
(วิเคราะหคําตอบ สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวลหรือนํ้าหนัก
1) ของแข็ง 2) ของเหลว 1) การเกิดสนิม
3) ของหนืด 4) แก๊ส 2) การเกิดฝน
2. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ 3) การสุกของผลไม้

โซน 3
ของสสาร 4) การเผาไหม้

ตองการที่อยู และสามารถสัมผัสได เชน ดิน หิน อากาศ สัตว


1) การเผาไหม้ 7. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร สามารถสังเกตได้จาก

ิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมที่จะชวยพัฒนา


2) การควบแน่น สิ่งต่อใดต่อไปนี้
3) การเกิดสนิม 1) สารมีสีต่างจากเดิม
4) การสุกของผลไม้ 2) การเกิดฟองแก๊ส

เพ
3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสสารโดยการระเหิด
1) ของแข็ง -> แก๊ส
2) ของแข็ง -> ของเหลว
3) การเกิดตะกอน
4) ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
1) ไม่เกิดสารใหม่
ทุกสิ่งทุกอยางที่อยูรอบตัวเรา จัดเปนสสารทั้งสิ้น ดังนั้น ขอ 4.
3) แก๊ส -> ของแข็ง
4) ของเหลว -> ของแข็ง
4. สารข้อใด ไม่สามารถละลายน้้าได้
1) ลูกเหม็น
2) สารที่เปลี่ยนแปลงมีสมบัติคงเดิม
3) เมื่อสารเปลี่ยนแปลงแล้วกลับคืนสู่สภาพเดิมไม่ได้
4) เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอกของสาร
9. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ผันกลับได้
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
2) เกลือ 1) การหลอมเหลว

ผูเรียนใหมีทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต
3) แอลกอฮอล์ 2) การกลายเป็นไอ
4) แก๊สออกซิเจน 3) การละลาย
5. ข้อใดไม่ถูกต้อง 4) ถูกทุกข้อ
1) ตัวท้าละลาย + ตัวละลาย = สารละลาย 10. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผันกลับได้ของสาร

โซน 2
2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้้าได้ 1) การเกิดสนิมของเหล็ก
3) สีผสมอาหารละลายน้้าได้ 2) การเปลี่ยนสีของดอกอัญชัน
4) ผงตะไบเหล็กละลายน้้าได้ 3) การเผาไหม้กระดาษ
4) การสุกของสตอว์เบอร์รี่

ในโลกแหงศตวรรษที่ 21
เฉลย 1. 3) 2. 2) 3. 1) 4. 1) 5. 4) 6. 2) 7. 4) 8. 3) 9. 4) 10. 2)

T6
ิ่ม
เพ โครงงานวิทยาศาสตร ตัวอยางโครงงานเพื่อสงเสริมให
ผูเรียนประยุกตใชความรู และฝกทักษะแหงศตวรรษที่ 21

โซน 1 ช่วยครูจัด โซน 2 ช่วยครูเตรียมสอน


กำรเรียนกำรสอน
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน โดยประกอบด้วยองค์ประกอบส�าคัญต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
โดยแนะน�าขั้นตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอย่างละเอียด ส�าหรับครู เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เพื่อให้นักเรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด เกร็ดแนะครู
ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด
น�ำ สอน สรุป ประเมิน
กิจกรรมและอื่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนควรรู
ความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม จากเนื้ อ หา ส� า หรั บ อธิ บ ายเสริ ม เพิ่ ม เติ ม ให้ กั บ
นักเรียน
โดยใช้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป.5 และแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ป.5 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด เป็นสือ่ หลัก (Core Materials) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งคู่มือครูเล่มนี้มีองค์ประกอบ
ที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังนี้

โซน 1 นํา นํา สอน สรุป ประเมิน


โซน 3 ช่วยครูเตรียมนักเรียน
ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลง·างกายÀา¾ 4. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 1 การเปลีย่ นแปลง ประกอบด้ ว ยแนวทางส� า หรั บ การจั ด กิ จ กรรมและ
ทางกายภาพ จากหนังสือเรียนหนานี้ จากนั้น
ศัพทนารู
ชวยกันตอบคําถามสําคัญประจําบทวา
• การเปลี่ ย นแปลงทางกายภาพของสสาร
เสนอแนะแนวข้อสอบ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้แก่ครูผสู้ อน
คําศัพท คําอาน คําแปล
physical change 'ฟซิคัล เชนจ การเปลี่ยนแปลงทาง ที่พบเห็นไดในชีวิตประจําวันมีอะไรบาง
กายภาพ (แนวตอบ นํ้าเดือดจนกลายเปนไอ ไอนํ้า
vaporisation
condensation
'เวเพอไรเซชัน
ค็อนเด็น 'เซชัน
การกลายเปนไอ
การควบแนน
ควบแน น จนกลายเป น หยดนํ้ า ลู ก เหม็ น
ระเหิดกลายเปนไอ)
กิจกรรม 21st Century Skills
physical change 5. นักเรียนรวมกันอานคําศัพททเี่ กีย่ วของกับการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จากหนังสือเรียน กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ ใช้ความรู้ที่เรียนรู้มาสร้าง
หนานี้

vaporisation
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ชิ้นงาน หรือท�ากิจกรรมรวบยอดเพื่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็น
ในศตวรรษที่ 21
condensation
ขอสอบเนนการคิด
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม
¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ เฉลยอย่างละเอียด
·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§ÊÊÒÃ
·Õ辺àËç¹ä´Œã¹
? ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ
ÁÕÍÐäúŒÒ§ ขอสอบเนนการคิดแนว O-NET
ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ
3
แนวข้อสอบ O-NET มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง
ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู ละเอียด
ขอใดจัดเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. ทํานํ้าแข็ง
2. แกสระเบิด
คําศัพท
physical change
คําอาน
ฟซิคัล 'เชนจ
คําแปล
การเปลี่ยนแปลงทาง
กิจกรรมทาทาย
3. ทํานํ้าเตาหู
4. การผลิตยารักษาโรค
(วิเคราะหคําตอบ แกสระเบิด การทํานํ้าเตาหู และการผลิตยา melting 'เม็ลทิง
กายภาพ
การหลอมเหลว
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรม เพือ่ ต่อยอดส�าหรับนักเรียน
โซน 3
รักษาโรค เปนการเปลีย่ นแปลงทางเคมี สวนการทํานํา้ แข็ง เปนการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
vaporisation
condensation
'เวเพอไรเซชัน
ค็อนเด็น'เซชัน
การกลายเปนไอ
การควบแนน
ทีเ่ รียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว และต้องการท้าทายความสามารถใน
solidification ซึลิดิฟ'เคชัน การแข็งตัว ระดับที่สูงขึ้น
dissolution ดิสโซ'ลูชัน การละลาย
โซน 2
กิจกรรมสรางเสริม
T7
เสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมซ่อมเสริมส�าหรับนักเรียนที่
ควรได้รับการพัฒนาการเรียนรู้

หองปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) สื่อ Digital


การอธิบายหรือข้อเสนอแนะสิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือข้อควรปฏิบัติ การแนะน�าแหล่งเรียนรูแ้ ละแหล่งค้นคว้าจากสือ่ Digital ต่าง ๆ
ตามเนื้อหาในบทเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผล
เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่หลักสูตรก�าหนด
ค� ำ อธิ บ ายรายวิ ช า
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมในแต่ละแหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต โซ่อาหารและบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคใน
โซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการด�ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจาก
พ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนว
เดียวกันที่กระท�ำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง การเขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระท�ำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่
กระท�ำต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระท�ำต่อวัตถุ ผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
ของวัตถุ การเขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระท�ำต่อวัตถุ การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
การเกิดเสียงสูง เสียงต�ำ ่ การเกิดเสียงดัง เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครือ่ งมือวัดระดับเสียง และเสนอแนะแนวทางใน
การหลีกเลีย่ งและลดมลพิษทางเสียง การเปลีย่ นสถานะของสสารเมือ่ ท�ำให้สสารร้อนขึน้ หรือเย็นลง การละลายของสารในน�ำ ้
การเปลีย่ นแปลงของสารเมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได้และการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไม่ได้
ปริมาณน�้ำในแต่ละแหล่งและปริมาณน�้ำที่มนุษย์สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ ตระหนักถึงคุณค่าของน�้ำโดยเสนอแนวทาง
การใช้น�้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น�้ำ สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน�้ำในวัฏจักรน�้ำ กระบวนการเกิด
เมฆ หมอก น�้ำค้าง น�ำ้ ค้างแข็ง ฝน หิมะ และลูกเห็บ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาวระบุ
ต�ำแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า รวมทั้งแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน
ท้องฟ้าในรอบปี
โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สามารถน�ำไปใช้อธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์พัฒนางานในชีวิต
จริงได้ ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ และ
ให้มีทักษะส�ำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน รวมทั้งส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดจิตวิทยาศาสตร์และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์

ตัวชี้วัด
ว 1.1 ป.5/1 บ รรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการด�ำรงชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวของ
สิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่
ว 1.1 ป.5/2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตเพื่อ
ประโยชน์ต่อการด�ำรงชีวิต
ว 1.1 ป.5/3 เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร
ว 1.1 ป.5/4 ตระหนักในคุณค่าของสิง่ แวดล้อมทีม่ ตี อ่ การด�ำรงชีวติ ของสิง่ มีชวี ติ โดยมีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม
ว 1.3 ป.5/1 อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์
ว 1.3 ป.5/2 แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถามค�ำถามเกี่ยวกับลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่
ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท�ำให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.1 ป.5/2 อธิบายการละลายของสารในน�ำ ้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.1 ป.5/3 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.1 ป.5/4 วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้
ว 2.2 ป.5/1 อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระท�ำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐาน
เชิงประจักษ์
ว 2.2 ป.5/2 เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระท�ำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุ
ว 2.2 ป.5/3 ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระท�ำต่อวัตถุ
ว 2.2 ป.5/4 ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.2 ป.5/5 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระท�ำต่อวัตถุ
ว 2.3 ป.5/1 อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ป.5/2 ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต�่ำ
ว 2.3 ป.5/3 ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย
ว 2.3 ป.5/4 วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง
ว 2.3 ป.5/5 ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับเสียง โดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง
ว 3.1 ป.5/1 เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจ�ำลอง
ว 3.1 ป.5/2 ใช้แผนทีด่ าวระบุตำ� แหน่งและเส้นทางการขึน้ และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเส้นทาง
การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี
ว 3.2 ป.5/1 เปรียบเทียบปริมาณน�ำ้ ในแต่ละแหล่ง และระบุปริมาณน�้ำที่มนุษย์สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้
ว 3.2 ป.5/2 ตระหนักถึงคุณค่าของน�้ำ โดยน�ำเสนอแนวทางการใช้น�้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น�้ำ
ว 3.2 ป.5/3 สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน�้ำในวัฏจักรของน�้ำ
ว 3.2 ป.5/4 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น�้ำค้าง และน�้ำค้างแข็ง จากแบบจ�ำลอง
ว 3.2 ป.5/5 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลที่รวบรวมได้

รวม 27 ตัวชี้วัด
Pedagogy
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิ
ทยำศำสตร์
และเทคโนโลยี ป.5 เล่ม 2 รวมถึงสือ่ การเรียนรูร้ ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้น ป.5 ผู้จัดท�าได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนที่เปียมด้วย
ประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิต์ ามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั
รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรก�าหนดไว้ โดยครูสามารถน�าไปใช้จัดการเรียนรู้ใน
ชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ผู้จัดท�าได้น�ารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional
Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รูปแบบกำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วย
ุนความสนใจ
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ กระต
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Eennggagement
1

สาํ xploration
eEvvaluatio ล
ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผู้จัดท�าจึงได้เลือกใช้

รวจ

eE
ตรวจสอบ
n

และคนหา
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) 2
5
ซึ่งเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้าง
องค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดย
5Es
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือส�าคัญ เพื่อการ
bo 4 3

n
El a

tio
พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้ ratio ana
ขย

รู
คว pl

าม
n E x ว
าย

แห่งศตวรรษที่ 21 ามเ ายค


ขาใจ อ ธิบ

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้


รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วิธีสอน
โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวิธีสอนที่มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรง โดย
การคิดและการลงมือท�าด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้และเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่คงทน

เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique)

ผูจ้ ดั ท�าเลือกใช้เทคนิคการสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ รียน เพือ่ ส่งเสริมวิธสี อนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้


เช่น การใช้ค�าถาม การเล่นเกม การยกตัวอย่าง ซึ่งเทคนิคการสอนต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกด้วย
Teacher Guide Overview
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.5 เล่ม 2
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

5 1. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร - ทักษะการระบุ - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน


เมื่อท�ำให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง - ทักษะการสังเกต ก่อนเรียน วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
การเปลีย
่ นแปลง
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ - ทักษะการส�ำรวจค้นหา - ตรวจการท�ำกิจกรรมใน - แบบฝึกหัด
(มฐ. ว 2.1 ป.5/1) - ทักษะการตั้งสมมติฐาน สมุดหรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
2. อธิบายการละลายของสารในน�้ำ - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน วิทยาศาสตร์ฯ - แบบทดสอบก่อนเรียน
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ - ทักษะการสรุปอ้างอิง - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
(มฐ. ว 2.1 ป.5/2) - ทักษะการทดสอบ - การน�ำเสนอผลการ - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง
3. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสาร สมมติฐาน ท�ำกิจกรรม - PowerPoint
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - QR Code
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 16 - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ - ใบงาน
(มฐ. ว 2.1 ป.5/3) ชั่วโมง ผลงาน - บัตรภาพ
4. วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ - สังเกตพฤติกรรม
ผันกลับได้และการเปลี่ยนแปลงที่ การท�ำงานรายบุคคล
ผันกลับไม่ได้ (มฐ. ว 2.1 ป.5/4) - สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน

6 1. เปรียบเทียบปริมาณน�ำ้ ในแต่ละ - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน


แหล่ง และระบุปริมาณน�ำ้ ที่มนุษย์ - ทักษะการส�ำรวจค้นหา ก่อนเรียน วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
แหล่งน้�ำ และ
สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน - ตรวจการท�ำกิจกรรมใน - แบบฝึกหัด
ลมฟ้าอากาศ
จากข้อมูลที่รวบรวมได้ - ทักษะการสรุปอ้างอิง สมุดหรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
(มฐ. ว 3.2 ป.5/1) - ทักษะการรวบรวมข้อมูล วิทยาศาสตร์ฯ - แบบทดสอบก่อนเรียน
2. ตระหนักถึงคุณค่าของน�ำ ้ โดย - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
น�ำเสนอแนวทางการใช้น�้ำอย่าง - การน�ำเสนอผลการ - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง
ประหยัดและการอนุรักษ์น�้ำ ท�ำกิจกรรม - PowerPoint
(มฐ. ว 3.2 ป.5/2) - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - QR Code
3. สร้างแบบจ�ำลองที่อธิบายการ 15 - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ - ใบงาน
หมุนเวียนของน�้ำในวัฏจักรของน�้ำ ชั่วโมง ผลงาน - บัตรภาพ
(มฐ. ว 3.2 ป.5/3) - สังเกตพฤติกรรม
4. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ การท�ำงานรายบุคคล
หมอก น�้ำค้าง และน�ำ้ ค้างแข็ง - สังเกตพฤติกรรม
จากแบบจ�ำลอง (มฐ. ว 3.2 ป.5/4) การท�ำงานกลุ่ม
5. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน - สังเกตคุณลักษณะ
หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลที่ อันพึงประสงค์
รวบรวมได้ (มฐ. ว 3.2 ป.5/5) - ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน
หน่วย
ตัวชี้วัด ทักษะที่ได้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมิน สื่อที่ใช้
การเรียนรู้

7 1. เปรียบเทียบความแตกต่างของ - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบทดสอบ - หนังสือเรียน


ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จาก - ทักษะการส�ำรวจค้นหา ก่อนเรียน วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
ดาวบนท้องฟ้า
แบบจ�ำลอง (มฐ. ว 3.1 ป.5/1) - ทักษะการสรุปอ้างอิง - ตรวจการท�ำกิจกรรมใน - แบบฝึกหัด
2. ใช้แผนที่ดาวระบุต�ำแหน่งและ - ทักษะการท�ำงานร่วมกัน สมุดหรือในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ฯ ป.5 เล่ม 2
เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่ม - ทักษะการรวบรวมข้อมูล วิทยาศาสตร์ฯ - แบบทดสอบก่อนเรียน
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบาย - ทักษะการเปรียบเทียบ - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบหลังเรียน
แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของ - การน�ำเสนอผลการ - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง
กลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี ท�ำกิจกรรม - PowerPoint
(มฐ. ว 3.1 ป.5/2) - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - QR Code
9 - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ - ใบงาน
ชั่วโมง ผลงาน
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรม
การท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
- ตรวจแบบทดสอบ
หลังเรียน
สำรบั ญ

Chapter
Chapter Teacher
Chapter Title Overview
Concept
Script
Overview
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 กำรเปลี่ยนแปลง T2 T4 T6

บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ T7-T28

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี T29-T41

บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ T42-T51


ของสาร

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 แหล่งน้�ำและลมฟำอำกำศ T52 T55 T58

บทที่ 1 แหล่งนํ้าเพื่อชีวิต T59-T72

บทที่ 2 ปรากฏการณ์ลมฟาอากาศ T73-T105

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ดำวบนท้องฟำ T106 T108 T110

บทที่ 1 ท้องฟาและกลุ่มดาวฤกษ์ T111-T133

โครงงำนวิทยำศำสตร์ T134 -T135

บรรณำนุกรม T136
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. อธิบายการเปลีย่ น- - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยน - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ แปลงสถานะของ หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
สถานะของสสาร ป.5 เล่ม 2 สสารเมื่อเพิ่มหรือ (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ สมมติฐาน - มุ่งมัน่ ใน
4 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
ลดความร้อนให้ Instructional
สสารได้ (K) Model)
- การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม
- ตรวจใบงาน
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 2. ทดลองการเปลี่ยน - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการระบุ
กิจกรรมที่ 1 สถานะของสสารได้ รายบุคคล - ทักษะการท�ำงาน
- ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยน (P) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ร่วมกัน
สถานะของสสาร 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- PowerPoint ที่ได้รับมอบหมาย
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน (A)

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายการระเหิด - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


การระเหิดเป็น ป.5 เล่ม 2 ของสสารได้ (K) หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
อย่างไร - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. ทดลองการระเหิด (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน
2 ป.5 เล่ม 2 ของสสารได้ (P)
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่
Instructional
Model)
- ตรวจใบงาน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- ทักษะการสรุป
อ้างอิง
การท�ำงาน
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 2 ที่ได้รับมอบหมาย รายบุคคล - ทักษะการระบุ
- ใบงาน เรื่อง การระเหิด (A) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการท�ำงาน
และการระเหิดกลับ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ร่วมกัน
- PowerPoint
- กระดาษสี Post it
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายการละลาย - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


การละลาย ป.5 เล่ม 2 ของสารที่เป็น หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
ของสารในน�้ำ - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ของแข็ง ของเหลว (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน
3 ป.5 เล่ม 2 และแก๊สในน�ำ้ ได้
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง (K)
Instructional
Model)
- ตรวจใบงาน
- การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน
- ทักษะการสรุป
อ้างอิง
การท�ำงาน
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 3 2. ทดลองการละลาย - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - ทักษะการระบุ
- ใบงาน เรื่อง การละลาย ของสารในน�้ำได้ (เครื่องดื่มที่ส่วนผสม - ทักษะการท�ำงาน
ของสารในน�้ำ (P) สามารถละลายในน�้ำได้) ร่วมกัน
- PowerPoint 3. มีความรับผิดชอบ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- สื่อดิจิทัล (QR Code ในการส่งงานตรง รายบุคคล
การละลายในน�้ำของสาร) เวลา (A) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
- น�้ำตาลทรายแดง - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- น�้ำเปล่า
- บัตรค�ำ
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

T2
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. วิเคราะห์การ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยนแปลง ป.5 เล่ม 2 เปลี่ยนแปลงของ หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
ทางเคมี - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ สารเมื่อเกิดการ (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม สมมติฐาน - มุ่งมัน่ ใน
ป.5 เล่ม 2 เปลี่ยนแปลง Instructional - ตรวจใบงาน - ทักษะการส�ำรวจ การท�ำงาน
3 - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง ทางเคมีได้ (K) Model) - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน ค้นหา
ชั่วโมง กิจกรรมที่ 1 2. ทดลองการ - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - ทักษะการสรุป
- ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยน- เปลี่ยนแปลงทาง (สมุดบันทึกการสังเกตการ อ้างอิง
แปลงทางเคมีของสาร เคมีได้ (P) เปลี่ยนแปลงของผักหรือผลไม้) - ทักษะการระบุ
- PowerPoint 3. มีความรับผิดชอบ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการท�ำงาน
- สื่อดิจิทัล (QR Code ในการส่งงาน รายบุคคล ร่วมกัน
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี) ตรงเวลา (A) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
- ลูกอม - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. วิเคราะห์และระบุ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยนแปลง ป.5 เล่ม 2 การเปลี่ยนแปลง หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
ทางเคมีทผี่ นั กลับ - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ทางเคมีที่ผันกลับ (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน
ได้และผันกลับ ป.5 เล่ม 2 ได้ได้ (K) Instructional - ตรวจใบงาน - ทักษะการส�ำรวจ การท�ำงาน
ไม่ได้ - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 2. วิเคราะห์และระบุ Model) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน ค้นหา
กิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลง รายบุคคล - ทักษะการสรุป
2 - ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยน- ทางเคมีที่ผันกลับ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม อ้างอิง
ชั่วโมง แปลงที่ผันกลับได้และ ไม่ได้ได้ (K) - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการระบุ
ผันกลับไม่ได้ของสาร 3. ทดลองการ - ทักษะการท�ำงาน
- PowerPoint เปลี่ยนแปลง ร่วมกัน
- สื่อดิจิทัล (QR Code ทางเคมีที่ผันกลับ
การเปลี่ยนแปลงที่ผัน ได้ได้ (P)
กลับได้) 4. ให้ความร่วมมือ
- กระดาษสีขนาด 5 × 10 ในการท�ำกิจกรรม
เซนติเมตร กลุ่มและมีความ
- บัตรภาพ รับผิดชอบในการ
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน ส่งงานตรงเวลา
(A)
แผนฯ ที่ 6 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. ระบุการเปลี่ยน- - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเปลี่ยนแปลง - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ แปลงที่ผันกลับได้ หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการทดสอบ - ใฝ่เรียนรู้
ทางกายภาพ ป.5 เล่ม 2 ได้ (K) (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ สมมติฐาน - มุ่งมั่นใน
ที่ผันกลับได้ - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. รับผิดชอบต่อหน้าที่ Instructional - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ป.5 เล่ม 2 ที่ได้รับมอบหมาย Model) - ตรวจใบงาน อ้างอิง
2 - ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยน- (A) - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน - ทักษะการระบุ
ชั่วโมง แปลงทางกายภาพที่ - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน (ใบความรู้ - ทักษะการท�ำงาน
ผันกลับได้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับ ร่วมกัน
- กระดาษสีขนาด 5 × 10 ได้ของสารหรือการเปลี่ยนแปลง
เซนติเมตรที่มี ที่ผันกลับไม่ได้ของสาร)
เครื่องหมาย ✓ และ ✗ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

T3
Chapter Concept Overview

1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คือ การเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพ โดยไมทําใหเกิดสารใหม และทําใหสารกลับคืนสูสภาพเดิมได
1. การเปลี่ยนสถานะของสสาร คือ การเปลี่ยนแปลงของสสารจากสถานะหนึ่งไปอีกสถานะหนึ่ง โดยอาศัยการเพิ่มหรือลดความรอน
ดังนี้

ของแข็ง • การหลอมเหลว คือ การเปลี่ยน


สถานะจากของแข็งเปนของเหลว

ลดค เหดิ กลบั


• การกลายเปนไอ คือ การเปลี่ยน

การ

วาม
การแข อน

ระ
มร

รอน
สถานะจากของเหลวเปนแกส
ง็ ตวั

เพิ่ม ระเหิด
การหลอ มรอน
ลดควา


ความ
การ • การระเหิด คือ การเปลีย่ นสถานะ


มเห
เพมิ่ คว

รอ น
จากของแข็งเปนแกส
• การระเหิดกลับ คือ การเปลี่ยน
สถานะจากแกสเปนของแข็ง
• การควบแนน คือ การเปลี่ยน
สถานะจากแกสเปนของเหลว
ของเหลว แกส • การแข็งตัว คือ การเปลีย่ นสถานะ
จากของเหลวเปนของแข็ง
เพิ่มความรอน
การกลายเปน ไอ
ลดความรอน
การควบแนน
การเปลี่ยนสถานะของสสาร

2. การละลายของสารในนํ้า คือ การนําสารมาผสมกับนํ้า แลวสารนั้นสามารถผสมรวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับนํ้าไดทั่วทุกสวน


ซึ่งสารที่สามารถละลายในนํ้าไดมีทั้งสารที่อยูในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส เชน

สารทีล่ ะลายในนํา้ ได

เกลือแกง แอลกอฮอลลางแผล นํ้าตาลทราย


T4
หนวยการเรียนรูที่ 5
2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่ท�าให้เกิดสารใหม่และจะท�าให้กลับมาเป็นสารเดิมไม่ได้หรือกลับมาได้ยาก
เราสามารถสังเกตการเปลีย่ นแปลงทางเคมีทเี่ กิดขึน้ ได้จากหลายข้อสังเกต เช่น มีสตี า่ งจากสารเดิม มีกลิน่ ต่างจากสารเดิม อาจมีแสง
หรือเสียงเกิดขึ้น มีฟองแก๊ส มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุณหภูมิ มีตะกอนเกิดขึ้น
ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

การย่างปลา ท�าให้มีสีและ การน�าน�้าส้มสายชู การเป่าลมผ่านหลอด


กลิ่นต่างไปจากสารเดิม ผสมกับผงฟู ท�าให้ ดูดน�้าลงในน�้าปูนใส
มีฟองแก๊สเกิดขึ้น ท�าให้มีตะกอนเกิดขึ้น

การเผาไหม้ ท�าให้มีแสงหรือเสียงเกิดขึ้น

3. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไมได้ของสาร
1. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได คือ เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารสามารถเปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ เช่น
การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ

2. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได คือ เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็นสารเดิมได้ เช่น


การเผาไหม้ การเกิดสนิม

T5
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

5
กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่
1. ครูทักทายกับนักเรียน จากนั้นแจงจุดประสงค
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย
การเปลีย่ นแปลง
การเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสสาร คือ
3. ครูใหนักเรียนอานสาระสําคัญและดูภาพ จาก การเปลีย่ นแปลงลักษณะทางกายภาพ โดยไม่ทา� ให้
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 หนานี้ เกิดสารใหม่ และท�าให้สารกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร คือ การที่
จากนั้นถามคําถามนักเรียนวา ภาพนี้เกิดการ สารเปลี่ยนแปลงไปโดยท�าให้เกิดสารใหม่ และจะ
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพหรือทางเคมี แลวให ท�าให้กลับมาเป็นสารเดิมได้ยากหรือไม่ได้
นักเรียนแสดงความคิดเห็นรวมกัน เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วเปลี่ยนกลับ
มาเป็นสารเดิมได้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่
(แนวตอบ นํา้ เดือดจนกลายไปเปนไอนํา้ คือ การ ผันกลับได้ ส่วนสารที่ ไม่สามารถเปลี่ยนกลับมา
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ สวนการเผาไหม คือ เป็ น สารเดิ ม ได้ เรี ย กว่ า การเปลี่ ย นแปลงที่
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี) ผันกลับไม่ได้

ตัวชี้วัด
1. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อท�าให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/1)
2. อธิบายการละลายของสารในน�้า โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/2)
3. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (มฐ. ว 2.1 ป.5/3)
4. วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ (มฐ. ว 2.1 ป.5/4)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


กอนเขาสูบ ทเรียน ครูสามารถใชแบบทดสอบกอนเรียนหนวยการเรียนรูท ี่ 5 ขอใดกลาวเกี่ยวกับสสารไดถูกตอง
การเปลี่ยนแปลง จากทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 5 ได 1. มีนํ้าหนักเทานั้น
เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนกอนเรียน ดังภาพตัวอยาง 2. สัมผัสสสารไมได
แบบทดสอบก่อนเรียน
3. สสาร คือ สิ่งที่มองไมเห็นดวยตาเปลาเทานั้น
4. เปนสิ่งตางๆ ที่มีตัวตน มีนํ้าหนัก ตองการที่อยู สัมผัสได
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลี่ยนแปลง

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่สถานะของสสาร 6. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร

(วิเคราะหคําตอบ สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวลหรือนํ้าหนัก


1) ของแข็ง 2) ของเหลว 1) การเกิดสนิม
3) ของหนืด 4) แก๊ส 2) การเกิดฝน
2. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ 3) การสุกของผลไม้
ของสสาร 4) การเผาไหม้

ตองการที่อยู และสามารถสัมผัสได เชน ดิน หิน อากาศ สัตว


1) การเผาไหม้ 7. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร สามารถสังเกตได้จาก
2) การควบแน่น สิ่งต่อใดต่อไปนี้
3) การเกิดสนิม 1) สารมีสีต่างจากเดิม
4) การสุกของผลไม้ 2) การเกิดฟองแก๊ส
3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสสารโดยการระเหิด
1) ของแข็ง -> แก๊ส
2) ของแข็ง -> ของเหลว
3) การเกิดตะกอน
4) ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
1) ไม่เกิดสารใหม่
ทุกสิ่งทุกอยางที่อยูรอบตัวเรา จัดเปนสสารทั้งสิ้น ดังนั้น ขอ 4.
3) แก๊ส -> ของแข็ง
4) ของเหลว -> ของแข็ง
4. สารข้อใด ไม่สามารถละลายน้้าได้
1) ลูกเหม็น
2) สารที่เปลี่ยนแปลงมีสมบัติคงเดิม
3) เมื่อสารเปลี่ยนแปลงแล้วกลับคืนสู่สภาพเดิมไม่ได้
4) เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอกของสาร
9. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ผันกลับได้
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
2) เกลือ 1) การหลอมเหลว
3) แอลกอฮอล์ 2) การกลายเป็นไอ
4) แก๊สออกซิเจน 3) การละลาย
5. ข้อใดไม่ถูกต้อง 4) ถูกทุกข้อ
1) ตัวท้าละลาย + ตัวละลาย = สารละลาย 10. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผันกลับได้ของสาร
2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้้าได้ 1) การเกิดสนิมของเหล็ก
3) สีผสมอาหารละลายน้้าได้ 2) การเปลี่ยนสีของดอกอัญชัน
4) ผงตะไบเหล็กละลายน้้าได้ 3) การเผาไหม้กระดาษ
4) การสุกของสตอว์เบอร์รี่

เฉลย 1. 3) 2. 2) 3. 1) 4. 1) 5. 4) 6. 2) 7. 4) 8. 3) 9. 4) 10. 2)

T6
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลง·างกายÀา¾ 4. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 1 การเปลีย่ นแปลง


ทางกายภาพ จากหนังสือเรียนหนานี้ จากนั้น
ชวยกันตอบคําถามสําคัญประจําบทวา
ศัพทนารู • การเปลี่ ย นแปลงทางกายภาพของสสาร
คําศัพท คําอาน คําแปล
physical change 'ฟซิคัล เชนจ การเปลี่ยนแปลงทาง ที่พบเห็นไดในชีวิตประจําวันมีอะไรบาง
กายภาพ (แนวตอบ นํ้าเดือดจนกลายเปนไอ ไอนํ้า
vaporisation 'เวเพอไรเซชัน การกลายเปนไอ ควบแน น จนกลายเป น หยดนํ้ า ลู ก เหม็ น
condensation ค็อนเด็น 'เซชัน การควบแนน ระเหิดกลายเปนไอ)
physical change 5. นักเรียนรวมกันอานคําศัพททเี่ กีย่ วของกับการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จากหนังสือเรียน
หนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
vaporisation แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

condensation

¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§
·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§ÊÊÒÃ
·Õ辺àËç¹ä´Œã¹
? ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ
ÁÕÍÐäúŒÒ§

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดจัดเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. ทํานํ้าแข็ง คําศัพท คําอาน คําแปล
2. แกสระเบิด
3. ทํานํ้าเตาหู physical change ฟซิคัล 'เชนจ การเปลี่ยนแปลงทาง
4. การผลิตยารักษาโรค กายภาพ
(วิเคราะหคําตอบ แกสระเบิด การทํานํ้าเตาหู และการผลิตยา melting 'เม็ลทิง การหลอมเหลว
รักษาโรค เปนการเปลีย่ นแปลงทางเคมี สวนการทํานํา้ แข็ง เปนการ vaporisation 'เวเพอไรเซชัน การกลายเปนไอ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง) condensation ค็อนเด็น'เซชัน การควบแนน
solidification ซึลิดิฟ'เคชัน การแข็งตัว
dissolution ดิสโซ'ลูชัน การละลาย

T7
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
6. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น จากนัน้ ชวยกันทํา
กิจกรรมนําสูการเรียน โดยอานสถานการณ
กิจกรรม
จากหนังสือเรียนหนานี้ แลวเขียนคําตอบลงใน
นําสูก ารเรียน
สมุดหรือทําลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 ͋ҹʶҹ¡Òó áŌǵͺ¤íÒ¶ÒÁ
เลม 2 จากนั้นนําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน
ทีละคู เพื่ออภิปรายและสรุปคําตอบรวมกัน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
·Ø¡¤¹ ¨Ò¹ÃͧᡌÇ
ÁÒáŌǤ‹Ð à¾ÃÒÐᡌǹíéÒ·ÕèÁÕ
¹íéÒàÂç¹ àÁ×è͵Ñ駷Ôé§äÇŒ
¨Ðà¡Ô´Ë´¹íéÒ·Õ袌ҧᡌÇ
·íÒäÁàÃÒµŒÍ§ãªŒ¨Ò¹ ·íÒãËŒ¼ŒÒ»ÙⵍÐໂ¡¨ŒÐ
ÃͧᡌǹíéÒ´ŒÇÂÅФÃѺ

1
1. ¨Ò¡Ê¶Ò¹¡Òó ËÒ¡à»ÅÕÂè ¹¹íÒé ã¹á¡ŒÇ¹íÒé ¨Ò¡¹íÒé àÂç¹à»š¹¹íÒé ·ÕÍè ÂÙã‹ ¹ÍسËÀÙÁËÔ ÍŒ § ¨Ðà¡Ô´
Ë´¹íéÒàËÁ×͹¡Ñ¹ËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ
2
แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน 2. ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò Ë´¹íéÒ໚¹ÊÊÒ÷ÕèÍÂÙ‹ ã¹Ê¶Ò¹Ðã´
1. ไมเกิดหยดนํ้า เพราะนํ้าไมไดถูกเพิ่มหรือ
4
ลดความรอน นํ้าจึงไมเกิดการเปลี่ยนสถานะ
2. หยดนํ้าอยูในสถานะของเหลว

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 อุณหภูมิหอง (room temperature) คือ อุณหภูมิของสถานที่ที่ใชในการ “เมื่อตั้งแกวนํ้าเย็นไวในอุณหภูมิหองแลวเกิดหยดนํ้า” ขอใด
ทําการทดลอง โดยเปนอุณหภูมิมาตรฐานที่ใชทั่วโลก ซึ่งมีอุณหภูมิอยูที่ 20-25 กลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับขอความดังกลาว
องศาเซลเซียส 1. ไมใชการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
2 สสาร (matter) คือ ทุกอยางที่อยูรอบตัว มีตัวตน สัมผัสได มีหลายชนิด 2. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เชน นํ้าเปลา กอนหิน ยางลบ สมุด อากาศในลูกโปง ลมหายใจ ซึ่งสสารตางๆ 3. เปนการเปลี่ยนแปลงแบบผันกลับไมได
อาจอยูในสถานะใดสถานะหนึ่ง ไดแก สถานะของแข็ง สถานะของเหลว และ 4. เรียกการเปลี่ยนแปลงนี้วา การควบแนน
สถานะแกส (วิเคราะหคําตอบ เมื่อตั้งแกวนํ้าเย็นไวในอุณหภูมิหองแลวเกิด
หยดนํ้า เรียกการเปลี่ยนแปลงนี้วา การควบแนน ซึ่งการควบแนน
เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผัน
กลับได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T8
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ สํารวจคนหา

1. การเปลี่ยนʶานТÍงÊÊาร 1. นักเรียนเลนเกมจับกลุมสรางสถานะ เพื่อแบง


กลุมออกเปนกลุมละ 4 คน โดยครูอธิบายวิธี
สสารที่อยู่รอบตัวเรามี
1 หลายชนิ 2 ด สสารแต่
3 ละชนิดที่พบในชีวิตประจ�าวัน การเลนใหนักเรียนฟง ซึ่งมีวิธีการเลน ดังนี้
อาจมีสถานะเปนของแข็ง ของเหลว หรือแกส ซึ่งสสารอาจเปลี่ยนจากสถานะ 1) ครู จั ด เตรี ย มบั ต รพยั ญ ชนะ สระ และ
หนึ่งไปเปนอีกสถานะหนึ่งได้ โดยอาศัยการเพิ่มหรือลดความร้อนให้แก่สสาร วรรณยุกตไทย มาใหนักเรียน ซึ่ง 1 ชุด
ไปจนถึงระดับหนึ่ง เรียกว่า การเปลี่ยนสถานะ จะประกอบไปดวย ก 1 ใบ, ข 1 ใบ,
ง 1 ใบ, ล 1 ใบ, ว 1 ใบ, ส 1 ใบ,
การควบแน่น การหลอมเหลว ห 1 ใบ, เ 1 ใบ, แ 2 ใบ, ็ 1 ใบ และ
๊ 1 ใบ
(หมายเหตุ : บัตร 1 ชุด จะแบงนักเรียนได
เปน 3 กลุม กลุมละ 4 คน)
2) นักเรียนสุมหยิบบัตรคนละ 1 ใบ จากนั้น
ใหนักเรียนจับกลุมกัน กลุมละ 4 คน โดย
จะตองรวมตัวสะกดตามบัตรที่หยิบไดให
การแข็งตัว การระเหิด เปนคํา ดังนี้
- แข็ง (บัตร 4 ใบ คือ แ ข ็ ง )
- เหลว (บัตร 4 ใบ คือ เ ห ล ว )
- แกส (บัตร 4 ใบ คือ แ ก ๊ ส )
2. นักเรียนทุกกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและภาพ
เกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นสถานะของสสาร จาก
ภาพที่ 5.1 ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของสสาร หนังสือเรียนหนานี้ จากนัน้ ชวยกันตอบคําถาม
การกลายเปนไอ
วา
• ถาเราตั้งนํ้าแข็งกอนทิ้งไวในอุณหภูมิหอง
นํา้ แข็งกอนจะเกิดการเปลีย่ นสถานะหรือไม
อยางไร
¶Œ Ò àÃÒµÑé § ¹íé Ò á¢ç § ¡Œ Í ¹·Ôé § äÇŒ ã ¹ (แนวตอบ นํ้าแข็งกอนเกิดการเปลี่ยนสถานะ
ÍØ ³ ËÀÙ ÁÔ Ë Œ Í § ¹íé Ò á¢ç § ¡Œ Í ¹
¨Ðà¡Ô´¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹Ê¶Ò¹ÐËÃ×ÍäÁ‹ เนื่องจากเมื่อนํ้าแข็งกอนไดรับความรอน
Í‹ҧäà จะเกิดการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปน
ของเหลว หรือเรียกวา การหลอมเหลว)
5

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดทําใหเกิดการแข็งตัว 1 ของแข็ง มีสมบัติ คือ มีมวล ตองการที่อยู สามารถสัมผัสได มีรูปรางและ
1. นํานํ้าไปแชชองแชแข็ง ปริมาตรคงที่
2. ปนนํ้าแข็งใหละเอียดที่สุด 2 ของเหลว มีสมบัติ คือ มีมวล ตองการที่อยู สามารถสัมผัสได มีรูปราง
3. วางลูกเหม็นไวในอุณหภูมิหอง เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ มีปริมาตรคงที่
4. วางนํ้าแข็งแหงไวในอุณหภูมิหอง
3 แกส มีสมบัติ คือ มีมวล ตองการที่อยู สามารถสัมผัสได มีรูปรางและ
(วิเคราะหคําตอบ การแข็งตัว เปนการลดความรอนใหกับสสาร ปริมาตรเปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ
จนถึงระดับหนึ่ง จึงทําใหสสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปน
ของแข็ง ซึ่งการนํานํ้าไปแชชองแชแข็ง คือ การลดความรอนให
กับนํ้าจนถึงระดับหนึ่ง จึงทําใหนํ้าที่อยูในสถานะของเหลวเปลี่ยน
เปนของแข็ง ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T9
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ครูถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติมวา นักเรียน
คิดวา สสารชนิดใดที่สามารถเกิดการเปลี่ยน
กÔ¨กรรÁ·ี่ 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช้
สถานะได จากนั้นใหนักเรียนรวมกันแสดง การเปลี่ยนสถานะของสสาร 1. การสังเกต
2. การทดลอง
ความคิดเห็นอยางอิสระ โดยครูแจงนักเรียน 3. การพยากรณ์
ใหทราบวา นักเรียนจะไดคําตอบจากการทํา จุดประสงค 4. การตั้งสมมติฐาน
5. การลงความเห็นจากข้อมูล
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของ ก�าหนดปญหา สังเกต และอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ 6. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
7. การหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา
สสาร และกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การระเหิดและ สสารเมื่อเพิ่มหรือลดความร้อน
การระเหิดกลับ
ตองเตรียมตองใช
(แนวตอบ นํ้า การบูร ลูกเหม็น เกล็ดไอโอดีน
พิมเสน นํ้าแข็งแหง) 1. ชาม 1 ใบ 6. เกลือ 1 ถุง
4. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ 2. น�้าแข็งก้อน 5-6 ก้อน 7. กระจกนาฬิกา 1 อัน
ทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของ 3. หลอดทดลอง 1 หลอด 8. น�้าแข็งปน 34 ของชาม
สสาร โดยศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรม จาก 4. ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน 9. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด
หนังสือเรียน หนา 6-7 5. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 1 ใบ
ลองทําดู
1. แบ่งกลุ่ม จากนั้นช่วยกันสังเกตน�้าแข็งก้อน แล้วช่วยกันก�าหนดปญหาและตั้งสมมติฐาน
เกี่ยวกับการเพิ่มหรือลดความร้อนให้น�้าแข็งก้อน และบันทึกผลลงในสมุด
2. พยากรณ์ว่า เมื่อเพิ่มหรือลดความร้อนให้น�้าแข็งก้อนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
แล้วบันทึกผล
3. ท� า การทดลอง เพื่ อ ตรวจสอบผลการ
พยากรณ์ ดังนี้
1) ใส่นา�้ แข็งก้อนลงในบีกเกอร์ 2-4 ก้อน
จากนั้นตั้งทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของน�้าแข็ง
และบันทึกผล
2) น�าบีกเกอร์จาก ข้อ 1) มาตัง้ ไฟอ่อน ๆ
เปนเวลา 5 นาที สังเกตบริเวณปาก
บีกเกอร์ และบันทึกผล
ภาพที่ 5.2 ทดลองเพิม่ ความร้อนให้กบั น�า้
6

หองปฏิบัติการ ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


 à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ “ทรายตมนํา้ เพือ่ จะตมไข เมือ่ นํา้ เดือด นํา้ กลายเปนไอนํา้ และ
วิธีการใชตะเกียงแอลกอฮอล ทําใหปริมาณนํ้าในหมอตมมีปริมาณนอยลงกวาเดิม” จากขอมูล
1. ตรวจสอบสภาพของตะเกียงแอลกอฮอล เชน ปริมาณแอลกอฮอลควรมีอยู ขอใดกลาวเกี่ยวกับการเปลี่ยนจากนํ้าเปนไอนํ้าไดถูกตอง
ประมาณครึ่งหนึ่งของตะเกียง จัดไสของตะเกียงใหอยูในระดับที่พอดี 1. เปนการละลายของสารในนํ้า
2. การจุดไฟตะเกียงหามนําตะเกียงไปจุดตอกันโดยตรง แตใหใชกานไมขีดไฟ 2. เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
จุดไฟตะเกียง แลวควรทิ้งกานไมขีดไฟที่จุดแลวลงในทราย 3. เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
3. เมื่อใชเสร็จใหดับไฟตะเกียงทันที วิธีการดับ คือ ใชฝาครอบปดใหสนิท โดย 4. เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
หามใชปากเปาใหดับ (วิเคราะหคําตอบ เมื่อเพิ่มความรอนใหกับนํ้า แลวนํ้ากลายเปน
ไอนํ้า เปนการเปลี่ยนสถานะของนํ้า ซึ่งการเปลี่ยนสถานะของนํ้า
เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบ
ที่ถูกตอง)

T10
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ สํารวจคนหา
5. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 1
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
3) ดับไฟ แล้วน�ากระจกนาฬิกาวางบนปากบีกเกอร์ จากนั้นน�าน�้าแข็งวางไว้ข้างบน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
กระจกนาฬิกา 2-3 ก้อน สังเกตบริเวณใต้กระจกนาฬิกาและบันทึกผล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
4) น�าน�้าในบีกเกอร์เทใส่หลอดทดลองประมาณ 14 ของหลอดทดลอง จากนั้นน�า
หลอดทดลองไปแช่ลงในชามน�้าแข็งปนที่ผสมเกลือ แล้วตั้งทิ้งไว้ประมาณ 20 นาที
จนน�้าในหลอดทดลองเกิดการเปลี่ยนแปลง สังเกตและบันทึกผล
4. น�าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายและสรุปผล

สังเกตน้ำแข็งกอน

อันตราย
ในการจุดตะเกียงแอลกอฮอล์ นักเรียนห้ามน�า
ตะเกียงแอลกอฮอล์ ไปต่อไฟกันโดยตรงเด็ดขาด
ต้องใช้กา้ นไม้ขดี จุด และห้ามถือตะเกียงทีจ่ ดุ ไฟแล้ว
เดินไปมา เพราะจะท�าให้เกิดอันตราย

ภาพที่ 5.3 การน�าเสนอหน้าชั้นเรียน

หนูตอบได
1. การเปลี่ยนสถานะของสสารต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับปจจัยใดบ้าง แนวตอบ หนูตอบได
2. การเปลีย่ นสถานะของสสารจะท�าให้เกิดสารชนิดใหม่หรือไม่ เพราะเหตุใด
ขอ 4.
3. เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับน�้าแข็งปนและน�้าแข็งก้อน นักเรียนคิดว่าจะท�าให้เกิดการ
• วางในนํ้ารอน เพราะเปนการเพิ่มความรอน
เปลี่ยนสถานะได้เหมือนกันหรือไม่ เพราะอะไร
แก ช็ อ กโกแลต ทํ า ให ช็ อ กโกแลต ซึ่ ง มี ส ถานะ
4. หากต้องการหลอมเหลวช็อกโกแลตเพื่อน�าไปท�าขนม ควรเลือกใช้วิธีการใดระหว่าง
ของแข็งเกิดการหลอมเหลวกลายเปนของเหลว โดย
น�าช็อกโกแลตใส่ภาชนะโลหะแล้ววางในน�้าร้อน หรือใส่ช็อกโกแลตในภาชนะโลหะ
จะใชเวลาในการหลอมเหลวไมนาน
แล้วน�าไปตากแดด เพราะอะไร
• นําไปตากแดด เพราะเปนการเพิม่ ความรอน
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 7 แกชอ็ กโกแลต ทําใหชอ็ กโกแลตเกิดการหลอมเหลว
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู กลายเปนของเหลว ซึ่งเปนวิธีการที่ประหยัดและ
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
ไมมีอันตรายจากการจุดไฟ

เฉลย กิจกรรมที่ 1
ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
การเปลี่ยนแปลงของนํ้าแข็งกอน
การทดลอง
การพยากรณ ผลการทดลอง
1. ใสนํ้าแข็งกอนในบีกเกอร 2-4 กอน แลวตั้งทิ้งไว 10 นาที นํ้าแข็งกอนกลายเปนของเหลว นํ้าแข็งกอนคอยๆ กลายเปนของเหลว
2. นําบีกเกอรจาก ขอ 1. มาตั้งบนไฟออนๆ เปนเวลา 5 นาที มีไอนํ้าเกิดขึ้น นํ้าในบีกเกอรเดือด และมีไอนํ้าลอยขึ้นขางบน
3. นํากระจกนาฬกาวางบนปากบีกเกอรในขอ 2. จากนั้นนํา มีหยดนํ้าเกาะอยูดานลางของกระจกนาฬกา มีหยดนํ้าเกาะอยูดานลางของกระจกนาฬกา
นํ้าแข็งวางไวขางบน
4. นําหลอดทดลองที่บรรจุนํ้า แชลงในชามนํ้าแข็งที่ผสม นํ้าในหลอดทดลองกลายเปนนํ้าแข็ง นํ้าในหลอดทดลองเริ่มกลายเปนนํ้าแข็ง
เกลือแกงทิ้งไว 20 นาที
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา การเพิ่มหรือลดความรอนมีผลทําใหสสารเปลี่ยนสถานะ ดังนี้
• เมื่อเพิ่มความรอนกับของแข็ง ทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว เรียกวา การหลอมเหลว
• เมื่อเพิ่มพลังงานความรอนกับของเหลว ทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะไปเปนไอนํ้าหรือแกส เรียกวา การกลายเปนไอ
• เมื่อลดความรอนในไอนํ้าลง ทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะกลับมาเปนของเหลว เรียกวา การควบแนน
• เมื่อลดพลังงานความรอนในของเหลวลง ทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะกลับมาเปนของแข็ง เรียกวา การแข็งตัว
T11
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
6. ครูถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติมวา นักเรียน
คิดวา การระเหิดและการระเหิดกลับเปนการ
กÔ¨กรรÁ·ี่ 2 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช้
เปลี่ ย นแปลงทางกายภาพหรื อ ไม อย า งไร การระเหิดและการระเหิดกลับ 1. การวัด
2. การสังเกต
จากนั้นใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น 3. การทดลอง
อยางอิสระ โดยครูแจงนักเรียนใหทราบวา จุดประสงค 4. การพยากรณ์
5. การตั้งสมมติฐาน
นักเรียนจะไดคําตอบจากการทํากิจกรรมที่ 2 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อเพิ่มหรือลดความร้อน 6. การลงความเห็นจากข้อมูล
7. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
เรื่อง การระเหิดและการระเหิดกลับ
(แนวตอบ การระเหิดและการระเหิดกลับเปน ตองเตรียมตองใช
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เพราะสสาร 1. ช้อนตวง 2 อัน 9. จุกยาง 2 อัน
สามารถเปลี่ยนกลับไปเปนสถานะเดิมได) 2. เกลือแกง 2 ช้อน 10. ไม้ขีดไฟ 1 กลั2ก
7. สมาชิกของแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอน 3. นาฬิกาจับเวลา 11เรือน 11. เกล็ดไอโอดีน 2 ช้อน
การทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การระเหิดและการ 4. ที่จับหลอดทดลอง 1 อัน 12. น�้าอุณหภูมิห้อง 150 มิลลิลิตร
ระเหิดกลับ โดยศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรม 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด 13. บีกเกอร์ใส่น�้าผสมน�้าแข็ง 1 ใบ
จากหนังสือเรียน หนา 8-9 6. ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน 14. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 1 ใบ
8. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 2 7. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 2 หลอด 15. กระบอกตวงขนาด 150 มิลลิลิตร 1 ใบ
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด 8. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ลองทําดู
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) 1. แบ่งกลุ่ม แล้วสังเกตลักษณะทางกายภาพ เช่น สถานะ กลิ่น ของเกล็ดไอโอดีนและ
เกลือแกง จากนั้นบันทึกผลลงในสมุด
2. ช่วยกันตั้งสมมติฐานว่า เมื่อเพิ่มหรือลดความร้อนให้กับเกล็ดไอโอดีนและเกลือแกงจะ
ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร แล้วบันทึกผล
3. ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันพยากรณ์และบันทึกผลว่า เมื่อน�าเกล็ดไอโอดีนและเกลือแกง
ใส่หลอดทดลองที่ 1 และ 2 ตามล�าดับ จากนั้นน�าไปแช่ในน�้าเดือด แล้วต่อด้วยน�าไปแช่
ในน�้าเย็น จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
4. ท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบผลการพยากรณ์ โดยใช้ช้อนตวงเกล็ดไอโอดีนใส่ลงใน
หลอดทดลองประมาณ 1-2 ช้อน แล้วปิดปากหลอดทดลองด้วยจุกยาง
5. ตวงน�้าปริมาตร 150 มิลลิลิตร ใส่ลงในบีกเกอร์ แล้วน�าไปตั้งไฟ

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


1 ทีจ่ บั หลอดทดลอง (test tube holder) คือ อุปกรณทใี่ ชในการทดลองทาง สสารในขอใดสามารถเปลี่ยนสถานะโดยการระเหิดได
วิทยาศาสตร ใชสําหรับจับหลอดทดลองขณะทําการทดลอง เชน การทดลองที่ 1. เกลือแกง พิมเสน
ตองบรรจุของเหลวลงในหลอดทดลองแลวนําลงไปตม 2. นํ้าแข็ง นํ้าแข็งแหง
2 ไอโอดีน (iodine) คือ ธาตุเคมี มีสัญลักษณ คือ I หากเราเพิ่มความรอน 3. การบูร นํ้าตาลทราย
ใหกับเกล็ดไอโอดีน เกล็ดไอโอดีนจะเปลี่ยนเปนไอสีมวง เรียกวา การระเหิด 4. เกล็ดไอโอดีน ลูกเหม็น
และเมือ่ ลดความรอนใหกบั ไอสีมว ง ไอสีมว งจะเปลีย่ นกลับมาเปนเกล็ดไอโอดีน (วิเคราะหคาํ ตอบ การระเหิดเปนการเปลีย่ นสถานะของสสารจาก
เรียกวา การระเหิดกลับ ของแข็งกลายเปนไอหรือแกส โดยไมผา นสถานะของเหลว พิมเสน
ลูกเหม็น นํ้าแข็งแหง การบูร เกล็ดไอโอดีน คือ สสารที่สามารถ
เปลี่ยนสถานะโดยการระเหิดได ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่
ถูกตอง)

T12
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 1-2 ภายในกลุม
2. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนกลุ  ม ออกมา
6. เมื่อน�้าในบีกเกอร์เดือดให้ใช้ที่จับหลอดทดลองยึดหลอดทดลองที่มีเกล็ดไอโอดีนไว้ นําเสนอผลการทํากิจกรรมที่ 1-2 หนาชัน้ เรียน
กับขาตั้ง แล้วจุ่มหลอดทดลองลงในน�้าเดือดประมาณ 2 นาที สังเกตการเปลี่ยนแปลง โดยครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้น
ภายในหลอดทดลองและบันทึกผล ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอตาม
7. เมื่อครบ 2 นาที ให้น�าหลอดทดลองออกมาตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องประมาณ 1 นาที ลําดับ
จากนั้นให้น�าไปจุ่มลงในบีกเกอร์ที่มีน�้าเย็นจัด ทิ้งไว้ประมาณ 3-5 นาที แล้วสังเกต 3. นักเรียนรวมกันสรุปเกีย่ วกับการเปลีย่ นสถานะ
การเปลี่ยนแปลงภายในหลอดทดลองและบันทึกผล ของสสาร โดยมี ค รู ค อยอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ใน
8. ท�าการทดลองข้อ 4.-7. ซ�้า โดยเปลี่ยนจากเกล็ดไอโอดีนเปนเกลือแกง สวนที่บกพรอง
9. ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการท�ากิจกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของเกล็ดไอโอดีน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
และเกลือแกงภายในชั้นเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

แนวตอบ หนูตอบได
ขอ 3.
• นําไปวาง เพราะเมื่อเราวางลูกเหม็นในตู
ภาพที่ 5.4 ทดลองเพิ่มและลดความร้อนให้แก่เกล็ดไอโอดีนและเกลือแกง เสือ้ ผาไวสกั ระยะหนึง่ ความรอนในตูเ สือ้ ผาจะทําให
ลูกเหม็นเปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปนไอหรือแกส
หนูตอบได โดยไอของลูกเหม็นจะสงกลิ่นและสามารถชวยไล
1. การระเหิดและการระเหิดกลับของสสารคืออะไร แมลงตางๆ ใหออกไปจากตูเสื้อผาได
2. ยกตัวอย่างสสารในชีวิตประจ�าวันที่มีการเปลี่ยนสถานะโดยการระเหิดมา 3 ชนิด • ไมนําไปวาง เพราะเมื่อเราวางลูกเหม็นในตู
3. “ลูกเหม็นช่วยดับกลิน่ และไล่แมลงในทีต่ า่ ง ๆ ได้” จากข้อความ นักเรียนคิดว่าจะน�าลูกเหม็น เสือ้ ผาไวสกั ระยะหนึง่ ความรอนในตูเ สือ้ ผาจะทําให
ไปวางไว้ในตู้เสื้อผ้าเพื่อดับกลิ่นและไล่แมลงหรือไม่ เพราะอะไร ลูกเหม็นเปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปนไอหรือแกส
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 9 ทําใหลูกเหม็นมีกลิ่นที่รุนแรงติดเสื้อผาได หากเรา
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู สูดดมเปนเวลานานๆ อาจทําใหเกิดอันตรายตอ
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ระบบทางเดินหายใจ

เฉลย กิจกรรมที่ 2 หองปฏิบัติการ


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
เกลือแกง เกล็ดไอโอดีน
การทดลอง การ ผลการ การ ผลการ ครูควรเนนยํ้า เรื่อง การตมนํ้าในบีกเกอร ควรระมัดระวัง อยาใชมือสัมผัส
พยากรณ ทดลอง พยากรณ ทดลอง บีกเกอรที่มีนํ้าเดือดโดยตรง หากตองการยกขึ้นหรือลงควรใชผารองมือ หรือรอ
1. นําหลอดทดลองแช ไมเปลี่ยน ไมเปลี่ยน กลายเปน กลายเปน จนกวานํ้าในบีกเกอรจะเย็นตัวลง และตองไมเลนหลอกลอกันขณะทํากิจกรรม
ในนํ้าเดือด 2 นาที แปลง แปลง ไอสีมวง ไอสีมวง เพราะอาจเกิดอันตรายได
2. นําหลอดทดลองตั้งทิ้งไว ไมเปลี่ยน ไมเปลี่ยน ไอสีมวง ไอสีมวง
ที่อุณหภูมิหอง 1 นาที แปลง แปลง กลับไปเปน กลับไปเปน
แลวแชทงิ้ ไวในนํา้ เย็นจัด เกล็ดไอโอดีน เกล็ดไอโอดีน
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา เมื่อเพิ่มความรอนกับเกล็ดไอโอดีน จะ
ทําใหเกล็ดไอโอดีนเกิดการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปนไอหรือแกสโดย
ไมผานสถานะของเหลว เรียกวา การระเหิด และเมื่อมีการลดความรอนใหกับ
ไอของเกล็ดไอโอดีน จะทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะจากไอกลับมาเปนของแข็ง
อีกครั้งโดยไมผานสถานะของเหลว เรียกวา การระเหิดกลับ สวนเกลือแกงจะ
ไมเกิดการเปลี่ยนสถานะ
T13
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก 1.1 การเปลี่ยนสถานะของสสาร
หนังสือเรียน หนา 7 ลงในสมุดหรือทําลงใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
การเปลี่ยนสถานะของสสารเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สสาร
2. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก แต่ละชนิดจะปรากฏให้เห็นในสถานะใดสถานะหนึง่ ซึง่ อาจเปนของแข็ง ของเหลว
หนังสือเรียน หนา 9 ลงในสมุดหรือทําลงใน หรือแกส สสารแต่ละสถานะสามารถเปลี่ยนเปนสถานะอื่นได้โดยมีความร้อน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 เปนปจจัยส�าคัญ เมื่อมีการเพิ่มหรือลดความร้อนให้กับสสารในระดับหนึ่ง
3. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การ จะท�าให้สสารเกิดการเปลี่ยนรูปร่าง ขนาด ปริมาตร และสถานะไปแต่ยังคงเปน
เปลี่ ย นสถานะของสสาร จากหนั ง สื อ เรี ย น
หนา 10-13
สสารชนิดเดิม และสสารนั้นสามารถกลับคืนสู่สถานะเดิมได้อีกครั้ง เมื่อมี
4. นักเรียนศึกษาขอมูลเกีย่ วกับการเปลีย่ นสถานะ การลดหรือเพิ่มความร้อน ดังนี้
ของสสารเพิ่มเติม จาก PowerPoint เรื่อง
การเปลี่ยนสถานะของสสาร ความร้อนเพิ่มขึ้น
การระเหิด

การหลอมเหลว การกลายเปนไอ

ของแข็ง ของเหลว แกส

การแข็งตัว การควบแน่น

การระเหิดกลับ
ความร้อนลดลง
ภาพที่ 5.5 การเปลี่ยนสถานะของสสาร
10

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของสสารเพิ่มเติมจากสื่อ “การเปลี่ยนสถานะของสสาร ทําใหสมบัติของสสารเปลี่ยนไป
PowerPoint เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร จากเดิม” จากขอความ นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะอะไร
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับอนุภาคของของเหลวเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล 1. เห็นดวย เพราะการเปลี่ยนสถานะของสสารจะเกิดสารใหม
โดยใหสแกน QR Code 3D เรื่อง อนุภาคของของเหลว 2. เห็ น ด ว ย เพราะการเปลี่ ย นสถานะของสสารเป น การ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
3. ไมเห็นดวย เพราะการเปลี่ยนสถานะของสสารเปนการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี
อนุภาคของของเหลว 4. ไมเห็นดวย เพราะการเปลี่ยนสถานะของสสารไมทําให
www.aksorn.com/interactive3D/RK553
สมบัติของสสารเปลี่ยนไปจากเดิม
(วิเคราะหคําตอบ การเปลี่ยนสถานะของสสารตางๆ เปนการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ไมทําใหเกิดสารใหม สมบัติของสาร
ยังคงเดิม และเมื่อเปลี่ยนแปลงแลว สามารถทําใหกลับคืนสู
สภาพเดิมได ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T14
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ขยายความเขาใจ

การหลอมเหลว (melting) การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว 5. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 6 คน ใหอธิบาย


การเปลี่ยนสถานะของสสาร ดังนี้
เมือ่ เพิม่ ความร้อนให้กบั สสารทีอ่ ยูใ่ น • คนที่ 1 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
สถานะของแข็งจนถึงระดับหนึ่งจะท�าให้ สสารโดยการหลอมเหลว
สสารนั้นเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปน • คนที่ 2 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
ของเหลว สสารโดยการกลายเปนไอ
• คนที่ 3 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
การหลอมเหลว สสารโดยการควบแนน
ของแข็ง ของเหลว
(เพิ่มความร้อน) • คนที่ 4 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
ภาพที่ 5.6 การหลอมเหลวของน�้าแข็งก้อน
สสารโดยการแข็งตัว
• คนที่ 5 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
การกลายเปนไอ (vaporisation) การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกส สสารโดยการระเหิด
เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารที่อยู่ • คนที่ 6 ใหอธิบายการเปลี่ยนสถานะของ
ในสถานะของเหลวจนถึ ง ระดั บ หนึ่ ง สสารโดยการระเหิดกลับ
6. นักเรียนแตละคนตอบคําถามทาทายการคิด
จะท� า ให้ ส สารนั้ น เปลี่ ย นสถานะจาก
ขั้นสูงจากหนังสือเรียนหนานี้ลงในสมุด
ของเหลวเป น สถานะแก ส เรี ย กว่ า (แนวตอบ ไมเหมือนกัน เพราะนํ้าแข็งแหงจะ
การกลายเปนไอ แบ่งได้ 2 กระบวนการ เกิดการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปน
ได้แก่ ไอหรือแกส โดยไมผานสถานะของเหลว หรือ
• การระเหย เปนการเปลี่ยนสถานะ เรียกวา การระเหิด สวนนํ้าแข็งปนจะเกิดการ
จากของเหลวที่อยู่บริเวณผิวหน้า ภาพที่ 5.7 การกลายเปนไอของน�้า
เปลีย่ นสถานะจากของแข็งกลายเปนของเหลว
ไปเปนแกส
การกลายเปนไอ หรือเรียกวา การหลอมเหลว)
• การเดือด เปนการเปลี่ยนสถานะ ของเหลว แกส
จากของเหลวโดยเพิม่ ความร้อนจน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
(เพิ่มความร้อน)
ถึงจุดเดือดจนเปนแกส แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
นักเรียนคิดว่า หากเพิม่ ความร้อนให้กบั น�า้ แข็งแห้งและน�า้ แข็งปนเท่า ๆ กัน การเปลีย่ นสถานะ
ที่เกิดขึ้นจะเหมือนกันหรือไม่ เพราะอะไร
11

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การตั้งนํ้าแข็งทิ้งไวในอุณหภูมิหอง จนนํ้าแข็งกลายเปนนํ้า ครูอาจใหความรูเ พิม่ เติมกับนักเรียนวา จุดหลอมเหลว คือ จุดทีท่ าํ ใหสสาร
เปนการเปลี่ยนสถานะของสสารในขอใด เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว เชน นํ้า มีจุดหลอมเหลวอยูที่อุณหภูมิ
1. การกลายเปนไอ 0 องศาเซลเซียส สวนจุดเดือด คือ จุดที่ทําใหสสารเปลี่ยนสถานะจากของเหลว
2. การหลอมเหลว เปนแกส เชน จุดเดือดของนํ้าจะอยูที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
3. การควบแนน
4. การระเหิด
(วิเคราะหคําตอบ การตั้งนํ้าแข็งทิ้งไวในอุณหภูมิหองจนนํ้าแข็ง
กลายเปนนํา้ เปนการเปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปนของเหลว หรือ
เรียกวา การหลอมเหลว ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T15
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
7. นักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับผลที่เกิดจากการ การระเหิด (sublimation) การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนแกส
เปลีย่ นสถานะของสสาร จากหนังสือเรียน หนา
14 จากนั้นรวมกันอภิปรายถึงผลดีและผลเสีย เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารที่อยู่
ที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะของสสาร ในสถานะของแข็งบางชนิดจนถึงระดับ
8. ครู ถ ามคํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง จาก หนึ่งจะท�าให้สสารนั้นเปลี่ยนสถานะจาก
หนังสือเรียน หนา 14 กับนักเรียนวา ภาวะ ของแข็งเปนแกส โดยไม่ผ่านการเปน
โลกรอน (global warming) คือ ภาวะที่ ของเหลว
อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น นักเรียนคิดวา
การระเหิด
ภาวะโลกรอน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ ของแข็ง แกส ภาพที่ 5.8 การระเหิดของเกล็ดไอโอดีน
สสารอยางไร จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละคนตอบ (เพิ่มความร้อน)
คําถามลงในสมุด นักวิทยาศาสตร์ได้นา� ประโยชน์จากการระเหิดของสสารมาใช้เปนวิธกี ารแยกสาร
(แนวตอบ เมื่ออุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น จะ ที่อยู่ในสถานะของแข็งที่ระเหิดได้กับของแข็งที่ระเหิดไม่ได้ออกจากกัน เช่น การแยก
ทํ า ให นํ้ า แข็ ง ขั้ ว โลกเกิ ด การเปลี่ ย นสถานะ สารผสมระหว่างทรายกับผงลูกเหม็น โดยการเพิ่มความร้อนให้กับสารผสม จะท�าให้
จากสถานะของแข็งเปนของเหลว หรือเรียกวา
ผงลูกเหม็นระเหิดกลายเปนแกสเหลือแต่ทรายอยู่ในภาชนะ ดังภาพ
การหลอมเหลว)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
การระเหิด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
(เพิ่มความร้อน)
สารผสม
(ทราย + ผงลูกเหม็น) ทราย
ภาพที่ 5.9 การแยกสารผสมโดยการระเหิด

ตัวอย่าง สสารที่สามารถเปลี่ยนสถานะโดยการระเหิดได้

1 2
ภาพที่ 5.10 น�้าแข็งแห้ง ภาพที่ 5.11 ลูกเหม็น ภาพที่ 5.12 การบูร
12

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 นํา้ แข็งแหง คือ แกสคารบอนไดออกไซดในสถานะของแข็ง ซึง่ นํา้ แข็งแหง ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
จะมีอุณหภูมิเย็นจัดถึง -80 องศาเซลเซียส ดังนั้น เมื่อเราสัมผัสนํ้าแข็งแหง 1. สสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว เราเรียกวา
โดยตรงอาจทําใหเราไดรับบาดเจ็บที่เรียกวา frost bite หรือผิวหนังไหมจาก การหลอมเหลว
อุณหภูมิเย็นจัดได 2. การเปลี่ ย นสถานะของสสารเป น การเปลี่ ย นแปลงทาง
2 ลูกเหม็น คือ สารอินทรียชนิดหนึ่ง อยูในสถานะของแข็ง ไมละลายในนํ้า กายภาพ
เมื่อวางไวในตูเสื้อผาสักระยะลูกเหม็นจะมีขนาดเล็กลง เพราะลูกเหม็นไดรับ 3. การเปลี่ยนสถานะของสสารไมทําใหสมบัติของสารเปลี่ยน
ความรอนจึงเกิดการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเปนไอหรือแกส เรียกวา 4. การเปลี่ยนสถานะของสสารไมเกี่ยวของกับความรอน
การระเหิด จึงทําใหมีกลิ่นเหม็น ไลแมลงได (วิเคราะหคาํ ตอบ สสารสามารถเปลีย่ นสถานะได โดยมีความรอน
เปนปจจัยสําคัญ ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T16
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ขยายความเขาใจ

การระเหิดกลับ (deposition) การเปลี่ยนสถานะจากแกสเปนของแข็ง 9. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรื่อง การเปลี่ยน


สถานะของสสาร ที่ครูแจกให แลวนํามาสง
เมื่อลดความร้อนให้กับสสารที่อยู่ใน ในชั่วโมงถัดไป
สถานะแกสบางชนิดจนถึงระดับหนึ่งจะ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ท�าให้สสารนัน้ เปลีย่ นสถานะจากแกสเปน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ของแข็ง โดยไม่ผ่านการเปนของเหลว
ขัน้ สรุป
การระเหิดกลับ ตรวจสอบผล
แกส ของแข็ง
(ลดความร้อน) ครูใหนักเรียนสรุปความรูจากการเรียนจนได
ภาพที่ 5.13 การระเหิดกลับของเกล็ดไอโอดีน ขอสรุปรวมกันวา สถานะของสสารมีดวยกัน 3
สถานะ ไดแก ของแข็ง ของเหลว และแกส การ
การควบแน่น (condensation) การเปลี่ยนสถานะจากแกสเปนของเหลว เปลี่ยนสถานะของสสารจะตองอาศัยความรอน
เมื่อลดความร้อนให้กับสสารที่อยู่ใน เปนปจจัยสําคัญ ซึ่งการเปลี่ยนสถานะของสสาร
สถานะแกสจนถึงระดับหนึง่ จะท�าให้สสาร ไดแก การหลอมเหลว การควบแนน การแข็งตัว
นั้นเปลี่ยนสถานะจากแกสเปนของเหลว การกลายเปนไอ การระเหิด และการระเหิดกลับ

การควบแน่น
แกส ของเหลว
(ลดความร้อน)
ภาพที่ 5.14 การควบแน่นของไอน�า้

การแข็งตัว (solidification) การเปลีย่ นสถานะจากของเหลวเปนของแข็ง


เมื่อลดความร้อนให้กับสสารที่อยู่ใน
สถานะของเหลวจนถึงระดับหนึง่ จะท�าให้
สสารนัน้ เปลีย่ นสถานะจากของเหลวเปน
ของแข็ง
การแข็งตัว
ของเหลว ของแข็ง
(ลดความร้อน) ภาพที่ 5.15 การแข็งตัวของไอศกรีม
13

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การเปลี่ยนแปลงของสสารในขอใดเปนการเปลี่ยนสถานะ ครูสามารถใชใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร ไดจากแผนการ
1. โซเหล็กเกิดสนิม จัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร
2. ผสมดางทับทิมกับนํ้า
3. ไมถูกเผากลายเปนถาน
4. ตั้งลูกเหม็นไวในตูเสื้อผา สื่อ Digital
(วิเคราะหคําตอบ โซเหล็กเกิดสนิม และไมถูกเผากลายเปนถาน ครูใหนกั เรียนเรียนรูเ กีย่ วกับการระเหิดเพิม่ เติมจากสือ่ ดิจทิ ลั โดยใหสแกน
เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี การผสมดางทับทิมกับนํ้า เปนการ QR Code 3D เรื่อง การระเหิด
ละลายของสารในนํ้า สวนการตั้งลูกเหม็นไวในตูเสื้อผา เปนการ
เปลี่ ย นสถานะของสสาร เพราะเมื่ อ ลู ก เหม็ น ได รั บ ความร อ น
ลูกเหม็นจะเกิดการระเหิด คือ เปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปนแกส การระเหิด
โดยไมผา นสถานะของเหลว ดังนัน้ ขอ 4. จึงเปนคําตอบทีถ่ กู ตอง) www.aksorn.com/interactive3D/RK554

T17
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน 1.2 ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะของสสาร
เพื่อตรวจสอบความเขาใจกอนเรียน
2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมนําสูการเรียน การเปลี่ยนสถานะของสสารมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างเช่น
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2 ผลดี ผลเสีย
3. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 1 เรื่ อ ง • เกิดวัฏจักรของน�า้ ท�าให้สงิ่ มีชวี ติ ต่าง ๆ • ถ้าเกิดลูกเห็บขนาดใหญ่ อาจท�าให้
การเปลี่ยนสถานะของสสาร ในสมุดหรือใน
สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ อาคารบ้านเรือนเสียหายได้
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
4. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 2 เรื่ อ ง
การระเหิดและการระเหิดกลับ ในสมุดหรือใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
5. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได
กิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง การเปลีย่ นสถานะของสสาร
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 ภาพที่ 5.16 ใช้น�้าล้างจาน ภาพที่ 5.18 ลูกเห็บท�าให้หลังคาเสียหาย
เลม 2 • น�ามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวัน • ถ้าเกิดการละลายของน�้าแข็งบริเวณ
6. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได เช่น สร้างเครื่องจักรไอน�้า การท�า ขั้วโลก เนื่องจากภาวะโลกร้อน อาจ
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การระเหิดและการระเหิด น�้าแข็ง การท�าไอศกรีม ท�าให้เกิดน�้าท่วมโลก
กลับ ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
ป.5 เลม 2
7. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง การเปลีย่ น
สถานะของสสาร

ภาพที่ 5.17 ไอศกรีม ภาพที่ 5.19 น�้าแข็งขั้วโลกหลอมเหลว

¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
ภาวะโลกร้อน (global warming) คือ ภาวะที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น นักเรียนคิดว่า
ภาวะโลกร้อน ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสสารอย่างไร

14

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม สรางเสริม


ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน ใหนักเรียนแตละคนไปสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลที่เกิดจาก
รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได การเปลี่ยนสถานะของสสาร จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาจัดทําเปน
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ ใบความรู แลวนําสงครู
หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง ดังภาพตัวอยาง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน การมี
ลาดับที่ รายการประเมิน การแสดง การยอมรับ
การทางาน
ส่วนร่วมใน
3 2 1 ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ รวม
1 การแสดงความคิดเห็น    ลาดับที่ ความคิดเห็น ฟังคนอื่น การปรับปรุง 15
ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ความมีน้าใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............./.................../..............

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ............./.................../..............
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14-15 ดีมาก
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-13 ดี
14-15 ดีมาก
8-10 พอใช้
11-13 ดี
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T18
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ นํา


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ กระตุน ความสนใจ
2. การลÐลาย¢ÍงÊาร 1. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลและดูภาพใน
การละลายเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสารที่เกิดขึ้นจากการน�า หนังสือเรียนหนานี้ จากนั้นครูใหนักเรียนตอบ
สารใส่ลงในน�้า แล้วสารนั้นผสมรวมกับน�้าอย่างกลมกลืนจนมองเห็นเปนเนื้อ คําถามวา
• สารละลายคืออะไร และเกิดขึ้นไดอยางไร
เดียวกันทุกส่วน โดยสารที่ได้ยังคงเปนสารเดิม เราเรียกว่า สารละลาย
(แนวตอบ สารละลาย คือ สารเนื้อเดียว เชน
สารต่าง ๆ อาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว1 หรือแกส ซึ่งสารบางชนิด นํ้าเกลือ ในสารละลายจะมีองคประกอบ
สามารถละลายในน�้าได้ เช่น เกลือ แอลกอฮอล์ แกสออกซิเจน ส่วนสาร 2 สวน ไดแก ตัวทําละลายและตัวละลาย
บางชนิดไม่สามารถละลายในน�้าได้ แต่สามารถละลายในสารชนิดอื่นได้ เช่น โดยสารละลายเกิดจากการนําสารมาผสม
ลูกเหม็นไม่ละลายในน�้าแต่ละลายในแอลกอฮอล์ กับนํ้า แลวสารชนิดนั้นรวมกันกับนํ้าจนเรา
มองเห็นเปนเนื้อเดียวกันทั่วทุกสวน ซึ่งสาร
ภาพที่ 5.20 ตัวอย่างการละลายของสาร ที่ไดยังเปนสารชนิดเดิม)
2. นั ก เรี ย นแต ล ะคนสั ง เกตดิ น ร ว น เกลื อ ป น
แปงมัน สีผสมอาหารชนิดนํ้า นํ้ามันพืช และ
นํ้าสมสายชู
3. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา
สารที่นักเรียนสังเกตสามารถละลายในนํ้าได
หรือไม โดยใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม
อยางอิสระ จากนัน้ ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจ
วา นักเรียนจะไดคําตอบจากการทํากิจกรรม
ที่ 3 เรื่อง การละลายของสารในนํ้า
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ÊÒÃÅÐÅÒ¤×ÍÍÐäà áÅÐà¡Ô´¢Öé¹ä´Œ
Í‹ҧäÃ

15

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“วิยะดาทําการทดลอง โดยนําแอลกอฮอลผสมกับนํ้า พบวา ครูใหความรูเพิ่มเติมวา หากนําสาร 2 ชนิด มาผสมกันแลวไมมีการละลาย
แอลกอฮอล กั บ นํ้ า ผสมรวมเป น เนื้ อ เดี ย วกั น ” จากข อ ความ เกิดขึ้น โดยยังมองเห็นสารเดิมอยู สารไมรวมเปนเนื้อเดียวกันหรือแยกสวนกัน
เปนการทดลองเกี่ยวกับเรื่องใด สารนี้จัดเปนสารเนื้อผสม
1. การเปลี่ยนสถานะของสสาร
2. การละลายของสารในนํ้า
3. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี นักเรียนควรรู
4. การเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 แอลกอฮอล คือ สารประกอบอินทรียที่มีหมูไฮดรอกซิลเปนหมูฟงกชัน
(วิเคราะหคาํ ตอบ การละลายของสารในนํา้ คือ การนําสารมาผสม ซึ่งแอลกอฮอลมีหลายชนิด เชน เอทิลแอลกอฮอล (สามารถนําไปใชผลิต
กับนํ้า แลวสารชนิดนั้นสามารถผสมรวมเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้าได ผลิตภัณฑยา เปนสวนประกอบในเครื่องสําอาง) เมทิลแอลกอฮอล (สามารถ
ทั่วทุกสวน ซึ่งการละลายของสารในนํ้าเปนการเปลี่ยนแปลงทาง นําไปใชเปนตัวทําละลาย ใชเปนเชื้อเพลิง)
กายภาพ ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T19
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูใหนักเรียนเลนเกมจับกลุม เพื่อแบงกลุม
นักเรียนออกเปนกลุมละ 5 คน โดยครูอธิบาย
กÔ¨กรรÁ·ี่ 3 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช้
วิธีการเลนใหนักเรียนฟง ดังนี้ การละลายของสารในนํ้า 1. การสังเกต
2. การทดลอง
1) ครูเตรียมบัตรพยัญชนะและสระไทยมาให 3. การพยากรณ์
นักเรียน โดยในบัตร 1 ชุด จะประกอบไป จุดประสงค 4. การตั้งสมมติฐาน
5. การลงความเห็นจากข้อมูล
ดวย ล 2 ใบ, ย 1 ใบ, ะ 1 ใบ และ ทดลองและอธิบายการละลายของสารในน�้า 6. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
า 1 ใบ ตองเตรียมตองใช
2) นักเรียนสุม หยิบบัตรพยัญชนะหรือสระไทย
คนละ 1 ใบ แลวจับกลุมกัน กลุมละ 5 คน
1. ดินร่วน 1 ถุง 7. น�้าส้มสายชู 1 ขวด
โดยจะตองรวมตัวสะกดตามบัตรที่หยิบได
2. แปงมัน 1 ถุง 8. น�้าปริมาตร 600 มิลลิลิตร
ใหเปนคําวา ละลาย
3. เกลือปน 1 ถุง 9. สีผสมอาหารชนิดน�้า 1 ขวด
(หมายเหตุ : บัตร 1 ชุด จะแบงนักเรียนได
4. น�้ามันพืช 1 ขวด 10. ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อัน
เปน 1 กลุม กลุมละ 5 คน) 5. ช้อนตักสาร 6 อัน 11. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 6 หลอด
2. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ 6. แท่งแก้วคนสาร 6 อัน
ทํากิจกรรมที่ 3 เรือ่ ง การละลายของสารในนํา้ ลองทําดู
โดยศึ ก ษาขั้ น ตอนการทํ า กิ จ กรรมให เ ข า ใจ 1. แบ่งกลุ่ม จากนั้นช่วยกันตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการทดลองการละลายของสารที่มีสถานะ
จากหนังสือเรียน หนา 16-17 ต่างกันในน�้า แล้วบันทึกผลลงในสมุด
3. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 3 2. สังเกตสมบัติทางกายภาพของสารแต่ละชนิด เช่น รูปร่าง สถานะ สี แล้วพยากรณ์ว่า
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด เมื่อเติมน�้าลงในสารแต่ละชนิดที่น�ามาทดลองจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 และบันทึกผล
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

น้ำมัน
พืช

ภาพที่ 5.21 สังเกตลักษณะทางกายภาพของสาร


16

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายนักเรียนเพิม่ เติมวา สารละลายทีต่ วั ละลายไมสามารถละลาย นํ้า + สีผสมอาหาร นํ้าสีผสมอาหาร
ไดอีกในตัวทําละลาย ณ อุณหภูมิขณะนั้น เรียกวา สารละลายอิ่มตัว
ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับสารละลายอิ่มตัว โดยปฏิบัติ ดังนี้ จากสมการ สารเกิดการเปลี่ยนแปลงตามขอใด
1. ชวยกันตัง้ ปญหาและตัง้ สมมติฐานเกีย่ วกับการทําสารละลายอิม่ ตัว แลว 1. สารเกิดปฏิกิริยาเคมี
บันทึกผล 2. เกิดการละลายของสารในนํ้า
2. เทนํ้าลงในบีกเกอรประมาณครึ่งบีกเกอร จากนั้นใสเกลือแกงลงไปผสม 3. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
กับนํ้าจนเกลือแกงไมละลาย แลวตั้งทิ้งไว 4. เกิดการเปลี่ยนสถานะของสสาร
3. นําเสนดายพันใหทั่วคลิปหนีบกระดาษ จากนั้นผูกคลิปหนีบกระดาษที่ (วิเคราะหคําตอบ เมื่อนํานํ้ามาผสมกับสีผสมอาหาร จะทําใหสี
พันดายแลวไวกบั เชือกขางหนึง่ แลวผูกดินสอไวทปี่ ลายเชือกอีกขางหนึง่ ผสมอาหารละลายเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้า เรียกการเปลี่ยนแปลง
4. วางดินสอพาดไวบนปากบีกเกอรที่ไดจากขอ 2 แลวตั้งทิ้งไวขามคืน นี้วา การละลายของสารในนํ้า ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่
จากนั้นสังเกตและบันทึกผล ถูกตอง)
5. รวมกันอภิปรายและสรุปผลการทดลอง

T20
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การละลายของ
สารในนํ้า ภายในกลุม
3. ช่วยกันท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบผลการพยากรณ์ โดยปฏิบัติ ดังนี้ 2. ครู ร  อ งเพลง แล ว ให นั ก เรี ย นทายชื่ อ เพลง
1) ใช้ช้อนตักสารตักเกลือปนจ�านวน 1 ช้อน ใส่ลงในหลอดทดลอง สมาชิกของกลุม ใดทายชือ่ เพลงไดถกู ตองกอน
2) เทน�้าลงในหลอดทดลองประมาณ 34 ของหลอดทดลอง จากนั้นใช้แท่งแก้วคนสารคน กลุมนั้นไดออกมานําเสนอกอน
สารในหลอดทดลอง สังเกตและบันทึกผล 3. แตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลการ
3) ท�าการทดลองข้อ 1)-2) ซ�้า โดยเปลี่ยนจากเกลือปนเปนดินร่วน แปงมัน น�้ามันพืช ทํากิจกรรมของกลุมหนาชั้นเรียน แลวรวมกัน
น�้าส้มสายชู และสีผสมอาหารชนิดน�้า ตามล�าดับ อภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับการละลายของ
4. น�าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายและสรุปผล สารในนํ้า จนไดขอสรุปวา สารบางชนิด เชน
เกลือปน นํ้าสมสายชู สีผสมอาหารชนิดนํ้า
สามารถละลายในนํ้าไดดี สวนสารบางชนิด
เชน ดินรวน แปงมัน นํ้ามันพืช ไมสามารถ
ละลายในนํ้าได แสดงวาสารตางชนิดกันจะมี
ความสามารถในการละลายนํ้าไดแตกตางกัน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

น้ำมัน
พืช

ภาพที่ 5.22 การทดลองละลายสารในน�้า


แนวตอบ หนูตอบได
หนูตอบได
ขอ 3.
1. สารละลายคืออะไร • นํ้ า หวานเข ม ข น เพราะนํ้ า หวานเข ม ข น
2. การละลายเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสารหรือไม่ เพราะเหตุใด สามารถละลายในนํา้ ได มีรสชาติหวาน มีกลิน่ หอม
3. หากนักเรียนเล่นกีฬากลางแจ้ง แล้วกระหายน�า้ นักเรียนจะน�าสิง่ ใดมาละลายน�า้ ดืม่ ระหว่าง ดื่มแลวสดชื่น
น�้าหวานเข้มข้นหรือเกลือแร่ เพราะเหตุใด • เกลือแร เพราะเกลือแรสามารถละลายใน
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 17
นํ้าได และมีแรธาตุตางๆ ที่รางกายตองการ ดื่ม
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู เพื่อชดเชยการสูญเสียนํ้าและสารอาหารที่จําเปน
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ตอรางกาย

เฉลย กิจกรรมที่ 3 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
ผลการทดลอง
ครูอาจยกตัวอยางสารละลายเพิ่มเติม ดังนี้
สาร ลักษณะทางกายภาพ การพยากรณ • สารละลายที่มีตัวทําละลายและตัวละลายอยูในสถานะตางกัน เชน
ละลาย ไมละลาย
1. เกลือปน ของแข็ง สีขาวขุน ละลาย ✓ นํา้ เชือ่ ม มีตวั ทําละลาย คือ นํา้ (สถานะของเหลว) มีตวั ละลาย คือ นํา้ ตาลทราย
2. ดินรวน ของแข็ง สีดําคลํ้า ไมละลาย ✓ (สถานะของแข็ง)
3. แปงมัน ของแข็ง สีขาวขุน ไมละลาย ✓ • สารละลายที่มีตัวทําละลายและตัวละลายอยูในสถานะเดียวกัน เชน
4. นํ้ามันพืช ของเหลว สีเหลืองใส ไมละลาย ✓ นํา้ สมสายชู มีตวั ทําละลาย คือ นํา้ (สถานะของเหลว) ปริมาณ 95% มีตวั ละลาย
คือ กรดนํ้าสม (สถานะของเหลว) ปริมาณ 5%
5. นํ้าสมสายชู ของเหลว สีใส ละลาย ✓
6. สีผสมอาหาร ของเหลว สีแดง ละลาย ✓
ชนิดนํ้า
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา สารที่นํามาทดสอบมีลักษณะทางกายภาพ
ที่แตกตางกัน สารบางชนิด เชน เกลือปน นํ้าสมสายชู สีผสมอาหารชนิดนํ้า
สามารถละลายในนํ้าไดดี สวนสารบางชนิด เชน ดินรวน แปงมัน นํ้ามันพืช
ไมสามารถละลายในนํ้าได แสดงวาสารตางชนิดกันจะมีความสามารถในการ
ละลายนํ้าไดแตกตางกัน
T21
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก การละลายของสารในน�้า คือ การน�าสารมาผสมกับน�้า แล้วสารชนิดนั้น
หนังสือเรียน หนา 17 ลงในสมุดหรือทําลงใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
สามารถผสมรวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับน�้าได้ทั่วทุกส่วน เรียกสารผสมที่ได้ว่า
2. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลจากสื่อดิจิทัล สารละลาย ซึ่งการละลายไม่ท�าให้เกิดสารใหม่ เพราะสารละลายนั้นยังคงแสดง
เพิ่มเติม จากหนังสือเรียนหนานี้ โดยใหใช สมบัติเดิมของสารอยู่ การละลายจึงเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
โทรศัพทมือถือสแกน QR Code เรื่อง การ
ละลายในนํ้าของสาร แลวรวมกันสรุปความรู ตัวอย่าง การละลายในน�้าของสารที่อยู่ในสถานะของแข็ง
ที่ไดจากการศึกษาภายในชั้นเรียน สารที่อยู่ในสถานะของแข็งบางชนิดสามารถละลายในน�้าได้ เช่น เกลือ
3. ครูถามคําถามนักเรียนวา
• นักเรียนคิดวา มีสารชนิดใดอีกบางทีส่ ามารถ
เกล็ดด่างทับทิม น�้าตาลทรายแดง
ละลายในนํ้าได
(แนวตอบ เชน แอลกอฮอล แกสออกซิเจน การละลายเกล็ดด่างทับทิมในน�้า
แกสคารบอนไดออกไซด นํ้าตาลทราย)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) เปนของเหลวเหมือนน�้า
มีสีม่วงเหมือน
1 ด่างทับทิม
น�้า เกล็ดด่างทับทิม
น�้าด่างทับทิม (สารละลาย)

การละลายน�้าตาลทรายแดงในน�้า

เปนของเหลวเหมือนน�้า
มีสีน�้าตาลเหมือน
น�้า น�้าตาลทรายแดง น�้าตาลทรายแดง
น�้าเชื่อม (สารละลาย)

18 การละลายในนํ้าของสาร

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ดางทับทิม (potassium permanganate) คือ สารเคมีประเภทอนินทรีย “เกทดลองนําดางทับทิมผสมกับนํ้า แลวสังเกตเห็นนํ้าและ
ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปนผลึกสีมวง สามารถละลายในนํ้าได ซึ่งเราสามารถนํา ดางทับทิมผสมรวมเปนเนื้อเดียวกัน” จากขอความ เกควรสรุปผล
นํ้าดางทับทิมไปชะลางสารเคมีที่ตกคางในผักและผลไมได การทดลองวาอยางไร
1. ดางทับทิมละลายในนํ้าได
2. ดางทับทิมผสมกับนํ้ากลายเปนสารเนื้อผสม
สื่อ Digital 3. การผสมดางทับทิมกับนํ้าทําใหเกิดการเปลี่ยนสถานะ
4. การผสมดางทับทิมกับนํา้ ทําใหเกิดสารใหม และไมสามารถ
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง การละลายของสารในนํ้าเพิ่มเติม จาก
ทําใหกลับมาเปนสารเดิมได
สื่อดิจิทัล โดยใหสแกน QR Code เรื่อง การละลายในนํ้าของสาร จาก
หนังสือเรียน หนา 18 (วิเคราะหคาํ ตอบ เมือ่ นําดางทับทิมผสมกับนํา้ จะทําใหดา งทับทิม
ละลายเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้า แสดงวา ดางทับทิมละลายในนํ้าได
ซึง่ การละลายในนํา้ ของดางทับทิมจะทําใหไดสารละลาย ไมทาํ ให
เกิดสารใหม และสามารถทําใหกลับมาเปนสารเดิมได ดังนัน้ ขอ 1.
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T22
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ขยายความเขาใจ
4. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน โดยให
ตัวอย่าง การละลายในน�้าของสารที่อยู่ในสถานะของเหลว
คละความสามารถ
สารที่ อ ยู ่ ใ นสถานะของเหลวบางชนิ ด นั้ น สามารถ 5. นักเรียนแตละกลุม ชวยกันศึกษาขอมูลเกีย่ วกับ
ละลายในน�้าได้ เช่น แอลกอฮอล์ แต่สารที่อยู1่ในสถานะ การละลายของสารในนํา้ จากหนังสือเรียน หนา
ของเหลวบางชนิดไม่ละลายในน�้า เช่น น�้ามันพืช 18-19
6. ตัวแทนแตละกลุมออกมาสรุปเนื้อหาที่ศึกษา
ภาพที่ 5.23 น�้ามันพืช ใหเพื่อนในชั้นเรียนฟงทีละกลุมหนาชั้นเรียน
การละลายแอลกอฮอล์ในน�้า ไม่ละลายในน�้า
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
เปนของเหลวเหมือนน�้า
และแอลกอฮอล์ล้างแผล
มีสีฟาเหมือน
น�้า แอลกอฮอล์ล้างแผล แอลกอฮอล์ล้างแผล
สารละลายแอลกอฮอล์

ตัวอย่าง การละลายในน�้าของสารที่อยู่ในสถานะแกส
สารที่อยู่ในสถานะแกสสามารถละลายในน�้าได้ เช่น แกสออกซิเจน
แกสคาร์บอนไดออกไซด์
แกสออกซิเจนละลายอยู่ในน�้า ท�าให้ปลามีอากาศใช้ในการหายใจ

19

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การทดลองของใครทําใหเกิดสารละลาย ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ปลาอาศัยอยูในนํ้าไดดวยการ
1. บิวนํานํ้าผสมกับนํ้ามันงา หายใจเอาออกซิเจนที่ละลายอยูในนํ้า แตแกสจะละลายในนํ้ารอนไดนอยมาก
2. นิวนําเกลือผสมกับพริกปน ดังนัน้ ในฤดูรอ นเราจึงจะเห็นปลาขึน้ มาหายใจเหนือผิวนํา้ บอยๆ เนือ่ งจากในนํา้
3. จิ๋วนํานํ้าผสมกับถั่วปนละเอียด จะมีแกสออกซิเจนละลายอยูนอย
4. หมิวนํานํ้าผสมกับนํ้าตาลทราย
(วิเคราะหคําตอบ การนํานํ้าผสมกับนํ้าตาลทรายจะทําใหเกิด
สารละลาย เพราะนํ้าตาลทรายจะละลายผสมเปนเนื้อเดียวกันกับ นักเรียนควรรู
นํ้าทั่วทุกสวน ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
1 นํ้ามันพืช คือ ผลิตภัณฑนํ้ามันที่สกัดมาจากเมล็ดหรือบางสวนของพืช
เนื่องจากไขมันหรือนํ้ามันมีโมเลกุลขนาดใหญที่ไมมีข้ัว ซึ่งนํ้าเปนตัวทําละลาย
ที่มีขั้ว ดังนั้น นํ้ามันหรือไขมันจึงไมสามารถละลายในนํ้าได แตสามารถละลาย
ในตัวทําละลายที่ไมมีขั้วได เชน คลอโรฟอรม เบนซีน

T23
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
7. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเพิ่มเติม จาก การละลายของสารในน�้าท�าให้เกิด
หนั ง สื อ เรี ย นหน า นี้ และศึ ก ษาข อ มู ล จาก
PowerPoint เรื่อง การละลายของสารในนํ้า สารละลาย ซึ่งจัดเปนสารเนื้อเดียว เช่น
8. ครูถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติมวา น�้ า เกลื อ น�้ า เชื่ อ ม ในสารละลายจะมี
องค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวท�าละลาย น�้า เกลือ
• จากการทํากิจกรรมที่ 3 เมื่อนําเกลือแกง (ตัวท�าละลาย) (ตัวละลาย)
ละลายกับนํ้า จากนั้นไดสารละลายที่เปน และตัวละลาย โดยสารทีม่ ปี ริมาณมากกว่า
เนื้อเดียวกัน นักเรียนคิดวา สารใดที่เปน และมีสถานะเดียวกับสารละลาย เรียกว่า
ตัวทําละลายและสารใดที่เปนตัวละลาย
เพราะเหตุใด
ตัวทําละลาย และสารทีม่ ปี ริมาณน้อยกว่า
(แนวตอบ นํ้า เปนตัวทําละลาย เนื่องจาก เรียกว่า ตัวละลาย เช่น น�้าเกลือเปน
สารละลายที่มีน�้าเปนตัวท�าละลาย และ น�้าเกลือ (สารละลาย)
การทดลองดังกลาว นํ้ามีปริมาณมากกวา
เกลื อ แกง และนํ้ า ยั ง มี ส ถานะเดี ย วกั บ เกลือเปนตัวละลาย ภาพที่ 5.24 การละลายของเกลือในน�้า
สารละลายที่ได สวนเกลือแกง จัดเปน
ตัวละลาย เนื่องจากมีปริมาณนอยกวานํ้า) ¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
9. ครู ถ ามคํ า ถามท า ทายการคิ ด ขั้ น สู ง กั บ
“น�้าเปนตัวท�าละลาย แต่ไม่สามารถละลายสารได้ทุกชนิด” นักเรียนคิดว่าสารชนิดใดบ้างที่ไม่
นักเรียน จากหนังสือเรียนหนานี้วา “นํ้าเปน
สามารถละลายในน�้าได้
ตัวทําละลาย แตไมสามารถละลายสารได
ทุกชนิด” นักเรียนคิดวาสารชนิดใดบางที่ไม
กิจกรรม สรุปความรูป ระจําบทที่ 1
สามารถละลายในนํ้าได จากนั้นใหนักเรียน
แตละคนตอบคําถามลงในสมุด ตรวจสอบตนเอง
(แนวตอบ เชน นํ้ามันพืช ดินทราย) หลังเรียนจบบทนี้แล้ว ให้นักเรียนบอกสัญลักษณ์ที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
10. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเกี่ยวกับ เกณฑ
เรือ่ งทีไ่ ดเรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบตางๆ รายการ ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
เชน แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด 1. เข้าใจเนือ้ หาเกีย่ วกับเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
2. สามารถท�ากิจกรรมและอธิบายผลการท�ากิจกรรมได้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
3. สามารถตอบค�าถามจากกิจกรรมหนูตอบได้ได้
4. ท�างานกลุ่มร่วมกับเพื่อนได้ดี
5. น�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้
20

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเกีย่ วกับตัวทําละลายและตัวละลายเพิม่ เติม ขอใดกลาวเกี่ยวกับการละลายของสารในนํ้าไดถูกตอง
ดังนี้ 1. คือ การนําสารมาผสมกับนํ้า แลวสารชนิดนั้นสามารถผสม
• ถาสารเริ่มตนอยูในสถานะตางกัน เชน ของแข็งกับของเหลว เมื่อผสม รวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับนํ้าไดทั่วทุกสวน
กันแลวสารละลายมีสถานะเหมือนสารเริ่มตนใด กําหนดใหสารนั้นเปน 2. สารที่ ส ามารถละลายในนํ้ า ได คื อ สารที่ อ ยู  ใ นสถานะ
ตัวทําละลาย สวนอีกสารเปนตัวละลาย ของแข็งเทานั้น
• ถาสารเริ่มตนอยูในสถานะเดียวกัน เชน ของแข็งกับของแข็ง กําหนดให 3. ทําใหเกิดสารใหม สมบัติของสารเปลี่ยนไปจากเดิม
สารที่มีปริมาณมากกวาเปนตัวทําละลาย สวนอีกสารเปนตัวละลาย 4. สารที่ไดจากการละลาย เราเรียกวา สารเนื้อผสม
(วิเคราะหคาํ ตอบ การละลายของสารในนํา้ คือ การนําสารมาผสม
กับนํ้า แลวสารชนิดนั้น (ของแข็ง ของเหลว หรือแกส) สามารถ
สื่อ Digital ผสมรวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับนํ้าไดทั่วทุกสวน เรียกสารผสมที่
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับการละลายของสารในนํ้าเพิ่มเติม จากสื่อ ไดวา สารละลาย ซึ่งการละลายไมทําใหเกิดสารใหม และมีสมบัติ
PowerPoint เรื่อง การละลายของสารในนํ้า คงเดิม ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T24
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน

ÊรØป ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 1 ขยายความเขาใจ
11. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ
ในหนังสือเรียนหนานี้
ว ควบแน่ น 12. ครูสมุ นักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูท ไี่ ดจาก
ม เห ล การ
ลอ การศึกษาขอมูล แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียน
รห ตัว
ะเห
ย การแข็ง
กา

็ นไอ การร รวมกันเสริมในสวนที่บกพรอง


ายเป กลับ
รก
ล การเดือด การระเหิด (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
กา
ะเหิด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
การร ร้อน
ค วาม
ร ลด
กา

จากสถานะหน่ึ ง
ข อ งส ส า ร
น แ ปล ง หรือลดความ
่ ี ย ศัยการเพ่ิม
การ

เป ล โด ย อ า
ร้อน
การ ห น่ ึ ง
เพ

คว า น ะ
สถ
ม่ิ

าม
รอ้ น ไ ปอีก

งส
ส าร
ขอ
านะ
มฐ. ว 2.1 ป.5/1-ป.5/2
่ี นสถ
การเปลย
การเปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพ
การละ
ลายของสาร

การนาํ ั้

สารมาผสมกั นิดน
บน้ าํ แลว้ สารช
รวมกบ ั น้ าํ เป็นสาร
เนื้ อเดียวกน ุ สว่ น
ั ทก

เชน
่ + =

นํ้ า เกลือแกง นํ้ าเกลือ


(ตัวทําละลาย) + (ตัวละลาย) = (สารละลาย)

21

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การกระทําในขอใดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ
1. จุดโคมไฟ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ คนละ 1 คําถาม จากนั้นครูสุมเรียกให
2. ยางเนื้อหมู นักเรียนบอกคําถามของตนเอง แลวใหเพื่อนคนอื่นๆ ในชั้นเรียนชวยกันแสดง
3. ตมนํ้าจนเดือด ความคิดเห็นวา จะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรตอบคําถามนี้ไดอยางไร โดยครู
4. ทําบัวลอยไขหวาน ทําหนาที่เปนผูชี้แนะและสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียนอยางใกลชิด
(วิเคราะหคําตอบ การยางเนื้อหมู การจุดโคมไฟ และการทํา การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา)
บัวลอยไขหวาน เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สวนการตมนํ้าจน เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน
เดือดเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร
คําตอบที่ถูกตอง)

T25
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
กิจกรรม º··ี่ 1
13. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรื่อง การละลาย
ของสารในนํ้า
ฝกทักษะ
14. นั ก เรี ย นแต ล ะคนไปทํ า กิ จ กรรมฝ ก ทั ก ษะ 1. เขียนแผนภาพแสดงการเปลี่ยนสถานะของสสารที่พบในชีวิตประจําวันมา 1 สสาร
บทที่ 1 จากหนังสือเรียน หนา 22-23 เปน
การบาน โดยใหทําลงในสมุดหรือทําลงใน
2. อ่านข้อมูล แล้วตอบคําถาม
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 แลวนํา การเปลี่ยนสถานะของสสาร
มาสงครูในชั่วโมงถัดไป เมือ่ เพิม่ ความร้อนให้กบั สสารถึงระดับ
15. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด หนึง่ จะท�าให้สสารทีอ่ ยูใ่ นสถานะของแข็ง
ขั้ น สู ง ลงในแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ป.5 เปลี่ยนสถานะไปเปนของเหลว เรียกว่า
เลม 2 การหลอมเหลว และเมื่อเพิ่มความร้อน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ต่ อ ไปจนถึ ง อี ก ระดั บ หนึ่ ง สสารที่ อ ยู ่
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ในสถานะของเหลวจะเปลี่ยนเปนแกส
เรียกว่า การกลายเปนไอ แต่เมื่อลด
ความร้อนลงจนถึงระดับหนึ่ง สสารที่
อยู่ในสถานะแกสจะเปลี่ยนสถานะเปน ภาพที่ 5.25 การเปลี่ยนสถานะของสสาร
ของเหลว เรียกว่า การควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่ง สสารที่อยู่
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
ในสถานะของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเปนของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว นอกจากนี้ สสาร
ขอ 1. บางชนิดยังสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนแกสโดยที่ไม่ผ่านการเปนของเหลว
ตัวอยางคําตอบ การเปลี่ยนสถานะของนํ้าแข็ง
เรียกว่า การระเหิด ส่วนสสารที่อยู่ในสถานะแกสบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจากแกส
ไปเปนนํ้า
เปนของแข็งโดยไม่ผ่านการเปนของเหลว เรียกว่า การระเหิดกลับ
นํ้าแข็ง หลอมเหลว นํ้า
(ของแข็ง) เพิ่มความรอน (ของเหลว) 1) “เมื่อน�าก้อนน�้าแข็งวางตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง ประมาณ 10 นาที ก้อนน�้าแข็ง
ขอ 2. จะเปลีย่ นสถานะเปนของเหลว เรียกว่า การควบแน่น” ข้อความนีก้ ล่าวถูกต้อง
1) กลาวไมถูกตอง เพราะการเปลี่ยนสถานะ หรือไม่ เพราะเหตุใด
ของสสารจากสถานะของแข็งกลายเปนของเหลว 2) การเปลี่ยนสถานะของสสารจะท�าให้เกิดสารชนิดใหม่หรือไม่ เพราะเหตุใด
เรียกวา การหลอมเหลว 3) นักเรียนคิดว่า การเปลี่ยนสถานะของสสารต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับปจจัยใด
2) ไมทําใหเกิดสารชนิดใหม เพราะสารที่ไดจะ
ยังมีสมบัติเหมือนเดิม และสามารถเปลี่ยนกลับมา
เปนสารเดิมได
22
3) ความรอนเปนปจจัยสําคัญของการเปลี่ยน
สถานะของสสาร

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถใชใบงาน เรือ่ ง การละลายของสารในนํา้ ไดจากแผนการจัดการ การระเหิดสามารถใชแยกสารผสมในขอใด
เรียนรูที่ 3 เรื่อง การละลายของสารในนํ้า ดังภาพตัวอยาง 1. นํ้ามันพืชกับนํ้า
ใบงาน
2. นํ้ากับดินเหนียว
เรื่อง การละลายของสารในน้้า
3. ดินรวนกับผงลูกเหม็น
การละลายของสารในน้้า หมายถึงอะไร
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
4. นํ้าตาลทรายกับเกลือแกง
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อนํ้ามันพืช เกลือแกง ดินเหนียว ดินรวน
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................

นํ้าตาลทราย และนํ้าไดรับความรอนจะไมเกิดการระเหิด สวน


สารตัวอย่างด้านล่างนี้ สามารถละลายในน้้าได้หรือไม่
 เกลือ .......................................................................................
 เกล็ดด่างทับทิม .......................................................................................

ผงลูกเหม็น เมื่อไดรับความรอนจะเกิดการระเหิด ดังนั้น เมื่อเพิ่ม


 น้้าตาลทรายแดง .......................................................................................
 แอลกอฮอล์ .......................................................................................
 แก๊สออกซิเจน .......................................................................................

ความรอนใหกับดินรวนที่ผสมกับผงลูกเหม็น ผงลูกเหม็นจะเกิด
ลูกเหม็น .......................................................................................
 ผงตะไบเหล็ก .......................................................................................
 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ .......................................................................................
 สีผสมอาหาร .......................................................................................
 ทราย .......................................................................................
การระเหิดกลายเปนไอ จึงสามารถแยกดินรวนออกมาได ดังนั้น
ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T26
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
16. นักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมสรางสรรค
3. ตอบคําถามต่อไปนี้ ผลงาน เรื่อง เครื่องดื่มที่สวนผสมสามารถ
1) นักเรียนคิดว่า การละลายของสารในน�้ามีผลดีหรือไม่ เพราะอะไร ละลายในนํ้าได โดยแตละกลุมชวยกันศึกษา
2) ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสารหรือไม่ เพราะอะไร รายละเอียดในกิจกรรมสรางสรรคผลงาน
3) ยกตัวอย่างสารที่สามารถละลายน�้าได้มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง จากหนังสือเรียน หนา 24 แลวรวมกันทํา
4) การเปลี่ยนสถานะท�าให้สมบัติของสสารเปลี่ยนไปหรือไม่ อย่างไร กิจกรรมและนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
5) หากน�าน�้าใส่พิมพ์แล้วไปแช่ไว้ในช่องแช่แข็ง 1 วัน น�้าจะมีการเปลี่ยนสถานะ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
หรือไม่ เพราะอะไร
4. สังเกตภาพแล้วตอบว่า สสารมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพจากกระบวนการใด
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
1. 2. 3.
ขอ 3.
1) มีผลดี เพราะทําใหเกิดเปนอาหาร เชน การ
ทํานํ้าเชื่อม
2) มี เพราะปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยน
สถานะของสสาร คือ ความรอน
4. 5. 6. 3) เกลือแกง แอลกอฮอล แกสออกซิเจน
4) ไมเปลีย่ น เพราะสมบัตขิ องสสารจะยังคงเดิม
5) เปลี่ยนสถานะ เพราะเปนการลดความรอน
ใหกับนํ้าที่อยูในสถานะของเหลว เมื่อนํ้าถูกลด
ความรอนจนถึงระดับหนึง่ นํา้ จะเปลีย่ นสถานะจาก
ของเหลวเปนของแข็ง
7. 8. 9. ขอ 4.
1) การละลายของสารในนํ้า
2) การเปลี่ยนสถานะของสสาร
3) การละลายของสารในนํ้า
4) การเปลี่ยนสถานะของสสาร
5) การเปลี่ยนสถานะของสสาร
(ที่มาภาพ : https://pixabay.com)
กิจกรรม ทาทายการคิดขัน้ สูง 6) การละลายของสารในนํ้า
7) การเปลี่ยนสถานะของสสาร
23
8) การเปลี่ยนสถานะของสสาร
9) การเปลี่ยนสถานะของสสาร

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


อานขอมูล แลวตอบคําถาม เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะเสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนรู
เพิ่มเติม โดยสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นใหออกมาเฉลยคําตอบ
ทรายตมนํ้าเพื่อจะตมไข เมื่อนํ้าเดือด นํ้าจะกลายเปนไอนํ้า
หนาชั้นเรียนทีละคน แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันอภิปรายจนไดคําตอบ
และทําใหปริมาณนํ้าในหมอตมมีปริมาณนอยลงกวาเดิม
ที่ถูกตอง โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
หากทรายตองการทําใหไอนํ้ากลายเปนหยดนํ้า ทรายตองทํา
ตามขอใด
1. เรงไฟใหแรงกวาเดิม
2. ลดปริมาณนํ้าในหมอใหนอยลง
3. เมื่อนํ้าเริ่มเดือดใหใชฝาหมอปดหมอ
4. ลดปริมาณนํ้าในหมอใหนอยลง แลวเรงไฟ
(วิเคราะหคาํ ตอบ เมือ่ ไอนํา้ กระทบกับฝาหมอทีม่ อี ณ
ุ หภูมเิ ย็นกวา
ไอนํ้าจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนหยดนํ้า ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน
คําตอบที่ถูกตอง)

T27
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ทักÉะแห่งÈตวรรÉที่ 21
1. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให ✓การสื่อสาร ✓ ความร่วมมือ การแก้ปญหา
สรุปความรูจากการเรียนในบทที่ 1 ✓การสร้างสรรค์ ✓ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเองจาก การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หนังสือเรียน หนา 20 จากนั้นถามนักเรียน กิจกรรม
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ สร้างสรรคผลงาน
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน
แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวชวยกันทําเครื่องดื่มที่
ขัน้ ประเมิน สวนผสมสามารถละลายในนํ้าได จากนั้นนําเสนอหนาชั้นเรียน
ตรวจสอบผล โดยระบุ ส ารที่ นํ า มาผสมกั บ นํ้ า พร อ มบอกว า ใช ส่ิ ง ใดเป น
ตัวทําละลายและตัวละลาย แลวใหเพื่อนกลุมอื่น ๆ
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ
ลองชิมเครื่องดื่มของกลุมตนเอง
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา
เสนอหนาชั้นเรียน ตัวอย่าง ผลงาน¢Íง©ัน
2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การ
ละลายของสารในนํา้ ในสมุดหรือในแบบฝกหัด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
3. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
4. ครูตรวจสอบผลการทําใบงาน เรือ่ ง การละลาย
ของสารในนํ้า
5. ครูตรวจสอบผลการสรุปความรูเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพจากสมุด
6. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 1
ในสมุด หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2
7. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการคิด
ขั้นสูงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ภาพที่ 5.26 เครื่องดื่ม
8. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงานเครื่องดื่มที่สวนผสม (ที่มาภาพ : https://pixabay.com)
สามารถละลายในนํ้ า ได และการนํ า เสนอ
ชิ้นงาน/ผลงานหนาชั้นเรียน 24

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูสามารถวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ผลงานเครื่องดื่มที่สวนผสมสามารถ 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน
ละลายในนํา้ ได โดยศึกษาเกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมินชิน้ งาน/ผลงาน 2. ชวยกันสืบคนภาพเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง 3. ชวยกันแสดงความคิดเห็นและอภิปราย เพื่อคัดเลือกภาพที่นา
ดังภาพตัวอยาง สนใจ
4. นําขอมูลทีไ่ ดจดั ทําในรูปแบบตางๆ ทีห่ ลากหลาย เพือ่ นําเสนอ
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 3)
เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน เครื่องดื่มที่ส่วนผสมสามารถละลายในน้้าได้ (แผนฯ ที่ 3) ผลงาน เชน สมุดภาพ แผนพับ ใบความรู โดยแบงหนาที่
ความรับผิดชอบของสมาชิกแตละคนใหชัดเจน
ฉ) ค้าอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
แบบประเมินชิ้นงาน เครื่องดื่มที่ส่วนผสมสามารถละลายในน้้าได้ รายการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การเลือกใช้วัตถุดิบ เลือกใช้วัตถุดิบมาทา เลือกใช้วัตถุดิบที่ง่ายต่อ เลือกใช้วัตถุดิบที่ง่ายต่อ
ระดับคุณภาพ
เพื่อสร้างชิ้นงาน เครื่องดื่มได้อย่าง การทาเครื่องดื่ม แต่ทา การทาเครื่องดื่ม แต่ทา

5. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนดวยวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย
ล้าดับที่ รายการประเมิน 3 2 1
สร้างสรรค์ มีรสชาติดี ให้เครื่องดื่มมีรสชาติดี เครื่องดื่มออกมาได้
(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
สามารถรับประทานได้ สามารถรับประทานได้ รสชาติไม่ดี
1 การเลือกใช้วัตถุดิบเพื่อสร้างชิ้นงาน
2. ความถูกต้องของ ระบุสารที่เป็นตัวทา ระบุสารที่เป็นตัวทา ระบุสารที่เป็นตัวทา
2 ความถูกต้องของเนื้อหา

เพื่อใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น
เนื้อหา ละลาย และตัวละลายได้ ละลายได้ถูกต้อง แต่ระบุ ละลาย และตัวละลาย
3 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน
ถูกต้อง ตัวละลายไม่ถูกต้อง ไม่ได้ถูกต้อง
4 กาหนดเวลาส่งงาน
3. การสร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม
รวม
ชิ้นงาน ดีมาก ดี น้อย
4. ก้าหนดเวลาส่งงาน ทาชิ้นงานเสร็จทันเวลาที่ ทาชิ้นงานเสร็จช้ากว่า ทาชิ้นงานเสร็จช้ากว่า
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
กาหนด กาหนด 1 - 5 นาที กาหนด 5 บาทีขึ้นไป
............./.................../..............

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก
8-10 ดี
5-7 พอใช้
ต่้ากว่า 5 ปรับปรุง

T28
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

º··Õè 2 ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§à¤ÁÕ 1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยถามคํ า ถามว า


นั ก เรี ย นทราบหรื อ ไม ว  า วั น นี้ จ ะได เ รี ย นรู 
ศัพทนารู เกีย่ วกับเรือ่ งอะไร แลวใหนกั เรียนชวยกันตอบ
คําศัพท คําอาน คําแปล คําถาม จากนั้นครูแจงชื่อเรื่องที่จะเรียนรูและ
chemical change 'เค็มมิคัล เชนจ การเปลีย่ นแปลง ผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
ทางเคมี 2. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 2 การเปลีย่ นแปลง
change of color เชนจ ออฟว 'คัลเลอ สีเปลี่ยน
ทางเคมี จากหนังสือเรียนหนานี้ แลวชวยกัน
rust รัสท สนิม
ตอบคําถามสําคัญประจําบทวา
¨Ò¡ÀÒ¾ • จากภาพ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี
à¡Ô´¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ หรือไม เพราะเหตุใด

? ·Ò§à¤ÁÕËÃ×ÍäÁ‹
à¾ÃÒÐà˵Øã´ chemical change
( แนวตอบ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี
เพราะมีสนิมเกิดขึน้ ทําใหสขี องเหล็กเปลีย่ น
ไปจากเดิม และไมสามารถทําใหสนิมกลับมา
เปนโลหะไดเหมือนเดิม)
3. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา มีสงิ่ ของ
ใดอีกบางทีเ่ กิดสนิมได โดยครูใหนกั เรียนแสดง
rust ความคิดเห็นอยางอิสระ
4. นักเรียนรวมกันอานคําศัพททเี่ กีย่ วของกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี จากหนังสือเรียนหนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
change of color

25

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


การกระทําในขอใด ไมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. นําสีผสมอาหารชนิดนํ้าผสมกับนํ้า คําศัพท คําอาน คําแปล
2. บมมะมวงดิบใหสุก
3. หุงขาวหอมมะลิ chemical change เค็มมิคัล 'เชนจ การเปลี่ยนแปลง
4. ยางปลา ทางเคมี
(วิเคราะหคาํ ตอบ การนําสีผสมอาหารชนิดนํา้ ผสมกับนํา้ เปนการ precipitation พริซิพิ'เทชัน เกิดตะกอน
เปลีย่ นแปลงทางกายภาพ สวนการบมมะมวงดิบใหสกุ การหุงขาว change of color เชนจ ออฟว 'คัลเลอร สีเปลี่ยน
หอมมะลิ การยางปลา เปนการเปลีย่ นแปลงทางเคมี ดังนัน้ ขอ 1. rust รัสท สนิม
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T29
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
5. นักเรียนทํากิจกรรมนําสูการเรียน โดยอาน
สถานการณจากหนังสือเรียนหนานี้ แลวตอบ
กิจกรรม
คําถามลงในสมุดหรือแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
นําสูก ารเรียน
ป.5 เลม 2 ÈÖ¡ÉÒʶҹ¡Òó·Õè¡íÒ˹´ãËŒ áŌǵͺ¤íÒ¶ÒÁ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) Çѹ¹Õé¤Ø³áÁ‹¢Í§»ŒÍ§·íÒÍÒËÒÃઌҧ‹Ò æ ãËŒ»ŒÍ§¡Ô¹
«Öè§Çѵ¶Ø´Ôº·Õè㪌ã¹Çѹ¹Õé 䴌ᡋ
1. 䢋䡋 2 ¿Í§
2. äÊŒ¡ÃÍ¡ 2 ªÔé¹
3. ¢¹Á»˜§ 2 Ἃ¹
4. áÂÁÊѺ»Ðô 1 ¢Ç´

»ŒÍ§ Çѹ¹ÕéÍÂÒ¡¡Ô¹
ÍÐäúŒÒ§ÅÙ¡ ¼Á¢ÍäÊŒ¡ÃÍ¡ 䢋´ÒÇ
áÅТ¹Á»˜§»œ§
¹Ð¤ÃѺ¤Ø³áÁ‹

1. ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò ¢¹Á»˜§¡‹Í¹»œ§áÅÐËÅѧ»œ§¨ÐÁÕÅѡɳÐᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ


2. ¡µÑÇÍ‹ҧÍÒËÒ÷ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§àËÁ×͹äÊŒ¡ÃÍ¡·Í´ ÁÒÍ‹ҧ¹ŒÍ 3 µÑÇÍ‹ҧ
แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน
1. มีลักษณะแตกตางกัน เพราะขนมปงหลังปง 26
จะมีสีและกลิ่นแตกตางไปจากขนมปงกอนปง
2. ตัวอยางคําตอบ ปลาทอด หมูทอด ไกทอด

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจเตรียมบัตรภาพอาหารทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมีมาใหนกั เรียน ขอใดเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ดูเปนตัวอยางเพิ่มเติม ดังภาพตัวอยาง 1. ทํานํ้าพริกปลายาง
2. ผสมนํ้ากับเกลือแกง
3. ละลายนํ้าตาลทรายกับนํ้า
4. ตั้งนํ้าเย็นทิ้งไวจนเกิดหยดนํ้าที่ผิวแกว
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าพริกปลายาง เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
เพราะทําใหเกิดสารใหม และไมสามารถทําใหกลับไปเปนปลาสด
ขาวสุก แกงสม
ไดเหมือนเดิม สวนการผสมนํ้ากับเกลือแกง การตั้งนํ้าเย็นทิ้งไว
จนเกิ ด หยดนํ้ า ที่ ผิ ว แก ว และการละลายนํ้ า ตาลทรายกั บ นํ้ า
เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เพราะไมทําใหเกิดสารใหม
และทําใหกลับไปเปนสารเดิมได ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบ
ที่ถูกตอง)
ไขพะโล ลาบ
T30
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ สํารวจคนหา

1. ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§à¤ÁբͧÊÒà 1. ครูแบงกลุมใหนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน
2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา เรื่อง การ
การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี ข องสารอาจเกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงของ เปลีย่ นแปลงทางเคมีของสาร จากหนังสือเรียน
สารชนิดเดียว หรือเกิดจากการน�าสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มาท�าปฏิกิริยากัน หนานี้ จากนั้นครูถามคําถามนักเรียนแตละ
แล้วท�าให้เกิดสารใหม่ ซึ่งมีสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม กลุมวา การเปลี่ยนแปลงใดบาง ที่เปนการ
เราสามารถสังเกตสารใหม่ที่เกิดขึ้นได้ เช่น เมื่อย่างอาหารบนเตาไฟจน เปลีย่ นแปลงทางเคมี แลวใหนกั เรียนแตละกลุม
อาหารเริ่มสุก อาหารจะเปลี่ยนสีไปจากเดิมและมีกลิ่นเกิดขึ้นด้วย โดยที่เราไม่ ชวยกันระดมความคิดเห็นเพื่อตอบคําถาม
(แนวตอบ เชน การเผากระดาษ การหุงขาว
สามารถท�าให้อาหารกลับคืนสู่สภาพเดิมได้อีก เรียกการเปลี่ยนแปลงของสาร
การทําไขเจียว กลวยสุก มะมวงสุก)
ในลักษณะเช่นนี้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
การเผาไหม้ การเกิดสนิม

การทําขนมครก ไข่ต้ม

การสุกของสตรอวเบอรรี ภาพที่ 5.27 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ã´ºŒÒ§ ·Õè໚¹
¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§à¤ÁÕ

27

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีไดถูกตอง กอนการทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ครูอาจใช
1. เปนการนําสารตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปเทานั้น มาทําปฏิกิริยา เกมผึ้งแตกรังเพื่อแบงกลุมนักเรียน โดยใหนักเรียนเลนเกม 2-3 ครั้งจนไดกลุม
กัน แลวทําใหเกิดสารใหม ซึ่งมีสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม ครบทุกคน ซึ่งมีวิธีการเลน ดังนี้
2. เกิดจากการนําสารมาผสมกับนํ้า แลวสารชนิดนั้นสามารถ ใหนักเรียนแตละคนคิดวาตนเองตองการเปนตัวผึ้ง หรือตองการเปนรังผึ้ง
ผสมรวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับนํ้าไดทั่วทุกสวน โดยครูจะออกคําสัง่ แลวใหนกั เรียนวิง่ ไปรวมกลุม กัน ซึง่ กําหนดใหนกั เรียนทีย่ นื
3. มะละกอดิบเปลี่ยนเปนมะละกอสุก คือ การเปลี่ยนแปลง ลอมวง คือ รังผึ้ง และนักเรียนที่ยืนอยูในวง คือ ตัวผึ้ง ทั้งนี้ นักเรียนคนใดที่ไมมี
ทางเคมี กลุม หรือนักเรียนกลุม ใดมีจาํ นวนรังผึง้ หรือจํานวนตัวผึง้ ไมครบตามจํานวนทีค่ รู
4. การระเหิดของเกล็ดไอโอดีน คือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ออกคําสั่ง จะถูกลงโทษดวยวิธีการตางๆ ที่สนุกสนาน เชน การเตนตามเพลง
(วิเคราะหคาํ ตอบ การเปลีย่ นแปลงทางเคมี คือ การเปลีย่ นแปลง การรองเพลง หรืออื่นๆ ตามความเหมาะสม ตัวอยางการออกคําสั่งของครู เชน
ของสารชนิดเดียว หรือเกิดจากการนําสารตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป • มีผึ้ง 2 ตัว อยูในรังผึ้ง 4 รัง
มาทําปฏิกิริยากัน แลวทําใหเกิดสารใหม ซึ่งมีสมบัติเปลี่ยนไป • มีผึ้ง 3 ตัว อยูในรังผึ้ง 6 รัง
จากเดิม มะละกอสุกเกิดการเปลี่ยนแปลงแลวไมสามารถเปลี่ยน • มีผึ้งและรังผึ้งลอมวง 8 ตัว
กลับไปเปนสารเดิมได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T31
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ
ทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทาง
กÔ¨กรรÁ·ี่ 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช้
เคมีของสาร โดยศึกษาขัน้ ตอนการทํากิจกรรม การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร 1. การสังเกต
2. การทดลอง
จากหนังสือเรียน หนา 28-29 3. การพยากรณ์
4. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 1 จุดประสงค 4. การตั้งสมมติฐาน
5. การลงความเห็นจากข้อมูล
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด สังเกต วิเคราะห์ และอธิบายการเปลี่ยนแปลงของสาร 6. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) ตองเตรียมตองใช
1. ช้อนโลหะ 1 คัน 8. ผงฟู 1 ซอง
2. กระดาษ 1 แผ่น 9. ลูกโปง 1 ใบ
3. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก 10. น�า้ ส้มสายชู 1 ขวด
4. ผงชูรสแท้ 1 ซอง 11. กรวยกรอกน�้า 1 อัน
5. กระปองโลหะ 1 ใบ 12. หลอดดูดน�้า 1 หลอด
6. ขวดแก้วปากแคบ 1 ใบ 13. หลอดทดลองขนาดเล็ก 1 หลอด
7. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด 14. น�้าปูนใส 12 ของหลอดทดลองขนาดเล็ก

ลองทําดู µÍนที่ 1
1. แบ่งกลุม่ จากนัน้ ช่วยกันสังเกตลักษณะของกระดาษและผงชูรสแท้ แล้วบันทึกผลลงในสมุด
2. ช่วยกันพยากรณ์ว่า เมื่อน�ากระดาษและผงชูรสไปเผาไฟจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
แล้วบันทึกผล
3. ท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบผลการพยากรณ์ ดังนี้
1) ฉีกกระดาษเปนแผ่นเล็ก ๆ ใส่ลงในกระปองโลหะ ใช้ไม้ขีดไฟจุดไฟใส่ลงในกระปอง
แล้วสังเกตลักษณะของกระดาษและบันทึกผล
2) น�าผงชูรสแท้ใส่ลงในช้อนโลหะประมาณ 12 ช้อน จากนั้นน�าไปตั้งบนตะแกรงที่อยู่บน
ตะเกียงแอลกอฮอล์ที่จุดไฟไว้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผงชูรสแท้ แล้วบันทึกผล
4. เปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลกับกลุ่มอื่น แล้วร่วมกันสรุปผล

28

หองปฏิบัติการ เฉลย กิจกรรมที่ 1


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1)
 à·¤¹Ô¤ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
การทดลอง ลักษณะทางกายภาพ การพยากรณ ผลการทดลอง
กอนทํากิจกรรมนี้ ครูควรเตรียมนํ้าปูนใสไวกอน ตามวิธีดังนี้ 1. เผากระดาษ เปนของแข็ง กระดาษเกิดการ กระดาษเกิดการ
1. ตักปูนแดง 1 ชอนโตะ ใสลงในบีกเกอรขนาด 500 มิลลิลิตร มีรูปรางสี่เหลี่ยม ไหม และมีสี ไหม กลายเปน
2. เทนํ้าลงไปจนเกือบเต็มบีกเกอร แลวใชชอนโลหะคนจนปูนแดงละลาย มีสีขาว เปลี่ยนไป ขี้เถาและมีกลิ่น
3. ใชกระจกนาฬกาหรือแผนกระจกปดปากบีกเกอร แลวตั้งทิ้งไวขามคืน 2. เผาผงชูรสแท เปนของแข็ง ผงชูรสเกิดการ ผงชูรสเกิดการ
มีรูปรางเปน ไหม และมีสี ไหม กลายเปน
4. ใชชอนตักฝาดานบนทิ้ง แลวตักนํ้าสวนที่ใสใสบีกเกอรอีกใบเตรียมไว แทงสี่เหลี่ยม เปลี่ยนไป เถาสีดําและ
เพื่อนํานํ้าปูนใสไปใชในการทดลอง มีสีขาว มีกลิ่น
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา กระดาษเปลีย่ นเปนขีเ้ ถา ผงชูรสเปลีย่ นจาก
สีขาวเปนสีดาํ แสดงวา การใหความรอนหรือการเผาไหมสาร สามารถทําใหสาร
เกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมีได เพราะทําใหเกิดสารใหม และสารนัน้ จะกลับมา
เปนสารเดิมไมได

T32
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมภายในกลุม
ตอนที่ 2 2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ
1. ช่วยกันตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร แล้วบันทึกผล ผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน โดยครูสุมจับ
2. ท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน ดังนี้ สลากเลือกนักเรียนทีละกลุม
1) เทน�้าปูนใสลงในหลอดทดลองประมาณ 12 ของหลอด แล้วน�าหลอดดูดน�้าจุ่มลงใน 3. นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า
หลอดทดลองที่ใส่น�้าปูนใสไว้ จากนั้นเปาลมผ่านหลอดดูดน�้าลงในน�้าปูนใส สังเกต กิจกรรมจนไดขอ สรุปวา การเปลีย่ นแปลงทาง
การเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล เคมี คือ การเปลี่ยนแปลงของสารชนิดเดียว
2) เทน�้าส้มสายชูลงในขวดแก้วปากแคบปริมาณ 12 ของขวด แล้วเทผงฟู 2 ช้อน หรือการทําปฏิกิริยาระหวางสาร 2 ชนิดขึ้นไป
ลงในลูกโปง จากนั้นน�าปากลูกโปงมาครอบที่ปากขวดแก้วให้แน่น แล้วจับลูกโปงตั้ง แลวทําใหเกิดสารใหม ซึ่งมีสมบัติตางไปจาก
ขึ้นเพื่อให้ผงฟูตกลงไปในขวด สังเกตและบันทึกผล สารเดิม และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแลว
จะทําใหกลับมาเปนสารเดิมไมไดหรือไดยาก
3. น�าเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนเพื่อร่วมกันอภิปรายผลการทดลอง
และสามารถสังเกตวา เปนการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีไดจากหลายขอสังเกต เชน เกิดตะกอน
เกิดฟองแกส มีสีตางจากสารเดิม มีกลิ่นตาง
จากสารเดิม มีแสงหรือเสียงเกิดขึ้น มีการ
เพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุณหภูมิ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ภาพที่ 5.28 การทดลองผสมผงฟูกับน�้าส้มสายชู


แนวตอบ หนูตอบได
หนูตอบได
ขอ 4.
1. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีคืออะไร • การทานํ้ามัน เพราะเปนการปองกันไมให
2. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีความแตกต่างกันหรือไม่ โลหะสัมผัสกับความชืน้ ในอากาศ ทําใหโลหะไมทาํ
อย่างไร ปฏิกริ ยิ ากับความชืน้ ในอากาศ เนือ่ งจากการเก็บไว
3. นักเรียนคิดว่า ไก่ย่างเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือไม่ สังเกตได้จากสิ่งใด ในตูใ หมดิ ชิดอาจมีโอกาสทําใหกรรไกรเหล็กสัมผัส
4. นักเรียนจะเลือกใช้วธิ กี ารใดเพือ่ ปองกันการเกิดสนิมของกรรไกรเหล็ก ระหว่างการทาน�า้ มัน กับความชื้นในอากาศได
หรือการเก็บใส่ตู้ให้มิดชิด เพราะอะไร • เก็บใสตใู หมดิ ชิด เพราะเปนการปองกันไมให
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง
29
โลหะสัมผัสกับนํ้า ทําใหโลหะไมทําปฏิกิริยากับนํ้า
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) เนื่องจากการใชนํ้ามันทาทําใหสิ้นเปลือง

เฉลย กิจกรรมที่ 1 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2)
ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนตระหนักถึงการนําสารเคมีตางๆ มาใชวา อาจมี
การทดลอง ผลการทดลอง
ทั้งผลดีและผลเสียตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ดังนั้น เราจึงตองรูจักใชอยาง
1. เปาลมผานหลอดดูดนํ้าลงในนํ้า นํ้าปูนใสมีตะกอนสีขาวขุนเกิดขึ้น ถูกตองและเหมาะสม เมื่อใชแลวตองมีการกําจัดอยางถูกวิธี เพื่อลดการเกิด
ปูนใส
ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
2. นําลูกโปงที่ใสผงฟูไว มาครอบ ผงฟูตกลงไปในนํ้าสมสายชูแลวเกิด
ปากขวดแกวที่มีนํ้าสมสายชู แกส ทําใหลูกโปงพองขึ้น
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา เมื่อเปาลมผานหลอดดูดนํ้าลงในนํ้าปูนใส
จะมีตะกอนสีขาวขุน เกิดขึน้ และเมือ่ ผสมผงฟูเขากับนํา้ สมสายชูจะมีแกสเกิดขึน้
แสดงวา การเกิดตะกอนและการเกิดแกสเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะ
มีสารใหมเกิดขึ้น

T33
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก
หนังสือเรียน หนา 29 ลงในสมุดหรือทําลงใน
1.1 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงของสารชนิดเดียว หรือ
2. นักเรียนทุกคนชวยกันศึกษาขอมูลเกีย่ วกับการ การทําปฏิกิริยาระหวางสาร 2 ชนิดขึ้นไป แลวเกิดสารใหมขึ้น ซึ่งมีสมบัติตางไป
เปลี่ยนแปลงทางเคมี จากหนังสือเรียน หนา จากสารเดิม และเมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงแลวจะทําใหกลับมาเปนสารเดิมไดยาก
30-31 และศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อ PowerPoint การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ทําใหเกิดสารใหม
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร แลว
อาจสังเกตไดจากการเปลี่ยนแปลงของสาร เชน
ครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน สรุปเนื้อหา
ที่ศึกษาใหเพื่อนในชั้นเรียนฟง
3. ครูถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติมวา
• นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได
จากอะไรบาง
(แนวตอบ เกิดตะกอน เกิดฟองแกส มีสีตาง
จากสารเดิม มีกลิ่นตางจากสารเดิม มีแสง
หรือเสียงเกิดขึน้ มีการเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของ ภาพที่ 5.29 มีสีตางจากสารเดิม ภาพที่ 5.30 มีกลิ่นตางจากสารเดิม
อุณหภูมิ)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ภาพที่ 5.31 อาจมีแสงหรือเสียงเกิดขึ้น ภาพที่ 5.32 มีฟองแกส

ภาพที่ 5.33 มีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของ ภาพที่ 5.34 มีตะกอนเกิดขึ้น


อุณหภูมิ
30

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนกั เรียนเรียนรูเ กีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทางเคมีของสารเพิม่ เติม จาก การกระทําในขอใด ทําใหเกิดสารใหมที่มีสมบัติเปลี่ยนแปลง
สื่อ PowerPoint เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ดังภาพตัวอยาง ไปจากเดิม
1. บุมตมนํ้ารอน
2. บอลยางลูกชิ้น
3. โบวทํานํ้าเชื่อม
4. แบมทํานํ้าแข็งกอน
(วิเคราะหคาํ ตอบ การเปลีย่ นแปลงของสารแลวทําใหเกิดสารใหม
ที่มีสมบัติเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ซึ่งการยางลูกชิ้น จะทําใหลูกชิ้นมีสีและกลิ่นเปลี่ยนไปจากเดิม
ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T34
นํา สอน สรุป ประเมิน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ขัน้ สอน


การเปลี่ยนแปลง ขยายความเขาใจ

ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่พบเห็นในชีวิตประจ�าวัน 4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาขอมูลจากสื่อดิจิทัล


เพิ่ ม เติ ม ในหนั ง สื อ เรี ย นหน า นี้ โดยให ใ ช
โทรศัพทมือถือสแกน QR Code เรื่อง การ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี แลวรวมกันสรุปความรู
ที่ไดจากการศึกษาภายในกลุม
5. นักเรียนชวยกันยกตัวอยางการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีทพี่ บเห็นในชีวติ ประจําวันเพิม่ เติมทีไ่ ม
ซํา้ ในหนังสือเรียนลงใน Post-it ใหไดมากทีส่ ดุ
จากนั้นสมาชิกภายในกลุมชวยกันเลือกการ
ภาพที่ 5.35 แอปเปิลที่ปอกเปลือกแล้วตั้งทิ้ง ภาพที่ 5.36 การท�าน�้าส้มสายชูจากผลไม้ เปลี่ยนแปลงทางเคมีที่นาสนใจกลุมละ 5 การ
ไว้จนเปลี่ยนสี เปลี่ยนแปลง แลวออกมาอธิบายหนาชั้นเรียน
วา สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจากสิ่งใด
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ภาพที่ 5.37 โซ่เหล็กตากฝนและอากาศ ภาพที่ 5.38 การบีบมะนาวลงบนเนื้อปลา


ท�าให้เกิดสนิม จะท�าให้กลิ่นคาวของปลาหายไป

ภาพที่ 5.39 มะม่วงสุก ภาพที่ 5.40 การเผาไหม้


(ที่มาภาพ : https://pixabay.com)

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 31

กิจกรรม ทาทาย สื่อ Digital


ใหนกั เรียนแตละคนไปสํารวจและยกตัวอยางการเปลีย่ นแปลง ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีเพิ่มเติมจาก
ทางเคมีที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน โดยไมซํ้ากับในหนังสือเรียน สื่อดิจิทัล โดยใหสแกน QR Code เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี จาก
จากนั้นใหบันทึกขอมูลตามตารางตัวอยาง แลวออกมานําเสนอ หนังสือเรียน หนา 31 ซึ่งจะปรากฏคลิปวิดีโอ ดังภาพตัวอยาง
หนาชั้นเรียน เพื่อรวมกันอภิปรายขอมูล (ตัวอยางตาราง)
การเปลี่ยนแปลง
สังเกตการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีที่พบเห็น ภาพประกอบ
ทางเคมีไดจาก
ในชีวิตประจําวัน
1.
2.
3.
4.
5.

T35
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
6. นักเรียนทุกคนชวยกันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ
การเปลีย่ นแปลงทางเคมีมคี วามแตกต่างกับการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
ความแตกตางระหวางการเปลี่ยนแปลงทาง
เคมีกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ จาก ของสาร ดังนี้
หนังสือเรียนหนานี้ จากนั้นครูขออาสาสมัคร การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
นักเรียน 4-5 คน ใหสรุปเนือ้ หาทีศ่ กึ ษาใหเพือ่ น
ในชั้นเรียนฟง 1. เกิดสารใหม่ 1. ไม่เกิดสารใหม่
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช 2. สมบัติของสารเปลี่ยนไปจากเดิม 2. สมบัติของสารคงเดิม
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) 3. เปนการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ 3. เปนการเปลีย่ นแปลงรูปร่างภายนอก
ภายใน 4. เปลีย่ นแปลงแล้วกลับคืนสูส่ ภาพเดิม
4. เปลีย่ นแปลงแล้วกลับคืนสูส่ ภาพเดิม ได้ หรือเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้
ไม่ได้ หรือท�าได้ยาก 5. ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนสถานะของ
5. ตัวอย่างเช่น การสุกของผลไม้ น�้า การระเหิดของลูกเหม็น
การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง

ภาพที่ 5.41 การสุกของกล้วย ภาพที่ 5.42 การเปลี่ยนสถานะของน�้า


32

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ “ปานชวยคุณแมยางพริกและปลาทูจนสุก” จากขอความ
1. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมละเทาๆ กัน ปานทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบใด
2. แตละกลุมชวยกันคนหาตัวอยางการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารและ 1. เกิดการหลอมเหลว
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสารใหไดมากที่สุด 2. พริกและปลาทูเปลี่ยนสถานะ
3. แตละกลุมชวยกันนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตางๆ เชน แผนผัง 3. พริกและปลาทูเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
แผนภาพ สมุดภาพ แผนภาพ 4. พริกเกิดการเปลีย่ นสถานะ สวนปลาทูเกิดการเปลีย่ นแปลง
4. แตละกลุม ออกมานําเสนอ พรอมอธิบายวา ภาพใดเปนการเปลีย่ นแปลง ทางเคมี
ทางเคมีของสาร และภาพใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสาร กลุมใด (วิเคราะหคําตอบ การยางพริกและปลาทู ทําใหพริกและปลาทู
ทีไ่ ดจาํ นวนภาพและความถูกตองมากทีส่ ดุ เปนกลุม ทีช่ นะ ครูอาจใหเปนคะแนน เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สังเกตไดจากมีสีและกลิ่นตางไป
หรือมอบรางวัลเล็กๆ ใหกลุมที่ชนะ จากสารเดิม โดยไมสามารถทําใหกลับไปเปนสารเดิมได ดังนั้น
ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T36
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ขยายความเขาใจ
7. นักเรียนศึกษาถึงผลดีและผลเสียจากการเกิด
1.2 ผลจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร ปฏิกิริยาเคมีของสารในหนังสือเรียนหนานี้
การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งมีผลต่อ 8. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ที่ไดเรียนมาจากบทที่ 2 ในรูปแบบตางๆ เชน
แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด
ผลดี ผลเสีย
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
• น�ามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ • การเผาไหม้ของสารเคมีท�าให้เกิด แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
หลายด้าน เช่น การท�ายารักษาโรค มลพิษทางอากาศ
การประกอบอาหาร น�ามาสร้าง • ปฏิกิริยาเคมีของสารบางชนิดนั้น
วัสดุสังเคราะห์ต่าง ๆ ท�าให้เกิดอันตราย เช่น การระเบิด
ของถังแกส

ภาพที่ 5.43 ยารักษาโรค ภาพที่ 5.44 ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม

กิจกรรม สรุปความรูป ระจําบทที่ 2


ตรวจสอบตนเอง
หลังเรียนจบบทนี้แล้ว ให้นักเรียนบอกสัญลักษณ์ที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
เกณฑ
รายการ ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

1. เข้าใจเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
2. สามารถท�ากิจกรรมและอธิบายผลการท�ากิจกรรมได้
3. สามารถตอบค�าถามจากกิจกรรมหนูตอบได้ได้
4. ท�างานกลุ่มร่วมกับเพื่อนได้ดี
5. น�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้ 33

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ครูอาจจัดกิจกรรมเกีย่ วกับผลจากการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีของสารเพิม่ เติม โดย
1. มีไอเกิดขึ้นเมื่อตั้งนํ้าแข็งแหงไวที่อุณหภูมิหอง ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
2. นํ้าแข็งหลอมเหลวกลายเปนนํ้า 1. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมละเทาๆ กัน
3. ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม 2. ใหกลุมที่ 1 คนหาภาพที่เกี่ยวของกับผลดีจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ
4. มีไอนํ้าเกิดขึ้นเมื่อนํ้าเดือด สาร และใหกลุมที่ 2 คนหาภาพที่เกี่ยวของกับผลเสียจากการเกิดปฏิกิริยาเคมี
(วิเคราะหคําตอบ ไอที่เกิดขึ้นเมื่อตั้งนํ้าแข็งแหงไวที่อุณหภูมิหอง ของสารใหไดมากที่สุด
นํ้าแข็งหลอมเหลวกลายเปนนํ้า ไอนํ้าที่เกิดขึ้นเมื่อนํ้าเดือด เปน 3. แตละกลุม นําภาพออกมานําเสนอ พรอมอธิบายวา เปนผลดีหรือผลเสีย
ผลมาจากการเกิดการเปลี่ยนสถานะ ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงทาง จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารอยางไร
กายภาพ สวนควันจากโรงงานอุตสาหกรรม เกิดจากการเผาไหม 4. รวมกันอภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม
ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่
ถูกตอง)

T37
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
9. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ ÊรØป ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 2
ในหนังสือเรียนหนานี้
10. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูที่ได การเปลี่ยนแปลงที่ทําให
จากการศึกษาขอมูล จากนั้นใหเพื่อนๆ ใน และจะทําให้กลับมาเป ้เกิดสา
็ นสา
ร เ ด รให ม
ชั้นเรียนรวมกันเสริมในสวนที่บกพรอง ิมไ ่
ม่ไ

11. แตละคนทําใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ี เช่น ้
ผลด

หร
ทางเคมีของสาร ทาํ ยารักษาโรค

ือก
ลับ
12. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ ผลเสีย


เ ช่

าได้ย
2 จากหนังสือเรียน หนา 35-36 เปนการบาน


ทาํ ให าศ
ิ มลพิษทางอาก
เ้ กด

าก
โดยทํ า ลงในสมุ ด หรื อ ทํ า ลงในแบบฝ ก หั ด ผลจา
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 แลวนํามาสงครูใน กก
ชั่วโมงถัดไป า


หม
ารเ

ดป ม
ควา
กิ

13. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด ฏกิ


ริ ยิ า
ขั้ น สู ง ลงในแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ป.5 เคมข
ี องสาร มฐ. ว 2.1 ป.5/3
เลม 2
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
่ นแปลง
การเปลีย
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ทางเคมี

้ งั เกต
จุดทีใ่ ชส
กส๊
ิ แ
เกด
เชน
่ นิม
ิ ส
เกด น
ต ะกอ
เก ิ


้น
ดิ ข

ก ล ิ เก
่น
ม มิ
กเด
น ไปจา
่ี

มสี เี ปล

ิ ข้น
อาจมีแสงหรือเสียงเกด ึ

34

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถใชใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ไดจากแผน ดูภาพ แลวตอบคําถาม
การจัดการเรียนรูที่ 4 การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ดังภาพตัวอยาง
เปลี่ยนเปน
ใบงาน
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร

อ่านข้อความที่กาหนดให้ แล้วตอบคาถาม
สุชาดาซื้อแกงกะทิจากตลาดช่วงเช้า จากนั้นสุชาดาตั้งแกงกะทิทิ้งไว้บนโต๊ะอาหาร
เมื่อถึงช่วงเย็น สุชาดานาแกงกะทิมาเทใส่จานเพื่อรับประทาน พบว่า แกงกะทิเกิดการ
จากภาพ เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือไม เพราะอะไร
1. เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะมีสีเปลี่ยนไปจากเดิม
เปลี่ยนแปลง คือ มีกลิ่นเหม็น
จากข้อมูล นักเรียนคิดว่า การเปลี่ยนแปลงของแกงกะทิ เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
หรือไม่ สังเกตได้จากอะไร
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ให้นักเรียนนาคาในสี่เหลี่ยมด้านล่างนี้ เติมลงในช่องว่างด้านล่าง
2. เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะกลับมาเปนสารเดิมได
เกิดสารใหม่

เปลี่ยนแปลงแล้ว
ไม่เกิดสารใหม่

เปลี่ยนแปลงแล้ว
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ภายนอก
สมบัติของสาร
สมบัติของสาร
คงเดิม
เปลี่ยนแปลง
3. ไมใชการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะไมเกิดปฏิกิริยาเคมี
4. ไมใชการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะการเปลี่ยนสีเปนการ
กลับคืนสู่สภาพ กลับคืนสู่สภาพเดิม เปลี่ยนแปลงไป องค์ประกอบภายใน
เดิมได้ ไม่ได้ หรือทาได้ยาก จากเดิม

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
(วิเคราะหคําตอบ การสุกของมะเฟองเปนการเปลี่ยนแปลงทาง
เคมี เพราะมีสีตางไปจากเดิม และไมสามารถทําใหกลับไปเปน
สีเดิมได ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T38
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
กิจกรรม º··ี่ 2 ขยายความเขาใจ

ฝกทักษะ 14. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ


3-4 คน จากนั้นนักเรียนแตละกลุมชวยกัน
1. สังเกตภาพ แล้วเลือกภาพที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีลงในสมุด ทํากิจกรรมสรางสรรคผลงาน โดยใหนกั เรียน
ศึ ก ษารายละเอี ย ดในกิ จ กรรมสร า งสรรค
1. 2. 3. ผลงาน จากหนังสือเรียน หนา 37 จากนั้นให
นักเรียนแตละกลุม รวมกันทํากิจกรรม พรอม
ทั้งนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
4. 5. 6.

7. 8. 9.

(ที่มาภาพ : https://pixabay.com)

2. อ่านข้อมูลที่กําหนด แล้วตอบคําถามต่อไปนี้
ต่ายซื้อนมจากร้านขายของหน้าบ้านมา 1 กล่อง ต่ายดื่มนมกล่องนั้นไป
ครึ่งกล่องแล้วรีบไปเล่นกับเพื่อน ๆ จึงลืมนมทิ้งไว้ในห้องครัว เมื่อกลับมาดู
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
ในวันรุ่งขึ้นต่ายพบว่า นมกล่องนั้นมีกลิ่นเหม็น ขอ 1.
นักเรียนคิดว่า การเปลี่ยนแปลงของนมเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือไม่ ภาพที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ ภาพ
สังเกตได้จากสิ่งใด หมายเลข 1 3 4 7 และ 8
ขอ 2.
35
เปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี สังเกตจากนมมีกลิ่น
เปลี่ยนไปจากเดิม

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ภาพใดไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะเสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนรู
1. 2. เพิ่มเติม โดยสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นใหออกมาเฉลยคําตอบ
หนาชั้นเรียนทีละคน แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันอภิปรายจนไดคําตอบ
ที่ถูกตอง โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
3. 4.

(วิเคราะหคําตอบ การตมนํ้าจนเดือดเปนการเพิ่มความรอนให
กับนํา้ ทําใหนาํ้ เกิดการเปลีย่ นสถานะจากของเหลวกลายเปนแกส
(ไอนํา้ ) และเมือ่ ลดความรอน แกส (ไอนํา้ ) จะเปลีย่ นสถานะกลับมา
เปนของเหลวเหมือนเดิม ซึ่งการเปลี่ยนสถานะของนํ้าเปนการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T39
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให
สรุปความรูจากการเรียนบทที่ 2 3. ดูภาพ แล้วระบุว่าจากภาพสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได้อย่างไร
2. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จาก 1. 2.
หนังสือเรียน หนา 33 จากนั้นถามนักเรียน
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน
มะละกอสุก รถเกิดสนิม

3. 4.

เผากระดาษ ขนมจาก
(ที่มาภาพ : https://pixabay.com)

4. ขีด ✓ หน้าข้อความที่กล่าวเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได้ถูกต้อง
....................... 1) การเปลี่ยนแปลงทางเคมีท�าให้เกิดสารใหม่

....................... 2) การท�าขนมปงอบไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

....................... 3) สมบัติของสารยังคงเดิมหลังเกิดการเปลี่ยนแปลง

ุด 4) การเผาไม้ให้เปนถ่านเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
นสม
.......................
ง ใ
ล ตัว)5) การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารท�าให้เกิดสารละลาย
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ ทึก.......................
บ( ัน ประจ�า
....................... 6) การเปลี่ยนแปลงที่ท�าให้สีของสารบางชนิดเปลี่ยนไปได้
ขอ 3.
1) มีสีเปลี่ยนไป ....................... 7) การท�าให้น�้ากลายเปนน�้าแข็งไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

2) มีสนิมเกิดขึ้น ....................... 8) การเปลี่ยนแปลงที่มีกลิ่นเหม็นเกิดขึ้นเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

3) มีสารใหมเกิดขึ้น มีแสงและเสียงเกิดขึ้น ....................... 9) การน�าน�้าตาลทรายมาละลายในน�้าสะอาดจนน�้าตาลทรายละลายหมด

4) มีสีเปลี่ยนไป .................. 10) การเปลีย ่ นแปลงทางเคมี คือ การน�าสารมาผสมกับน�า้ แล้วสารชนิดนัน้


ขอ 4. สามารถรวมเปนสารเนื้อเดียวกันกับน�้าได้ทั่วทุกส่วน
1) ✓ 2) ✗
3) ✗ 4) ✓ กิจกรรม ทาทายการคิดขัน้ สูง

5) ✗ 6) ✓
36
7) ✓ 8) ✓
9) ✗ 10) ✗

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ ขอใดไมใชขอสังเกตของการเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คนละ 1 คําถาม จากนั้นครูสุมเรียกใหนักเรียน 1. สารเกิดการละลายจนเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้า
บอกคําถามของตนเอง แลวใหเพื่อนคนอื่นๆ ในชั้นเรียนชวยกันแสดงความคิด 2. สีเปลี่ยนไปจากสารเดิมเล็กนอย
เห็นวา จะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรตอบคําถามนี้ไดอยางไร โดยครูทําหนาที่ 3. มีตะกอนเกิดขึ้นจํานวนมาก
เปนผูชี้แนะและสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียนอยางใกลชิด 4. มีกลิ่นเกิดขึ้น
การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา) (วิเคราะหคําตอบ สารเกิดการละลายจนเปนเนื้อเดียวกันกับนํ้า
เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่
เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร ถูกตอง)

T40
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
ทักÉะแห่งÈตวรรÉที่ 21
✓การสื่อสาร ✓ ความร่วมมือ การแก้ปญหา
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ
✓การสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
✓การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา
กิจกรรม เสนอหนาชั้นเรียน
สร้างสรรคผลงาน 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมนําสูการเรียน
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
แบงกลุม แลวเลือกผักหรือผลไมกลุมละ 1 ชนิด จากนั้น เลม 2
ชวยกันสังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1 สัปดาห 3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง การ
แลวนําขอมูลที่ ไดจากการสังเกตมาจัดทําเปนแผนภาพหรืออืน่ ๆ เปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร ในสมุดหรือใน
ลงในสมุดพรอมตกแตงใหสวยงาม จากนัน้ นําเสนอผลงาน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
หนาชั้นเรียน พรอมอธิบายวาสังเกตการเปลี่ยนแปลง
จากอะไร 4. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
5. ครู ต รวจสอบผลการทํ า ใบงาน เรื่ อ ง การ
ตัวอย่าง ผลงาน¢Íง©ัน
เปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
6. ครูตรวจสอบผลการสรุปความรูเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีจากสมุด
7. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 2
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
แบบบันทึก
วันที่ 1 เลม 2
8. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการคิด
การสังเกต ขั้นสูงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ของกล้วย 9. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงานสมุดบันทึกการสังเกต
การเปลี่ยนแปลงของผักหรือผลไม และการ
นําเสนอชิ้นงาน/ผลงานหนาชั้นเรียน

ภาพที่ 5.45 ตัวอย่างการบันทึกผลการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของกล้วย

37

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ผลงานแผนภาพการสังเกตการ
2. ชวยกันสืบคนภาพเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารที่ เปลีย่ นแปลงของผักหรือผลไม โดยศึกษาเกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมิน
เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ชิ้นงาน/ผลงานที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 5
3. ใหชวยกันแสดงความคิดเห็นและอภิปราย เพื่อคัดเลือกภาพที่ การเปลี่ยนแปลง ดังภาพตัวอยาง
นาสนใจ แลวระบุวาสังเกตการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจากสิ่งใด
4. นําภาพและขอมูลทีไ่ ดจดั ทําเปนบอรดความรูล งในฟวเจอรบอรด การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 4)

แบบประเมินแผนภาพ เรื่อง การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของผักหรือผลไม้


เกณฑ์การประเมินแผนภาพ เรื่อง การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของผักหรือผลไม้ (แผนฯ ที่ 4)

รายการประเมิน
คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน

แผนใหญ โดยแบงหนาที่ความรับผิดชอบของสมาชิกแตละคน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ระดับคุณภาพ
1. แผนภาพ/การสร้าง ตกแต่งแผนภาพได้ ตกแต่งแผนภาพได้ ตกแต่งแผนภาพได้
ลาดับที่ รายการประเมิน 3 2 1 ผลงาน สวยงาม มีความคิด สวยงาม มีความคิด สวยงาม มีความคิด
(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง) สร้างสรรค์ดีมาก ทางาน สร้างสรรค์ดี สร้างสรรค์ ทางาน

ใหชัดเจน
1 แผนภาพ/การสร้างผลงาน สะอาดและเรียบร้อยดี ทางานสะอาดและ สะอาดและเรียบร้อย
2 ความสมบูรณ์ของเนื้อหา มาก เรียบร้อยดี น้อย
3 ความถูกต้องของเนื้อหา 2. ความสมบูรณ์ของ วาดภาพ และระบุการ วาดภาพ หรือระบุการ วาดภาพ หรือระบุการ
4 กาหนดเวลาส่งงาน เนื้อหา เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ

5. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนดวยวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน 3. ความถูกต้องของ
ผักหรือผลไม้ได้ พร้อม ผักหรือผลไม้ได้
ตกแต่งให้สวยงาม
ผักหรือผลไม้ได้

วาดภาพ และระบุการ วาดภาพ และระบุการ วาดภาพ และระบุการ

เพื่อใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น
............./.................../.............. เนื้อหา เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ เปลี่ยนแปลงทางเคมีของ
ผักหรือผลไม้ได้ถูกต้อง ผักหรือผลไม้ได้ถูกต้อง ผักหรือผลไม้ได้ไม่ถูกต้อง
ครบถ้วนทุกวัน บ้าง
4. กาหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก
9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง

T41
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยถามคํ า ถามว า
นั ก เรี ย นทราบหรื อ ไม ว  า วั น นี้ จ ะได เ รี ย นรู  บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลง·ี่¼ันกลัºäดŒแลÐ
เกีย่ วกับเรือ่ งอะไร แลวใหนกั เรียนชวยกันตอบ ¼ันกลัºäÁ‹äดŒ¢ÍงÊาร
คําถาม จากนั้นครูแจงชื่อเรื่องที่จะเรียนรูและ ศัพทนารู
ผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ คําศัพท คําอาน คําแปล
2. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 3 การเปลีย่ นแปลง irreversible change อิริ'เวอซึบึล เชนจ การเปลีย่ นแปลง
ที่ผันกลับไมได
ที่ผันกลับไดและผันกลับไมไดของสาร จาก
reversible change ริ'เวอซึบึล เชนจ การเปลีย่ นแปลง
หนังสือเรียนหนานี้ แลวชวยกันตอบคําถาม ที่ผันกลับได
สําคัญประจําบทวา melting 'เม็ลทิง การหลอมเหลว
• การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดคืออะไร dissolution ดิสโซ' ลูชัน การละลาย
(แนวตอบ การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไมได คือ
สารที่เกิดการเปลี่ยนแปลง แลวไมสามารถ
เปลี่ยนกลับเปนสารเดิมได) reversible change
3. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา จากภาพ
หนานี้ สิ่งใดเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
และผันกลับไมได โดยครูใหนักเรียนรวมกัน
แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
4. นักเรียนรวมกันอานคําศัพททเี่ กีย่ วของกับการ
เปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไดและผันกลับไมไดของ
สาร จากหนังสือเรียนหนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§
·Õè¼Ñ¹¡ÅѺäÁ‹ä´Œ
¤×ÍÍÐäà ?
irreversible change
38

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้ การกระทําของใครทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
คําศัพท คําอาน คําแปล 1. เอตมนํ้าจนนํ้าเดือดกลายเปนไอนํ้า
2. บีละลายเกลือแกงกับนํ้า
irreversible change อิริ'เวอซึบึล เชนจ การเปลี่ ย นแปลงที่ ผั น 3. ซีแชนํ้าในชองแชแข็ง
กลับไมได 4. ดีบมมะมวงดิบจนสุก
reversible change ริ'เวอซึบึล เชนจ การเปลี่ ย นแปลงที่ ผั น (วิเคราะหคําตอบ การสุกของมะมวงเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผัน
กลับได กลับไมได เพราะไมสามารถทําใหมะมวงสุกเปลี่ยนกลับไปเปน
melting 'เม็ลทิง การหลอมเหลว มะมวงดิบได ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
dissolution ดิสโซ'ลูชัน การละลาย

T42
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
5. นักเรียนทํากิจกรรมนําสูการเรียน โดยอาน
กิจกรรม สถานการณจากหนังสือเรียนหนานี้ แลวตอบ
นําสูก ารเรียน คํ า ถามลงในสมุ ด หรื อ ทํ า ลงในแบบฝ ก หั ด
¹íéÒµÒÅ·ÃÒÂÁÕÃÊËÇÒ¹ ʋǹãËÞ‹àÃҨйíÒÁÒ»ÃСͺÍÒËÒà ઋ¹ ¹íéÒàª×èÍÁ ã¹¹íéÒàª×èÍÁ วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 โดยครูใชการเรียนรู
¨ÐÁÕ¹íéÒ໚¹µÑÇ·íÒÅÐÅÒ áÅйíéÒµÒÅ·ÃÒÂ໚¹µÑÇÅÐÅÒ àÁ×è͹íéÒµÒÅ·ÃÒÂÅÐÅÒÂã¹¹íéÒ¨Ð໚¹ แบบรวมมือเทคนิคคูคิด (Think-Pair-Share)
ÊÒÃà¹×éÍà´ÕÂǡѹ¡Ñº¹íéÒ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ÊÒÃÅÐÅÒ 6. ครูสุมนักเรียน 4-5 คู ใหออกมาเฉลยคําตอบ
หน า ชั้ น เรี ย น จากนั้ น ให เ พื่ อ นๆ ที่ อ ยู  ใ น
ชั้นเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบจนไดคําตอบ
ที่ถูกตอง โดยมีครูคอยแนะนําสวนที่บกพรอง
¹íéÒµÒÅ·ÃÒÂÊÒÁÒö (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ÅÐÅÒÂã¹¹íéÒä´Œ¹Ð ¨ÃÔ§àËÃÍà¨Áʏ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ä˹¢Í´ÙºŒÒ§ÊÔ

ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹ª‹Ç¡ѹÊ׺¤Œ¹à¾ÔÁè àµÔÁÇ‹Ò ¡ÒÃÅÐÅÒ¢ͧ¹íÒé µÒÅ·ÃÒÂ໚¹¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§


·Õè¼Ñ¹¡ÅѺ䴌ËÃ×ͼѹ¡ÅѺäÁ‹ä´Œ ¨Ò¡¹Ñé¹Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ÍÀÔ»ÃÒÂÀÒÂ㹪Ñé¹àÃÕ¹

แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน
39
จากการชวยกันสืบคน พบวาการละลายของ
นํ้าตาลทรายเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไมถูกตอง ในการทํากิจกรรมนําสูก ารเรียน ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใชรปู แบบการเรียน
1. การละลายนํ้าตาลในนํ้าเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได รูแบบรวมมือ เทคนิคคูคิด (Think-Pair-Share) โดยจัดกิจกรรมตามขั้นตอน
2. การละลายนํา้ ตาลในนํา้ เปนการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไมได ดังนี้
3. การละลายนํ้าตาลในนํ้าเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 1. ครูผูสอนตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาใหแกผูเรียน
4. การละลายนํ้าตาลในนํ้าเปนการละลายของสารในนํ้า 2. ผูเ รียนหาคําตอบดวยตนเองกอน แลวจับคูก บั เพือ่ นเพือ่ อภิปรายคําตอบ
(วิเคราะหคําตอบ การละลายนํ้าตาลในนํ้าเปนการละลายของ 3. ออกมานําเสนอคําตอบที่ไดจากการอภิปรายใหเพื่อนกลุมอื่นฟง
สารในนํ้า เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และยังเปนการ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T43
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและ
ภาพเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไดและ
1. การเปลีย่ นแปลง·ี¼่ นั กลัºäดŒแลмันกลัºäÁ‹äดŒ¢ÍงÊาร
ผันกลับไมไดของสาร จากหนังสือเรียนหนานี้ เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วสามารถเปลี่ยนกลับเปนสารเดิมได้
จากนั้นชวยกันตอบคําถาม ดังนี้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ เช่น การกลายเปนไอ การละลาย
• การหลอมเหลวของนํ้าแข็งขั้วโลกเปน ส่วนสารที่เกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วไม่สามารถเปลี่ยนกลับเปนสารเดิมได้
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดหรือไม เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้ เช่น การเผาไหม้ การสุกของผลไม้
เพราะเหตุใด ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้
(แนวตอบ การหลอมเหลวของนํ้าแข็งขั้วโลก
เปนการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได เพราะเมือ่
ของสารจากบทเรียนนี้
บริเวณขั้วโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงระดับ ภาพที่ 5.46 การหลอมเหลวของน�้าแข็งขั้วโลก
หนึ่ง จะทําใหนํ้าแข็งเกิดการหลอมเหลว
หากบริเวณขั้วโลกมีอุณหภูมิที่ลดลงจนถึง
ระดับหนึ่ง จะทําใหนํ้าเกิดการแข็งตัวกลับ
มาเปนนํ้าแข็งเหมือนเดิม)
• นั ก เรี ย นคิ ด ว า การเปลี่ ย นแปลงใดบ า ง
เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
(แนวตอบ เชน การเผาไหม การสุกของผลไม
การเกิดสนิม)

¡ÒÃËÅÍÁàËÅǢͧ¹íé Ò á¢ç §¢Ñé Ç âÅ¡


໚¹¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Õè¼Ñ¹¡ÅѺ䴌
ËÃ×ÍäÁ‹ à¾ÃÒÐà˵Øã´

40

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจเตรียมแผนภาพที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได และการ ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
เปลี่ ย นแปลงที่ ผั น กลั บ ไม ไ ด ม าให นั ก เรี ย นดู เ ป น ตั ว อย า งเพิ่ ม เติ ม ดั ง ภาพ 1. จุดไมขีดไฟ
ตัวอยาง 2. ใชนํ้าละลายเกลือแกง
3. นํานํ้าไปแชในชองแชแข็ง
4. ตั้งนํ้าแข็งทิ้งไวในอุณหภูมิหอง
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อจุดไมขีดไฟ จะทําใหไมขีดไฟเกิดการ
เปลีย่ นแปลง และไมสามารถทําใหไมขดี ไฟกลับมาเปนเหมือนเดิม
ได จึงเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได ดังนั้น ขอ 1. จึงเปน
คําตอบที่ถูกตอง)
การกลายเปนไอ การเผาไหม

T44
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ สํารวจคนหา
กÔ¨กรรÁ·ี่ 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช้
2. ครูแบงกลุมนักเรียนกลุมละ 3-4 คน (เกง
ปานกลาง และออน) โดยใหครูเปนผูเลือก
ดอกอัญชันเปลี่ยนสี 1. การสังเกต
นักเรียนเขากลุม จากนั้นใหแตละกลุมศึกษา
2. การทดลอง
3. การตั้งสมมติฐาน ขั้นตอนของการทํากิจกรรมที่ 1 ดอกอัญชัน
จุดประสงค 4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
เปลี่ยนสี จากหนังสือเรียนหนานี้
ทดลองและระบุการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผันกลับได้ 3. ครูใชวิธีสอนโดยใชการทดลอง (Experiment)
มาจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั่วโมงนี้ จากนั้น
ตองเตรียมตองใช
อธิบายจุดประสงคของการทํากิจกรรม และ
1. ดอกอัญชันสด 5 ดอก 6. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก ขั้นตอนในการทํากิจกรรม และระบุปญหาวา
2. แท่งแก้วคนสาร 2 อัน 7. หลอดหยด 3 อัน นํ้าดอกอัญชันเปลี่ยนสีไดหรือไม
3. น�้าเปล่า 250 มิลลิลิตร 8. น�้าสบู่ 250 มิลลิลิตร 4. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันตั้งสมมติฐาน
4. น�้ามะนาว 250 มิลลิลิตร 9. หลอดทดลอง 1 หลอด แล ว บั น ทึ ก ลงในสมุ ด หรื อ ลงในแบบฝ ก หั ด
5. บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 1 ใบ 10. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
5. นักเรียนแตละกลุม ชวยกันทํากิจกรรมที่ 1 ตาม
ลองทําดู
ขั้นตอนตางๆ ในหนังสือเรียน แลวบันทึกผล
1. แต่ละกลุ่มร่วมกันตั้งสมมติฐานว่า น�้าดอกอัญชันเปลี่ยนสีได้หรือไม่ แล้วบันทึกลงในสมุด ลงในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
2. ท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน โดยเทน�้าใส่บีกเกอร์ประมาณ 250 มิลลิลิตร เลม 2
แล้วต้มน�้าจนน�้าเดือด จากนั้นน�าดอกอัญชันสดใส่ลงไป เมื่อน�้าเปนสีน�้าเงินให้ดับไฟ 6. ครู ค อยสั ง เกตการทํ า กิ จ กรรมของนั ก เรี ย น
3. ใช้หลอดหยดดูดน�้าอัญชันที่เย็นแล้วใส่ลงในหลอดทดลอง สังเกตสีและบันทึกผล แตละกลุมอยางใกลชิด และใหคําแนะนํากับ
4. ใช้หลอดหยดดูดน�้ามะนาว จากนั้นหยดน�้ามะนาวลงในน�้าอัญชันที่อยู่ในหลอดทดลอง นักเรียนที่มีขอสงสัย
แล้วใช้แท่งแก้วคนสารคนน�้าอัญชัน สังเกตสีและบันทึกผล (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
5. ใช้หลอดหยดดูดน�้าสบู่ แล้วหยดลงในน�้าอัญชันที่ผ่านการทดลองในข้อ 4. จากนั้นใช้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
แท่งแก้วคนสารคนน�้าอัญชันสลับกับหยดน�้าสบู่ สังเกตสีและบันทึกผล
6. น�าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายและสรุปผล
แนวตอบ หนูตอบได
ขอ 2.
หนูตอบได • การเปลี่ ย นแปลงที่ ผั น กลั บ ได เพราะการ
1. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้แตกต่างกันอย่างไร เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดจะเห็นการเปลี่ยนแปลง
2. หากครูให้นักเรียนเลือกทดลองระหว่างการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้กับการเปลี่ยนแปลง กลับมาเปนสารเดิม จึงนาสนใจมากกวาการทดลอง
ที่ผันกลับไม่ได้ นักเรียนจะเลือกทดลองเกี่ยวกับเรื่องใด เพราะเหตุใด เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
• การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได เพราะจะได
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 41
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู เห็ น สารใหม ที่ เ กิ ด ขึ้ น จึ ง น า สนใจมากกว า การ
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได

เฉลย กิจกรรมที่ 1 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
วิธีสอนโดยใชการทดลอง (Experiment) เปนวิธีสอนที่มุงชวยใหผูเรียน
การทดลอง ผลการทดลอง
รายบุคคลหรือรายกลุมเกิดการเรียนรู โดยการเห็นประจักษจากการคิดและ
1. เทนํ้าดอกอัญชันลงในหลอดทดลอง นํ้าดอกอัญชันมีสีนํ้าเงิน การกระทําของตนเอง โดยเปนกระบวนการสอนที่ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
2. หยดนํา้ มะนาวลงในหลอดทดลองขอ 1. สีนํ้าเงินเปลี่ยนเปนสีมวง ตามวัตถุประสงค ซึ่งตองมีการกําหนดปญหาและสมมติฐานในการทดลอง
ตามขัน้ ตอนทีก่ าํ หนด โดยใชวสั ดุ-อุปกรณทจี่ าํ เปน เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะห
3. หยดนํ้าสบูลงในหลอดทดลองขอ 2. สีมวงเปลี่ยนกลับไปเปนสีนํ้าเงิน
ขอมูล อภิปรายและสรุปผลการทดลอง รวมทั้งสรุปผลการเรียนรูที่ไดรับจาก
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา นํา้ ดอกอัญชันสามารถเปลีย่ นสีกลับไปกลับมา การทดลอง ซึ่งมีขั้นตอนสําคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
ได แสดงวา การเปลี่ยนสีของนํ้าดอกอัญชันเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได 1. ผูสอน/ผูเรียนกําหนดปญหาและสมมติฐานในการทดลอง
2. ผูสอนใหความรูที่จําเปนตอการทดลอง เชน ขั้นตอนและรายละเอียด
ของการทดลอง
3. ผูเรียนลงมือทดลองตามขั้นตอน และบันทึกผล
4. ผูเรียนวิเคราะหและสรุปผลการทดลอง
5. ผูสอนและผูเรียนอภิปรายผลการทดลอง และสรุปผลการเรียนรู

T45
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมภายในกลุม
1.1 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารสามารถเปลี่ยนกลับเปนสารเดิมได้
ผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน โดยครูสุมจับ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ เช่น
สลากเลือกนักเรียนทีละกลุม
3. นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า การหลอมเหลว การกลายเปนไอ
กิจกรรมจนไดขอสรุปวา การเปลี่ยนแปลง
สี ข องนํ้ า ดอกอั ญ ชั น เป น การเปลี่ ย นแปลงที่
เมือ่ สสารทีอ่ ยูใ่ นสถานะของแข็ง เช่น เมื่อสสารที่อยู่ในสถานะของเหลว
ผันกลับได น�า้ แข็ง ถูกเพิม่ ความร้อนจนถึงระดับหนึง่ เช่ น น�้ า ถู ก เพิ่ ม ความร้ อ นไปจนถึ ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช จะเกิดการหลอมเหลวเปนน�้า เรียกว่า ระดับหนึ่งจะเปลี่ยนเปนไอน�้า เรียกว่า
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) การหลอมเหลว และเมื่อลดความร้อน การกลายเปนไอ และเมื่อลดความร้อน
จนถึ ง ระดั บ หนึ่ ง น�้ า จะกลั บ มาเป น จนถึงระดับหนึ่ง ไอน�้าจะกลับมาเปนน�้า
ขยายความเขาใจ
น�้าแข็งได้อีก เรียกว่า การแข็งตัว ได้อีก เรียกว่า การควบแน่น
1. ครูใหนักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได
จากหนังสือเรียน หนา 41 ลงในสมุดหรือทํา
ลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
2. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเพิ่มเติม จาก
หนังสือเรียน หนา 42-44 และศึกษาเพิ่มเติม
จากสื่อดิจิทัลในหนังสือเรียนหนานี้ โดยใหใช
โทรศัพทมือถือสแกน QR Code เรื่อง การ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได จากนั้นรวมกันสรุป
ความรูที่ไดจากการศึกษาภายในชั้นเรียน
ภาพที่ 5.47 การหลอมเหลวของน�้าแข็ง ภาพที่ 5.48 การกลายเปนไอของน�้า
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
นักเรียนคิดว่า การท�าไอศกรีมเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้หรือไม่ อย่างไร

42 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดเพิ่มเติม ตุยทดลองนําดางทับทิมผสมกับนํ้า กลายเปนนํ้าดางทับทิม
จากสื่อดิจิทัล โดยใหสแกน QR Code เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได จาก จากการทดลอง สารที่เกิดขึ้นสามารถเปลี่ยนกลับไปเปนสารเดิม
หนังสือเรียน หนา 42 ซึ่งจะปรากฏคลิปวิดีโอ ดังภาพตัวอยาง ไดหรือไม เพราะอะไร
1. ได เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
2. ได เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
3. ไมได เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
4. ไมได เพราะเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
( วิเคราะหคําตอบ นํ้ า ด า งทั บ ทิ ม สามารถเปลี่ ย นกลั บ ไปเป น
ดางทับทิมได เมื่อนําไประเหยนํ้าออก จึงเปนการเปลี่ยนแปลง
ที่ผันกลับได ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T46
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 5 ขัน้ สอน


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ขยายความเขาใจ

การละลาย การเปลีย่ นสีของนํา้ ดอกอัญชัน 3. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน


จากหนังสือเรียน หนา 42-43 ดังนี้
เมื่อน�าเกลือละลายในน�้าจะได้เปน เนื่องจากน�้าดอกอัญชันมีสีน�้าเงิน • นั ก เรี ย นคิ ด ว า การทํ า ไอศกรี ม เป น การ
สารละลาย หากมีการเปลี่ยนแปลงของ เมื่อผสมกับน�้ามะนาว จะท�าปฏิกิริยา เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดหรือไม อยางไร
อุณหภูมิ เช่น ให้ความร้อนแก่สารละลาย ท�าให้น�้าดอกอัญชันเปลี่ยนสีเปนสีม่วง (แนวตอบ เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
อุณหภูมิของสารละลายจะสูงขึ้นท�าให้ และเมื่อน�าน�้าดอกอัญชันสีม่วงผสมกับ เพราะเมื่อตั้งไอศกรีมทิ้งไวในอุณหภูมิหอง
น�้าระเหยออกไป แต่จะเหลือเกลือที่อยู่ น�้ า สบู ่ จะท� า ปฏิ กิ ริ ย าท� า ให้ เ ปลี่ ย นสี หรือเพิ่มความรอนใหกับไอศกรีมที่อยูใน
ในสถานะของแข็งเหมือนเดิม กลับมาเปนสีน�้าเงินเช่นเดิม สถานะของแข็งจนถึงระดับหนึ่ง จะทําให
เกิดการหลอมเหลวกลายไปเปนของเหลว
และเมื่อนําไอศกรีมที่หลอมเหลวแลวไปแช
ในชองแชแข็งหรือลดความรอนจนถึงระดับ
หนึ่ง ก็จะสามารถกลับไปเปนไอศกรีมใน
สถานะของแข็งไดเหมือนเดิม)
• พี่ชายของบีมไปเที่ยวทะเลนํานํ้าทะเลมา
ฝากบี ม 1 ขวด บี ม อยากได เ กลื อ จาก
ภาพที่ 5.49 เกลือ ภาพที่ 5.51 น�้าดอกอัญชันสีน�้าเงิน นํ้าทะเล บีมควรจะใชวิธีใดระหวางนําไป
ตากแดดใหนํ้าระเหยกับนําไปตมใหแหง
เพราะเหตุใด
(แนวตอบ นําไปตากแดดหรือนําไปตมใหแหง
ก็ได เพราะเปนการระเหยนํ้าออกจากเกลือ
ทั้ง 2 วิธี )
4. นักเรียนแตละคนเขียนคําตอบลงในสมุด
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ภาพที่ 5.50 นาเกลือ ภาพที่ 5.52 น�้าดอกอัญชันสีม่วง

¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
พีช่ ายของบีมไปเทีย่ วทะเลน�าน�า้ ทะเลมาฝากบีม 1 ขวด บีมอยากได้เกลือจากน�า้ ทะเล
บีมควรจะใช้วิธีใดระหว่างน�าไปตากแดดให้น�้าระเหยกับน�าไปต้มให้แห้ง เพราะเหตุใด
43

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การเกิดสนิมของเหล็กเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได ครูอาจอธิบายเกี่ยวกับการทํานาเกลือเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การทํา
ใชหรือไม เพราะอะไร นาเกลือจะใชวธิ กี ารแยกเกลือออกจากนํา้ ทะเล โดยการปลอยใหนาํ้ ทะเลระเหย
1. ไมใช เพราะเปนการเปลี่ยนสถานะของสสาร ออกไปใหเหลือนํ้านอยๆ จนถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ เมื่อเกลือไมสามารถละลาย
2. ไมใช เพราะเปนการละลายของสารในนํ้า ไดอีกก็จะตกผลึกออกมาเปนของแข็ง
3. ใช เพราะไมทําใหเกิดสารใหม
4. ใช เพราะทําใหกลับไปเปนสารเดิมไมได
(วิเคราะหคาํ ตอบ การเกิดสนิมทําใหเกิดสารใหม และไมสามารถ
ทําใหกลับไปเปนสารเดิมได เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T47
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. นักเรียนชวยกันยกตัวอยางการเปลี่ยนแปลง 1.2 การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดของสาร
ที่ผันกลับไมได ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
(แนวตอบ เชน การสุกของผลไมตางๆ การ สารบางชนิดเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงแลวไมสามารถกลับเปนสารเดิมได
เนาเสียของอาหาร) เรียกวา การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได เชน
6. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง
ที่ไดเรียนมาจากบทที่ 3 ในรูปแบบตางๆ เชน
การเผาไหม การเกิดสนิม
แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด การเผาไหม เปนการเปลี่ยนแปลง การเกิดสนิมเปนการเปลี่ยนแปลง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ทางเคมี เมือ่ สารเกิดการเผาไหมแลวจะ ทางเคมี เมื่อสารเกิดสนิมจะไมสามารถ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ไมสามารถกลับมาเปนสารเดิมได กลับมาเปนสารเดิมได

ภาพที่ 5.53 การเผาไหม ภาพที่ 5.54 การเกิดสนิม


กิจกรรม สรุปความรูป ระจําบทที่ 3
ตรวจสอบตนเอง
หลังเรียนจบบทนี้แลว ใหนักเรียนบอกสัญลักษณที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
เกณฑ
รายการ ดี พอใช ควรปรับปรุง

1. เขาใจเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
และผันกลับไมไดของสาร
2. สามารถทํากิจกรรมและอธิบายผลการทํากิจกรรมได
3. สามารถตอบคําถามจากกิจกรรมหนูตอบไดได
4. ทํางานกลุมรวมกับเพื่อนไดดี
5. นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได
44

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET


เมื่อเรียนจบบทนี้แลว ครูอาจตั้งคําถาม เพื่อถามนักเรียนเพิ่มเติม เชน ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการจุดธูป
• การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดคืออะไร 1. เปนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสาร
• เพราะอะไรการหลอมเหลวของนํ้าแข็งกอนจึงเปนการเปลี่ยนแปลงที่ 2. เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได
ผันกลับได 3. เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
• การนํ า ด า งทั บ ทิ ม ละลายในนํ้ า จนผสมเป น เนื้ อ เดี ย วกั น เป น การ 4. เปนการละลายของสารในนํ้า
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดหรือผันกลับไมได เพราะอะไร (วิเคราะหคําตอบ การจุดธูปจะไมสามารถทําใหธูปกลับมาเปน
เหมื อ นเดิ ม ได เป น การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี และเป น การ
เปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไมได ดังนัน้ ขอ 2. จึงเปนคําตอบทีถ่ กู ตอง)

T48
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน

ÊรØป ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 3 ขยายความเขาใจ
7. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ
ในหนังสือเรียนหนานี้
8. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูที่ได
จากการศึกษาขอมูล จากนั้นใหเพื่อนๆ ใน
การ
ละล
าย
ชั้นเรียนรวมกันเสริมในสวนที่บกพรอง
เช่น
9. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่
การหลอมเหลว 3 จากหนังสือเรียน หนา 46 เปนการบาน
หมาย
ค วา ม โดยทํ า ลงในสมุ ด หรื อ ทํ า ลงในแบบฝ ก หั ด
ว้
งแล วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 แลวนํามาสงครูใน
เม่อ
ื สารเกิดการเปลย ่ี นแปล ม ได้
สามารถ ็ นสารเดิ ชั่วโมงถัดไป
ั เป
่ นกลบ
เปลีย
10. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด
ขั้ น สู ง ลงในแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ป.5

ได้
นั ก เลม 2
ลบั
ท่
ผ ี
ลง 11. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรม
เปลยี ่ นแป
การ สร า งสรรค ผ ลงาน โดยให นั ก เรี ย นศึ ก ษา
มฐ ว. 2.1 ป.5/4 รายละเอียดในกิจกรรมสรางสรรคผลงาน
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ จากหนังสือเรียน หนา 47 จากนัน้ ใหนกั เรียน
และผันกลับไม่ได้ของสาร แตละกลุมรวมกันทํากิจกรรม แลวนําเสนอ
ผลงานหนาชั้นเรียน
กา 12. นักเรียนทําทบทวนทายหนวยการเรียนรูท่ี 5
รเป
ลย
ี่ นแปลงทีผ
่ น
ั กลับไม่ได้ การเปลี่ยนแปลง ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
เชน ป.5 เลม 2
ความหมาย
่ ิ สนิม
การเกด 13. ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน หนวย
ว้ าร
แล การเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง
ปลง มิ ไ เผา

ด้


ย ี นแ ด ไหม
ิ การเปล
เมื่อสารเกด ารเ ้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ล ั
บ เป็นส
่ี นก

ไม่สามารถเปล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

45

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดไดถูกตอง หลังเรียนจบหนวยการเรียนรู ครูสามารถใชแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการ
1. การละลายของสารในนํา้ ไมใชการเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับได เรียนรูท ี่ 5 การเปลีย่ นแปลง จากทายแผนการจัดการเรียนรูข องหนวยการเรียนรู
2. เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแลวกลับมาเปนสารเดิมได ที่ 5 ได เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน ดังภาพตัวอยาง
3. การสุกของผลไมเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได
4. เกิดจากการเปลี่ยนสถานะของสสารเทานั้น
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลี่ยนแปลง

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดี ยว

(วิเคราะหคําตอบ การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได คือ เมื่อสารเกิด 1. สารข้อใด ไม่สามารถละลายน้้าได้


1) เกลือ
2) แอลกอฮอล์
3) ลูกเหม็น
6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ
ของสสาร
1) การสุกของผลไม้
2) การเผาไหม้

การเปลี่ยนแปลงแลวกลับมาเปนสารเดิมได เชน การละลายของ 4) แก๊สออกซิเจน


2. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1) ผงตะไบเหล็กละลายน้้าได้
2) สีผสมอาหารละลายน้้าได้
3) การควบแน่น
4) การเกิดสนิม
7. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร
1) ไม่เกิดสารใหม่

สารในนํ้า การหลอมเหลว การกลายเปนไอ สวนการสุกของผลไม 3) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายน้้าได้


4) ตัวท้าละลาย + ตัวละลาย = สารละลาย
3. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ
ของสสาร
2) เมื่อสารเปลี่ยนแปลงแล้วกลับคืนสู่สภาพเดิมไม่ได้
3) สารที่เปลี่ยนแปลงมีสมบัติคงเดิม
4) เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายนอกของสาร
8. การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร สามารถสังเกตได้จาก

เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบ


1) การสุกของผลไม้ สิ่งต่อใดต่อไปนี้
2) การเกิดสนิม 1) การเกิดตะกอน
3) การเผาไหม้ 2) สารมีสีต่างจากเดิม
4) การควบแน่น 3) การเกิดฟองแก๊ส

ที่ถูกตอง)
4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่สถานะของสสาร 4) ถูกทุกข้อ
1) แก๊ส 9. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผันกลับได้ของสาร
2) ของหนืด 1) การสุกของสตอว์เบอร์รี่
3) ของเหลว 2) การเกิดสนิมของเหล็ก
4) ของแข็ง 3) การเปลี่ยนสีของดอกอัญชัน
5. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 4) การเผาไหม้กระดาษ
ของสาร 10. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ผันกลับได้
1) การเกิดฝน 2) การเผาไหม้ 1) การละลาย 2) การกลายเป็นไอ
3) การเกิดสนิม 4) การสุกของผลไม้ 3) การหลอมเหลว 4) ถูกทุกข้อ

เฉลย 1. 3) 2. 1) 3. 4) 4. 2) 5. 1) 6. 3) 7. 2) 8. 4) 9. 3) 10. 4)

T49
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
กิจกรรม º··ี่ 3
1. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้น
ใหสรุปความรูจากการเรียนบทที่ 3 จนได
ฝกทักษะ
ขอสรุปวา การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดของ 1. ตอบคําถามต่อไปนี้
สาร คือ การที่สารเกิดการเปลี่ยนแปลงแลว 1) การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้คืออะไร
สามารถเปลี่ยนกลับเปนสารเดิมได เชน การ
หลอมเหลว การกลายเปนไอ การเปลี่ยนสี
2) การเปลี่ยนสถานะของน�้าเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ของนํ้าดอกอัญชัน สวนการเปลี่ยนแปลงที่ 3) ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ในชีวิตประจ�าวัน
ผันกลับไมไดของสาร คือ การที่สารเกิดการ มาอย่างน้อย 2 ตัวอย่าง
เปลี่ยนแปลงแลว ไมสามารถเปลี่ยนกลับเปน
2. ดูข้อมูล แล้วระบุว่าข้อใดกล่าวถูกหรือผิด
สารเดิมได เชน การเผาไหม การสุกของผลไม
การเกิดสนิม
2. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จาก สุภาพรทดลอง โดยแช่แท่งเหล็ก
หนังสือเรียน หนา 44 จากนั้นถามนักเรียน แท่งเหล็ก ประมาณครึ่งแท่งไว้ในน�้าสะอาดเปน
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ เวลา 1 สัปดาห์ แล้วน�าแท่งเหล็ก
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน มาตั้งทิ้งไว้ในด้านนอกอีก 1 สัปดาห์
น�้าสะอาด สุภาพรพบว่า แท่งเหล็กเกิดสนิมเปน
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ จ�านวนมาก
ขอ 1.
1) คือ การเปลี่ยนแปลงของสารที่เมื่อเกิดการ
เปลีย่ นแปลงแลว สามารถเปลีย่ นกลับเปนสารเดิมได
1) แท่งเหล็กไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้
2) เปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได เพราะเมื่อ
นํ้าเกิดการเปลี่ยนสถานะแลว เราสามารถทําใหนํ้า 2) จากข้อมูลเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
เปลี่ยนกลับไปเปนสถานะเดิมได 3) การเกิดสนิมของแท่งเหล็กเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้
3) ตัวอยางคําตอบ ตัวอยางการเปลี่ยนแปลงที่ 4) การเกิดสนิมเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้เช่นเดียวกับการเผาไหม้
ผันกลับได เชน นํ้าแข็งหลอมเหลวเปนนํ้า นํ้ากลาย 5) การเกิดสนิมเปนการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้เช่นเดียวกับการหลอมเหลว
เปนไอนํ้า ของสสาร
ตัวอยางการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมได เชน
จุดประทัด เหล็กมีสนิมเกิดขึ้น กิจกรรม ทาทายการคิดขัน้ สูง

ขอ 2.
46
1) ถูก 2) ถูก 3) ถูก
4) ผิด 5) ผิด

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ การกลายเปนไอของนํา้ เปนการเปลีย่ นแปลงในขอใด เพราะเหตุใด
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและผันกลับไมไดของสาร คนละ 1 คําถาม 1. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได เพราะสามารถทําใหไอนํ้า
จากนั้นครูสุมเรียกใหนักเรียนบอกคําถามของตนเอง แลวใหเพื่อนคนอื่นๆ ใน กลับเปนหยดนํ้าได
ชั้นเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นวา จะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรตอบคําถาม 2. การเปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไมได เพราะนํา้ ระเหยกลายเปนไอ
นีไ้ ดอยางไร โดยครูทาํ หนาทีเ่ ปนผูช แี้ นะและสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียน แลวหายไป
อยางใกลชิด 3. การเปลี่ยนสถานะของสสาร เพราะทําใหเกิดสารใหม
การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา) 4. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะทําใหเกิดสารใหม
เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน (วิเคราะหคําตอบ การกลายเปนไอของนํ้า เปนการเปลี่ยนแปลงที่
เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร ผันกลับได เพราะเมื่อลดความรอนใหกับไอนํ้าจนถึงระดับหนึ่ง
ไอนํ้าจะกลายเปนหยดนํ้าเหมือนเดิมได และเปนการเปลี่ยน
สถานะของสสาร แตไมทําใหเกิดสารใหม ดังนั้น ขอ 1. จึงเปน
คําตอบที่ถูกตอง)

T50
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
ทักÉะแห่งÈตวรรÉที่ 21
✓การสื่อสาร ✓ ความร่วมมือ การแก้ปญหา
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ
✓การสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
✓การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา
กิจกรรม เสนอหนาชั้นเรียน
สร้างสรรคผลงาน 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมนําสูการเรียน
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
แบงกลุม แลวชวยกันสํารวจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ เลม 2
ผันกลับไดของสารหรือการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดของสาร 3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน จากนั้นรวบรวมขอมูลและจัดทําเปน ดอกอั ญ ชั น เปลี่ ย นสี ในสมุ ด หรื อ ตรวจใน
ใบความรู พรอมตกแตงใหสวยงาม และนําเสนอผลงาน แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
หนาชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกัน 4. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ตัวอย่าง ผลงาน¢Íง©ัน 5. ครูตรวจสอบผลการสรุปความรูเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและผันกลับไมได
ของสารจากสมุด
6. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 3
ใบความรู้ ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสาร เลม 2
เมื่อสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารสามารถเปลี่ยนกลับ 7. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการ
เปนสารเดิมได้ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ เช่น คิ ด ขั้ น สู ง ในแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ป.5
1. การหลอมเหลว 2. การกลายเปนไอ เลม 2
8. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงานใบความรู เรื่อง การ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดของสารหรือการ
เปลีย่ นแปลงทีผ่ นั กลับไมไดของสาร และการ
นําเสนอชิ้นงาน/ผลงานหนาชั้นเรียน
9. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทบทวนทาย
ภาพที่ 5.55 ตัวอย่างใบความรู้ หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง ใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
10. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลง
47

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ครู ส ามารถวั ด และประเมิ น ผลชิ้ น งาน/ผลงานใบความรู  เรื่ อ ง การ
2. ชวยกันสํารวจสารที่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดที่อยูใน เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดของสารหรือการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไมไดของสาร
ชีวิตประจําวัน โดยศึกษาเกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมินชิ้นงาน/ผลงานที่แนบมาทาย
3. นําขอมูลที่ไดจัดทําในรูปแบบตางๆ ที่หลากหลาย เพื่อนําเสนอ แผนการจัดการเรียนรูข องหนวยการเรียนรูท ี่ 5 การเปลีย่ นแปลง ดังภาพตัวอยาง
ผลงาน เชน แผนภาพ ตาราง โดยแบงหนาที่ความรับผิดชอบ
เกณฑ์การประเมินใบความรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสารหรือการเปลี่ยนแปลง

ของสมาชิกแตละคนใหชัดเจน
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 6)
ที่ผันกลับไม่ได้ของสาร (แผนฯ ที่ 6)
แบบประเมินใบความรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ของสารหรือการเปลี่ยนแปลงที่ผัน
คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
กลับไม่ได้ของสาร รายการประเมิน

4. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนดวยวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. ใบความรู้/การสร้าง ตกแต่งใบความรู้ได้ ตกแต่งใบความรู้ได้ ตกแต่งใบความรู้ได้
ระดับคุณภาพ
ผลงาน สวยงาม สวยงาม สวยงาม มีความคิด
ลาดับที่ รายการประเมิน 3 2 1
มีความคิดสร้างสรรค์ดี มีความคิดสร้างสรรค์ดี สร้างสรรค์ ทางาน

เพื่อใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น
(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง) มาก ทางานสะอาดและ ทางานสะอาดและ สะอาดและเรียบร้อย
1 ใบความรู้/การสร้างผลงาน เรียบร้อยดีมาก เรียบร้อยดี น้อย
2 ความสมบูรณ์ของเนื้อหา 2. ความสมบูรณ์ของ สารวจการเปลี่ยนแปลงที่ สารวจการเปลี่ยนแปลงที่ สารวจการเปลี่ยนแปลง
3 ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหา ผันกลับได้ของสารหรือ ผันกลับได้ของสารหรือ ที่ผันกลับได้ของสารหรือ
4 กาหนดเวลาส่งงาน การเปลี่ยนแปลงที่ผัน การเปลี่ยนแปลงที่ผัน การเปลี่ยนแปลงที่ผัน
รวม กลับไม่ได้ของสารที่ กลับไม่ได้ของสารที่ กลับไม่ได้ของสารที่
เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน มากกว่า 15 ตัวอย่าง 10 - 15 ตัวอย่าง น้อยกว่า 10 ตัวอย่าง
............./.................../.............. 3. ความถูกต้องของ จาแนกการเปลี่ยนแปลง จาแนกการเปลี่ยนแปลง จาแนกการเปลี่ยนแปลง
เนื้อหา ที่ผันกลับได้และการ ที่ผันกลับได้และการ ที่ผันกลับได้และการ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับ เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับ เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับ
ไม่ได้ของสารได้ถูกต้อง ไม่ได้ของสารได้ถูกต้อง ไม่ได้ของสารได้ถูกต้อง
ครบถ้วน บ้าง น้อยมาก
4. กาหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-12 ดีมาก
9-10 ดี
6-8 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง

T51
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. เปรียบเทียบ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
แหล่งน�้ำบนโลก - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ปริมาณน�ำ้ ใน หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ป.5 เล่ม 2 แต่ละแหล่งได้ (K) (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. ให้ความร่วมมือ Instructional - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง
ป.5 เล่ม 2 ในการท�ำกิจกรรม Model) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน อ้างอิง
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง กลุ่ม (A) รายบุคคล - ทักษะการรวบรวม
กิจกรรมที่ 1 - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ข้อมูล
- แผนที่โลก - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการท�ำงาน
- PowerPoint ร่วมกัน
- แผนภาพแหล่งน�้ำต่าง ๆ
- ลูกอมสีต่าง ๆ
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. ระบุปริมาณน�ำ้ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


ประโยชน์ของน�้ำ ป.5 เล่ม 2 ที่มนุษย์สามารถ หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ น�ำมาใช้ประโยชน์ (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
1 ป.5 เล่ม 2 ได้ (K) Instructional - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง
- กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ 2. ให้ความร่วมมือ Model) รายบุคคล อ้างอิง
- แผนภาพน�้ำตก แม่นำ�้ ในการท�ำกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการรวบรวม
ทะเล กลุ่ม (A) - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อมูล
- PowerPoint - ทักษะการท�ำงาน
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน ร่วมกัน

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. น�ำเสนอแนวทาง - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


คุณค่าของน�้ำ ป.5 เล่ม 2 ในการใช้น�้ำอย่าง หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ประหยัดและการ (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
1 ป.5 เล่ม 2 อนุรักษ์น�้ำได้ (K) Instructional - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 2. ให้ความร่วมมือ Model) - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน อ้างอิง
กิจกรรมที่ 2 ในการท�ำกิจกรรม (เครื่องกรองน�้ำเสีย) - ทักษะการรวบรวม
- PowerPoint กลุ่ม (A) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน ข้อมูล
- สื่อดิจิทัล (QR Code รายบุคคล - ทักษะการท�ำงาน
การใช้น�้ำอย่างประหยัด) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ร่วมกัน
- แปรงสีฟัน - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- แก้ว
- ลูกบอล
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

T52
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายการเกิด - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเกิดเมฆ ป.5 เล่ม 2 เมฆและหมอกได้ หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
หมอก - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ (K) (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 ป.5 เล่ม 2 2. ทดลองเกี่ยวกับ
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง การเกิดเมฆและ
Instructional
Model)
- ตรวจใบงาน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 1 หมอกได้ (P) รายบุคคล - ทักษะการรวบรวม
- ใบงาน เรื่อง เมฆและ 3. ให้ความร่วมมือ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ข้อมูล
หมอก ในการท�ำกิจกรรม - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการท�ำงาน
- PowerPoint กลุ่มและมีความ ร่วมกัน
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน รับผิดชอบในการ
ส่งงานตรงเวลา
(A)
แผนฯ ที่ 5 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายการเกิด - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเกิดน�้ำค้าง ป.5 เล่ม 2 น�้ำค้างและ หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
และน�้ำค้างแข็ง - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ น�ำ้ ค้างแข็งได้ (K) (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมัน่ ใน
2 ป.5 เล่ม 2
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง
2. ทดลองเกี่ยวกับ Instructional
น�้ำค้างและ Model)
- ตรวจใบงาน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 2 น�ำ้ ค้างแข็งได้ (P) รายบุคคล - ทักษะการรวบรวม
- ใบงาน เรื่อง น�ำ้ ค้าง 3. ให้ความร่วมมือ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ข้อมูล
และน�้ำค้างแข็ง ในการท�ำกิจกรรม - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการท�ำงาน
- PowerPoint กลุ่ม (A) ร่วมกัน
- ภาพน�้ำค้างและ
น�้ำค้างแข็ง
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน
แผนฯ ที่ 6 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. เปรียบเทียบการ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเกิดเมฆ ป.5 เล่ม 2 เกิดเมฆ หมอก หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
หมอก น�้ำค้าง - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ น�ำ้ ค้าง และน�ำ้ แข็ง (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
และน�้ำค้างแข็ง ป.5 เล่ม 2 จากแบบจ�ำลองได้ Instructional - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
1 - ภาพเมฆ หมอก น�้ำค้าง (K)
และน�้ำค้างแข็ง 2. มีความรับผิดชอบ
Model) รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
อ้างอิง
- ทักษะการรวบรวม
ชั่วโมง
- กระดาษแข็ง ในการส่งงาน - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อมูล
- ปากกาเคมี ตรงเวลา (A) - ทักษะการท�ำงาน
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน ร่วมกัน

T53
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 7 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายการเกิด - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การเกิด ป.5 เล่ม 2 หยาดน�ำ้ ฟ้าได้ (K) หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
หยาดน�้ำฟ้า - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. เปรียบเทียบ (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
3 ป.5 เล่ม 2 กระบวนการ
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง เกิดฝน หิมะ และ
Instructional
Model)
- ตรวจใบงาน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 3 ลูกเห็บได้ (P) รายบุคคล - ทักษะการรวบรวม
- ใบงาน เรื่อง หยาดน�ำ้ ฟ้า 3. แสดงความสนใจ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ข้อมูล
- PowerPoint และมีความ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการท�ำงาน
- สื่อดิจิทัล (QR Code กระตือรือร้นในการ ร่วมกัน
กระบวนการเกิดฝน) ท�ำกิจกรรม (A)
- ภาพข่าวลูกเห็บตก
ภาพข่าวฝนตกหนัก
และภาพข่าวหิมะตก
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

แผนฯ ที่ 8 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายการ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


วัฏจักรน�้ำ - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หมุนเวียนของน�้ำ หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ป.5 เล่ม 2 ในวัฏจักรน�ำ้ ได้ (K) (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
3 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ 2. เปรียบเทียบ Instructional - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง
ป.5 เล่ม 2 กระบวนการเกิดฝน Model) - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน อ้างอิง
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง หิมะ และลูกเห็บได้ - ตรวจชิ้นงาน/ผลงาน - ทักษะการรวบรวม
กิจกรรมที่ 4 (P) (จิกซอว์การเกิดวัฏจักรน�้ำ) ข้อมูล
- PowerPoint 3. แสดงความสนใจ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการท�ำงาน
- ภาพแหล่งน�้ำ ภาพฝนตก และมีความ รายบุคคล ร่วมกัน
และภาพดวงอาทิตย์ กระตือรือร้นในการ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน ท�ำกิจกรรม (A) - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

T54
Chapter Concept Overview
หนวยการเรียนรูที่ 6
แหลงนํ้าเพื่อชีวิต
1. แหลงน�้ำบนโลก
น�า้ บนโลกมีปริมาณมากกว่าพืน้ ดิน หากก�าหนดให้พนื้ ทีโ่ ลก แหล่งน�้าบนโลกมีทั้งน�้าเค็มและน�้าจืด ถ้าสมมติให้น�้าบนโลก
ทั้งหมดมี 4 ส่วน จะมีน�้า 3 ส่วน และมีพื้นดิน 1 ส่วน มีทั้งหมด 100 ส่วน พบว่า น�้าประมาณ 97.5 ส่วน เป็นน�้าเค็ม
และอีกประมาณ 2.5 ส่วน เป็นน�้าจืด
แหล่งน�้าผิวดิน เช่น น�้าจืด 2.5 ส่วน
ทะเล แม่น�้า จากแหล่งน�้าจืดทั้งหมด
มนุษย์สามารถน�าน�้าจืด
พื้นดิน มาใช้ประโยชน์ในการ
1 ส่วน
อุปโภคและบริโภคได้
พื้นน�้า
3 ส่วน บางส่วนเท่านั้น
น�้าเค็ม
97.5 ส่วน
แหล่งน�้าใต้ดิน เช่น
น�้าบาดาล น�้าในดิน
เปรียบเทียบปริมาณพื้นดินและพื้นน�้าบนโลก เปรียบเทียบปริมาณน�้าเค็มและน�้าจืดบนโลก

2. กำรประหยัดน�้ำและกำรอนุรักษน�้ำ
น�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ในการอุปโภคและบริโภคมีปริมาณน้อยมาก ดังนั้น เราจึงควรช่วยกันประหยัดและอนุรักษ์น�้า ดังนี้
µÑÇÍ‹ҧ ¡ÒÃ㪌¹íéÒÍ‹ҧ»ÃÐËÂÑ´áÅФ،Á¤‹Ò

ปดกอกน�้าให้สนิทหลังใช้งาน ใช้ภาชนะรองน�้าขณะแปรงฟัน
โดยไม่เปดน�้าทิ้งไว้
µÑÇÍ‹ҧ ¡ÒÃ͹ØÃѡɏ¹íéÒ

ช่วยกันปลูกป่า ไม่ทิ้งขยะและสารพิษลงในแหล่งน�้า

T55
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
1. เมฆ หมอก น�้ำค้าง และน�้ำค้างแข็ง
1) เมฆ
เมฆ เกิดจากไอน�้ำในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�้ำขนาดเล็ก
จ�ำนวนมาก โดยมีละอองลอย เช่น ฝุ่นละออง เป็นอนุภาคแกนกลาง
เมื่อละอองน�้ำจ�ำนวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูงจากพื้นดินมาก
เรียกว่า เมฆ

2) หมอก
หมอก เกิดจากไอน�้ำในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�้ำขนาดเล็ก
จ�ำนวนมาก โดยมีละอองลอย เช่น ฝุ่นละออง เป็นอนุภาคแกนกลาง
เมื่อละอองน�้ำจ�ำนวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่ใกล้พ้ืนดินมาก
เรียกว่า หมอก

3) น�้ำค้าง
น�้ำค้าง เกิดจากไอน�้ำบริเวณใกล้พื้นดินควบแน่นเป็นละอองน�้ำ
เกาะอยู่บนพื้นผิวของวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ พื้นดิน

4) น�้ำค้างแข็ง
น�้ำค้างแข็ง เกิดจากไอน�้ำบริเวณใกล้พื้นดินควบแน่นกลายเป็น
ละอองน�้ำเกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกล้พื้นดิน
ต�่ำกว่าจุดเยือกแข็ง

T56
2. หยำดน�้ำฟำ คือ น�้ำในสถำนะตำง ๆ ที่ตกจำกฟำลงมำสูพื้นโลก เชน ฝน หิมะ ลูกเห็บ
1) ฝน
ฝน เกิดจากไอน�้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�้าขนาดเล็ก
จ�านวนมาก โดยมีละอองลอย เช่น ฝุ่นละออง เป็นอนุภาคแกนกลาง
เมื่อละอองน�้าจ�านวนมากเกาะกลุ่มรวมกันจนอากาศไม่สามารถพยุง
ไว้ได้ จึงตกลงสู่พื้นโลกในลักษณะที่เป็นของเหลว

2) หิมะ
หิมะ เกิดจากไอน�้าในอากาศระเหิดกลับเป็นผลึกน�้าแข็ง จากนั้น
รวมตัวกันจนหนักมาก และเมือ่ ตกลงมาในเขตอากาศเย็นจะตกลงมา
ถึงพื้นโลกเป็นหิมะ

3) ลูกเห็บ
ลูกเห็บ เกิดจากหยดน�้าเปลี่ยนเป็นน�้าแข็ง แล้วถูกพายุพัดวนใน
เมฆฝนฟ้าคะนอง จนหยดน�า้ กลายเป็นก้อนน�า้ แข็ง แล้วตกลงพืน้ โลก

3. วัฏจักรน�้ำ
กำรเกิดวัฏจักรน�้ำ
2) ไอน�้าควบแน่นเป็นละอองน�้าเล็ก ๆ และรวมตัวเป็นเมฆ

1) น�้าในแหล่งน�้าต่าง ๆ ได้รับ 3) เมือ่ ละอองน�า้ ในเมฆมีจา� นวน


ความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ มากขึน้ จนอากาศไม่สามารถ
แล้วระเหยเป็นไอน�้าลอยขึ้น รับน�้าหนักหรือพยุงไว้ได้จะ
ไปในอากาศ ตกลงมาเป็นฝน

4) น�้าฝนไหลกลับสู่แหล่งน�้าต่าง ๆ หรือซึมลงใต้ดิน
T57
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

6
กระตุน ความสนใจ หน่วยการเรียนรู้ที่
1. ครูทักทายกับนักเรียน จากนั้นแจงจุดประสงค
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ แหล่งน�ำ้ และลมฟ้ำอำกำศ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย
การเรียนรูท ี่ 6 เรือ่ ง แหลงนํา้ และลมฟาอากาศ โลกของเรามี น�้ า ปกคลุ ม เป็ น ส่ ว นใหญ่ ข อง
3. ครูใหนักเรียนอานสาระสําคัญและดูภาพ จาก พื้ น ผิ ว โลกทั้ ง หมด โดยมี ทั้ ง แหล่ ง น�้ า เค็ ม และ
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 หนานี้ แหล่งน�้าจืด ซึ่งน�้ามีความส�าคัญต่อการด�ารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิต เราจึงต้องใช้น�้าอย่างประหยัดและ
และครูอาจนําบัตรภาพแหลงนํ้าอื่นๆ มาให คุ้มค่า
นักเรียนดูประกอบ จากนั้นถามนักเรียนวา ในบรรยากาศมีไอน�้าเป็นส่วนประกอบส�าคัญ
ภาพใดเปนภาพแหลงนํ้าจืดและภาพใดเปน จึ ง ท� า ให้ ส ภาพอากาศเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงอยู ่
ตลอดเวลา
ภาพแหลงนํ้าเค็ม แลวใหนักเรียนทุกคนแสดง วัฏจักรน�า้ เกิดจากการหมุนเวียนอย่างต่อเนือ่ ง
ความคิดเห็นรวมกัน ระหว่างน�้าในบรรยากาศ น�้าผิวดิน และน�้าใต้ดิน
(แนวตอบ คําตอบขึน้ อยูก บั บัตรภาพทีค่ รูนาํ มา)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ตัวชี้วัด
1. เปรียบเทียบปริมาณน�้าในแต่ละแหล่ง และระบุปริมาณน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูลที่รวบรวมได้
(มฐ. ว 3.2 ป.5/1)
2.ตระหนักถึงคุณค่าของน�้าโดยน�าเสนอแนวทางการใช้น�้าอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น�้า (มฐ. ว 3.2 ป.5/2)
3.สร้างแบบจ�าลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน�้าในวัฏจักรน�้า (มฐ. ว 3.2 ป.5/3)
4.เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น�้าค้าง และน�้าค้างแข็ง จากแบบจ�าลอง (มฐ. ว 3.2 ป.5/4)
5.เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ (มฐ. ว 3.2 ป.5/5)

เกร็ดแนะครู
กอนเขาสูบทเรียน ครูสามารถใชแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรู
ที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ จากทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการ
เรียนรูที่ 6 ได เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียน ดังภาพตัวอยาง
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

ค้าชีแจง : ให้นักเรียนเลือกค้าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไม่ใช่แหล่งน้้าผิวดิน 6. เมื่อไอน้้ากระทบความเย็นจะเกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างไร


1) คลอง 1) ลอยขึ้นไปในอากาศ
2) ทะเล 2) เป็นไอน้้าเหมือนเดิม
3) น้้าบาดาล 3) รวมตัวกลายเป็นน้้าแข็ง
4) มหาสมุทร 4) ควบแน่นกลายเป็นหยดน้้า
2. ลักษณะอากาศในข้อใดท้าให้แหล่งน้้าตามธรรมชาติ 7. ลมมีผลต่อการเกิดวัฏจักรน้้าอย่างไร
ระเหยได้เร็วที่สดุ 1) ช่วยให้น้าไหลกลับสู่แหล่งน้้า
1) ฝนตก 2) ช่วยให้ไอน้้ากลายเป็นหยดน้้าเร็วขึ้น
2) มีหมอก 3) ช่วยให้ไอน้้าควบแน่นกลายเป็นหยดน้้า
3) ร้อนจัด 4) ช่วยพัดพาไอน้้าในอากาศไป ท้าให้น้าระเหยได้เร็วขึ้น
4) หนาวจัด 8. ข้อใดคือแหล่งน้้าที่มนุษย์ไม่สามารถน้ามาอุปโภคและบริโภคได้
3. เมฆแตกต่างจากหมอกอย่างไร 1) มหาสมุทร
1) เมฆเป็นไอน้้า หมอกเป็นหยดน้้า 2) ล้าธาร
2) เมฆเป็นละอองน้้า หมอกเป็นไอน้้า 3) แม่น้า
3) เมฆเกิดตอนเย็น หมอกเกิดตอนเช้า 4) บึง
4) เมฆเกิดในระดับสูง หมอกเกิดในระดับต่้าใกล้ 9. ใครใช้น้าอย่างประหยัด
พื้นดิน 1) นุ่มล้างจานจากก๊อกน้้าโดยตรง
4. หากก้าหนดให้น้าบนโลกมี 100 เปอร์เซ็นต์ ข้อใดคือ 2) ออฟปิดก๊อกน้้าให้สนิทหลังใช้งาน
ปริมาณของน้้าจืด 3) แหวนอาบน้้าโดยใช้ขันตักน้้าแทนการใช้ฝักบัว
1) 2.5 เปอร์เซ็นต์ 4) นุ้ยน้าน้้าสุดท้ายของการซักผ้าไปทิ้งลงท่อระบายน้า้
2) 25.5 เปอร์เซ็นต์ 10. วีรพงษ์สังเกตเห็นหยดน้้าบนใบไม้ในตอนเช้าทั้ง ๆ ที่ไม่มีฝนตก
3) 75.5 เปอร์เซ็นต์ นักเรียนคิดว่า หยดน้้าที่วีรพงษ์สังเกตเห็น คือ สิ่งใด
4) 97.5 เปอร์เซ็นต์ 1) หิมะ
5. ปรากฏการณ์ใดที่มีสถานะเป็นของแข็ง
2) น้้าค้าง
1) เมฆ
3) ลูกเห็บ
2) ลูกเห็บ
3) หมอก 4) แม่คะนิ้ง
4) น้้าค้าง

เฉลย 1. 3) 2. 3) 3. 4) 4. 1) 5. 2) 6. 4) 7. 4) 8. 1) 9. 2) 10. 2)

T58
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

บทที่ 1 แหล่งน�้ำà¾×èอชีวÔต 4. ครูใหนักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 1 แหลงนํ้า


เพื่อชีวิต จากหนังสือเรียนหนานี้ และถาม
ÈѾทน‹ารู้ คําถามสําคัญประจําบทวา นักเรียนคิดวา นํ้า
คําศัพท คําอาน คําแปล มีความสําคัญกับมนุษยหรือไม อยางไร แลว
sea ซี ทะเล ใหนักเรียนชวยกันอธิบายคําตอบอยางอิสระ
freshwater 'เฟรชวอเทอ แหลงนํ้าจืด (แนวตอบ นํ้ามีความสําคัญตอมนุษย เพราะนํ้า
marine มะ'รีน แหลงนํ้าเค็ม มีความจําเปนในการดํารงชีวติ ของมนุษยทงั้ ใน
ดานอุปโภคและบริโภค)
5. นั ก เรี ย นร ว มกั น อ า นคํ า ศั พ ท ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ
แหลงนํ้าเพื่อชีวิต จากหนังสือเรียนหนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

marine

freshwater sea

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò
¹íéÒÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ
? ¡ÑºÁ¹ØɏËÃ×ÍäÁ‹
Í‹ҧäÃ

49

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดคือแหลงนํ้าใตดินทั้งหมด นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. ทะเล บึง คําศัพท คําอาน คําแปล
2. คลอง แมนํ้า
3. ทะเล มหาสมุทร sea ซี ทะเล
4. นํ้าในดิน นํ้าบาดาล freshwater 'เฟรชวอเทอ แหลงนํ้าจืด
(วิเคราะหคําตอบ ทะเล มหาสมุทร บึง คลอง และแมนํ้า เปน marine มะ'รีน แหลงนํ้าเค็ม
แหลงนํ้าผิวดิน สวนนํ้าในดินและนํ้าบาดาล เปนแหลงนํ้าใตดิน underground water อันเดอเกรานด 'วอเทอ นํ้าใตดิน
ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
ground water เกรานด 'วอเทอ นํ้าบาดาล
water conservation วอเทอ ค็อนเซอ'เวชัน การอนุรักษนํ้า

T59
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
6. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมนําสูก ารเรียน โดย
ศึกษาภาพและขอมูล จากหนังสือเรียนหนานี้
¡Ôจ¡รรม
จากนั้ น ตอบคํ า ถามลงในสมุ ด หรื อ ทํ า ลงใน
น�าสู¡‹ ารเรีÂน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 ÈÖ¡ÉÒÀÒ¾ áŌǵͺ¤íÒ¶ÒÁ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ก ใช้น�้าประมาณ 30 ลิตร ข ใช้น�้าประมาณ 60 ลิตร
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ค ใช้น�้าประมาณ 1-2 ลิตร ง ใช้น�้าประมาณ 3-5 ลิตร

1. ¹Ñ¡àÃÕ¹¨ÐàÅ×Í¡»¯ÔºÑµÔµÒÁÀҾ㴺ŒÒ§ à¾ÃÒÐÍÐäÃ
แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน
1. ภาพ ก และภาพ ค เพราะเปนภาพการใชนํ้า 2. ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò 㹪ÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹàÃÒÊÒÁÒö㪌¹íéÒ·íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁã´ä´ŒºŒÒ§
อยางประหยัด 3. 㹪ÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹàÃÒÊÒÁÒö㪌¹íéÒÍ‹ҧ»ÃÐËÂѴ䴌͋ҧäúŒÒ§
2. ตัวอยางคําตอบ รดนํ้าตนไม ลางจาน ลางรถ
ลางผัก ซักผา ใชดื่ม
3. ตัวอยางคําตอบ ปดนํา้ ใหสนิทหลังใชงาน สํารวจ
50
ทอนํ้าภายในบานเปนประจํา รวบรวมเสื้อผาให
มีจํานวนเยอะๆ ตอการซัก 1 ครั้ง

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา นํ้าเปนสสารที่พบไดทั้งที่เปน ใครคือผูที่เราควรปฏิบัติตามมากที่สุด
ของแข็ง ของเหลว และแกส ซึ่งเรามักคุนเคยกับนํ้าในสถานะของเหลว เพราะ 1. นัน ไมเตือนเพื่อนที่เปดนํ้าทิ้งไว
เราสามารถนํามาใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ดื่ม ประกอบอาหาร 2. แนน สอนนองสาวใหเปดนํ้าใหแรงที่สุด
3. นีน ชวยคุณแมนํานํ้าสุดทายของการซักผาไปทิ้ง
4. นัท ชวยพอเดินสํารวจทอนํ้าในบริเวณบานเปนประจํา
(วิเคราะหคําตอบ ควรปฏิบัติตามนัท เพราะหากพบทอนํ้าชํารุด
จะไดแจงซอมทันที ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T60
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ สํารวจคนหา
1. áËÅ‹§¹íéÒáÅСÒÃ͹ØÃѡɏ¹íéÒ 1. ครูแบงกลุมใหนักเรียน กลุมละ 4 คน โดย
คละความสามารถ (เกง ปานกลางคอนขาง
น�้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
เกง ปานกลางคอนขางออน และออน)
ทุกชนิดทั้งในด้านอุปโภคและด้านบริโภค น�้าบนโลกปกคลุมพื้นที่ 3 ใน 4 ส่วน 2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและ
ของพื้นผิวโลกทั้งหมด เราสามารถพบแหล่งน�้าได้ทุกหนทุกแห่งบนโลก ภาพเกี่ยวกับแหลงนํ้าและการอนุรักษนํ้า จาก
แหล่งน�้า คือ บริเวณบนผิวโลกที่มีน�้าอยู่ร่วมกันเป็นจ�านวนมาก ซึ่งมี หนังสือเรียนหนานี้ แลวชวยกันตอบคําถาม
ทัง้ น�า้ เค็มและน�า้ จืด แหล่งน�า้ แต่ละแหล่งอาจมีคณุ ภาพแตกต่างกันไปตามสภาพ ดังนี้
แวดล้อม ซึ่งเราสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน�้าต่าง ๆ ได้ และควรใช้อย่าง • แหล ง นํ้ า ในชุ ม ชนของนั ก เรี ย นเป น แหล ง
นํ้าจืดหรือแหลงนํ้าเค็ม
ประหยัด (แนวตอบ คําตอบขึน้ อยูก บั แหลงนํา้ ในชุมชน
ภาพที่ 6.1 ตัวอย่างแหล่งน�้า ของนักเรียน)
• ระหว า งนํ้ า จื ด กั บ นํ้ า เค็ ม นั ก เรี ย นคิ ด ว า
นํ้าใดมีปริมาณนํ้ามากกวากัน
(แนวตอบ นํ้าเค็มมีปริมาณมากกวานํ้าจืด)
• เราสามารถใช ป ระโยชน จ ากแหล ง นํ้ า ได
อยางไรบาง
(แนวตอบ ตัวอยางคําตอบ ใชนํ้าในแหลงนํ้า
เพื่อการเกษตร เชน ใชรดพืชผักตางๆ ใช
เปนเสนทางในการคมนาคม)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

àÃÒÊÒÁÒö㪌»ÃÐ⪹¨Ò¡áËÅ‹§¹íÒé
䴌͋ҧäúŒÒ§

51

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไดถูกตอง ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา ในชีวิตประจําวันเราอาจไดพบ
1. นํ้าจืดมีปริมาณมากกวานํ้าเค็ม เห็นแหลงนํ้าตางๆ มากมาย ซึ่งแหลงนํ้าตางๆ จะมีลักษณะที่แตกตางกัน เชน
2. นํ้าจืดและนํ้าเค็มมีปริมาณเทากัน นํ้าประปามีลักษณะใส ไมมีสี นํ้าในลําคลองมีลักษณะขุน มีตะกอน
3. แมนํ้าเปนแหลงนํ้าที่มนุษยใชในการอุปโภคและบริโภค
4. มหาสมุทรเปนแหลงนํ้าที่มนุษยนํามาใชในการอุปโภคและ
บริโภคมากที่สุด
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าจืดมีปริมาณนอยกวานํ้าเค็ม และแมนํ้า
เปนแหลงนํ้าที่มนุษยใชในการอุปโภคและบริโภค ดังนั้น ขอ 3.
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

ลําคลอง
T61
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. ในชั่วโมงนี้ครูใชรูปแบบการสอนแบบรวมมือ
เทคนิค L.T. หรือ Learning Together มาจัด
กÔ¨กÃÃม·ีè 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
กิจกรรมการเรียนรู เพื่อกําหนดใหสมาชิกของ แหลงนํ้าบนโลก 1. การสังเกต
2. การใช้จ�านวน
นักเรียนแตละกลุมมีหนาที่ของตนเอง และให 3. การลงความเห็นจากข้อมูล
ทํางานรวมกัน จุดประสงค 4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
5. การจัดกระท�าและสื่อความหมายข้อมูล
4. สมาชิกของแตละกลุมรวมกันทํากิจกรรมที่ 1 1. ระบุสัดส่วนของน�้าที่ปกคลุมผิวโลก
แหลงนํ้าบนโลก ตอนที่ 1-2 จากหนังสือเรียน 2. สืบค้นและเปรียบเทียบปริมาณน�้าจืดและน�้าเค็มบนโลก
หนา 52-53 แลวบันทึกผลลงในสมุดหรือใน 3. ระบุปริมาณน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ตองเตรียมตองใช
1. สีไม้ 1 กล่อง 5. ดินสอ 1 แท่ง
2. ไม้บรรทัด 1 อัน 6. กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ 1 แผ่น
3. แผนที่โลกขนาด 10 × 15 เซนติเมตร (ครูเตรียมให้)
4. แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต
ลองทําดู ตอนที่ 1
1. แบ่ ง กลุ ่ ม แล้ ว ช่ ว ยกั น ศึ ก ษาสั ด ส่ ว นพื้ น ดิ น และพื้ น น�้ า บนแผนที่ โ ลกที่ ค รู เ ตรี ย มให้
จากนั้นระบายสีแผนที่โลก พร้อมระบุสีที่ใช้ระบายพื้นดินและพื้นน�้าลงในแผนที่โลก
ที่ครูเตรียมไว้
2. ช่วยกันตีตารางทับแผนที่โลกให้มีขนาด
ช่องละ 1 × 1 เซนติเมตร จนเต็มแผนที่
โลก
3. ช่วยกันนับช่องที่เป็นพื้นดินและพื้นน�้า
บนแผนที่ เพื่อเปรียบเทียบสัดส่วนของ
พื้นดินและพื้นน�้ากับพื้นที่ผิวโลกทั้งหมด
แล้วบันทึกผลลงในสมุด
4. น�าผลที่ได้จากการท�ากิจกรรมมาร่วมกัน
แสดงความคิดเห็น ภาพที่ 6.2 ศึกษาสัดส่วนพื้นดินและพื้นน�้า
บนแผนที่
52

เกร็ดแนะครู เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 1


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1) (ตัวอยาง)
เทคนิค L.T. หรือ Learning Together คือ กระบวนการสอนหนึง่ ของรูปแบบ
การเรียนรูแบบรวมมือ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
1. นักเรียนแบงกลุม กลุม ละเทาๆ กัน จากนัน้ ครูและนักเรียนทบทวนเนือ้ หา
เดิมหรือความรูพื้นฐานที่เกี่ยวของ
2. ครูแจกแบบฝกหัด ใบงาน หรือโจทย ใหนักเรียนทุกกลุม กลุมละ 1 ชุด
เหมือนกัน จากนั้นใหนักเรียนแบงหนาที่ในการทํางาน
3. นักเรียนทํากิจกรรม แลวนําเสนอผลงาน จากนั้นใหครูประเมินผลงาน
ของกลุม โดยเนนกระบวนการทํางานกลุม

T62
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมภายในกลุม
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ
ตอนที่ 2
ผลการทํากิจกรรม ตอนที่ 1-2 ที่หนาชั้นเรียน
1. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน�้าจืดและน�้าเค็ม และปริมาณน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ โดยครูสมุ จับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนัน้
ประโยชน์ได้ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต ใหแตละกลุมออกมานําเสนอตามลําดับ
2. ช่วยกันระดมความคิดเพื่อเปรียบเทียบปริมาณน�้าจืดและน�้าเค็ม แล้วบันทึกข้อมูล 3. นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า
3. วาดภาพหรือติดภาพ พร้อมระบุปริมาณน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้ลงใน กิจกรรม จนไดขอสรุปวา นํ้าครอบคลุมพื้นที่
กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม แล้วน�าเสนอหน้าชั้นเรียน 3 ใน 4 สวนของพื้นผิวโลก นํ้าสวนใหญเปน
4. ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับปริมาณน�้าจืดและน�้าเค็ม และปริมาณน�้าที่มนุษย์ นํ้าเค็ม เชน ทะเล มหาสมุทร สวนนํ้าจืด เชน
สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้ภายในชั้นเรียน ธารนํ้าแข็งและพืดนํ้าแข็ง นํ้าใตดิน ชั้นดิน
เยือกแข็งคงตัวและนํ้าแข็งใตดิน ทะเลสาบ
แหล่งน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้ ความชื้นในดิน ความชื้นในบรรยากาศ บึง
แมนํ้า นํ้าในสิ่งมีชีวิต ซึ่งนํ้าจืดบนโลกจะมี
ปริ ม าณนํ้ า น อ ยมาก เมื่ อ เที ย บกั บ ปริ ม าณ
นํ้าเค็มบนโลก โดยมนุษยสามารถนํานํ้าจืด
มาใช ป ระโยชน ไ ด เ พี ย งบางส ว นของนํ้ า จื ด
ทั้งหมด เพราะนํ้าจืดสวนใหญเปนธารนํ้าแข็ง
และพืดนํ้าแข็ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ภาพที่ 6.3 น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

หนูตอบได แนวตอบ หนูตอบได

1. ยกตัวอย่างแหล่งน�้าจืดของโลกที่นักเรียนรู้จักมา 3 แหล่ง • แหลงนํา้ จืด เพราะแหลงนํา้ จืดสามารถใชได


2. แหล่งน�้าบนโลกส่วนใหญ่เป็นแหล่งน�้าจืดหรือแหล่งน�้าเค็ม ทัง้ ในการอุปโภคและบริโภค และเปนแหลงทีอ่ ยูข อง
3. นักเรียนคิดว่า มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน�้าจืดหรือแหล่งน�้าเค็มได้มากกว่ากัน สัตวบางชนิด ซึ่งเปนอาหารของมนุษย
เพราะอะไร • แหลงนํา้ เค็ม เพราะนํา้ เค็มมีปริมาณมากกวา
นํ้าจืด และแหลงนํ้าเค็มยังเปนแหลงที่อยูอาศัยของ
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 53
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู สัตวบางชนิด ซึ่งเปนแหลงอาหารจํานวนมากของ
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) มนุษย

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 1 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2)
ครูอาจอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเพิม่ เติมวา นํา้ จืด คือ นํา้ ตามแหลงนํา้ ทัว่ ไป
แหลงนํ้าบนโลก 100 เปอรเซ็นต ปริมาณ (เปอรเซ็นต)
ที่มีเกลือละลายอยูเล็กนอย โดยมีระดับความเขมขนของเกลือตํ่ากวา 1 กรัม
1. มีแหลงนํ้าจืด 2.5 ตอนํ้า 1 ลิตร ตัวอยางแหลงนํ้าจืด ดังภาพตัวอยาง
2. มีแหลงนํ้าเค็ม 97.5
3. นํ้าที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได นอยกวา 2.5
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา ปริมาณนํ้าจืดมีนอยกวาปริมาณนํ้าเค็ม หาก
กําหนดใหนาํ้ บนโลกทัง้ หมดมี 100 เปอรเซ็นต จะมีนาํ้ จืดประมาณ 2.5 เปอรเซ็นต
และมีนาํ้ เค็มประมาณ 97.5 เปอรเซ็นต สวนนํา้ ทีม่ นุษยสามารถนํามาใชประโยชน
ได คือ นํ้าจืดบางสวน ซึ่งมีปริมาณนอยกวา 2.5 เปอรเซ็นต
แมนํ้า บึง

T63
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก
หนังสือเรียน หนา 53 ลงในสมุดหรือทําลงใน
1.1 แหล่งน�้าบนโลก
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 น�้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีมากที่สุดบนโลก พื้นดิน
2. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเกีย่ วกับแหลงนํา้ โดยครอบคลุ ม พื้ น ที่ 3 ใน 4 ส่ ว นของพื้ น ผิ ว โลก 25%
1
บนโลก จากหนังสือเรียน หนา 54-55 และจาก ส่วนใหญ่เป็นน�้าเค็ม เช่น ทะเล มหาสมุทร ส่วนน�้าจืด พื้นน�้า
PowerPoint เรื่อง แหลงนํ้าบนโลก จากนั้นครู เช่น บึง แม่น�้า น�้าในดิน น�้าบาดาล จะมีปริมาณ 75%
ขออาสาสมัคร 2-3 คน ออกมาสรุปความรูท ไี่ ด น้อยมากเมือ่ เทียบกับปริมาณน�า้ เค็มบนโลก น�า้ บนโลก
จากการศึกษาขอมูล เปรียบเทียบปริมาณพื้นดิน
3. ครูจับสลากเลือกเลขที่ของนักเรียน 2 คน ให
จะอยู่ในแหล่งต่าง ๆ ดังนี้ และพื้นน�้าบนโลก
ยกตัวอยางแหลงนํ้าบนโลก ดังนี้ 1) แหล่งน�้าผิวดิน เช่น ทะเล มหาสมุทร บึง แม่น�้า คลอง ล�าธาร
• คนที่ 1 ยกตัวอยางแหลงนํา้ ผิวดิน 2 ตัวอยาง
• คนที่ 2 ยกตัวอยางแหลงนํา้ ใตดนิ 2 ตัวอยาง
4. ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน โดย
จับสลากชื่อนักเรียน แลวถามคําถาม ดังนี้
• ถาสมมติใหนํ้าบนโลกมีทั้งหมด 100 สวน
จะมีนํ้าเค็มและนํ้าจืดอยางละกี่สวน
(แนวตอบ นํ้าเค็มมีประมาณ 97.5 สวน และ
นํ้าจืดมีประมาณ 2.5 สวน)
ภาพที่ 6.4 ทะเล ภาพที่ 6.5 แม่น�้า
• แหลงนํ้าที่มนุษยสามารถนํามาใชในการ
อุปโภคและบริโภคไดมาจากแหลงใดบาง 2) แหล่งน�้าใต้ดิน เช่น น�้าในดิน น�้าบาดาล
(แนวตอบ เชน แมนํ้า ลําคลอง หนอง บึง)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ภาพที่ 6.6 น�้าในดิน ภาพที่ 6.7 น�้าบาดาล

54

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 มหาสมุทร (ocean) เปนแหลงนํ้าเค็มที่มีขนาดใหญ มหาสมุทรบนโลก ข อ ใดคื อ แหล ง นํ้ า ที่ ม นุ ษ ย ไ ม ส ามารถนํ า มาใช อุ ป โภคและ
มีหลายแหลง เชน มหาสมุทรแปซิฟก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย บริโภคได
มหาสมุทรใต มหาสมุทรอารกติก 1. แมนํ้า
2. ลําธาร
3. นํ้าบาดาล
สื่อ Digital 4. มหาสมุทร
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับแหลงนํ้าบนโลกเพิ่มเติม จากสื่อ PowerPoint (วิเคราะหคําตอบ แหลงนํ้าที่มนุษยไมสามารถนํามาใชอุปโภค
เรื่อง แหลงนํ้าบนโลก และบริโภคได คือ มหาสมุทร เพราะมหาสมุทรเปนแหลงนํ้าเค็ม
ซึ่งมีความเค็มสูงมาก ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T64
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สรุป


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ตรวจสอบผล
น�้าจืด 2.5 ส่วน ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให
ถ้าสมมติให้น�้าบนโลกมีทั้งหมด 100 ส่วน พบว่า
สรุปความรูจากการเรียนจนไดขอสรุปรวมกันวา
น�้าประมาณ 97.5 ส่วน เป็นน�้าเค็ม และอีกประมาณ บนโลกมีปริมาณนํ้าเค็มมากกวาปริมาณนํ้าจืด
2.5 ส่วน เป็นน�้าจืด หากเรียงล�าดับปริมาณน�้าจืดใน และนํ้าจืดที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได
โลกจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด สามารถเรียงได้ ดังนี้ นั้นมีปริมาณนอยมาก
ธารน�้าแข็งและพืดน�้าแข็ง น�้าใต้ดิน ชั้นดินเยือกแข็ง น�้าเค็ม 97.5 ส่วน (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
คงตั ว และน�้ า แข็ ง ใต้ ดิ น ทะเลสาบ ความชื้ น ในดิ น แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ความชื้นในบรรยากาศ บึง แม่น�้า และน�้าในสิ่งมีชีวิต เปรียบเทียบปริมาณน�้าเค็ม
และน�้าจืดบนโลก ขัน้ ประเมิน
ตามล�าดับ ซึ่งน�้าจืดที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ได้จะอยู่ใน ตรวจสอบผล
แหล่งน�้าบางแหล่ง เช่น 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
1. แหล่งน�้าจืดบนโลกที่มนุษย์น�ามาใช้ได้ยาก นักเรียน
ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของน�้าแข็งที่อยู่ขั้วโลกและ 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมนําสูการเรียน
บางส่วนเป็นน�้าใต้ดิน ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2
3. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 1 เรื่ อ ง
แหลงนํ้าบนโลก ในสมุดหรือในแบบฝกหัด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
4. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได
2. แหล่งน�้าจืดที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ได้ กิจกรรมที่ 1 เรื่อง แหลงนํ้าบนโลก ในสมุด
แต่มีปริมาณที่น้อยมาก พบได้บริเวณผิวดิน หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
เช่น แม่น�้า ล�าคลอง หนอง บึง

55

กิจกรรม สรางเสริม แนวทางการวัดและประเมินผล


ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับแหลงนํา้ บนโลกเพิม่ เติม แลว ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน
นําขอมูลมาจัดทําเปนแผนพับความรู พรอมตกแตงใหนาสนใจ รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได
แลวนําสงครู โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ
หนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ ดังภาพตัวอยาง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่


ตรงกับระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน การมี
ลาดับที่ รายการประเมิน การทางาน

กิจกรรม ทาทาย
3 2 1 การแสดง การยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ
1 การแสดงความคิดเห็น    ลาดับที่ ความคิดเห็น ฟังคนอื่น การปรับปรุง 15
ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ความมีน้าใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ใหนกั เรียนแบงกลุม แลวชวยกันสรางแบบจําลองแหลงนํา้ จืด ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน


............./.................../..............

บนโลกที่มนุษยนํามาใชประโยชนได จากนั้นใหนําเสนอผลงาน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ............./.................../..............
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน

หนาชั้นเรียน แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นภายในชั้นเรียน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง
ให้
ให้
ให้
3 คะแนน
2 คะแนน
1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14-15 ดีมาก
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-13 ดี
14-15 ดีมาก
8-10 พอใช้
11-13 ดี
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T65
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. ครูทักทายกับนักเรียน จากนั้นแจงจุดประสงค
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ
กÔ¨กÃÃม·ีè 2 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
2. ครูใหนักเรียนสงตอลูกบอล พรอมเปดเพลง คุณคาของนํ้า 1. การลงความเห็นจากข้อมูล
2. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ประกอบ เมื่อครูหยุดเพลง หากลูกบอลอยู 3. การจัดกระท�าและสื่อความหมายข้อมูล
ที่ใครใหนักเรียนคนนั้นยืนขึ้น จากนั้นบอก จุดประสงค
วิธีการแปรงฟนในชีวิตประจําวันใหกับเพื่อน สืบค้นข้อมูล และน�าเสนอแนวทางการใช้น�้าอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น�้า
ในชั้นเรียนฟง (ทําซํ้า 5 รอบ) ตองเตรียมตองใช
3. ครูถามคําถามกับนักเรียนวา การแปรงฟน
ของเพื่อนๆ ทั้ง 5 คน เปนการแปรงฟนที่ชวย
1. กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ 1 แผ่น 3. สีไม้ 1 กล่อง
ประหยัดนํ้าหรือไม โดยมีครูคอยแนะนําใน
2. แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต 4. กระดาษ A4 10-20 แผ่น
สวนที่บกพรอง ลองทําดู ตอนที่ 1
4. ครูถามคําถามนักเรียนตอวา นักเรียนคิดวา มี
1. แบ่งกลุ่ม จากนั้นช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการใช้น�้าอย่างประหยัดให้ได้มากที่สุด
วิธีการประหยัดนํ้าอยางอื่นอีกหรือไม โดยให
แล้วบันทึกผลลงในสมุด
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
2. ส�ารวจพฤติกรรมการใช้นา�้ อย่างประหยัดของตนเองและคนในครอบครัวตามความเป็นจริง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) แล้วบันทึกผล
3. ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อเลือกวิธีการใช้น�้าอย่างประหยัดมา 2 วิธี จากนั้นน�ามา
ขัน้ สอน จัดท�าเป็นแผ่นพับความรู้ เรื่อง วิธีการใช้น�้าอย่างประหยัด
สํารวจคนหา 4. ร่วมกันเดินรณรงค์และแจกแผ่นพับเกี่ยวกับวิธีการใช้น�้าอย่างประหยัดภายในบริเวณ
1. ครูแบงกลุม ใหนกั เรียน กลุม ละ 3-4 คน จากนัน้ โรงเรียน
ใหนกั เรียนแตละกลุม ชวยกันศึกษาขัน้ ตอนการ
ทํากิจกรรมที่ 2 เรือ่ ง คุณคาของนํา้ ตอนที่ 1-2
โดยใหชวยกันศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรม
จากหนังสือเรียน หนา 56-57

ภาพที่ 6.8 เดินรณรงค์การใช้น�้าอย่างประหยัด


56

เกร็ดแนะครู เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 2


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1)
ครูอาจใชเกมหอยแบงฝาในการแบงกลุม โดยมีวิธีการเลน ดังนี้ ครูให สืบคนขอมูลเกี่ยวกับการใชนํ้าอยางประหยัด (ตัวอยาง)
นักเรียนแตละคนคิดวา ตนเองอยากเปนตัวหอยหรือเปนฝาหอย จากนั้นครูจะ
ลําดับที่ วิธีการใชนํ้าอยางประหยัด
ออกคําสั่ง แลวใหนักเรียนวิ่งไปรวมกลุมกัน ซึ่งกําหนดใหนักเรียนที่ลอมวง คือ
1 ปดกอกใหสนิทหลังใชงาน
ฝาหอย และนักเรียนที่อยูในวง คือ ตัวหอย ตัวอยางการออกคําสั่งของครู
2 น)
1) มีหอย 2 ตัว อยูในฝา 4 ฝา
ค น
 ข อ งนักเรีย
3 รสืบ
2) มีฝา 6 ฝา ลอมหอย 3 ตัว ล ข น
้ ึ อ ยูกับกา
4 (ผ
3) มีหอยและฝาหอยลอมวง 8 ตัว
5
สํารวจพฤติกรรมการใชนํ้าของตนเองและคนในครอบครัว (ตัวอยาง)
ตนเอง คนในครอบครัว
การใชนํ้าในชีวิตประจําวัน
เคย ไมเคย เคย ไมเคย
1. ลางผักจากกอกนํ้าโดยตรง ✓ ✓
2. แปรงฟนโดยใชภาชนะรองนํ้า ✓ ✓
3. ปดกอกนํ้าหลังใชงาน ✓ ✓
T66
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ สํารวจคนหา
2. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันทํากิจกรรมที่ 2
เรื่อง คุณคาของนํ้า ตอนที่ 1-2 แลวบันทึกผล
ลงในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
ตอนที่ 2
เลม 2
1. ช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์น�้า แล้วบันทึกผลลงในสมุด (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
2. ร่วมกันระดมความคิด แล้วเลือกวิธีการอนุรักษ์น�้ากลุ่มละ 1 วิธี จากนั้นวาดภาพหรือ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ติดภาพประกอบลงในกระดาษแข็งแผ่นใหญ่ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
3. น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน เพื่อร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษ์น�้า

การอนุรักษ์น�้า

ช่วยกันปลูกต้นไม้

ภาพที่ 6.9 น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน


แนวตอบ หนูตอบได
หนูตอบได ขอ 3.
1. น�้ามีความส�าคัญต่อการด�ารงชีวิตประจ�าวันของนักเรียนหรือไม่ อย่างไร • ไมขาดแคลน เพราะหากเราชวยกันใชนํ้า
2. หากเราปลูกป่าทดแทนจะสามารถช่วยลดปัญหาการขาดแคลนน�้าได้หรือไม่ อย่างไร อยางประหยัดและชวยกันอนุรักษนํ้าอยางถูกวิธี
3. นักเรียนคิดว่า ในอนาคตมนุษย์จะขาดแคลนน�้าจืดในการอุปโภคและการบริโภคหรือไม่ เราจะมี นํ้ า ใช ใ นการอุ ป โภคและบริ โ ภค โดยไม
ขาดแคลน
เพราะอะไร
• ขาดแคลน เพราะหากเราไมชวยกันใชนํ้า
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 57 อยางประหยัดและไมชว ยกันอนุรกั ษนาํ้ จะทําใหนาํ้
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ที่นํามาใชในการอุปโภคและบริโภคขาดแคลนได

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 2 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2)
สืบคนขอมูลเกี่ยวกับวิธีการอนุรักษนํ้า (ตัวอยาง) หลังจากทํากิจกรรมที่ 2 เสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติม โดยครู
ยกตัวอยางกิจกรรมที่ใชนํ้าในชีวิตประจําวัน จากนั้นใหนักเรียนชวยกันตอบวา
ลําดับที่ วิธีการอนุรักษนํ้า
มีแนวทางในการประหยัดนํ้าในกิจกรรมดังกลาวอยางไร
1 ชวยกันปลูกปา
ตัวอยางกิจกรรมที่ใชนํ้าในชีวิตประจําวัน
2 น)
ค น
 ข อ งนักเรีย • ซักผา
3 รสืบ
ล ข น
้ ึ อ ยูกับกา • อาบนํ้า
4 (ผ
• ลางจาน
5
• แปรงฟน
• รดนํ้าตนไม

T67
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 2 ภายในกลุม
1.2 การประหยัดน�้าและการอนุรักษ์น�้า
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนกลุมใหออกมา น�้าเป็นสิ่งที่จ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์ในการท�ากิจกรรมต่าง ๆ
นําเสนอผลการทํากิจกรรมที่ 2 หนาชั้นเรียน เช่น ใช้ในการอุปโภคและบริโภค ใช้ในการคมนาคม ซึ่งน�้าในโลกส่วนมาก
โดยครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้น เป็นน�้าเค็ม จึงท�าให้น�้าจืดในโลกที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ได้นั้นมีปริมาณ
ใหสงตัวแทนออกมานําเสนอตามลําดับ น้อยมาก ดังนั้น เราจึงควรใช้น�้าอย่างประหยัดและคุ้มค่า รวมทั้งร่วมกัน
3. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธี อนุรักษ์น�้าเพื่อป้องกันภาวะขาดแคลนน�้า
การใชนํ้าอยางประหยัดและวิธีการอนุรักษนํ้า
ภายในชั้นเรียน โดยมีครูคอยแนะนําสวนที่ ตัวอย่าง การใช้น�้าอย่างประหยัดและคุ้มค่า
บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก
หนังสือเรียน หนา 57 ลงในสมุดหรือทําใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ภาพที่ 6.10 น�าน�้าที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก เช่น ภาพที่ 6.11 ใช้ภาชนะรองน�้าขณะแปรงฟัน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) น�าน�้าสุดท้ายจากการซักผ้าไปรดต้นไม้ โดยไม่เปิดน�้าทิ้งไว้

ภาพที่ 6.12 ตรวจสอบรอยรั่วของท่อน�้าในบ้าน ภาพที่ 6.13 ปิดก๊อกน�้าให้สนิทเมื่อไม่ใช้งาน


ถ้าพบรอยรั่วให้แจ้งช่างประปามาซ่อมแซม

58 การใช้นา�้ อย่างประหยัด

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนกั เรียนเรียนรูเ กีย่ วกับ เรือ่ ง การใชนาํ้ อยางประหยัดเพิม่ เติม จากสือ่ ขอใดคือการใชนํ้าอยางประหยัด
ดิจิทัล โดยใหสแกน QR Code เรื่อง การใชนํ้าอยางประหยัด จากหนังสือเรียน 1. ใชภาชนะรองนํ้าขณะแปรงฟนและไมเปดนํ้าทิ้งไว
หนา 58 ซึ่งจะปรากฏคลิปวิดีโอ ดังภาพตัวอยาง 2. เปดนํ้าใหแรงที่สุดและปดกอกนํ้าใหสนิทหลังใชงาน
3. ลางจานโดยเปดกอกนํ้าโดยตรงและปดกอกนํ้าใหสนิท
หลังใชงาน
4. รวมเสื้อผาใหมีปริมาณเยอะตอการซัก 1 ครั้ง และนํานํ้า
สุดทายของการซักผาทิ้งลงทอระบายนํ้า
(วิเคราะหคําตอบ การใชภาชนะรองนํ้าขณะแปรงฟนและไมเปด
นํ้าทิ้งไว การปดกอกนํ้าใหสนิทหลังใชงาน และการรวมเสื้อผาให
มีปริมาณเยอะตอการซัก 1 ครั้ง เปนการใชนํ้าอยางประหยัด สวน
การเปดนํ้าใหแรงที่สุด การลางจานโดยเปดกอกนํ้าโดยตรง และ
การนํานํ้าสุดทายของการซักผาทิ้งโดยไมใชประโยชน เปนการใช
นํ้าอยางไมประหยัด ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T68
นํา สอน สรุป ประเมิน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ขัน้ สอน


แหล่งน�้ำและลมฟ้ำอำกำศ ขยายความเขาใจ
2. แตละคนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการประหยัดนํ้า
ตัวอย่าง การอนุรักษ์น�้า
และการอนุรักษนํ้าเพิ่มเติม จากหนังสือเรียน
หนา 58-59
1. พัฒนาแหล่งน�้า 2. ปลูกป่า 3. ป้องกันมลพิษของน�้า 3. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลจากสื่อดิจิทัล
เช่น การขุดลอกคลองที่ โดยเฉพาะการปลูกป่าใน โดยการไม่ ทิ้ ง ขยะและ เพิ่มเติมในหนังสือเรียน หนา 58 โดยใหใช
ตื้นเขินให้รับน�้าได้มากขึ้น บริ เ วณพื้ น ที่ ต ้ น น�้ า หรื อ สารพิษลงในแหล่งน�้าหรือ โทรศัพทมือถือสแกน QR Code เรื่อง การใช
การสร้างฝาย การสร้างอ่าง ภูเขา เพื่อให้ต้นไม้เป็นตัว พื้นดินที่อยู่ใกล้แหล่งน�้า นํ้าอยางประหยัด
เก็บน�้า กักเก็บน�้าตามธรรมชาติ
4. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง
ที่ไดเรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบตางๆ เชน
แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ภาพที่ 6.14 ล�าคลอง ภาพที่ 6.15 ช่วยกัน ภาพที่ 6.16 ขยะใน


ปลูกป่า แหล่งน�้า

กิจกรรม สรุปความรูป้ ระจ�าบทที่ 1

ตรวจสอบตนเอง
หลังเรียนจบบทนี้แล้ว ให้นักเรียนบอกสัญลักษณ์ที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
เกณฑ์
รายการ ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

1. เข้าใจเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องแหล่งน�้าเพื่อชีวิต
2. สามารถท�ากิจกรรมและอธิบายผลการท�ากิจกรรมได้
3. สามารถตอบค�าถามจากกิจกรรมหนูตอบได้ได้
4. ท�างานกลุ่มร่วมกับเพื่อนได้ดี
5. น�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้
59

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแบงกลุม แลวชวยกันสืบคนการผลิตนํ้าประปา ครูอาจถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติมในระหวางการเรียนการสอน ตัวอยาง
จากนัน้ เขียนเปนแผนภาพการผลิตนํา้ ประปา แลวออกมานําเสนอ คําถาม
หนาชั้นเรียน พรอมอธิบายวา จากการสืบคนการผลิตนํ้าประปา • บิวปดกอกนํ้าใหสนิทหลังใชนํ้าเสร็จแลวทุกครั้ง จากขอมูล นักเรียน
เราควรชวยกันใชนํ้าประปาอยางประหยัดหรือไม อยางไร คิดวา บิวชวยประหยัดนํ้าหรือไม
• ครอบครัวของหวานชอบไปปลูกปาในวันหยุด นักเรียนคิดวา ครอบครัว
ของหวานมีสวนชวยในการอนุรักษนํ้าหรือไม เพราะอะไร
• นักเรียนคิดวา ตนเองมีสว นชวยประหยัดนํา้ และชวยอนุรกั ษนาํ้ ไดหรือไม
อยางไร

T69
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ ÊÃØ» ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 1
น้ ําใต้ดิน แม
่ น้ ํา บึ
ในหนังสือเรียนหนานี้ ท ะ เล ส า บ


6. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูที่ไดจาก ความชื้นในดิน
การศึกษาขอมูล แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียน
น้ ําในสิ่งมีชีวิต
รวมกันเสริมในสวนที่บกพรอง
7. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 1 ความชื้นในบรรยากาศ

จากหนังสือเรียน หนา 61 เปนการบาน โดยทํา ธารน้ ําแข็งและพืดน้ ําแ


หา ข็ง


สม ชั้นดินเยือกแข็งคงตัวและน
ลงในสมุดหรือทําลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ทุ ร ้ ําแข็งใ
น้ ําเค็ม เ ช ต้ดิน
ป.5 เลม 2 แลวนํามาสงครูในชั่วโมงถัดไป ทะเล ่น
8. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด
ขัน้ สูง ลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ล ่งน้ ําบนโลก ื เช
น่
น้ าํ จด
9. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ แห
3-4 คน จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมชวยกัน
ทํากิจกรรมสรางสรรคผลงาน โดยใหนักเรียน
มฐ. ว 3.2 ป.5/1-ป.5/2
ศึ ก ษารายละเอี ย ดในกิ จ กรรมสร า งสรรค ผลลัพธ์
ผลงานจากหนังสือเรียน หนา 62 จากนั้น แหล่งนํ้ าเพื่อชีวิต
การ
ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ทํ า กิ จ กรรม ปลก
ู ปา่
พรอมทั้งนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ตวั ั น้ ํา ้ ํา
ะหยด
อย
ารป ร ั ษน์
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
า่ งก
ารอน ก
ะก ารอนรุ ก
รุ ก
ั ษน
์ ้ าํ แ ล
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
น้ าํ
ิ ของ

ั น
้ าํ
ลพษ


หย

ระ
ิ ม

ารป

งก
รเก

า ตวั อยา่
งกนั ก
การปอ้

ปิดก
อ๊ กน้ าํ ให
ส้ นิทเมื่อไม่ใช้งาน
ห้ามทิ้งขยะ ใช
ภ้ าช
นะรอ
งน้ าํ ขณะแปรงฟัน

60

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ จากขอมูล ใครใชนํ้าอยางประหยัด
เรื่อง แหลงนํ้าเพื่อชีวิต คนละ 1 คําถาม จากนั้นครูสุมเรียกใหนักเรียนบอก ก. นุย รวมเสื้อผาใหมีปริมาณเยอะตอการซัก 1 ครั้ง
คําถามของตนเอง แลวใหเพื่อนคนอื่นๆ ในชั้นเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็น ข. ตุย ลางผักจากกอกนํ้าโดยตรงทุกครั้ง
วา จะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรตอบคําถามนี้ไดอยางไร โดยครูทําหนาที่เปน ค. ปุย เปดกอกนํ้าใหแรงที่สุดทุกครั้ง
ผูชี้แนะและสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียนอยางใกลชิด ง. ยุย ปดกอกนํ้าหลังใชงานทุกครั้ง
การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา) 1. ตุย ปุย 2. นุย ยุย
เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน 3. นุย ตุย ปุย 4. ตุย ยุย ปุย
เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร (วิเคราะหคําตอบ การรวมเสื้อผาใหมีปริมาณเยอะตอการซัก 1
ครั้ง และการปดกอกนํ้าหลังใชงานทุกครั้ง เปนการใชนํ้าอยาง
ประหยัด สวนการลางผักจากกอกนํ้าโดยตรงทุกครั้ง และการเปด
กอกนํ้าใหแรงที่สุดทุกครั้ง เปนการใชนํ้าโดยไมประหยัด ดังนั้น
ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T70
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
¡Ôจ¡รรม º··ีè 1 ตรวจสอบผล

½ƒ¡ทÑ¡Éะ 1. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให


ออกมาสรุปความรูจากการเรียนบทที่ 1 เรื่อง
1. ดูภาพแหล่งน�้าที่ก�าหนด จากนั้นระบุว่าเปนน�้าจืดหรือน�้าเค็ม แหลงนํ้าเพื่อชีวิต หนาชั้นเรียน
1 2 3 2. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเองจาก
หนังสือเรียน หนา 59 จากนั้นถามนักเรียน
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

2. ขีด ✓ หน้าข้อความที่กล่าวเกี่ยวกับน�้าได้ถูกต้อง
................ 1) น�้าบนโลกร้อยละ 97.5 คือ แหล่งน�้าจืด

ใ น สมุด 2) น�้าบนโลกมีปริมาณของน�้าเค็มมากกว่าน�้าจืด
................

ลง ตัว) 3) แหล่งน�้าใต้ดินเป็นแหล่งน�้าที่มนุษย์สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้
ทึก ................
บ( ัน ประจ�า
................ 4) การใช้ขันตักน�้าเพื่ออาบน�้าแทนการใช้ฝักบัวเป็นการใช้น�้าอย่างประหยัด

................ 5) โลกมีน�้าเป็นส่วนประกอบถึง 3 ใน 4 ของพื้นที่ เราจึงใช้ทรัพยากรน�้าได้


แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
ในปริมาณมาก
ขอ 1.
3. ตอบค�าถามต่อไปนี้ 1) เปนแหลงนํ้าจืด
1) บอกชื่อแม่น�้าในประเทศไทยมาอย่างน้อย 3 ชื่อ 2) เปนแหลงนํ้าเค็ม
2) นักเรียนคิดว่า มนุษย์สามารถช่วยกันประหยัดน�้าได้หรือไม่ อย่างไร 3) เปนแหลงนํ้าจืด
3) “โบน�าน�้าสุดท้ายของการซักผ้าไปรดน�้าต้นไม้” พฤติกรรมดังกล่าว นักเรียน ขอ 2.
จะปฏิบัติตามหรือไม่ เพราะอะไร 1) ✗ 2) ✓ 3) ✓ 4) ✗ 5) ✗
4. ให้นักเรียนเสนอแนวทางในการอนุรักษ์น�้า พร้อมติดภาพหรือวาดภาพประกอบ ขอ 3.
1) แมนํ้าเจาพระยา แมนํ้าทาจีน แมนํ้าโขง
2) (ตัวอยางคําตอบ) มนุษยสามารถชวยกัน
กิจกรรม ท้าทา¡ารคÔ´¢Ñนé สูง
ประหยัดนํา้ ได โดยนํานํา้ ทีใ่ ชแลวกลับมาใชอกี เชน
61 นํานํ้าสุดทายจากการซักผาไปรดนํ้าตนไม
3) ปฏิบัติตาม เพราะโบนํานํ้าที่ใชแลวกลับมา
ใชอีก ซึ่งเปนการใชนํ้าอยางประหยัดอีกวิธีหนึ่ง

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


วิธีการอนุรักษนํ้าที่ถูกวิธีคือขอใด เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะเสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนรู
1. หามขุดลอกคลองที่ตื้นเขินเด็ดขาด เพิ่มเติม โดยสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นใหออกมาเฉลยคําตอบ
2. เก็บขยะในแหลงนํ้าตางๆ เปนประจํา หนาชั้นเรียนทีละคน แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันอภิปรายจนไดคําตอบที่
3. ตัดตนไมในปาเพื่อเปดทางใหนํ้าไหลไดสะดวก ถูกตอง โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง
4. ปลอยนํา้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงแมนาํ้ ใหญๆ เทานัน้
(วิเคราะหคาํ ตอบ วิธกี ารอนุรกั ษนาํ้ เราควรขุดลอกคลองทีต่ นื้ เขิน
เก็บขยะในแหลงนํ้า ปลูกตนไม โดยเฉพาะพื้นที่ปาตนนํ้า และไม
ปลอยนํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงแหลงนํ้าทุกแหลง ดังนั้น
ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T71
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
ทักÉะแห่งศตวรรÉที่ 21
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ ✓การสื่อสาร ✓ ความร่วมมือ ✓ การแก้ปัญหา
ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ✓การสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา ✓การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

เสนอหนาชั้นเรียน ¡Ôจ¡รรม
2. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง คุณคา สร้างสรรคผลงาน
ของนํ้าในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
ป.5 เลม 2 แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน จากนั้นชวยกันออกแบบและ
3. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได ประดิษฐเครื่องกรองนํ้าเสีย เพื่อนํานํ้าเสียกลับมาใช ใหมได แลว
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 นําเสนอผลงานและแนวคิดในการประดิษฐหนาชั้นเรียน
เลม 2
4. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมสรุปความรู
ประจําบทที่ 1 ในสมุด
5. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมฝ ก ทั ก ษะ ตัวอย่าง ผลงานของ©ัน
บทที่ 1 ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
ป.5 เลม 2
6. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการคิด ตัวอย่าง เครื่องกรองน�้าเสียของฉัน
ขั้นสูง ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
7. ครู ต รวจชิ้ น งาน/ผลงานเครื่ อ งกรองนํ้ า เสี ย
และการนําเสนอชิ้นงาน/ผลงานจากการทํา น�้าสกปรก
กิจกรรมสรางสรรคผลงาน ทรายละเอียด
กรวดละเอียด
กรวดหยาบ
ถ่านละเอียด
ดินน�้ามัน ถ่านหยาบ
ส�าลี

ภาพที่ 6.17 ตัวอย่างการออกแบบเครื่องกรองน�้าเสีย

62

แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills


ครูสามารถวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ผลงานเครื่องกรองนํ้าเสีย โดยศึกษา 1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน
เกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมินชิ้นงาน/ผลงานที่แนบมาทายแผนการ 2. ใหสมาชิกของแตละกลุมทํากิจกรรมที่ชวยประหยัดนํ้าในชีวิต
จัดการเรียนรูข องหนวยการเรียนรูท ี่ 6 แหลงนํา้ และลมฟาอากาศ ดังภาพตัวอยาง ประจําวันเปนเวลา 1 สัปดาห แลวบันทึกขอมูลไว
3. นําขอมูลของสมาชิกทุกคนมารวบรวม แลวจัดทําในรูปแบบ
ตางๆ ที่หลากหลายเพื่อนําเสนอผลงาน เชน แผนผัง แผนภาพ
การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 3) เกณฑ์การประเมินผลงานเครื่องกรองน้าเสีย (แผนฯ ที่ 3)
ฉ)
แบบประเมินผลงานเครื่องกรองน้าเสีย ค้าอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)

ล้าดับที่ รายการประเมิน 3
(ดี)
ระดับคุณภาพ
2 1
(พอใช้) (ปรับปรุง)
1. การออกแบบชินงาน ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ตามที่ออกแบบไว้
มีขนาดเหมาะสม
ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ตามที่ออกแบบไว้
มีขนาดเหมาะสม
ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ตามที่ออกแบบไว้
มีขนาดเหมาะสม
ตาราง
4. นําเสนอผลงานหนาชัน้ เรียนดวยวิธกี ารสือ่ สารทีห่ ลากหลาย เพือ่
1 การออกแบบชิ้นงาน รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ
2 การเลือกใช้วัสดุเพื่อสร้างชิ้นงาน แปลกตา และสร้างสรรค์ และสร้างสรรค์
3 ความถูกต้องของชิ้นงาน 2. การเลือกใช้วัสดุเพื่อ เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง

ใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น
4 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน สร้างชินงาน ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานไม่ตรงตามที่
5 กาหนดเวลาส่งงาน ถูกต้อง และวัสดุมีความ ถูกต้อง และวัสดุมีความ กาหนด แต่วัสดุมีความ
รวม เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง
ชิ้นงานดีมาก ชิ้นงานดี ชิ้นงาน
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน 3. ความถูกต้องของ กรองน้าเสียได้ดีมาก กรองน้าเสียได้ดี กรองน้าเสียได้น้อยหรือ
............./.................../.............. ชินงาน ไม่ได้
4. การสร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม
ชินงาน ดีมาก ดี น้อย
5. ก้าหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่้ากว่า 8 ปรับปรุง

T72
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

บทที่ 2 »ÃÒ¡¯¡ÒóÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ 1. ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย น โดยถามคํ า ถามว า


นั ก เรี ย นทราบหรื อ ไม ว  า วั น นี้ จ ะได เ รี ย นรู 
ÈѾทน‹ารู้ เกีย่ วกับเรือ่ งอะไร แลวใหนกั เรียนชวยกันตอบ
คําศัพท คําอาน คําแปล คําถาม จากนั้นครูแจงชื่อเรื่องที่จะเรียนรูและ
cloud เคลาด เมฆ ผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
fog ฟอก หมอก 2. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 2 ปรากฏการณ
river 'รีฟเวอ แมนํ้า ลมฟาอากาศ จากหนังสือเรียนหนานี้ จากนั้น
ครูใหนักเรียนตอบคําถามสําคัญประจําบทวา
cloud • นักเรียนคิดวา เมฆและหมอกแตกตางกัน
อยางไร
(แนวตอบ เมฆจะลอยอยูสูงจากพื้นดินมาก
และมีลกั ษณะเปนกลุม กอนสีขาว สวนหมอก
จะลอยอยูใกลพื้นดิน และมีลักษณะคลาย
ควันสีขาว)
3. นั ก เรี ย นร ว มกั น อ า นคํ า ศั พ ท ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ
ปรากฏการณลมฟาอากาศ จากหนังสือเรียน
หนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

fog

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò
àÁ¦áÅÐËÁÍ¡

? ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹
Í‹ҧäÃ

river
63

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ขอใดกลาวไมถูกตอง นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. เมฆ เกิดอยูสูงจากพื้นดิน คําศัพท คําอาน คําแปล
2. หมอก เกิดอยูใกลกับพื้นดิน
3. นํ้าคาง เกิดอยูไกลจากพื้นดินมาก cloud เคลาด เมฆ
4. นํ้าคางแข็ง จะเกาะอยูบนใบไม ใบหญา fog ฟอก หมอก
(วิเคราะหคําตอบ เมฆ เกิดอยูสูงจากพื้นดิน หมอก เกิดอยูใกล river 'รีฟเวอ แมนํ้า
กับพืน้ ดิน นํา้ คางและนํา้ คางแข็ง เกาะอยูบ นใบไม ใบหญา ดังนัน้ rain เรน ฝน
ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
hail เฮล ลูกเห็บ
water cycle วอเทอ 'ไซคึล วัฏจักรนํ้า

T73
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
4. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นชวยกัน
ทํากิจกรรมนําสูการเรียน โดยวิเคราะหภาพ
¡Ôจ¡รรม
และข อ ความจากหนั ง สื อ เรี ย นหน า นี้ แล ว
น�าสู¡‹ ารเรีÂน
เขียนคําตอบลงในสมุดหรือทําลงในแบบฝกหัด ÇÔà¤ÃÒÐˏNjÒᵋÅÐÀÒ¾ÁÕ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¡Ñº¢ŒÍ¤ÇÒÁã¹¢ŒÍã´ à¾ÃÒÐÍÐäÃ
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 จากนั้นใหนําเสนอ
คําตอบหนาชั้นเรียนทีละคู เพื่ออภิปรายและ ก ข
สรุปคําตอบรวมกัน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ค ง

1. ¤ÇÒÁª×é¹ã¹ÍÒ¡ÒȤǺṋ¹à»š¹Ë´¹íéÒà¡ÒÐÍÂÙ‹º¹¾×é¹¼ÔÇÇѵ¶Øã¡ÅŒ æ ¾×é¹´Ô¹
1
2. ä͹íéÒã¹ÍÒ¡ÒȤǺṋ¹à»š¹ÅÐÍͧ¹íéÒ áÅŒÇÅÐÍͧ¹íéÒà¡ÒСÅØ‹ÁÃÇÁ¡Ñ¹ÅÍÂÍÂÙ‹ã¡ÅŒ
¾×é¹´Ô¹ÁÒ¡
3. ä͹íéÒã¹ÍÒ¡ÒȤǺṋ¹à»š¹ÅÐÍͧ¹íéÒ áÅŒÇÅÐÍͧ¹íéÒ¨Ðà¡ÒСÅØ‹ÁÃÇÁ¡Ñ¹ÅÍÂÍÂÙ‹ÊÙ§¨Ò¡
¾×é¹´Ô¹ÁÒ¡
แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน 4. ä͹íéÒã¹ÍÒ¡ÒȤǺṋ¹à»š¹ÅÐÍͧ¹íéÒ áÅŒÇÅÐÍͧ¹íéÒà¡ÒСÅØ‹ÁÃÇÁ¡Ñ¹¨¹ÍÒ¡ÒȾÂاäÇŒ
1. สัมพันธกับภาพ ง äÁ‹äËÇ áŌǵ¡Å§ÁÒº¹¾×é¹âÅ¡
2. สัมพันธกับภาพ ก
64
3. สัมพันธกับภาพ ค
4. สัมพันธกับภาพ ข

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ไอนํ้า นอกจากจะเกิดจากการระเหยของนํ้าจากแหลงตางๆ แลว ไอนํ้า ถา A เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปนละอองนํ้า จากนั้น
ยังไดจากการคายนํ้าของพืชและการหายใจของสัตวดวย การตัดไมทําลายปา ละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมกันลอยอยูใกลกับพื้นดินมากๆ
เปนการทําใหปริมาณนํ้าในอากาศลดลง จนอาจเกิดความแหงแลง เพราะฝน นักเรียนคิดวา A หมายถึงขอใด
ไมตกตามฤดูกาล 1. เมฆ
2. หมอก
3. นํ้าคาง
4. นํ้าคางแข็ง
(วิเคราะหคําตอบ หมอก เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้า จากนั้นละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมกันลอยอยูใกล
กับพื้นดินมาก ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T74
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ สํารวจคนหา

1. àÁ¦ ËÁÍ¡ ¹íéÒ¤ŒÒ§ áÅйíéÒ¤ŒÒ§á¢ç§ 1. นักเรียนทุกกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและภาพ


เกี่ยวกับเมฆ หมอก นํ้าคาง และนํ้าคางแข็ง
ถ้าเราสังเกตสภาพอากาศในแต่ละวัน จะพบว่า สภาพอากาศในแต่ละวัน จากหนั ง สื อ เรี ย นหน า นี้ จากนั้ น ให ช  ว ยกั น
อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกัน สภาพอากาศรอบ ๆ ตัวเราที่เปลี่ยนไปในแต่ละ ตอบคําถามวา จากภาพ ปรากฏการณตางๆ
ช่วงเวลา เรียกว่า ลมฟ้าอากาศ ซึ่งปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศที่เกิดมาจาก เกิดขึ้นไดอยางไร
การเปลี่ยนแปลงสถานะของน�้ามีหลายปรากฏการณ์ เช่น เมฆ หมอก น�้าค้าง (แนวตอบ
น�้าค้างแข็ง 1) เมฆ เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้ า ขนาดเล็ ก จํ า นวนมาก โดยมี
เมฆ เมฆ ละอองลอยตางๆ เปนอนุภาคแกนกลาง
เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมรวมกัน
ลอยอยูสูงจากพื้นดิน เรียกวา เมฆ
2) หมอก เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนน
เปนละอองนํ้าขนาดเล็กจํานวนมาก โดยมี
ละอองลอยตางๆ เปนอนุภาคแกนกลาง
เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมรวมกัน
หมอก น�้าค้าง ลอยอยูใกลพื้นดิน เรียกวา หมอก
3) นํา้ คาง เกิดจากไอนํา้ ควบแนนเปนละอองนํา้
เกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ กับ
พื้นดิน
4) นํ้าคางแข็ง เกิดจากไอนํ้าควบแนนเปน
ละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิววัตถุที่อยูใกลๆ
ภาพที่ 6.18 ตัวอย่างเมฆ หมอก น�้าค้าง และ พื้ น ดิ น ในบริ เ วณที่ มี อุ ณ หภู มิ ใ กล พื้ น ดิ น
น�า้ ค้างแข็ง น�้าค้างแข็ง ตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง)

¨Ò¡ÀÒ¾ »ÃÒ¡¯¡Ò󏵋ҧ æ à¡Ô´¢Öé¹


䴌͋ҧäÃ

65

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


นักเรียนคิดวา หากรูการเปลี่ยนแปลงสภาพลมฟาอากาศ ครูอาจอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเพิม่ เติมวา สภาพอากาศของแตละประเทศ
ลวงหนาจะมีประโยชนตอการดํารงชีวิตประจําวันหรือไม อยางไร จะมีความแตกตางกัน เชน ประเทศโคลอมเบีย จะมีอากาศรอนชื้นตลอดทั้งป
(วิเคราะหคําตอบ มีประโยชน คือ ชวยใหเรามีการเตรียมพรอม มีฝนตกชุกทุกเดือน อุณหภูมใิ นเวลากลางวันกับเวลากลางคืนไมแตกตางกันมาก
ทีจ่ ะปองกันอันตรายหรือความสูญเสียทีอ่ าจเกิดจากปรากฏการณ
ลมฟาอากาศได เชน เปนประโยชนในการวางแผนการเดินทาง
การประกอบอาชีพตางๆ)

T75
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
2. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ
ทํากิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง กระบวนการเกิดเมฆและ
กÔ¨กÃÃม·ีè 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
หมอก โดยศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรม จาก กระบวนการเกิดเมฆและหมอก 1. การวัด
2. การสังเกต
หนังสือเรียน หนา 66-67 3. การทดลอง
จุดประสงค 4. การตั้งสมมติฐาน
5. การสร้างแบบจ�าลอง
สร้างแบบจ�าลองและใช้แบบจ�าลองอธิบายและเปรียบเทียบ 6. การลงความเห็นจากข้อมูล
7. การก�าหนดและควบคุมตัวแปร
การเกิดเมฆและหมอก 8. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
9. การจัดกระท�าและสื่อความหมายข้อมูล
ตองเตรียมตองใช
1. น�้าแข็ง 1 แก้ว 7. ธูป 2 ดอก
2. น�้าร้อน 200 มิลลิลิตร 8. ไม้ขีดไฟ 1 กลัก
3. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ใบ
4. กระบวกตวงขนาด 100 มิลลิลิตร 1 ใบ
5. แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์
1 เน็ต
6. จานกระเบื้องหรือกระจกนาฬิกา (ขนาดปิดปากบีกเกอร์ได้) 2 ใบ
ลองทําดู
1. แบ่งกลุ่ม จากนั้นร่วมกันตั้งสมมติฐานว่า การเกิดเมฆและหมอกแตกต่างกันหรือไม่
แล้วบันทึกลงในสมุด
2. สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดเมฆและหมอกจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แล้วร่วมกัน
ออกแบบแบบจ�าลองการเกิดเมฆและหมอก โดยใช้อปุ กรณ์ทคี่ รูกา� หนดให้ จากนัน้ ร่วมกัน
แสดงความคิดเห็น ดังนี้
1) สิ่งใดบ้างที่มีผลท�าให้เกิดเมฆและหมอก (ตัวแปรต้น)
2) สิ่งใดบ้างที่เราจะต้องสังเกตการเปลี่ยนแปลงตลอดการทดลอง โดยใช้อุปกรณ์ข้างต้น
(ตัวแปรตาม)
3) นอกจากตัวแปรต้นแล้วสิ่งใดบ้างที่จะมีผลกระทบต่อการทดลอง ซึ่งอาจท�าให้ข้อมูล
คลาดเคลือ่ น จึงต้องควบคุมให้เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม)

66

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ในการเรี ย นการสอนที่ ส  ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต  อ การเรี ย น ขอใดกลาวถึง “หมอก” ไดถูกตอง
วิ ท ยาศาสตร ควรเน น การจั ด บรรยากาศในชั้ น เรี ย นให เ ป น ไปด ว ยความ 1. ไอนํ้าควบแนนเปนเกล็ดนํ้าแข็งอยูใกลพื้นดิน
สนุกสนาน เปดโอกาสใหนกั เรียนไดตงั้ คําถามจากสิง่ ทีส่ งสัย โดยครูเปนผูก ระตุน 2. ไอนํ้าที่ควบแนนเปนหยดนํ้าเกาะตามใบหญา
ใหนกั เรียนคิดและกลาแสดงออก รวมทัง้ ใหนกั เรียนไดลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมดวย 3. ไอนํ้าที่ควบแนนเปนละอองนํ้าเล็กๆ รวมตัวกันลอยอยูใกล
ตนเอง พื้นดิน
4. ไอนํา้ ทีค่ วบแนนเปนหยดนํา้ ขนาดใหญรวมตัวกันลอยอยูส งู
จากพื้นดิน
นักเรียนควรรู (วิเคราะหคําตอบ หมอก เกิดจากไอนํ้าที่ควบแนนกลายเปน
1 กระจกนาฬกา (watch glass) คือ อุปกรณวิทยาศาสตรชนิดหนึ่ง เรา ละอองนํ้าเล็กๆ โดยไอนํ้าในอากาศจับตัวกับอนุภาคแกนกลาง
สามารถใชกระจกนาฬกาทําไดหลายอยาง เชน ใชปดปากบีกเกอร ใชวาง เชน ฝุนละอองในอากาศ และเมื่อละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุม
กระดาษลิตมัสขณะทดสอบความเปนกรด-เบส ของสารละลาย รวมกันลอยอยูใกลพื้นดิน เราเรียกวา หมอก ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน
คําตอบที่ถูกตอง)

T76
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ สํารวจคนหา
3. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 1
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
3. ทดลองเพือ่ ตรวจสอบสมมติฐาน โดยสร้าง (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบจ�าลองเพื่อเปรียบเทียบการเกิดเมฆ แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
และหมอก โดยปฏิบัติ ดังนี้
1) ตวงน�้าร้อนลงในบีกเกอร์ 2 ใบ ใบละ
100 มิลลิลิตร
2) ให้จุดธูปแล้วดับไฟ จากนั้นจ่อธูปลง
ไปในบีกเกอร์ทั้ง 2 ใบ แล้วใช้จาน
กระเบื้องหรือกระจกนาฬิกาปิดปาก
บีกเกอร์ และรอจนควันธูปลอยเต็ม
บีกเกอร์ จากนั้นจุ่มธูปลงในน�้าและ
เอาธูปออก สังเกตด้านในบีกเกอร์และ ภาพที่ 6.19 จ่อธูปที่ดับไฟแล้วลงในบีกเกอร์
บันทึกผล
3) วางน�้าแข็งลงในภาชนะที่ใช้ปิดปากบีกเกอร์ 1 ใบ จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง
แล้วบันทึกผล
4. น�าความรู้ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดเมฆและหมอก และจากการสร้าง
แบบจ�าลองมาเปรียบเทียบการเกิดเมฆและหมอก แล้วบันทึกผล
5. น�าเสนอผลการท�ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน จากนั้นร่วมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับ
กระบวนการเกิดเมฆและหมอก

หนูตอบได แนวตอบ หนูตอบได


1. กระบวนการเกิดเมฆและหมอกแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ขอ 2.
2. นักเรียนคิดว่า หมอกมีผลดีหรือผลเสียกับสิ่งมีชีวิตมากกว่ากัน เพราะเหตุใด • ผลดีมากกวา เพราะหากเกิดหมอกในแหลง
ทองเที่ยว แหลงทองเที่ยวจะมีทิวทัศนที่สวยงาม
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 67 • ผลเสี ย มากกว า เพราะหากเกิ ด หมอก
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู ในปริ ม าณมากจะเป น อุ ป สรรคต อ การเดิ น ทาง
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
เนื่องจากหมอกจะทําใหการมองเห็นของเราลดลง

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 1 หองปฏิบัติการ


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
การทดลอง ผลการสังเกต
1. เทนํ้ารอนลงในบีกเกอร มีไอนํ้าระเหยขึ้นมาจากนํ้ารอน
ในกิจกรรมที่ 1 นี้ ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนทุกกลุมทําการทดลองอยาง
ระมัดระวัง และไมเลนหลอกลอกันในระหวางทําการทดลอง เพือ่ ปองกันอันตราย
2. จุดธูปลงในบีกเกอร แลวนํา ควันลอยเต็มบีกเกอร จากนํ้ารอนและไฟ
กระจกนาฬกามาปดปากบีกเกอร
3. นํานํา้ แข็งมาวางบนกระจกนาฬกา มีหยดนํ้าขนาดเล็กเกาะบริเวณ
กนกระจกนาฬกา

เปรียบเทียบการเกิดเมฆและหมอก
การเกิดเมฆ การเกิดหมอก
เมฆ เกิดจากไอนํ้าที่อยูในอากาศ หมอก เกิ ด จากไอนํ้ า ในอากาศ
ควบแน น เป น ละอองนํ้ า ขนาดเล็ ก ควบแน น เป น ละอองนํ้ า ขนาดเล็ ก
เกาะกลุม กันลอยอยูส งู จากพืน้ ดินมาก เกาะกลุมกันลอยอยูใกลพื้นดิน

T77
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
4. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ
ทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง กระบวนการเกิดนํ้าคาง
กÔ¨กÃÃม·ีè 2 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
และนํ้ า ค า งแข็ ง โดยศึ ก ษาขั้ น ตอนการทํ า กระบวนการเกิดนํา้ คางและนํา้ คางแข็ง 1. การสังเกต
2. การทดลอง
กิจกรรม จากหนังสือเรียน หนา 68-69 3. การตั้งสมมติฐาน
5. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 2 จุดประสงค 4. การสร้างแบบจ�าลอง
5. การลงความเห็นจากข้อมูล
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด สร้างแบบจ�าลองและใช้แบบจ�าลองอธิบายและเปรียบเทียบ 6. การก�าหนดและควบคุมตัวแปร
7. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 การเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็ง 8. การจัดกระท�าและสื่อความหมายข้อมูล
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ตองเตรียมตองใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
1. เกลือ 1 ถุง 5. น�้าแข็ง 1 แก้ว
2. ช้อนโต๊ะ 1 คัน 6. แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต
3. แก้วสแตนเลส 2 ใบ
4. บัตรภาพน�้าค้างและน�้าค้างแข็ง 1 ชุด (ครูเตรียมให้)

ลองทําดู
1. แบ่งกลุ่ม แล้วสังเกตบัตรภาพน�้าค้างและน�้าค้างแข็งที่ครูเตรียมไว้ และตั้งสมมติฐานว่า
น�้าค้างและน�้าค้างแข็งเกิดจากสาเหตุเดียวกันหรือไม่ จากนั้นบันทึกผลลงในสมุด
2. สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็งจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แล้ว
ร่วมกันออกแบบแบบจ�าลองการเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็งโดยใช้อุปกรณ์ที่ครูก�าหนดให้
จากนั้นร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดังนี้
1) สิ่งใดบ้างที่จะมีผลท�าให้เกิดน�้าค้างและ
น�้าค้างแข็ง (ตัวแปรต้น)
2) สิง่ ใดบ้างทีเ่ ราต้องสังเกตการเปลีย่ นแปลง
ตลอดการทดลอง โดยใช้อุปกรณ์ข้างต้น
(ตัวแปรตาม)
3) นอกจากตัวแปรต้นแล้ว สิ่งใดบ้างที่จะ
มีผลกระทบต่อการทดลอง ซึ่งอาจท�าให้
ข้อมูลคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมให้
เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม) ภาพที่ 6.20 สืบค้นข้อมูลการเกิดน�้าค้างและ
น�้าค้างแข็ง
68

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


บัตรภาพนํ้าคางและนํ้าคางแข็งที่ใชในกิจกรรมที่ 2 ครูสามารถหยิบใชได ในตอนเชาตรู หนึง่ สังเกตเห็นละอองนํา้ ทีเ่ กาะอยูบ นใบไม โดย
จากแผนการจัดการเรียนรูที่ 5 การเกิดนํ้าคางและนํ้าคางแข็ง หนวยการเรียนรู ไมมีฝนตก หนึ่งควรสรุปวาละอองนํ้านั้นคือสิ่งใด เพราะอะไร
ที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ ดังภาพตัวอยาง 1. นํ้าคาง เพราะนํ้าคางเกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ้า
เกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ พื้นดิน
2. นํ้าคางแข็ง เพราะนํ้าคางแข็งเกิดจากไอนํ้าควบแนนเปน
ละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ พื้นดิน
3. หมอก เพราะหมอกเกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ้า
เกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ พื้นดิน
4. ลูกเห็บ เพราะลูกเห็บเกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ้า
เกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ พื้นดิน
นํ้าคาง นํ้าคางแข็ง (วิเคราะหคําตอบ นํ้าคาง เพราะนํ้าคางเกิดจากไอนํ้าควบแนน
เปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลๆ พื้นดิน ดังนั้น
ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T78
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 1-2 ภายในกลุม
2. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนกลุ  ม ออกมา
3. ทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน โดยสร้าง นําเสนอผลการทํากิจกรรมที่ 1-2 หนาชัน้ เรียน
แบบจ�าลองเพื่อเปรียบเทียบการเกิดน�้าค้าง โดยครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้น
และน�้าค้างแข็ง โดยปฏิบัติ ดังนี้ ใหแตละกลุมสงตัวแทนเพื่อออกมานําเสนอ
1) ให้ใส่น�้าแข็งลงในแก้วสแตนเลสใบที่ 1 ตามลําดับ
จนเต็มแก้ว จากนั้นตั้งแก้วทิ้งไว้สักครู่ 3. นั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป เกี่ ย วกั บ การเกิ ด เมฆ
แล้วสังเกตบริเวณด้านนอกของแก้ว และ หมอก นํ้าคาง และนํ้าคางแข็ง โดยมีครูคอย
บันทึกผล อธิบายในสวนที่บกพรอง
2) ใส่น�้าแข็งลงในแก้วใบที่ 2 เกือบเต็มแก้ว (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
จากนั้นใส่เกลือ 2-3 ช้อนโต๊ะ ลงไป แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
แล้วใช้ช้อนคนน�้าแข็งกับเกลือให้เข้ากัน ภาพที่ 6.21 สร้างแบบจ�าลองการเกิด
และตั้งทิ้งไว้ประมาณ 3-5 นาที สังเกต น�้าค้างและน�้าค้างแข็ง
บริเวณด้านนอกของแก้ว แล้วบันทึกผล
4. น�าความรู้ที่ได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับการเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็งและจากการสร้าง
แบบจ�าลองมาเปรียบเทียบการเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็ง แล้วบันทึกผล
5. น�าเสนอการท�ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับกระบวน
การเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็ง

แนวตอบ หนูตอบได
ขอ 3.
หนูตอบได
• นํ้ า ค า ง เพราะอุ ณ หภู มิ ตํ่ า สุ ด ของประเทศ
1. น�้าค้าง น�้าค้างแข็ง เมฆ และหมอก มีกระบวนการเกิดแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร สวนใหญสูงกวาจุดเยือกแข็ง จึงทําใหเกิดนํ้าคาง
2. นักเรียนคิดว่า เพราะเหตุใดในบางพื้นที่เกิดน�้าค้าง แต่บางพื้นที่เกิดน�้าค้างแข็ง ไดทุกจังหวัด ดังนั้น การเกิดนํ้าคางเปนเรื่องที่อยู
3. ถ้าครูให้นักเรียนเลือกน�าเสนอความรู้ระหว่างเรื่องน�้าค้างกับเรื่องน�้าค้างแข็ง นักเรียน ใกลตัวที่ทุกคนควรรู
จะเลือกน�าเสนอเรื่องใด เพราะเหตุใด • นํา้ คางแข็ง เพราะโอกาสในการเกิดนํา้ คางแข็ง
ในประเทศไทยมี น  อ ย เนื่ อ งจากอุ ณ หภู มิ ตํ่ า สุ ด
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 69 ของประเทศไทยสวนใหญสูงกวาจุดเยือกแข็ง ซึ่ง
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู นํ้าคางแข็งจะเกิดในอุณหภูมิตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
นํ้าคางแข็งจึงเปนเรื่องที่สนใจ

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 2 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
หลังจากที่นักเรียนทํากิจกรรมที่ 2 เสร็จแลว ครูอาจถามคําถามเพื่อให
การทดลอง ผลการสังเกต
เชื่อมโยงกับความรูในหนวยการเรียนรูที่ 5 บทที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของ
1. ใสนํ้าแข็งลงในแกวสแตนเลส เกิดหยดนํ้าเกาะบริเวณดานนอกแกว สสาร ดังนี้
ใบที่ 1 จากนั้นตั้งทิ้งไว
• หยดนํ้าที่เกิดขึ้นเกิดจากการเปลี่ยนจากสถานะใดกลายเปนสถานะใด
2. ใสนํ้าแข็งลงในแกวสแตนเลส เกิดเกล็ดนํา้ แข็งเกาะบริเวณดานนอก และเรียกการเปลี่ยนสถานะเชนนี้วาอะไร
ใบที่ 2 จากนั้นใสเกลือ แลว แกว • หยดนํ้าแข็งที่เกิดขึ้นเกิดจากการเปลี่ยนจากสถานะใดกลายเปนสถานะ
คนใหเขากัน และตั้งทิ้งไว
ใด และเรียกการเปลี่ยนสถานะเชนนี้วาอะไร
เปรียบเทียบการเกิดนํ้าคางและนํ้าคางแข็ง
การเกิดนํ้าคาง การเกิดนํ้าคางแข็ง
นํา้ คางเกิดจากไอนํา้ ควบแนนเปน นํา้ คางแข็งเกิดจากไอนํา้ ควบแนน
ละอองนํา้ เกาะอยูบ นพืน้ ผิวของวัตถุที่ เปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิววัตถุ
อยูใกลๆ พื้นดิน ที่อยูใกลพื้นดินในบริเวณที่มีอุณหภูมิ
ใกลพื้นดินตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง

T79
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. ครูถามคําถามนักเรียนเพิ่มเติม ดังนี้ แต่ละช่วงเวลาภายใน 1 วัน สภาพอากาศอาจแตกต่างกัน เช่น ช่วงเช้า
• จากการทดลอง เมื่อตั้งแกวสแตนเลสใส
นํ้าแข็งทิ้งไวสักครูจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ท้องฟ้าแจ่มใส แต่ตอนบ่ายท้องฟ้ามีเมฆมาก มีลมแรง พอตอนเย็นมีเมฆมาก
อยางไร เพราะอะไรจึงเกิดการเปลีย่ นแปลง และฝนตก ซึ่งสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ ณ ที่เฉพาะแห่ง
เชนนั้น เหล่านี้ เรียกว่า ลมฟ้าอากาศ โดยปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศที่เกิดขึ้นในแต่ละ
(แนวตอบ เกิดหยดนํ้าเกาะที่บริเวณขางแกว ช่วงเวลานั้น มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงสถานะของน�้า ซึ่งอากาศมีไอน�้า
สแตนเลส เนื่องจากไอนํ้าในอากาศกระทบ เป็นส่วนประกอบส�าคัญ ท�าให้เกิดปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศต่าง ๆ ดังนี้
กับความเย็นของแกวสแตนเลสใสนํ้าแข็ง
ทําใหควบแนนเปนหยดนํ้า) 1.1 เมฆ
• จากการทดลอง เมื่อนักเรียนใสเกลือลงใน เกิดจากไอน�้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�้าขนาดเล็กจ�านวนมาก
แกวสแตนเลสที่มีนํ้าแข็ง และใชชอนคน โดยมีละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณูของดอกไม้ เป็นอนุภาค
มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย า งไร เพราะอะไร แกนกลาง เมื่อละอองน�้าจ�านวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูงจากพื้นดินมาก
จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงเชนนั้น เรียกว่า เมฆ เมฆชนิดต่าง ๆ จะมีรูปร่างแตกต่างกันและอยู่ในระดับความสูงที่
(แนวตอบ หยดนํ้าขางนอกแกวสแตนเลส
กลายเปนหยดนํ้าแข็ง เพราะเกลือจะดูด
แตกต่างกัน ดังภาพ
ความรอนจากนํา้ แข็งทําใหอณ ุ หภูมลิ ดตํา่ ลง
12 กม.
มาก ทําใหหยดนํ้าเกิดการแข็งตัวกลายเปน
เซอรัส
หยดนํ้าแข็งได) เซอโรคิวมูลัส 10 กม.
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) เซอโรสตราตัส
8 กม.

อัลโตคิวมูลัส 6 กม.
อัลโตสตราตัส

4 กม.

นิมโบสตราตัส สตราโตคิวมูลัส คิวมูลัส คิวมูโลนิมบัส 2 กม.


สตราตัส
ภาพที่ 6.22 เมฆชนิดต่าง ๆ
70

เกร็ดแนะครู กิจกรรม สรางเสริม


ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา เคยเห็นเครื่องบินขณะกําลังบินอยูในอากาศ ใหนักเรียนแบงกลุม แลวชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับเมฆ
หรือไม จากนัน้ ครูถามวา นักเรียนทราบหรือไมวา เครือ่ งบินโดยสารทัว่ ไปบินอยู ชนิดตางๆ จากนั้นนําขอมูลมาจัดทําเปนสมุดภาพเลมเล็ก พรอม
ระดับไหน แลวใหนกั เรียนคาดเดาจากภาพระดับความสูงของเมฆในหนังสือเรียน อธิบายลักษณะของเมฆ และตกแตงใหสวยงาม แลวนําสงครู
หนา 70
ครูอธิบายเพิม่ เติมวา เครือ่ งบินโดยสารจะบินอยูย า นความสูงของบรรยากาศ
ชัน้ โทรโพพอส ซึง่ เปนชัน้ บรรยากาศทีม่ รี ะดับสูงไมแนนอน อยูร ะหวาง 7.5–20 กม.
เหนือระดับนํ้าทะเลมาตรฐาน

T80
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ขยายความเขาใจ

หากแบ่งระดับความสูงของเมฆชั้นต่าง ๆ โดยพิจารณาจากความสูงของ 2. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก


หนังสือเรียน หนา 67 ลงในสมุดหรือทําลงใน
ฐานเมฆ แบ่งได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้ แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
เมฆชั้นสูง เมฆชั้นกลาง เมฆชั้นต�่า (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
อยู่ในระดับความสูงจากพื้นโลก อยู่ในระดับความสูงจากพื้นโลก อยู่ในระดับความสูงจากพื้นโลก แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
มากกว่า 6 กิโลเมตรขึ้นไป 2 - 6 กิโลเมตร ไม่เกิน 2 กิโลเมตร 3. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ เมฆ
• เซอรัส (cirrus) • อัลโตคิวมูลัส (altocumulus) • นิมโบสตราตัส (nimbostratus) จากหนังสือเรียน หนา 70-73 และศึกษาขอมูล
• เซอโรคิวมูลัส (cirrocumulus) • อัลโตสตราตัส (altostratus) • สตราโตคิวมูลัส (stratocumulus) จาก PowerPoint เรื่อง เมฆ และเรื่อง หมอก
• เซอโรสตราตัส (cirrostratus) • สตราตัส (stratus)
• คิวมูลัส (cumulus)
• คิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus)

นอกจากนี้ เมฆยังถูกใช้เป็นข้อมูลในการพยากรณ์ลมฟ้าอากาศในแต่ละวัน
เนือ่ งจากลักษณะรูปร่างของเมฆแต่ละชนิดมีความสัมพันธ์กบั สภาพลมฟ้าอากาศ
ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์ที่ประจ�าอยู่ตามสถานีอวกาศทั่วโลกจะสังเกตลักษณะของ
เมฆในแต่ละวัน เพื่อน�ามาเป็นข้อมูลในการพยากรณ์สภาพอากาศ หน่วยงานที่
มีหน้าทีพ่ ยากรณ์อากาศของไทย1 และแจ้งข่าวเตือนภัยจากธรรมชาติให้ประชาชน
ได้ทราบ คือ กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ภาพที่ 6.23 เมฆ

71

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ถา A เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปนละอองนํ้า จากนั้น 1 กรมอุตนุ ยิ มวิทยา มีหนาทีพ่ ยากรณอากาศและเตือนภัยธรรมชาติ รวมทัง้
ละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมกันลอยอยูสูงจากพื้นดินมากๆ ใหบริการสารสนเทศ และองคความรูดานอุตุนิยมวิทยา
นักเรียนคิดวา A หมายถึงขอใด
1. เมฆ
2. หมอก
สื่อ Digital
3. นํ้าคาง ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับเมฆเพิ่มเติม จากสื่อ PowerPoint เรื่อง เมฆ
4. นํ้าคางแข็ง และเรื่อง หมอก ดังภาพตัวอยาง
(วิเคราะหคําตอบ เมฆ เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้า จากนั้นละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมกันลอยอยูสูง
จากพื้นดินมาก ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T81
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
4. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูท ไี่ ดจากการ ตัวอย่าง ลักษณะของเมฆชนิดต่าง ๆ
ศึกษาขอมูลลงในสมุดของตนเอง
5. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน แลวให
ออกมาชวยกันนําเสนอความรูที่ไดจากการ
ศึกษาขอมูล
6. ครูและนักเรียนทุกคนรวมกันปรบมือขอบคุณ
อาสาสมัคร
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ภาพที่ 6.24 เมฆเซอรัส (cirrus) เป็นริ้วคล้าย ภาพที่ 6.25 เมฆสตราตัส (stratus) เป็นแผ่น
ขนนก มักเกิดในวันที่อากาศดีมองเห็นท้องฟ้า คล้ายผ้าห่ม ทอดตัวใกล้กับพื้นผิวโลก มักเกิด
มีสีน�้าเงินเข้ม ในช่วงเช้าหรือหลังจากฝนตก

ภาพที่ 6.26 เมฆคิวมูโลนิมบัส (cumulo- ภาพที่ 6.27 เมฆคิวมูลัส (cumulus) เป็นก้อน


nimbus) เป็นก้อนขนาดใหญ่ก่อตัวสูงขึ้นไปใน ขนาดใหญ่คล้ายภูเขา หรือดอกกะหล�่า มีสีขาว
แนวดิ่ง ยอดเมฆมีลักษณะแผ่ออก ส่วนใหญ่ เหมือนส�าลี เป็นเมฆที่แสดงถึงสภาวะอากาศ
ท�าให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ที่ดี เห็นท้องฟ้ามีสีน�้าเงินเข้ม มักพบในฤดูร้อน

ภาพที่ 6.28 เมฆนิมโบสตราตัส (nimbostratus)


เป็นแผ่นหนาทึบสีเทา คล้ายผ้าห่ม ส่วนใหญ่
ท�าให้เกิดฝนพร�า ๆ หรือฝนตกที่มีแดดออก
มองเห็นสายฝนตกจากบริเวณฐานเมฆ

72

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจจัดกิจกรรมเพิม่ เติม โดยตัง้ คําถามใหนกั เรียนคนหาคําตอบเกีย่ วกับ เมฆในขอใดที่ทําใหเกิดฝนตกได
นํ้าคางและนํ้าคางแข็ง จากนั้นจัดกิจกรรมโดยใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือ 1. เมฆเซอโรสตราตัส
เทคนิคคูคิด (Think–Pair–Share) โดยจัดกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 2. เมฆนิมโบสตราตัส
1. ครูผูสอนตั้งคําถามหรือกําหนดปญหาใหแกผูเรียน 3. เมฆอัลโตสตราตัส
2. ผูเ รียนหาคําตอบดวยตนเองกอน แลวจับคูก บั เพือ่ นเพือ่ อภิปรายคําตอบ 4. เมฆอัลโตคิวมูลัส
3. ออกมานําเสนอคําตอบที่ไดจากการอภิปรายใหเพื่อนกลุมอื่นฟง (วิเคราะหคาํ ตอบ ฝน เกิดจากไอนํา้ ในอากาศควบแนนกลายเปน
ละอองนํ้าเล็กๆ โดยที่มีละอองลอย เชน ฝุนละออง เปนอนุภาค
แกนกลาง เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากในเมฆรวมตัวกันจนอากาศ
ไมสามารถพยุงไวได จึงตกลงมายังพื้นโลกในสถานะของเหลว
ซึ่งสวนใหญจะตกลงมาจากเมฆชั้นตํ่า จําพวกเมฆนิมโบสตราตัส
และเมฆคิวมูโลนิมบัส ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T82
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ขยายความเขาใจ

1.2 หมอก 7. ครูใหนกั เรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได


1 จากหนังสือเรียน หนา 69 ลงในสมุดหรือทํา
เกิดจากไอน�้าในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�้าเล็ก ๆ โดยมีละอองลอย ลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
เช่น เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณูของดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง เมื่อ 8. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเกีย่ วกับนํา้ คาง
ละอองน�้าจ�านวนมากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่ใกล้พื้นดิน เรียกว่า หมอก และนํา้ คางแข็ง จากหนังสือเรียน หนา 74-75
นอกจากนี้ หากมีละอองน�้ามาก หมอกจะยิ่งหนามากขึ้นและอาจท�าให้ และศึ ก ษาข อ มู ล จาก PowerPoint เรื่ อ ง
เกิดอันตราย เนื่องจากหมอกท�าให้การมองเห็นของเราลดลง จึงท�าให้การ นํ้าคางและนํ้าคางแข็ง
9. ครูจับสลากสุมเลือกนักเรียน 4-5 คน ตาม
เดินทางด้วยยานพาหนะต่าง ๆ เป็นไปได้ล�าบาก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งของ เลขที่ แลวใหนักเรียนอธิบายความแตกตาง
การเกิดอุบัติเหตุในการเดินทาง ของการเกิดนํ้าคางและนํ้าคางแข็ง จากนั้น
ใหเพื่อนคนอื่นๆ ในชั้นเรียนรวมกันอธิบาย
เพิ่มเติมในสวนที่บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
10. ครู ใ ห นั ก เรี ย นจั บ กลุ  ม กั บ เพื่ อ นตามความ
สมัครใจกลุม ละ 4-5 คน จากนัน้ ชวยกันเขียน
แผนผัง แผนภาพเปรียบเทียบกระบวนการ
เกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง และนํ้าคางแข็ง แลว
นําผลงานมาสงครู
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ภาพที่ 6.29 การขับขี่รถยนต์ขณะที่มีหมอกปกคลุมหนาแน่น
à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ
เมฆและหมอกมีลักษณะแตกตางกัน คือ เมฆจะลอยอยูสูงจากพื้นดินมาก และมี
ลักษณะเปนกลุมกอนสีขาว สวนหมอกจะลอยอยูใกลพื้นดิน และมีลักษณะคลายควัน
สีขาว ทําใหเกิดทิวทัศนที่สวยงาม

73

ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู


เมฆและหมอกแตกตางกันหรือไม อยางไร ครูอาจอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเพิม่ เติมวา ละอองนํา้ ในหมอก (fog) มีขนาด
1. แตกตาง เพราะเมฆเกิดอยูสูงกวาพื้นดินมาก สวนหมอก เล็กมาก โดยมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 ไมครอน (0.001 มิลลิเมตร) หรือ
เกิดใกลพื้นดิน ประมาณ 1 ใน 10 ของเสนผานศูนยกลางของเสนผม
2. แตกตาง เพราะเมฆอยูในสถานะของแข็ง สวนหมอกอยูใน
สถานะแกส
3. ไมแตกตาง เพราะเมฆและหมอกเกิดบนทองฟาเหมือนกัน นักเรียนควรรู
4. ไมแตกตาง เพราะเมฆและหมอกเกิดในเวลาเดียวกัน
1 ละอองลอย หรือแอโรซอล (aerosol) คือ ของผสมประเภทคอลลอยด ซึ่ง
(วิเคราะหคาํ ตอบ เมือ่ ไอนํา้ ในอากาศควบแนนเปนละอองนํา้ แลว ประกอบดวยอนุภาคของแข็งหรืออนุภาคของเหลวทีเ่ ปนละอองฟุง กระจายอยูใ น
ละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมกันลอยอยูใกลพื้นดิน เราเรียกวา อากาศ โดยละอองลอยมีแหลงกําเนิดมาจากหลายแหลง เชน การเผาไหมตา งๆ
หมอก ถาละอองนํ้าเกาะกลุมกันลอยอยูสูงจากพื้นดินมาก เรา ภูเขาไฟเกิดการระเบิด
เรียกวา เมฆ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T83
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูใหนักเรียนสรุปความรูจากการเรียนจนได
ข อ สรุ ป ร ว มกั น ว า เมฆ หมอก นํ้ า ค า ง และ
1.3 น�้าค้าง
นํ้ า ค า งแข็ ง มี ลั ก ษณะและกระบวนการเกิ ด เกิดจากเมื่ออากาศที่อยู่ใกล้พื้นดินในเวลากลางคืนเย็นลงเร็วกว่าอากาศ
แตกตางกัน คือ บนท้องฟ้า จึงท�าให้ ไอน�้าควบแน่นเป็นละอองน�้าเกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้ ๆ
• เมฆ มีลักษณะเปนกลุมกอนสีขาว เกิดจาก พื้นดิน เช่น เกาะอยู่บนใบหญ้า เมื่อถึงตอนเช้าตรู่ เราจะสังเกตเห็นละอองน�้า
ไอนํ้ า ในอากาศควบแน น เป น ละอองนํ้ า เกาะอยู่ตามใบหญ้าทั้งที่ไม่มีฝนตก ละอองน�้าเหล่านั้น คือ น�้าค้าง และหากมี
ขนาดเล็กจํานวนมาก โดยมีละอองลอยเปน น�้าค้างเกาะอยู่บนใยแมงมุมที่ขึงอยู่ตามต้นไม้ จะมีลักษณะเหมือนเพชรเม็ดเล็ก
อนุภาคแกนกลาง เมือ่ ละอองนํา้ จํานวนมาก
เกาะกลุมรวมตัวกันลอยอยูสูงจากพื้นดิน
ร้อยกันเป็นพวง
เรียกวา เมฆ ตัวอย่าง น�้าค้าง
• หมอก มีลักษณะคลายควันสีขาว เกิดจาก
ไอนํ้ า ในอากาศควบแน น เป น ละอองนํ้ า
ขนาดเล็กจํานวนมาก โดยมีละอองลอยเปน
อนุภาคแกนกลาง เมือ่ ละอองนํา้ จํานวนมาก
เกาะกลุมรวมกันลอยอยูใกลพื้นดิน เรียกวา
หมอก น�้าค้างเกาะอยู่บนใยแมงมุม
• นํ้าคาง มีลักษณะคลายละอองนํ้า เกิดจาก
ไอนํา้ ควบแนนเปนละอองนํา้ แลวเกาะอยูบ น
้า

พื้นผิวของวัตถุที่อยูใกลพื้นดิน เชน ใบหญา


นใบหญ

• นํ้าคางแข็ง มีลักษณะคลายเกล็ดนํ้าแข็ง
างบ

เกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ น�า้ ค้ ้าเกาะ


1
4 พื้นดิน เชน
อยูบนพื้นผิวของวัตภถุาทพี่อทยูี่ 6ใ.กล
ใบหญา ในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกลพื้นดิน
น�้าค้างบนใบหญ้า
ตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ภาพที่ 6.30 ตัวอย่างน�้าค้าง น�้าค้างบนดอกผักบุ้งทะเล (ที่มาภาพ : https://pixabay.com)

74

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครู ใ ห นั ก เรี ย นเรี ย นรู  เ กี่ ย วกั บ นํ้ า ค า งและนํ้ า ค า งแข็ ง เพิ่ ม เติ ม จากสื่ อ “ไอนํา้ ทีเ่ กิดการควบแนนเปนละอองนํา้ เกาะอยูต ามใบหญาใกล
PowerPoint เรื่อง นํ้าคาง และเรื่อง นํ้าคางแข็ง ดังภาพตัวอยาง พื้นดิน” จากขอความดังกลาวหมายถึงขอใด
1. หิมะ
2. นํ้าคาง
3. ลูกเห็บ
4. นํ้าคางแข็ง
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าคาง เกิดจากอากาศที่อยูใกลพื้นดินในเวลา
กลางคืนเย็นลงเร็วกวาอากาศบนทองฟา จึงทําใหไอนํ้าควบแนน
เปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิววัตถุใกลๆ พื้นดิน เชน ใบไม
ใบหญา ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T84
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ ประเมิน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ตรวจสอบผล
1
1. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 1 เรื่ อ ง
1.4 น�้าค้างแข็ง กระบวนการเกิดเมฆและหมอกในสมุดหรือใน
เกิดจากเมื่ออุณหภูมิใกล้พื้นดินต�่ากว่าจุดเยือกแข็ง น�้าค้างจะแข็งตัว แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
กลายเป็นน�้าค้างแข็ง ซึ่งอาจส่งผลท�าให้ผลผลิตทางการเกษตรต่าง ๆ เกิด 2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 2 เรื่ อ ง
ความเสียหายได้ หากเกิดน�้าค้างแข็งเป็นจ�านวนมากและเกิดติดต่อกันเป็นเวลา กระบวนการเกิดนํา้ คางและนํา้ คางแข็งในสมุด
หลายวัน นอกจากนี้ น�้าค้างแข็งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งของอุบัติเหตุบนถนน หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
หากมีน�้าค้างแข็งเกาะอยู่บนถนนเป็นจ�านวนมาก อาจท�าให้รถต่าง ๆ ลื่นไถลได้ 3. ครู ต รวจสอบแบบจํ า ลองการเกิ ด เมฆและ
หมอก
ตัวอย่าง น�้าค้างแข็ง 4. ครูตรวจสอบแบบจําลองการเกิดนํ้าคางและ
นํ้าคางแข็ง
5. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2

น�้าค้างแข็งบนใบพืช

น�้าค้างแข็งบนใบพืช
à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ
ในชวงฤดูหนาวทางภาคเหนือของ
ประเทศไทยจะเกิ ด นํ้ า ค า งแข็ ง หรื อ ที่
เรียกวา เหมยขาบ (ภาษาเหนือ) หรือ
ภาพที่ 6.31 ตัวอย่างน�้าค้างแข็ง แมคะนิ้ง (ภาษาอีสาน) บนยอดดอยสูง ๆ
(ที่มาภาพ : https://pixabay.com) ทําใหมีนักทองเที่ยวเดินทางไปเที่ยวชม
เปนจํานวนมาก
75

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


“ไอนํ้าที่เกิดการควบแนนเกาะอยูตามใบหญาใกลพื้นดินที่มี 1 นํ้าคางแข็ง (frost) สามารถพบเห็นไดตามบริเวณยอดดอยในภาคเหนือ
อุณหภูมิใกลพื้นดินตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง” จากขอความดังกลาว และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะเกิดในชวงปลายเดือนธันวาคมถึงเดือน
หมายถึงขอใด มกราคม เพราะมีอากาศหนาวจัด
1. หิมะ
2. นํ้าคาง
3. ลูกเห็บ แนวทางการวัดและประเมินผล
4. นํ้าคางแข็ง
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าคางแข็ง เกิดจากไอนํ้าที่เกิดการควบแนน
รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได
เกาะอยู  ต ามใบหญ า ใกล พื้ น ดิ น ที่ มี อุ ณ หภู มิ ใ กล พ้ื น ดิ น ตํ่ า กว า
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ
จุดเยือกแข็ง ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
หนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ

T85
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
1. นักเรียนศึกษาขอมูลและดูภาพในหนังสือเรียน
หนานี้ จากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็นวา
2. หÂำดน�้ำฟ้ำ
เคยเห็นหยาดนํ้าฟาในภาพใดบาง ฝน หิมะ และลูกเห็บ เป็นสิ่งที่ตกลงมาจากฟ้าถึงพื้นดิน เราเรียกว่า
2. ครูถามคําถามเพื่อกระตุนนักเรียนกอนเขาสู หยาดน�้าฟ้า ซึ่งเป็นน�้าที่มีสถานะต่าง ๆ โดยฝนเป็นหยาดน�้าฟ้าที่มีสถานะเป็น
เนื้อหาวา ฝน หิมะ และลูกเห็บ เกิดขึ้นได ของเหลว ส่วนหิมะและลูกเห็บเป็นหยาดน�้าฟ้าที่มีสถานะเป็นของแข็ง ส่วนเมฆ
อยางไร จากนั้นครูใหนักเรียนรวมกันแสดง หมอก น�้าค้าง และน�้าค้างแข็ง ไม่เป็นหยาดน�้าฟ้า เนื่องจากเมฆไม่ได้ตกลงมา
ความคิดเห็นอยางอิสระในการตอบคําถาม
(แนวตอบ
ถึงพื้นดิน ส่วนหมอก น�้าค้าง และน�้าค้างแข็ง ไม่ได้เกิดจากการตกลงมาจากฟ้า
ฝน เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน หิมะตก หิมะ
ละอองนํ้าขนาดเล็ก โดยมีละอองลอย เชน
ฝุน ละออง เปนอนุภาคแกนกลาง เมือ่ ละอองนํา้
จํานวนมากเกาะกลุมรวมตัวกันจนอากาศไม
สามารถพยุงไวได จึงตกลงสูพ นื้ โลกในสถานะ
ที่เปนของเหลว
หิมะ เกิดจากไอนํ้าในอากาศระเหิดกลับ
เปนผลึกนํา้ แข็ง จากนัน้ รวมตัวกันจนหนักมาก ลูกเห็บตก ลูกเห็บ
และตกลงพื้นโลกในเขตอากาศเย็น
ลูกเห็บ เกิดจากหยดนํา้ ทีเ่ ปลีย่ นเปนนํา้ แข็ง
แลวถูกพายุพัดวนในเมฆฝนฟาคะนอง จน
ทําใหหยดนํ้ากลายเปนกอนนํ้าแข็ง แลวตกลง
พื้นโลก)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ฝน ภาพที่ 6.32 ตัวอย่างฝน หิมะ และลูกเห็บ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

½¹ ËÔÁÐ áÅÐÅÙ¡àËçº à¡Ô´¢Öé¹ä´Œ


Í‹ҧäÃ

76

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจเตรียมบัตรภาพหยาดนํ้าฟาตางๆ มาใหนักเรียนดูเพิ่มเติม แลวให ขอใดกลาวเกี่ยวกับหยาดนํ้าฟาไมถูกตอง
นักเรียนชวยกันระบุวา คือ ฝน หิมะ หรือลูกเห็บ ดังภาพตัวอยาง 1. ฝน หิมะ ลูกเห็บ เปนหยาดนํ้าฟา
2. เมฆ หมอก นํ้าคาง นํ้าคางแข็ง เปนหยาดนํ้าฟา
3. หิมะและลูกเห็บ เปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของแข็ง
4. หยาดนํ้าฟา คือ นํ้าในสถานะตางๆ ที่ตกจากฟาลงมาสู
พื้นโลก
(วิเคราะหคําตอบ หยาดนํ้าฟา คือ นํ้าในสถานะตางๆ ที่ตกจาก
ฝน หิมะ ฟาลงมาสูพื้นโลก ซึ่งฝนเปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของเหลว
หิมะและลูกเห็บเปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของแข็ง สวนเมฆ
หมอก นํ้าคาง และนํ้าคางแข็ง ไมใชหยาดนํ้าฟา ดังนั้น ขอ 2.
จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

ลูกเห็บ ลูกเห็บ
T86
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ สํารวจคนหา
กÔ¨กÃÃม·ีè 3 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
1. ครูแบงกลุมใหนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน
2. ครูถามคําถามนักเรียนกอนการทํากิจกรรมวา
การเกิดหยาดนํ้าฟา 1. การสังเกต
นักเรียนรูห รือไมวา ฝน หิมะ และลูกเห็บอยูใ น
2. การทดลอง
3. การตั้งสมมติฐาน สถานะใด โดยครูใหนกั เรียนตอบคําถามอยาง
จุดประสงค 4. การลงความเห็นจากข้อมูล
1 5. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป อิสระ
อธิบายและเปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ 6. การจัดกระท�าและสื่อความหมายข้อมูล (แนวตอบ ฝน อยูในสถานะของเหลว หิมะและ
ลูกเห็บ อยูในสถานะของแข็ง)
ตองเตรียมตองใช 3. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ
1. น�้าแข็ง 1 ถุง 6. น�้าอุ่น 1 แก้ว ทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเกิดหยาดนํ้าฟา โดย
2. คัตเตอร์ 1 อัน 7. หลอดหยด 1 หลอด ใหแตละกลุมศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรม
3. ขวดน�้าพลาสติก 1 ใบ 8. สีผสมอาหารแบบน�้า (สีแดง) 1 ขวด จากหนังสือเรียน หนา 77-78
4. กระดาษแข็งแผ่นใหญ่ 3 แผ่น 4. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 3
5. แหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ลองทําดู ตอนที่ 1 (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
1. แบ่งกลุ่ม จากนั้นร่วมกันตั้งสมมติฐานว่า ฝนเกิดได้อย่างไร แล้วบันทึกผลลงในสมุด แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
2. ท�าการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
1) ตัดขวดพลาสติกตามขวางเป็นสองส่วน
2) เทน�้าอุ่นลงในขวดพลาสติกด้านล่าง จากนั้นหยดสีผสมอาหารลงในน�้าอุ่นเล็กน้อย
3) ใส่น�้าแข็งลงในขวดพลาสติกด้านบน
แล้วน�ามาวางซ้อนบนขวดพลาสติก
ด้านล่าง และตั้งทิ้งไว้สักครู่ สังเกต
การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายใน
ขวดพลาสติก จากนั้นบันทึกผล
3. น�าเสนอผลการท�ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน
จากนั้ น อภิ ป รายและสรุ ป ผลร่ ว มกั น
ภายในชั้นเรียน
ภาพที่ 6.33 ทดลองเกี่ยวกับกระบวนการ
เกิดฝน
77

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 3 นักเรียนควรรู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1)
การทดลอง ผลการสังเกต 1 ลูกเห็บ (hail) มักเกิดขึน้ เมือ่ เกิดพายุฝนฟาคะนองอยางรุนแรงตอนตนฤดู
รอนและเกิดมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลางตอนบน
ใส นํ้ า แข็ ง ลงไปในขวดพลาสติ ก เกิดหยดนํ้าขึ้นบริเวณดานในของ
ของประเทศไทย เพราะในชวงเวลาดังกลาวนีต้ ามภูมภิ าคทีก่ ลาวมา มีแนวปะทะ
ดานบน แลวนํามาวางซอนบนขวด ขวดพลาสติก
พลาสติกดานลาง จากนั้นตั้งทิ้งไว ของมวลอากาศเย็นและมวลอากาศรอน ทําใหเกิดพายุฝนฟาคะนอง ซึ่งกระแส
อากาศจะหอบเอาเม็ดฝนขึน้ ลงในเมฆคิวมูโลนิมบัส ซึง่ มีอณ ุ หภูมติ าํ่ กวา 0 องศา
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา เมื่อใชนํ้าอุนแทนนํ้าจากแหลงนํ้าตางๆ ที่ เซลเซียส จึงทําใหเกิดลูกเห็บ
ไดรับความรอนจากแสงอาทิตย ใชนํ้าแข็งแทนอากาศเย็น และเมื่อนํ้าอุนเจอ
กับนํ้าแข็ง จึงทําใหเกิดหยดนํ้าขึ้น เปรียบไดกับนํ้าในแหลงนํ้าไดรับความรอน
จากแสงอาทิตย แลวกลายเปนไอนํ้าลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อเจออากาศเย็นจะ
ควบแนนกลายเปนละอองนํ้าจํานวนมากรวมตัวกันจนอากาศไมสามารถพยุง
ไวได จึงตกลงมาเปนฝน

T87
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. ครูจับสลากเลือกลําดับของแตละกลุมเพื่อให
แตละกลุมออกมานําเสนอผลการทํากิจกรรม
เพื่อตรวจสอบความรูของนักเรียนหลังการทํา ตอนที่ 2
กิจกรรมที่ 3 การเกิดหยาดนํ้าฟา
1. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ แล้วบันทึกผล
2. แตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอผลการทํา
2. น�าข้อมูลทีไ่ ด้มาเขียนเป็นแผนผัง แผนภาพ หรืออืน่ ๆ เพือ่ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน
กิจกรรมหนาชั้นเรียนทีละกลุม
หิมะ และลูกเห็บ ลงในกระดาษแข็งแผ่นใหญ่ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
3. นั ก เรี ย นทุ ก กลุ  ม ร ว มกั น อภิ ป รายผลการทํ า
3. น�าเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน จากนัน้ ร่วมกันอภิปรายและสรุปเกีย่ วกับกระบวนการเกิดฝน
กิจกรรมที่ 3 จนไดขอสรุปวา
หิมะ และลูกเห็บ ภายในชั้นเรียน
• ฝน เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้ า ขนาดเล็ ก จํ า นวนมาก โดยมี
ละอองลอย เชน ฝุนละออง เปนอนุภาค กระบวนการเกิดหิมะ
แกนกลาง เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากเกาะ
กลุมรวมกันจนอากาศไมสามารถพยุงไวได
จึงตกลงสูพ นื้ โลกในลักษณะทีเ่ ปนของเหลว
• หิมะ เกิดจากไอนํา้ ในอากาศระเหิดกลับเปน
ผลึกนํ้าแข็ง จากนั้นรวมตัวกันจนหนักมาก
และตกลงพื้นโลกในเขตอากาศเย็น
• ลูกเห็บ เกิดจากหยดนํา้ ทีเ่ ปลีย่ นเปนนํา้ แข็ง
แลวถูกพายุพัดวนในเมฆฝนฟาคะนอง จน
หยดนํ้ากลายเปนกอนนํ้าแข็ง แลวตกลงพื้น
โลก
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ภาพที่ 6.34 น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
หนูตอบได
1. หยาดน�้าฟ้าคืออะไร อธิบายมาพอสังเขป
แนวตอบ หนูตอบได 2. ฝน หิมะ และลูกเห็บมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ขอ 3. 3. หากในประเทศไทยมีหิมะเกิดขึ้นและตกเป็นจ�านวนมาก นักเรียนคิดว่าจะก่อให้เกิดผลดี
• ผลดี เพราะสามารถทําใหเปนแหลงทองเที่ยว หรือผลเสีย เพราะเหตุใด
ได
• ผลเสีย เพราะหากหิมะตกในจํานวนมากเกิน 78 (หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง
ไป อาจทําใหปดเสนทางการจราจร และอาจทําให คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
พืชผลทางการเกษตรเสียหายได

เกร็ดแนะครู เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 3


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2)
ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา
หยาดนํ้าฟา กระบวนการเกิดหยาดนํ้าฟา
ฝนโปรย คือ ฝนที่ตกเบาๆ ระยะเม็ดหางๆ
ฝนละอองหรือฝนหยิม คือ ฝนที่มีเม็ดฝนเล็กกวาฝนโปรย มักทําใหมอง 1. ฝน เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปนละอองนํ้า
สิ่งตางๆ ไมชัด เล็กๆ เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากในเมฆรวมตัว
กันจนอากาศไมสามารถพยุงไวได จึงตกลงสู
ฝนมรสุม คือ ฝนที่ตกหนักตอเนื่อง มักมาพรอมกับลมมรสุม พื้นโลกในสถานะของเหลว
ฝนซู คือ ฝนที่มักตกโดยไมทันตั้งตัว และตกเปนเวลาสั้นๆ
2. หิมะ เกิดจากไอนํ้าในอากาศระเหิดกลับเปนผลึก
นํ้าแข็ง แลวรวมตัวกันจนหนักมาก และตกลง
สูพื้นโลกในสถานะของแข็ง
3. ลูกเห็บ เกิดจากหยดนํ้าที่เปลี่ยนเปนนํ้าแข็ง จากนั้น
ถูกพายุพัดวนในเมฆฝนฟาคะนอง จนหยดนํ้า
กลายเป น ก อ นนํ้ า แข็ ง แล ว ตกลงพื้ น โลกใน
สถานะของแข็ง

T88
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบไดจาก
หยาดน�
1
้าฟ้า (precipitation) คือ น�้าในสถานะต่าง ๆ ที่ตกจากฟ้าลงมาสู่
หนังสือเรียน หนา 78 ลงในสมุดหรือทําลงใน
พื้นโลก ฝน หิมะ และลูกเห็บ เป็นหยาดน�้าฟ้าที่มีกระบวนการเกิดแตกต่างกัน แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ดังนี้ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
2.1 ฝน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
เกิ ด จากเมื่ อ ไอน�้ า ในอากาศควบแน่ น เป็ น ละอองน�้ า เล็ ก ๆ โดยที่ มี 2. นักเรียนกลุมเดิมชวยกันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ
ละอองลอย เช่น เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณูของดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง หยาดนํ้าฟา จากหนังสือเรียน หนา 79-84
เมื่อละอองน�้าจ�านวนมากในเมฆรวมตัวกันจนอากาศไม่สามารถพยุงไว้ได้
จึงตกลงมาเป็นฝนตกลงสู่พื้นโลกในลักษณะที่เป็นของเหลว
ภาพที่ 6.35 ฝน

à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ


ฝนมี ป ระโยชน ต  อ สิ่ ง มี ชี วิ ต คื อ ทํ า ให พื ช เจริ ญ เติ บ โต
เกิดความชุมชื้น มีนํ้าหมุนเวียนในวัฏจักรนํ้า นอกจากนี้ ฝนยัง
อาจกอใหเกิดผลเสีย เชน หากฝนตกหนักและตกเปนเวลา
นานอาจทําใหเกิดนํ้าทวมได ภาพที่ 6.36 น�้าท่วม
79

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวเกี่ยวกับฝนไดถูกตอง ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา หากฝนไมตกเปนเวลานาน จะ
1. ไมใชหยาดนํ้าฟา ทําใหนํ้าในแหลงนํ้าตางๆ มีไมเพียงพอตอการอุปโภคและบริโภค สงผลกระทบ
2. มีกระบวนการเกิดเชนเดียวกับนํ้าคาง ตอมนุษย สัตว และพืช
3. อยูในสถานะเดียวกับหิมะและลูกเห็บ
4. เปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของเหลว
(วิเคราะหคําตอบ ฝน เปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของเหลว นักเรียนควรรู
สวนหิมะและลูกเห็บ เปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของแข็ง 1 ฝน (rain) เปนหยดนํ้าที่เกิดจากละอองนํ้าหลายๆ ละอองมารวมกันเปน
ฝนมีกระบวนการเกิดแตกตางไปจากนํ้าคาง ซึ่งนํ้าคางไมใช หยดนํา้ ขนาดใหญและตกลงสูพ นื้ โลก มีเสนผานศูนยกลางมากกวา 0.5 มิลลิเมตร
หยาดนํ้าฟา ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง) โดยฝนทีต่ กลงสูพ ื้นโลกในลักษณะของละอองนํา้ ที่มเี สนผานศูนยกลางนอยกวา
0.5 มิลลิเมตร เราเรียกวา “ฝนละออง” แตถาฝนที่ตกลงมามีลักษณะเปนผลึก
หรือเกล็ดนํ้าแข็งปนรวมอยูดวย เราจะเรียกวา “ฝนนํ้าแข็ง”

T89
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
3. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ศึ ก ษาข อ มู ล จากสื่ อ แผนภาพ แสดงกระบวนการเกิดฝน
ดิจิทัลเพิ่มเติมในหนังสือเรียนหนานี้ โดยให
ใช โ ทรศั พ ท มื อ ถื อ สแกน QR Code เรื่ อ ง การเกิดฝน 1 เม็ด ต้องอาศัยละอองน�้าในเมฆนับล้านละอองรวมตัวกัน
กระบวนการเกิดฝน แลวรวมกันสรุปความรู ซึ่งกระบวนการเกิดฝนมีขั้นตอน ดังนี้
ที่ไดจากการศึกษาภายในกลุม

เมฆ
2. เมื่อไอน�้าในอากาศเจออากาศเย็น
ไอน�้า
จะควบแน่นเป็นละอองน�า้ เล็ก ๆ จากนัน้
ละอองน�้าจะเกาะกลุ่มรวมตัวกันเป็น
ไอน�้า
ก้อนเมฆ
ไอน�้า

ไอน�้า

ไอน�้า
ไอน�้า

ไอน�้า

ไอน�้า

1. น�้าในแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่น�้า บึง ทะเลสาบ ทะเล ได้รับความร้อน


จากแสงอาทิตย์ น�้าจะระเหยกลายเป็นไอน�้าแล้วลอยขึ้นไปในอากาศ
80 กระบวนการเกิดฝน

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง กระบวนการเกิดฝนเพิ่มเติม จากสื่อ นํ้ากลายเปนไอนํ้าไดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในขอใด
ดิจิทัล โดยใหสแกน QR Code เรื่อง กระบวนการเกิดฝน จากหนังสือเรียน 1. เกิดการควบแนน
หนา 80 ซึ่งจะปรากฏคลิปวิดีโอ ดังภาพตัวอยาง 2. นํ้าไดรับความรอน
3. เกิดการคายความรอน
4. อุณหภูมิใกลนํ้าลดลงประมาณ 5-10 องศาเซลเซียส
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อนํ้าไดรับความรอนจนถึงระดับหนึ่ง นํ้าจะ
สามารถเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกสหรือไอนํ้า เรียกวา
การกลายเปนไอ ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T90
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ขยายความเขาใจ
4. แตละกลุมสงตัวแทนออกมาสรุปความรูที่ได
จากการศึกษาหนาชั้นเรียน โดยมีเพื่อนกลุม
อื่นๆ รวมกันอภิปรายภายในชั้นเรียน
3. เมื่ อ เมฆรวมตั ว กั น เป น จํ า นวนมาก (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
จนอากาศพยุ ง นํ้ า หนั ก ของละอองนํ้ า แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
เมฆ ไมไหว จึงตกลงมาเปนฝน

ภาพที่ 6.37 ฝนตก

รุงกินนํ้า

à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ


รุง กินนํา้ เกิดจากการหักเหของแสงอาทิตยในละอองนํา้
บนอากาศ มักเกิดขึ้นหลังจากฝนตก รุงกินนํ้าจะมีลักษณะ
แตกตางกัน เชน เมื่อฝนตกหนัก ละอองนํ้ามีขนาดใหญ
จะสังเกตเห็นสีแดงชัดที่สุด ถาละอองนํ้ามีขนาดเล็ก เราจะ
มองไมเห็นสีเขียวของรุงกินนํ้า
ภาพที่ 6.38 รุงกินนํ้า
81

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“เมือ่ ละอองนํา้ ในเมฆรวมตัวกันจนอากาศไมสามารถพยุงไวได ครูอาจใหความรูนักเรียนเพิ่มเติมวา รุงกินนํ้ามี 7 สี เรียงกัน ดังนี้ สีมวง
จะตกลงสูพื้นโลก” จากขอความ กลาวถึงขอใด สีคราม สีนํ้าเงิน สีเขียว สีเหลือง สีสม และสีแดง
1. ฝน เราสามารถทดลองทํารุงกินนํ้าในวันที่ไมมีฝนตกไดหลายวิธี เชน
2. หิมะ วิธีที่ 1 คือ ฉีดละอองนํ้าเปนฝอยไปในทิศทางที่ตรงขามกับแสงอาทิตย
3. นํ้าคาง แลวสังเกตสีของละอองนํ้า
4. นํ้าคางแข็ง วิธีที่ 2 คือ ทํานํ้าสบู แลวใชหลอดเปาฟองสบูไปในอากาศที่มีแสงอาทิตย
สองถึง แลวสังเกตสีของฟองสบู
(วิเคราะหคําตอบ ฝน เกิดจากเมื่อไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้าเล็กๆ เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากในเมฆรวมตัวกันจน
อากาศไมสามารถพยุงไวไดจะตกลงสูพื้นโลก ดังนั้น ขอ 1. จึง สื่อ Digital
เปนคําตอบที่ถูกตอง) ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับการเกิดรุงเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล โดยใหสแกน
QR Code 3D เรื่อง การเกิดรุง

การเกิดรุง
www.aksorn.com/interactive3D/RK561 T91
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. ครูใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน 2.2 หิมะ
6. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน
จากหนังสือเรียน หนา 84 วา นักเรียนคิดวา
เกิดจากไอน�้าในอากาศระเหิดกลับเป็นผลึกน�้าแข็ง แล้วรวมตัวกันจนมี
การเกิดลูกเห็บมีผลตอสิ่งมีชีวิตตางๆ หรือไม น�้าหนักมากขึ้นเกินกว่าอากาศจะพยุงไว้ จึงตกลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลก
อย า งไร โดยครู ใ ห นั ก เรี ย นแต ล ะคนเขี ย น โดยในเขตอากาศเย็นหิมะจะตกมาถึงพื้น แต่ในเขตอากาศร้อนหิมะจะเกิดการ
คําตอบของตนเองลงในสมุด หลอมเหลวเปลี่ยนสถานะกลายเป็นของเหลว หรือกลายเป็นฝนก่อนตกถึงพื้น
(แนวตอบ มีผล เพราะลูกเห็บอาจกอใหเกิด หิมะมีลักษณะเป็นผลึกสวยงาม จะพบในประเทศที่มีอุณหภูมิของอากาศ
อันตรายตอสิ่งมีชีวิตตางๆ ได)
7. ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนนํ า คํ า ตอบมาร ว มกั น
ลดลงต�่ากว่า 0 องศาเซลเซียส และเมื่อหิมะตกลงบนพื้นโลกที่มีความเย็น
อภิปรายภายในคูของตนเองจนไดคําตอบที่ จึีงยังแข็งตัวอยู่ ท�าให้สามารถน�ามาปันเป็นตุ๊กตาหิมะเล่นได้
ถูกตองที่สุด ภาพที่ 6.39 การน�าหิมะมาปันเป็นตุ๊กตาหิมะ
8. ครูสุมตัวแทน 4-5 คู ใหออกมาเฉลยคําตอบ
หน า ชั้ น เรี ย น โดยมี ค รู ค อยแนะนํ า ส ว นที่
บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ


เกล็ดหิมะประกอบดวยผลึกนํ้าแข็งจํานวน
มาก ซึ่งผลึกนํ้าแข็งเหลานี้จะเชื่อมตอกันเปน
เกล็ดหิมะที่มี 6 ดาน และมีรูปรางแตกตางกัน
ออกไป
82

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครู อ าจอธิ บ ายให นั ก เรี ย นเข า ใจเพิ่ ม เติ ม ว า เมื่ อ มี ก ารสะสมของหิ ม ะ หิมะเปนหยาดนํ้าฟาหรือไม เพราะอะไร
บนพื้นดิน จนกลายเปนพื้นนํ้าแข็งหนาและมีนํ้าหนักมาก และเมื่อนํ้าแข็งหนา 1. ใช เพราะตกลงสูพื้นโลกในสถานะของแข็ง
เหลานี้ไดรับความรอนจากแสงอาทิตยจะเกิดการหลอมเหลวและเคลื่อนที่ไป 2. ใช เพราะมีกระบวนการเกิดเหมือนการเกิดหมอก
ตามหุบเขาจนเกิดเปนธารนํ้าแข็ง (glacier) ได 3. ไมใช เพราะหยาดนํ้าฟาอยูในสถานะของเหลวเทานั้น
4. ไมใช เพราะมีกระบวนการเกิดแตกตางจากการเกิดเมฆ
(วิเคราะหคําตอบ หยาดนํ้าฟา คือ นํ้าในสถานะตางๆ ที่ตกจาก
ฟาลงมาสูพื้นโลก ซึ่งฝนเปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของเหลว
หิมะและลูกเห็บเปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของแข็ง สวน
เมฆ หมอก นํ้าคาง และนํ้าคางแข็ง ไมใชหยาดนํ้าฟา ดังนั้น
ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

ธารนํ้าแข็ง
T92
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สรุป


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ตรวจสอบผล
แผนภาพ แสดงกระบวนการเกิดหิมะ ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูจากการ
เรียนจนไดขอสรุปวา
กระบวนการเกิดหิมะที่เกิดขึ้นในเขตอากาศเย็นมีขั้นตอน ดังนี้ • ฝน เปนหยาดนํา้ ฟาในสถานะของเหลว เกิด
จากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปนละอองนํ้า
2. ไอน�้าในอากาศระเหิดกลับเป็นผลึก ขนาดเล็ ก จํ า นวนมาก โดยมี ล ะอองลอย
น�้าแข็ง จากนั้นรวมตัวกันจนมีน�้าหนัก เชน ฝุนละออง เปนอนุภาคแกนกลาง และ
มากขึ้นแล้วจึงตกลงพื้นโลกในสถานะ เมื่อละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมรวมกัน
ของแข็ง จนอากาศไมสามารถพยุงไวไดจึงตกลงมา
สูพื้นโลกในสถานะของเหลว
ไอน�้า
• หิมะ เปนหยาดนํ้าฟาในสถานะของแข็ง
เกิดจากไอนํา้ ในอากาศระเหิดกลับเปนผลึก
ไอน�้า
นํ้าแข็ง แลวรวมตัวกันจนหนักมาก และ
ไอน�้า
ตกลงสูพื้นโลก
• ลูกเห็บ เปนหยาดนํ้าฟาในสถานะของแข็ง
ไอน�้า
ภาพที่ 6.40 หิมะตก
ไอน�้า
เกิดจากหยดนํา้ ทีเ่ ปลีย่ นเปนนํา้ แข็ง แลวถูก
พายุพัดวนในเมฆฝนฟาคะนอง จนหยดนํ้า
กลายเปนกอนนํ้าแข็ง แลวตกลงสูพื้นโลก
ไอน�้า (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ไอน�้า

3. เมื่อผลึกน�้าแข็งตกลงมาบน
ไอน�้า
โลกจะไม่ละลายจึงกลายเป็นหิมะ

1. เมื่อน�้าในแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่น�้า บึง ทะเลสาบ ทะเล ได้รับความร้อน


จากแสงอาทิตย์ น�้าจะระเหยกลายเป็นไอน�้า แล้วลอยขึ้นไปในอากาศ
83

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแบงกลุม แลวชวยกันสืบคนผลดีและผลเสียของ ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา หิมะถลม (avalanche) เกิด
การเกิดหิมะที่มีตอสิ่งมีชีวิตตางๆ จากนั้นนําขอมูลมาจัดทําใน จากหิมะจํานวนมากไหลลงตามทางลาดของภูเขาดวยความเร็วที่บางครั้งสูงถึง
รูปแบบตางๆ เชน แผนภาพ แผนผัง แผนพับ ใบความรู แลวออกมา 150 กิโลเมตรตอชั่วโมง และไหลเปนระยะทางหลายกิโลเมตร จึงอาจทําใหเกิด
นําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียนในชั้นเรียนผลัดกันแสดง ความเสียหายกับสิ่งมีชีวิตตางๆ ได
ความคิดเห็น และรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับผลดีและผลเสียของ
การเกิดหิมะ

T93
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การ 2.3 ลูกเห็บ
เกิ ด หยาดนํ้ า ฟ า ในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
เกิ ด จากหยดน�้ า ที่ เ ปลี่ ย นสถานะเป็ น น�้ า แข็ ง แล้ ว ถู ก พายุ พั ด วน
2. ครูตรวจผลการทําแผนภาพการเปรียบเทียบ ซ�้ า ไปมาในเมฆฝนฟ้ า คะนองที่ มี ข นาดใหญ่ แ ละอยู ่ ใ นระดั บ สู ง จนหยดน�้ า
การเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ กลายเป็นก้อนน�้าแข็งขนาดใหญ่ขึ้นแล้วตกลงมาเป็นลูกเห็บ ลูกเห็บมีลักษณะ
3. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได เป็นก้อนคล้ายกับก้อนน�้าแข็ง บางก้อนมีน�้าหนักเกือบ 2 กิโลกรัม จนอาจก่อ
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 ให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์หรือสัตว์ และก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน หรือ
เลม 2
พืชผลทางการเกษตรได้
ตัวอย่าง ลูกเห็บ

ภาพที่ 6.41 ตัวอย่างลูกเห็บที่ตกในบริเวณต่าง ๆ บนโลก


¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
นักเรียนคิดว่า การเกิดลูกเห็บมีผลต่อสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร

84

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนจากการตอบคําถาม การทํางาน ลูกเห็บอยูในสถานะใดและเปนหยาดนํ้าฟาหรือไม
รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได 1. แกส ไมเปนหยาดนํ้าฟา
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ 2. ของแข็ง เปนหยาดนํ้าฟา
หนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ ดังภาพตัวอยาง 3. ของเหลว ไมเปนหยาดนํ้าฟา
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
4. กึ่งของเหลว เปนหยาดนํ้าฟา
(วิเคราะหคาํ ตอบ ลูกเห็บ เปนหยาดนํา้ ฟาทีอ่ ยูใ นสถานะของแข็ง
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน การมี
ลาดับที่ รายการประเมิน การแสดง การยอมรับ
การทางาน
ส่วนร่วมใน
3 2 1 ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ รวม

ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)


1 การแสดงความคิดเห็น    ลาดับที่ ความคิดเห็น ฟังคนอื่น การปรับปรุง 15
ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ความมีน้าใจ   
5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............./.................../..............

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ............./.................../..............
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14-15 ดีมาก
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-13 ดี
14-15 ดีมาก
8-10 พอใช้
11-13 ดี
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T94
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ นํา


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ กระตุน ความสนใจ

3. วั¯¨ักÃน�้ำ 1. นักเรียนศึกษาขอมูลและดูภาพในหนังสือเรียน
หนานี้
น�้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส�าคัญต่อสิ่งมีชีวิต พื้นผิวโลกประมาณ 3 2. ครูถามคําถามเพื่อกระตุนนักเรียนกอนเขาสู
ใน 4 ส่วน เป็นพื้นน�้า น�้าจากฟ้าที่ตกลงมาสู่พื้นผิวโลก จะถูกกักเก็บในแหล่งน�้า เนื้อหาวา นักเรียนคิดวา แหลงนํ้าตางๆ มี
ผิวดิน เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่น�้า ล�าธาร ทะเลสาบ บึง คลอง ซึ่งน�้าผิวดิน ความสํ า คั ญ ต อ การเกิ ด วั ฏ จั ก รนํ้ า หรื อ ไม
บางส่วนจะไหลลงสู่ใต้ดินแล้วกลายเป็นแหล่งน�้าใต้ดิน และยังมีส่วนที่ระเหย อยางไร จากนั้นครูใหนักเรียนรวมกันแสดง
กลายเป็นไอน�้าขึ้นไปในบรรยากาศอีกด้วย เราจะพบว่าน�้าจากแหล่งน�้าต่าง ๆ ความคิดเห็นอยางอิสระในการตอบคําถาม
(แนวตอบ แหลงนํ้าตางๆ มีความสําคัญตอการ
ทั้งบนดิน ใต้ดิน และในบรรยากาศ จะมีการหมุนเวียนของน�้าอยู่ตลอดเวลาหรือ เกิดวัฏจักรนํ้า เพราะวัฏจักรนํ้าเกิดมาจาก
ที่เรียกว่า วัฏจักรน�้า แหลงนํา้ ทีไ่ ดรบั ความรอนจากแสงอาทิตย แลว
ภาพที่ 6.42 แหล่งน�้าตามธรรมชาติ ระเหยเปนไอนํา้ ลอยขึน้ ไปในอากาศ เมือ่ ไอนํา้
ควบแนนเปนละอองนํ้าขนาดเล็ก และรวมตัว
เปนเมฆ เมือ่ ละอองนํา้ ในเมฆมีจาํ นวนมากขึน้
จนอากาศไมสามารถรับนํ้าหนักหรือพยุงไวได
จะตกลงมาเปนฝน จากนั้นนํ้าฝนไหลกลับสู
แหลงนํา้ ตางๆ หรือซึมลงใตดนิ และเมือ่ นํา้ จาก
แหลงนํา้ ตางๆ ไดรบั ความรอนจากแสงอาทิตย
ก็จะระเหยกลายเปนไอนํา้ ลอยขึน้ ไปในอากาศ
และจะตกลงมาเปนฝนอีก หมุนวนเวียนเชนนี้
ไมสิ้นสุด)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò áËÅ‹§¹íéÒµ‹Ò§ æ
ÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞµ‹Í¡ÒÃà¡Ô´Çѯ¨Ñ¡Ã¹íéÒ
ËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ

85

เกร็ดแนะครู
ครูอาจกระตุนนักเรียน โดยการจัดกิจกรรมเพิ่มเติม เชน ใหนักเรียนดู
แผนภาพการเกิดวัฏจักรนํ้า แลวตั้งคําถามถามนักเรียน เพื่อใหนักเรียนชวยกัน
ตอบคําถามอยางอิสระ เชน
• นักเรียนรูหรือไมวา แผนภาพนี้คือแผนภาพการเกิดอะไร
• นักเรียนคิดวา มีปจจัยใดบางที่ทําใหเกิดวัฏจักรนํ้า

T95
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. ครูแบงกลุมใหนักเรียน กลุมละ 3-4 คน
2. นักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอนการ
¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 4 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช
ทํากิจกรรมที่ 4 เรื่อง วัฏจักรนํ้า โดยศึกษา วัฏจักรนํ้า 1. การสังเกต
2. การทดลอง
ขั้นตอนการทํากิจกรรมจากหนังสือเรียน หนา 3. การตั้งสมมติฐาน
86-87 จุดประสงค 4. การสรางแบบจําลอง
5. การลงความเห็นจากขอมูล
3. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 4 สรางแบบจําลองและใชแบบจําลองอธิบายการเกิดวัฏจักรนํ้า 6. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
7. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด ตองเตรียมตองใช
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช 1. หนังยาง 1 ถุง 7. นํ้า 2 ขวด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) 2. ถุงพลาสติกใส 1 ใบ 8. นํ้าแข็ง 1 ถุง
3. กลองพลาสติกใสใบเล็ก 1 ใบ 9. สีไม 1 กลอง
อธิบายความรู 4. กลองพลาสติกใสใบใหญ 1 ใบ 10. ดินทราย 1 ถุง
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล 5. กระดาษแข็งแผนใหญ 1 แผน 11. ดินเหนียว 1 ถุง
จากการทํากิจกรรมภายในกลุม 6. แหลงขอมูล เชน หนังสือ อินเทอรเน็ต
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ
แบบจํ า ลองการเกิ ด วั ฏ จั ก รนํ้ า หน า ชั้ น เรี ย น ลองทําดู µÍ¹·Õè 1
โดยครูสุมจับสลากเลือกนักเรียนทีละกลุม 1. แบงกลุม จากนัน้ ชวยกันสืบคนขอมูลเกีย่ วกับการเกิดและปจจัยทีม่ ผี ลตอการเกิดวัฏจักรนํา้
แลวบันทึกผลลงในสมุด
2. รวมกันแสดงความคิดเห็น จากนั้นนําขอมูลมาเขียนแผนภาพแสดงการเกิดวัฏจักรนํ้า
ลงในกระดาษแข็งแผนใหญ พรอมตกแตงใหสวยงาม
3. นําเสนอแผนภาพแสดงการเกิดวัฏจักรนํ้าหนาชั้นเรียน
µÍ¹·Õè 2
1. รวมกันตั้งสมมติฐานวา วัฏจักรนํ้าเกิดขึ้นได
อยางไร
2. ทํ า การทดลองเพื่ อ ตรวจสอบสมมติ ฐ าน
โดยใส ดิ น เหนี ย วลงในกล อ งพลาสติ ก ใส
ดินทราย
ใบใหญตรงกลางกลอง โดยปน ใหดนิ เหนียวมี
ลักษณะเปนภูเขาสูงขึน้ มาเกือบถึงปากกลอง
ภาพที่ 6.43 ปนดินเหนียวใหมี
ลักษณะเปนภูเขา
86

เกร็ดแนะครู เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 4


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1)
กอนการทํากิจกรรมที่ 4 เรื่อง วัฏจักรนํ้า ครูอาจใชเกมผึ้งแตกรังเพื่อ
การเกิดวัฏจักรนํ้า
แบงกลุมนักเรียน โดยใหนักเรียนเลนเกม 2-3 ครั้ง จนไดกลุมครบทุกคน ซึ่งมี
วิธีการเลน ดังนี้ วัฏจักรนํ้า เกิดจากนํ้าในแหลงนํ้าตางๆ ไดรับความรอนจากแสงอาทิตย
ใหนักเรียนแตละคนคิดวา ตนเองตองการเปนตัวผึ้งหรือตองการเปนรังผึ้ง แลวเกิดการระเหยกลายเปนไอนํ้าลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอนํ้าลอยไป
กระทบกับความเย็นในอากาศ จะเกิดการควบแนนกลายเปนละอองนํา้ เล็กๆ
โดยครูจะออกคําสั่งแลวใหนักเรียนวิ่งไปรวมกลุมกัน ซึ่งกําหนดใหนักเรียนที่ยืน จํานวนมากเกาะกลุม รวมตัวกันเปนเมฆ จนอากาศไมสามารถพยุงไวได และ
ลอมวง คือ รังผึ้ง และนักเรียนที่ยืนอยูในวง คือ ตัวผึ้ง ทั้งนี้ นักเรียนคนใดที่ไมมี ตกลงมาเปนฝนไหลลงสูแ หลงนํา้ ตางๆ และเมือ่ นํา้ จากแหลงนํา้ ตางๆ ไดรบั
กลุม หรือนักเรียนกลุม ใดมีจาํ นวนรังผึง้ หรือจํานวนตัวผึง้ ไมครบตามจํานวนทีค่ รู ความรอนจากแสงอาทิตยก็จะระเหยกลายเปนไอนํ้าขึ้นไปในอากาศ และ
ออกคําสั่ง จะถูกลงโทษดวยวิธีการตางๆ ที่สนุกสนาน เชน การเตนตามเพลง ตกลงมาเปนฝนอีก หมุนเวียนเชนนี้ไมสิ้นสุด
การรองเพลง หรืออื่นๆ ตามความเหมาะสม ตัวอยางการออกคําสั่งของครู เชน ปจจัยที่มีผลตอการเกิดวัฏจักรนํ้า
• มีผึ้ง 2 ตัว อยูในรังผึ้ง 4 รัง
1. ความรอน
• มีผึ้ง 3 ตัว อยูในรังผึ้ง 6 รัง 2. ลม
• มีผึ้งและรังผึ้งลอมวง 8 ตัว 3. ปาไม

T96
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ อธิบายความรู
3. นักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับ
การเกิดวัฏจักรนํ้า จนไดขอสรุปวา เมื่อนํ้า
จากแหลงนํ้าตางๆ ไดรับความรอนมาจาก
3. ใส่ดินทรายลงในกล่องพลาสติกใสใบใหญ่ฝัง
แสงอาทิตย แลวระเหยกลายเปนไอนํ้าลอยไป
ซ้ายมือเกือบครึ่งกล่อง จากนั้นใส่น�้าลงไป ในอากาศ เมื่อไอนํ้าไปกระทบกับความเย็น
ทั้งฝังซ้ายและฝังขวาจนเกือบเต็มกล่อง ในอากาศ จะควบแนนกลายไปเปนละอองนํ้า
4. วางกล่องพลาสติกใสใบเล็กลงบนยอดภูเขา เล็กๆ รวมตัวกันเปนเมฆ และเมื่อละอองนํ้า
ที่ปันขึ้นในกล่องพลาสติกใสใบใหญ่ แล้ว ในเมฆมีจํานวนมากขึ้นจนอากาศไมสามารถ
ใช้ถุงพลาสติกใสปิดปากกล่องพลาสติกใส รั บ นํ้ า หนั ก ได จ ะตกลงมาสู  พื้ น โลกเป น ฝน
ใบใหญ่ให้สนิท และใช้หนังยางมัดให้แน่น จากนัน้ นํา้ ฝนจะไหลกลับสูแ หลงนํา้ ตางๆ หรือ
5. ให้วางน�้าแข็งไว้บนถุงพลาสติกใสให้ตรงกับ ซึมลงใตดิน และนํ้าจากแหลงนํ้าตางๆ ก็จะ
บริเวณปากกล่องพลาสติกใสใบเล็ก โดย ภาพที่ 6.44 ใส่ดินทรายลงในกล่องพลาสติก ระเหยเปนไอนํ้าขึ้นไปในอากาศ และจะตกลง
ใส่น�้าแข็งจนถุงพลาสติกใสหย่อนลงไปใน มาเป น ฝนอี ก หมุ น วนเวี ย นกั น อยู  เ ช น นี้ ไ ม
กล่องใบเล็กเล็กน้อย น�าไปตั้งไว้กลางแดด สิ้นสุด เรียกปรากฏการณนี้วา วัฏจักรนํ้า
ที่ร้อนจัดประมาณ 60 นาที คอยเติมน�้าแข็ง (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ไปเรื่อย ๆ จนสังเกตเห็นหยดน�้าตกลงใน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
กล่องพลาสติกใบเล็ก แล้วบันทึกผล
6. น�าเสนอแบบจ�าลองการเกิดวัฏจักรน�้า เพื่อ
อธิบายการเกิดวัฏจักรน�้าหน้าชั้นเรียน
7. ร่ ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป ผลการทดลอง
เกี่ยวกับการเกิดวัฏจักรน�้าภายในชั้นเรียน ภาพที่ 6.45 น�าแบบจ�าลองการเกิด
วัฏจักรน�้าไปตากแดด
แนวตอบ หนูตอบได
หนูตอบได ขอ 4.
1. อธิบายการเกิดวัฏจักรน�้า พร้อมวาดภาพประกอบ • เห็นดวย เพราะการทําฝนเทียมทําใหฝนตกลง
2. น�้าในวัฏจักรน�้ามีการเปลี่ยนสถานะหรือไม่ อย่างไร มาในพืน้ ทีท่ ขี่ าดแคลนนํา้ ซึง่ เปนวิธที รี่ วดเร็ว ทําให
3. นักเรียนคิดว่า การตัดไม้ท�าลายป่าส่งผลต่อปริมาณน�้าในวัฏจักรน�้าหรือไม่ อย่างไร เกิดวัฏจักรนํ้าไดตอไป
4. นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ว่า การท�าฝนเทียมคือการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับวัฏจักรน�้า • ไมเห็นดวย เพราะการทําฝนเทียมทําใหเกิด
การสิ้นเปลืองทรัพยากรมาก ทั้งนํ้ามันและสารเคมี
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 87 ดังนั้น การแกปญหาควรแกที่ตนเหตุ เชน การ
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู ชวยกันใชนํ้าอยางประหยัดและชวยกันอนุรักษนํ้า
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ใหมากขึ้น

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 4
ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2)
แบบจําลอง ผลการสังเกต
มีหยดนํ้าเกิดขึ้นบริเวณกนถุง
พลาสติก และมีนํ้าอยูภายใน
กลองพลาสติกใสใบเล็ก

สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา วัฏจักรนํ้าเกิดจากนํ้าในแหลงตางๆ ไดรับ


ความรอนจากแสงอาทิตย แลวเกิดการระเหยกลายเปนไอนํา้ ลอยขึน้ ไปในอากาศ
เมื่อไอนํ้าไปกระทบกับความเย็นในอากาศจะเกิดการควบแนนเปนละอองนํ้า
เล็กๆ จํานวนมากเกาะกลุมรวมตัวกันเปนเมฆ จนอากาศไมสามารถพยุงไว
ได และตกลงมาเปนฝน นํ้าเปลาในแบบจําลองแทน แหลงนํ้าตางๆ นํ้าแข็งใน
แบบจําลองแทน ความเย็นในอากาศ และการนําแบบจําลองไปตากแดดเพื่อให
ไดรับความรอนจากแสงอาทิตย
T97
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก การเปลี่ยนสถานะของนํ้าทําใหเกิดการหมุนเวียนจนเกิดเปนวัฏจักรนํ้า
หนังสือเรียน หนา 87 ลงในสมุดหรือทําลงใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
โดยเริ่มจากเมื่อนํ้าจากแหลงนํ้าตาง ๆ เชน มหาสมุทร ทะเล แมนํ้า ไดรับ
2. นักเรียนทุกคนชวยกันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ ความรอนจากแสงอาทิตย แลวระเหยกลายเปนไอนํ้าลอยขึ้นไปในอากาศ
วัฏจักรนํ้า จากหนังสือเรียน หนา 88-90 และ เมื่อไอนํ้าไปกระทบกับความเย็นในอากาศจะควบแนนกลายเปนละอองนํ้าเล็ก ๆ
ศึกษาขอมูลจาก PowerPoint เรื่อง วัฏจักรนํ้า รวมตัวกันเปนเมฆ เมื่อละอองนํ้าในเมฆมีจํานวนมากขึ้นจนอากาศไมสามารถ
จากนั้นครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน ให รับนํ้าหนักไดจะตกลงเปนฝน ซึ่งบางสวนจะระเหยกลับสูบรรยากาศ บางสวน
สรุปเนื้อหาที่ศึกษาใหเพื่อนในชั้นเรียนฟง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ไหลลงสูแหลงนํ้าตามธรรมชาติหรือซึมลงใตดิน บางสวนมนุษย สัตว หรือพืช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) นํานํ้าไปใชในการบริโภคหรืออุปโภค และนํ้าจากแหลงตาง ๆ ก็จะระเหยกลาย
เปนไอนํ้าขึ้นไปในอากาศ และจะตกลงมาเปนฝนอีก หมุนวนเวียนกันอยูเชนนี้
ไมสิ้นสุด ปรากฏการณดังกลาวนี้ เรียกวา วัฏจักรนํ้า

ไอนํ้า

ไอนํ้า

ไอนํ้า
ไอนํ้า

ไอนํ้า

88

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายแลวเชื่อมโยงกับเนื้อหาในหนวยการเรียนรูที่ 5 บทที่ 1 เรื่อง แสงอาทิตยมีผลตอวัฏจักรนํ้าอยางไร
การเปลี่ยนสถานะของสสาร ใหนักเรียนเขาใจวา ความรอนจากแสงอาทิตย 1. ทําใหนํ้าไมเปลี่ยนสถานะ
ทําใหนาํ้ แข็งบริเวณขัว้ โลกเกิดการหลอมเหลวกลายเปนนํา้ นํา้ ในแหลงนํา้ ตางๆ 2. ทําใหไอนํ้าเกิดการควบแนน
เมื่อไดรับความรอนจากแสงอาทิตยจะเกิดการระเหยกลายเปนไอนํ้าลอยขึ้น 3. ทําใหนํ้าเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเปนไอนํ้า
ไปในอากาศ และเมื่อไอนํ้าในอากาศกระทบกับความเย็นในอากาศจะเกิดการ 4. ทําใหนํ้าเปลี่ยนสถานะจากไอนํ้ากลับมาเปนหยดนํ้า
ควบแนนกลายเปนหยดนํ้า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเหลานี้ เราเรียกวา การ (วิเคราะหคําตอบ เมื่อแหลงนํ้าตางๆ ไดรับความรอนมาจาก
เปลี่ยนสถานะของสสาร แสงอาทิตย จะทําใหนาํ้ เปลีย่ นสถานะจากของเหลวกลายเปนไอนํา้
แลวลอยขึ้นไปในอากาศ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
สื่อ Digital
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับวัฏจักรนํ้าเพิ่มเติม จากสื่อ PowerPoint เรื่อง
วัฏจักรนํ้า

T98
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 6 ขัน้ สอน


áËÅ‹§¹íéÒáÅÐÅÁ¿‡ÒÍÒ¡ÒÈ ขยายความเขาใจ
แผนภาพ แสดงการเกิดวัฏจักรน�้า 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 2 กลุม เทาๆ
กัน แลวใหไปนั่งรวมกัน
4. ครูถามนักเรียนทุกกลุมวา
• การทําลายพืน้ ทีป่ า ในบริเวณตางๆ ของโลก
2 . ไอน�้าควบแน่นเป็นละอองน�้าเล็ก ๆ 3. เมื่อละอองน�้าในเมฆมีจ�านวนมากขึ้น มีผลตอวัฏจักรนํ้าหรือไม อยางไร
และรวมตัวเป็นเมฆ จนอากาศไม่สามารถรับน�้าหนักหรือพยุง (แนวตอบ มีผลตอวัฏจักรนํ้า เพราะตนไมมี
ไว้ได้จะตกลงมาเป็นฝน การคายนํ้าออกสูบรรยากาศ ทําใหสภาพ
อากาศมีความชุมชื้น ชวยทําใหฝนตก และ
ยังเปนแหลงตนนํา้ ลําธาร ถาบริเวณใดพืน้ ที่
ปาไมถูกทําลายมาก ก็จะเกิดสภาพอากาศ
ไอน�้า แหงแลง)
5. นักเรียนแตละกลุม ชวยกันระดมความคิด แลว
เขียนคําตอบลงในกระดาษ A4 จากนั้นสง
ไอน�้า
ตัวแทนมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียนทีละกลุม
ไอน�้า
โดยมีครูคอยแนะนําในสวนที่บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ไอน�้า

1. น�้าในแหล่งน�้าได้รับความร้อน
จากแสงอาทิตย์ แล้วระเหยเป็น 4. น�้าฝนไหลกลับสู่แหล่งน�้าต่าง ๆ
ไอน�้าลอยขึ้นไปในอากาศ หรือซึมลงใต้ดิน

89

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดคือปจจัยที่มีผลตอวัฏจักรนํ้า ครูอาจอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา นํา้ ใตดนิ (underground water)
1. ลม ปาไม ความรอน เกิดจากนํา้ ทีไ่ หลซึมผานชัน้ ดินไปอยางชาๆ แลวลงไปขังอยูต ามชองวางของดิน
2. ลม ความรอน สีของนํ้า หรือหิน เมื่อนํ้ามีปริมาณมากจะรวมตัวกันเปนแหลงนํ้าใตดิน เชน นํ้าบาดาล
3. ความเค็มของนํ้า ลม ความรอน (groundwater)
4. ปาไม สีของนํ้า ความเค็มของนํ้า
(วิเคราะหคําตอบ ปจจัยที่มีผลตอวัฏจักรนํ้า คือ ลม ปาไม
ความรอน ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T99
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
6. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเ กีย่ วกับเรือ่ ง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดวัฏจักรน�้ามีหลายประการ ดังนี้
ที่ไดเรียนมาจากบทที่ 2 ในรูปแบบตางๆ เชน
แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด 1. ความร้อน 2. ลม 2. ป่าไม้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช เมื่ อ น�้ า ได้ รั บ ความร้ อ น ถ้ า น�้ า ในแหล่ ง น�้ า ระเหย บริเวณป่าไม้จะมีการสะสม
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) จากแสงอาทิ ต ย์ จ ะเปลี่ ย น กลายเป็ น ไอน�้ า และลอยขึ้ น น�้าไว้ในปริมาณมาก เพราะ
สถานะกลายเป็นไอน�้า เมื่อ ไปในอากาศ จะท�าให้อากาศ ต้นไม้ช่วยชะลอการไหลของ
ไอน�้ากระทบความเย็นจะคาย มีไอน�้าจ�านวนมาก และเมื่อ น�้าฝน ท�าให้พื้นดินดูดซับน�้า
ความร้อน แล้วเปลี่ยนสถานะ มีลมพัดไอน�้าไปยังบริเวณอื่น ได้ดี จึงมีปริมาณน�า้ ใต้ดนิ มาก
กลายเป็นของเหลว คือ น�้า น�้ า ในแหล่ ง น�้ า ก็ จ ะระเหยได้ เกิดเป็นแหล่งต้นน�้าล�าธาร
มากขึ้น

ภาพที่ 6.46 ดวงอาทิตย์ ภาพที่ 6.47 ลม ภาพที่ 6.48 ป่าต้นน�า้

กิจกรรม สรุปความรูป้ ระจ�าบทที่ 2


ตรวจสอบตนเอง
หลังเรียนจบหน่วยนี้แล้ว ให้นักเรียนบอกสัญลักษณ์ที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
เกณฑ์
รายการ ดี พอใช้ ควรปรับปรุง

1. เข้าใจเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
2. สามารถท�ากิจกรรมและอธิบายผลการท�ากิจกรรมได้
3. สามารถตอบค�าถามจากกิจกรรมหนูตอบได้ได้
4. ท�างานกลุ่มร่วมกับเพื่อนได้ดี
5. น�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้
90

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา ปาไมเปรียบเสมือนอางเก็บนํ้า ลมมีผลตอการเกิดวัฏจักรนํ้าหรือไม เพราะอะไร
ธรรมชาติที่สําคัญ เนื่องจากรากของตนไมสามารถดูดนํ้าจากดินขึ้นไปสะสมไว 1. ไมมี เพราะปจจัยที่มีผลตอวัฏจักรนํ้า คือ แสงอาทิตย
ยังสวนตางๆ ของพืช นอกจากนี้ ตนไมยังมีการคายนํ้าเปนไอนํ้ากระจายไปสู 2. ไมมี เพราะลมไมสามารถทําใหนํ้าเปลี่ยนสถานะกลายเปน
อากาศอีกดวย ดังนั้น ปาไมจึงมีสวนสําคัญในการชวยใหเกิดวัฏจักรนํ้า ไอนํ้าได
3. มี เพราะลมชวยใหนํ้าในแหลงนํ้าตางๆ ระเหยไดมากขึ้น
4. มี เพราะลมทําใหนาํ้ เปลีย่ นสถานะจากนํา้ กลายเปนไอนํา้ ได
(วิเคราะหคําตอบ ลมมีผลตอวัฏจักรนํ้า เพราะถานํ้าในแหลงนํ้า
ระเหยกลายเปนไอนํา้ ลอยขึน้ ไปในอากาศ ทําใหอากาศมีไอนํา้ มาก
และเมือ่ มีลมพัดไอนํา้ ไปยังบริเวณอืน่ นํา้ ในแหลงนํา้ ก็จะระเหยได
มากขึ้น ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

ปาไม
T100
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน

ÊÃØ» ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 2 ขยายความเขาใจ
7. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ
ในหนังสือเรียนหนานี้
เกิดจากไอนํ้ าควบแน่ นเป็น
ละอองนํ้ าเกาะอยู่บนพื้นผิว
8. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหสรุปความรูที่ไดจาก
หมอก การ
เกิด ของวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ พื้นดิน การศึกษาขอมูล จากหนังสือเรียนหนานี้ แลว
เมฆ ไอน�้า
หม ใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันเสริมในสวนที่

คา้ ง
บกพรอง


ไอน�้า
แม่น�้า

น้ าํ
การเกิดเมฆ รเ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช

กดิ
กา
แม่น�้า แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
เกิดจากไอนํ้ าควบแน่ น

ฆ หมอ ้ าํ คา้ งแขง็ เป็นละอองนํ้ าเกาะอยูบ ่ น
เม ง และน พื้นผิววัตถุในบริเวณที่มี
คา้ อุ ณ หภู มิ ใ กล้ พ้ื น ดิ น ตํ่ า
น้ าํ กว่าจุดเยือกแข็ง
การ
ิ น้ าํ คา้ งแขง็
เกด

มฐ. ว 3.2 ป.5/3-ป.5/5


เมฆ
ปรากฏการณ์ ก
าร

ลมฟ้าอากาศ
เก
ดิ ว

ไอน�้า
ฝน
ฏั จก
ั รน้ าํ

แม่น�้า
การ
เกด
ิ ฝน หยาดน้ าํ ฟา้
ฝน
เมฆ

หิมะ
การเ
กิด กด
ิ ลูกเห็ บ
รเ
กา

ไอน�้า

เกิดจากไอนํ้ าในอากาศ เกิ ด จากหยดนํ้ าเปลี่ ย น


ร ะ เ หิ ด ก ลั บ เ ป็ น ผ ลึ ก เป็ น นํ้ าแข็ ง แล้ ว ถู ก พายุ
นํ้ าแข็ ง จากนั้ น รวมตั ว พัดวนในเมฆฝนฟ้าคะนอง
กั น จนหนั ก มาก และ จนหยดนํ้ ากลายเป็นก้อน
ตกลงพื้นโลก นํ้ าแข็ง แล้วตกลงพื้นโลก

91

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“เมือ่ ไอนํา้ ในอากาศระเหิดกลับเปนผลึกนํา้ แข็ง จากนัน้ รวมตัว เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ
กันจนหนักมาก และตกลงสูพ นื้ โลกในสถานะของแข็ง” จากขอมูล เรื่อง ปรากฏการณลมฟาอากาศ คนละ 1 คําถาม แลวครูสุมเรียกใหนักเรียน
เปนกระบวนการเกิดของขอใด บอกคําถามของตนเอง จากนั้นใหเพื่อนคนอื่นๆ ชวยกันแสดงความคิดเห็นวา
1. ฝน จะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรตอบคําถามนี้ไดอยางไร โดยครูทําหนาที่เปน
2. หิมะ ผูชี้แนะและสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียนอยางใกลชิด
3. ลูกเห็บ การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา)
4. นํ้าคางแข็ง เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน
(วิเคราะหคําตอบ หิมะ เกิดจากไอนํ้าในอากาศระเหิดกลับเปน เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร
ผลึกนํ้าแข็ง จากนั้นรวมตัวกันจนหนักมาก และตกลงสูพื้นโลกใน
สถานะของแข็ง ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T101
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
¡Ôจ¡รรม º··ีè 2
9. แตละคนทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 2 จาก
หนังสือเรียน หนา 92-94 เปนการบาน โดย
½ƒ¡ทÑ¡Éะ
ทําลงในสมุดหรือลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร 1. ตอบค�าถามต่อไปนี้
ป.5 เลม 2 แลวนํามาสงครูในชั่วโมงถัดไป 1) ฝนจัดเป็นหยาดน�้าฟ้าหรือไม่ เพราะเหตุใด
2) การเกิดน�้าค้างและน�้าค้างแข็งแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
3) น�้าค้างแข็งส่งผลต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวันหรือไม่ อย่างไร
4) จากการศึกษาเรื่องการเกิดเมฆสรุปได้ว่า เมฆเกิดขึ้นได้อย่างไร
5) “น�า้ และน�า้ ค้างแข็งถูกจัดเป็นหยาดน�า้ ฟ้า” จากข้อความนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่
เพราะเหตุใด
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ 2. ดูภาพ แล้วอธิบายการเกิดมาพอสังเขป
ขอ 1.
1) ฝนเปนหยาดนํ้าฟา เพราะฝนตกจากฟาลง 1 2
มาสูพื้นโลกในสถานะของเหลว
2) แตกต า งกั น เพราะนํ้ า ค า งเกิ ด จากไอนํ้ า
ควบแนนเปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุ
ที่อยูใกลๆ พื้นดิน สวนนํ้าคางแข็งเกิดจากไอนํ้า
ควบแน น เป น ละอองนํ้ า เกาะอยู  บ นพื้ น ผิ ว วั ต ถุ ที่ เมฆ หมอก
อยูใกลๆ พื้นดินในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกลพื้นดิน
ตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง
3) มี เพราะหากเกิดนํ้าคางแข็งเปนเวลานาน
3 4
อาจสงผลทําใหพืชผลทางการเกษตรเสียหาย เชน
หยุดการเจริญเติบโต มีใบหงิกงอ ใบแหงและรวง
4) เมฆ เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปน
ละอองนํ้าขนาดเล็กจํานวนมาก โดยมีละอองลอย
เชน เกลือ ฝุนละออง เปนอนุภาคแกนกลาง เมื่อ น�้าค้างเกาะบนใยแมงมุม น�้าค้างแข็งบนใบไม้
ละอองนํ้าจํานวนมากเกาะกลุมรวมกันลอยอยูสูง (ที่มาภาพ : https://pixabay.com)
จากพื้นดิน
5) ไมเห็นดวย เพราะนํ้าและนํ้าคางแข็งไมใช
92
หยาดนํ้าฟา เนื่องจากไมไดตกลงมาจากฟา สวน
นํ้าฝน หิมะ และลูกเห็บถูกจัดเปนหยาดนํ้าฟา

ขอ 2. ขอสอบเนน การคิด


1) เมฆ เกิดจากไอนํา้ ในอากาศควบแนนเปนละอองนํา้ ขนาดเล็กจํานวนมาก “นํา้ คางและนํา้ คางแข็งมีลกั ษณะแตกตางกัน” ขอความนีก้ ลาว
โดยมีละอองลอย เชน เกลือ ฝุนละออง เปนอนุภาคแกนกลาง เมื่อละอองนํ้า ไดถูกตองหรือไม เพราะอะไร
จํานวนมากเกาะกลุมรวมกันลอยอยูสูงจากพื้นดิน เรียกวา เมฆ 1. ถูกตอง เพราะนํา้ คางอยูใ นสถานะของเหลว สวนนํา้ คางแข็ง
2) หมอก เกิดจากไอนํ้าในอากาศควบแนนเปนละอองนํ้าขนาดเล็กจํานวน อยูในสถานะของแข็ง
มาก โดยมีละอองลอย เชน ฝุนละออง เปนอนุภาคแกนกลาง เมื่อละอองนํ้า 2. ถูกตอง เพราะนํ้าคางเกิดอยูใกลกับพื้นดิน สวนนํ้าคางแข็ง
จํานวนมากเกาะกลุมรวมกันลอยอยูใกลพื้นดิน เรียกวา หมอก เกิดอยูไกลจากพื้นดิน
3) นํ้าคาง เกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิวของวัตถุ 3. ไม ถู ก ต อ ง เพราะนํ้ า ค า งและนํ้ า ค า งแข็ ง อยู  ใ นสถานะ
ที่อยูใกลๆ พื้นดิน เดียวกัน
4) นํ้าคางแข็ง เกิดจากไอนํ้าควบแนนเปนละอองนํ้าเกาะอยูบนพื้นผิววัตถุ 4. ไมถกู ตอง เพราะนํา้ คางและนํา้ คางแข็งเกิดอยูส งู จากพืน้ ดิน
ที่อยูใกลๆ พื้นดินในบริเวณที่มีอุณหภูมิใกลพื้นดินตํ่ากวาจุดเยือกแข็ง เหมือนกัน
(วิเคราะหคําตอบ นํ้าคางอยูในสถานะของเหลว สวนนํ้าคางแข็ง
อยูในสถานะของแข็ง ซึ่งนํ้าคางและนํ้าคางแข็งจะเกาะตามใบไม
ใบหญา ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T102
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
10. ใหแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิดขั้นสูง
3. ขีด ✓ หน้าข้อความที่กล่าวถูก และกา ✗ หน้าข้อความที่กล่าวผิด ลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
....................... 1) ลูกเห็บอาจท�าให้ทรัพย์สินเสียหายได้
11. นักเรียนแบงกลุมตามความสมัครใจ กลุมละ
3-4 คน แลวนักเรียนแตละกลุมชวยกันทํา
....................... 2) หยาดน�้าฟ้าทุกชนิดมีลักษณะเป็นของแข็ง
กิจกรรมสรางสรรคผลงาน โดยใหนักเรียน
....................... 3) หมอกหนาจัดเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
ศึ ก ษารายละเอี ย ดในกิ จ กรรมสร า งสรรค
....................... 4) เมฆคิวมูโลนิมบัสท�าให้เกิดพายุและฝนฟ้าคะนอง
ผลงาน จากหนังสือเรียน หนา 95 จากนั้น

ลงใ ตัว) 5) เมฆนิมโบสตราตัสและเมฆคิวมูลัสเป็นเมฆชั้นกลาง
ึก....................... ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ร ว มกั น ทํ า กิ จ กรรม
ท จ�า
(บัน .......................
ประ 6) เมื่อน�้าได้รับความร้อนจะเกิดการระเหยเป็นไอน�้าเล็ก ๆ พรอมทั้งนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
สม ด

....................... 7) น�้าค้างแข็งมีชื่อในภาษาถิ่นทางภาคเหนือว่า “แม่คะนิ้ง” 12. นั ก เรี ย นทํ า ทบทวนท า ยหน ว ยการเรี ย นรู 
....................... 8) ละอองน�้าที่เกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้ ๆ พื้นดิน คือ น�้าค้าง ที่ 6 แหลงนํา้ และลมฟาอากาศ ในแบบฝกหัด
....................... 9) การเกิดฝนมีกระบวนการเหมือนการเกิดหยดน�้าบนฝาหม้อหุงข้าว วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
.................. 10) ในเขตอากาศร้ อ น หิ ม ะจะหลอมเหลวกลายเป็ น ของเหลวก่ อ นตก
13. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อ
ถึงพื้นโลก ตรวจสอบความรูที่ไดจากการเรียนในหนวย
การเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ
4. จับคู่ตัวอักษรด้านขวามือกับข้อความด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กัน
1) มองเห็นเป็นละอองน�้าที่เกาะอยู่ตามใบไม้ ใบหญ้า
บริเวณใกล้พื้นดินทั้ง ๆ ที่ไม่มีฝนตก ก. ฝน
2) เป็นหยาดน�้าฟ้าที่อยู่ในสถานะของเหลว เกิดจาก ข. หิมะ
ละอองน�้าที่อยู่ในเมฆรวมตัวกันจนตกลงสู่พื้นโลก ค. เมฆ
3) เกิดจากไอน�้าในอากาศระเหิดกลับเป็นผลึกน�้าแข็ง
จากนัน้ รวมตัวกันจนมีนา�้ หนักมาก แล้วตกลงสูพ่ นื้ ง. หมอก
4) เกิดจากไอน�า้ ในอากาศควบแน่นเป็นละอองน�า้ เล็ก ๆ จ. น�้าค้าง
แล้วละอองน�า้ เกาะกันลอยอยูส่ งู จากพืน้ ดินมาก ฉ. ลูกเห็บ
5) เกิดจากหยดน�้าเปลี่ยนเป็นน�้าแข็ง แล้วถูกพายุพัด แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
วนซ�า้ ไปซ�า้ มาในเมฆฝนฟ้าคะนอง จนน�า้ กลายเป็น ช. น�้าค้างแข็ง
ขอ 3.
น�้าแข็ง แล้วตกลงสู่พื้นโลก 1) ✓ 2) ✗ 3) ✓ 4) ✓ 5) ✗
6) ✓ 7) ✗ 8) ✓ 9) ✓ 10) ✓
93
ขอ 4.
1) จ 2) ก 3) ข 4) ค 5) ฉ

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


“A เกิดมาจากหยดนํ้าที่เปลี่ยนเปนนํ้าแข็ง แลวถูกพายุพัดวน หลังเรียนจบหนวยการเรียนรู ครูสามารถใชแบบทดสอบหลังเรียน หนวย
ในเมฆฝนฟาคะนอง จนหยดนํ้ากลายเปนกอนนํ้าแข็ง แลวตกลง การเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ จากทายแผนการจัดการเรียนรูของ
มาสูพื้นโลกในสถานะของแข็ง” จากขอมูล A คือขอใด หนวยการเรียนรูที่ 6 ได เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน
1. ฝน ดังภาพตัวอยาง
2. หิมะ
3. ลูกเห็บ แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

4. นํ้าคางแข็ง
ค้าชีแจง : ให้นักเรียนเลือกค้าตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดี ยว

1. ข้อใดคือแหล่งน้้าที่มนุษย์ไม่สามารถน้ามาอุปโภคและ 6. ลักษณะอากาศในข้อใดท้าให้แหล่งน้้าตามธรรมชาติระเหยได้เร็ว
บริโภคได้ ที่สุด
1) มหาสมุทร 1) ฝนตก
2) ล้าธาร 2) มีหมอก

(วิเคราะหคาํ ตอบ ลูกเห็บ เกิดมาจากหยดนํา้ ทีเ่ ปลีย่ นเปนนํา้ แข็ง 3) แม่น้า


4) บึง
2. ลมมีผลต่อการเกิดวัฏจักรน้้าอย่างไร
1) ช่วยให้น้าไหลกลับสู่แหล่งน้้า
3) ร้อนจัด
4) หนาวจัด
7. ข้อใดไม่ใช่แหล่งน้้าผิวดิน
1) คลอง

แลวถูกพายุพัดวนในเมฆฝนฟาคะนอง จนหยดนํ้ากลายเปนกอน
2) ช่วยให้ไอน้้ากลายเป็นหยดน้้าเร็วขึ้น 2) ทะเล
3) ช่วยให้ไอน้้าควบแน่นกลายเป็นหยดน้้า 3) น้้าบาดาล
4) ช่วยพัดพาไอน้้าในอากาศไป ท้าให้น้าระเหยได้เร็วขึ้น 4) มหาสมุทร
3. เมื่อไอน้้ากระทบความเย็นจะเกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างไร 8. ปรากฏการณ์ใดที่มีสถานะเป็นของแข็ง
1) ลอยขึ้นไปในอากาศ 1) เมฆ

นํ้าแข็ง แลวตกลงมาสูพื้นโลกในสถานะของแข็ง ดังนั้น ขอ 3.


2) เป็นไอน้้าเหมือนเดิม 2) ลูกเห็บ
3) รวมตัวกลายเป็นน้้าแข็ง 3) หมอก
4) ควบแน่นกลายเป็นหยดน้้า 4) น้้าค้าง
4. ใครใช้น้าอย่างประหยัด 9. เมฆแตกต่างจากหมอกอย่างไร
1) นุ่มล้างจานจากก๊อกน้้าโดยตรง 1) เมฆเป็นไอน้้า หมอกเป็นหยดน้้า

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
2) ออฟปิดก๊อกน้้าให้สนิทหลังใช้งาน 2) เมฆเป็นละอองน้้า หมอกเป็นไอน้้า
3) แหวนอาบน้้าโดยใช้ขันตักน้้าแทนการใช้ฝักบัว 3) เมฆเกิดตอนเย็น หมอกเกิดตอนเช้า
4) นุ้ยน้าน้้าสุดท้ายของการซักผ้าไปทิ้งลงท่อระบายน้า้ 4) เมฆเกิดในระดับสูง หมอกเกิดในระดับต่้าใกล้พื้นดิน
5. วีรพงษ์สังเกตเห็นหยดน้้าบนใบไม้ในตอนเช้าทั้ง ๆ ที่ไม่มี 10. หากก้าหนดให้น้าบนโลกมี 100 เปอร์เซ็นต์ ข้อใดคือปริมาณ
ฝนตก นักเรียนคิดว่า หยดน้้าที่วีรพงษ์สังเกตเห็น คือ สิ่งใด ของน้้าจืด
1) หิมะ 1) 2.5 เปอร์เซ็นต์
2) 25.5 เปอร์เซ็นต์
2) น้้าค้าง
3) 75.5 เปอร์เซ็นต์
3) ลูกเห็บ
4) 97.5 เปอร์เซ็นต์
4) แม่คะนิ้ง

เฉลย 1. 1) 2. 4) 3. 4) 4. 2) 5. 2) 6. 3) 7. 3) 8. 2) 9. 4) 10. 1)

T103
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จาก
หนังสือเรียน หนา 90 จากนั้นถามนักเรียน
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ
5. ดูภาพ แล้วอธิบายว่ามีประโยชน์หรือมีโทษต่อชีวิตประจ�าวันหรือไม่ อย่างไร
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน 1 2
2. ครูใหนักเรียนสรุปความรูจากการเรียนจนได
ขอสรุปรวมกันวา วัฏจักรนํา้ เปนการหมุนเวียน
ของนํา้ ทีม่ แี บบรูปซํา้ เดิม และตอเนือ่ งระหวาง
นํ้าในบรรยากาศ นํ้าผิวดิน และนํ้าใตดิน โดย
พฤติกรรมการดํารงชีวติ ของพืชและสัตวสง ผล
ตอวัฏจักรนํ้า
6. ดูแผนภาพ แล้วเขียนอธิบายการเกิดวัฏจักรน�้ามาพอสังเขป
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
ขอ 5.
1) ฝนมีประโยชน เชน ทําใหมคี วามหลากหลาย 3
ทางชีวภาพ มีนํ้าหมุนเวียนในวัฏจักรนํ้า มีโทษ 2
เชน หากตกเปนเวลานานจะทําใหเกิดนํ้าทวมได
2) ลูกเห็บมีโทษ เชน ทําใหผลผลิตทางการ
เกษตรและทรัพยสินเสียหาย นอกจากนี้ อาจเกิด
อันตรายตอรางกายของมนุษยหรือสัตว
ขอ 6.
การเกิดวัฏจักรนํ้า
1. นํ้าในแหลงนํ้าตางๆ ไดรับความรอนจาก 4 1
แสงอาทิตย แลวเกิดการระเหยกลายเปนไอนํ้า
ลอยขึ้นไปในอากาศ
2. ไอนํ้ า ควบแน น เป น ละอองนํ้ า เล็ ก ๆ และ
รวมตัวเปนเมฆ
3. เมื่ อ ละอองนํ้ า ในเมฆมี จํ า นวนมากขึ้ น จน
กิจกรรม ท้าทา¡ารคÔ´¢Ñนé สูง
อากาศไมสามารถรับนํา้ หนักหรือพยุงไวไดจะตกลง
มาเปนฝน
94
4. นํ้าฝนไหลกลับสูแหลงนํ้าตางๆ หรือซึมลง
ใตดิน

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะเสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนรู ขอใดกลาวเกี่ยวกับลูกเห็บไดไมถูกตอง
เพิ่มเติม โดยสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นใหออกมาเฉลยคําตอบ 1. มีลักษณะคลายกอนนํ้าแข็ง
หนาชั้นเรียนทีละคน แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันอภิปรายจนไดคําตอบ 2. เปนหยาดนํ้าฟาที่อยูในสถานะของแข็ง
ที่ถูกตอง โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง 3. เมื่อตกลงสูพื้นโลกลูกเห็บจะกลายเปนแกส
4. มีตงั้ แตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ จึงอาจกอใหเกิดอันตราย
ตอสิ่งมีชีวิตได
(วิเคราะหคาํ ตอบ ลูกเห็บ เปนหยาดนํา้ ฟาทีอ่ ยูใ นสถานะของแข็ง
เมือ่ ตกลงมาสูพ นื้ โลกจะอยูใ นสถานะของแข็ง มีลกั ษณะคลายกอน
นํ้าแข็ง มีขนาดหลากหลายตั้งแตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ จึง
อาจกอใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิตตางๆ ได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน
คําตอบที่ถูกตอง)

T104
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
ทักÉะแห่งศตวรรÉที่ 21
✓การสื่อสาร ✓ ความร่วมมือ การแก้ปัญหา
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ
✓การสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
✓การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา
¡Ôจ¡รรม เสนอหนาชั้นเรียน
สร้างสรรคผลงาน 2. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมที่ 4 เรือ่ ง วัฏจักรนํา้
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
แบงกลุม จากนั้นใหแตละกลุมนําความรูเกี่ยวกับการเกิด เลม 2
วัฏจักรนํ้ามาออกแบบและประดิษฐจิกซอวการเกิดวัฏจักรนํ้า 3. ครูตรวจสอบแผนภาพการเกิดวัฏจักรนํ้า
เพื่อใชเปนสื่อการเรียนรู จากนั้นนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 4. ครูตรวจสอบแบบจําลองการเกิดวัฏจักรนํ้า
โดยเลือกการสื่อสารเพื่อใหผูอื่นเขาใจไดงายที่สุด 5. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
แลวจัดประกวดภายในชั้นเรียน
หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
6. ครู ต รวจสอบผลการสรุ ป ความรู  เ กี่ ย วกั บ
ตัวอย่าง ผลงานของ©ัน
ปรากฏการณลมฟาอากาศจากสมุด
7. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 2
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2
8. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการ
คิ ด ขั้ น สู ง ในแบบฝ ก หั ด วิ ท ยาศาสตร ป.5
เลม 2
9. ครู ต รวจชิ้ น งาน/ผลงานจิ ก ซอว ก ารเกิ ด
วัฏจักรนํ้า และการนําเสนอชิ้นงาน/ผลงาน
หนาชั้นเรียน
10. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมทบทวน
ทายหนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟา
อากาศ ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
11. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
ภาพที่ 6.49 ตัวอย่างจิกซอว์การเกิดวัฏจักรน�้า หนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟา
อากาศ

95

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ผลงานจิกซอวการเกิดวัฏจักรนํ้า
2. ชวยกันคิดเกมที่ชวยในการเรียนรู เรื่อง เมฆ หมอก นํ้าคาง โดยศึกษาเกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมินชิ้นงาน/ผลงานที่แนบมาทาย
นํ้าคางแข็ง ฝน หิมะ และลูกเห็บ แผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 6 แหลงนํ้าและลมฟาอากาศ
3. ชวยกันสรางเกมทีช่ ว ยในการเรียนรู โดยชวยกันแบงหนาทีค่ วาม ดังภาพตัวอยาง
รับผิดชอบของสมาชิกแตละคนใหชัดเจน
4. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนดวยวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 8)
ฉ)
แบบประเมินผลงานจิกซอว์การเกิดวัฏจักรน้า
เกณฑ์การประเมินผลงานจิกซอว์การเกิดวัฏจักรน้า (แผนฯ ที่ 8)

ค้าอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน

เพื่อใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น
รายการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ระดับคุณภาพ 1. การออกแบบชินงาน ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ล้าดับที่ รายการประเมิน 3 2 1 ตามที่ออกแบบไว้ ตามที่ออกแบบไว้ ตามที่ออกแบบไว้

5. แตละกลุมผลัดกันทดลองเลนเกมของกลุมอื่นๆ
(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง) มีขนาดเหมาะสม มีขนาดเหมาะสม มีขนาดเหมาะสม
1 การออกแบบชิ้นงาน รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ
2 การเลือกใช้วัสดุเพื่อสร้างชิ้นงาน แปลกตา และสร้างสรรค์ และสร้างสรรค์
3 ความถูกต้องของเนื้อหา 2. การเลือกใช้วัสดุเพื่อ เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง
4 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน สร้างชินงาน ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานไม่ตรงตามที่
5 กาหนดเวลาส่งงาน ถูกต้อง และวัสดุมีความ ถูกต้อง และวัสดุมีความ กาหนด แต่วัสดุมีความ
รวม เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง
ชิ้นงานดีมาก ชิ้นงานดี ชิ้นงาน
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน 3. ความถูกต้องของ แสดงการเกิดวัฏจักรน้า แสดงการเกิดวัฏจักรน้า แสดงการเกิดวัฏจักรน้า
............./.................../.............. เนือหา ได้ถูกต้องครบถ้วน ได้ถูกต้องบ้าง ได้ถูกต้องน้อยหรือ
ไม่ถูกต้อง
4. การสร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม
ชินงาน ดีมาก ดี น้อย
5. ก้าหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่้ากว่า 8 ปรับปรุง

T105
Chapter Overview

แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียน 1. เปรียบเทียบความ - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
ความแตกต่าง - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ แตกต่างระหว่าง หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ของดาวเคราะห์ ป.5 เล่ม 2 ดาวเคราะห์และ (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ค้นหา - มุ่งมั่นใน
และดาวฤกษ์จาก - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ดาวฤกษ์จากแบบ Instructional - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
แบบจ�ำลอง
ป.5 เล่ม 2 จ�ำลองได้ (K) Model) - ตรวจใบงาน อ้างอิง
2 - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 2. สร้างแบบจ�ำลอง - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการรวบรวม
ชั่วโมง กิจกรรมที่ 1 เพื่ออธิบายการ รายบุคคล ข้อมูล
- ใบงาน เรื่อง ดาวฤกษ์ มองเห็นดาวฤกษ์ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการท�ำงาน
และดาวเคราะห์ และดาวเคราะห์ได้ - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ร่วมกัน
- สื่อดิจิทัล (QR Code (P) - ทักษะการ
ความแตกต่างระหว่าง 3. ให้ความร่วมมือ เปรียบเทียบ
ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์) ในการท�ำกิจกรรม
- PowerPoint กลุ่ม (A)
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน

แผนฯ ที่ 2 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายรูปร่างของ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


สังเกตรูปร่าง ป.5 เล่ม 2 กลุ่มดาวฤกษ์ตาม หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ของกลุ่มดาว - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ จินตนาการได้ (K) (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 ป.5 เล่ม 2 2. สืบค้นข้อมูลและ
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง สังเกตรูปร่างของ
Instructional
Model)
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน
รายบุคคล
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 2 กลุ่มดาวฤกษ์ตาม - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการรวบรวม
- PowerPoint จินตนาการได้ (P) - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อมูล
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน 3. มีความมุ่งมั่นและ - ทักษะการท�ำงาน
รอบคอบในการ ร่วมกัน
ท�ำงาน (A)

แผนฯ ที่ 3 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายแบบรูป - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


การขึ้นและ ป.5 เล่ม 2 เส้นทางการขึ้น หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
ตกของกลุ่ม - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ และตกของกลุ่ม (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
ดาวฤกษ์ ป.5 เล่ม 2 ดาวฤกษ์ในรอบปี Instructional - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
1 - วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง ได้ (K) Model) รายบุคคล อ้างอิง
ชั่วโมง กิจกรรมที่ 3 2. มีความรับผิดชอบ - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม - ทักษะการรวบรวม
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน ในการส่งงาน - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อมูล
ตรงเวลา (A) - ทักษะการท�ำงาน
ร่วมกัน

T106
แผนการจัด คุณลักษณะ
สื่อที่ใช้ จุดประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้
การเรียนรู้ อันพึงประสงค์
แผนฯ ที่ 4 - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1. ระบุต�ำแหน่งและ - แบบสืบเสาะ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการสังเกต - มีวินัย
การใช้แผนที่ดาว ป.5 เล่ม 2 เส้นทางการขึ้น หาความรู้ หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
- แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ และตกของกลุ่ม (5Es - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ค้นหา - มุ่งมั่นใน
2 ป.5 เล่ม 2 ดาวฤกษ์ได้ (K) Instructional - ตรวจใบงาน - ทักษะการสรุป การท�ำงาน
ชั่วโมง
- ใบงาน เรื่อง การใช้ 2. ใช้แผนที่ดาว Model) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน อ้างอิง
แผนที่ดาว ระบุต�ำแหน่งและ รายบุคคล - ทักษะการรวบรวม
- PowerPoint เส้นทางการขึ้น - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม ข้อมูล
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน และตกของกลุ่ม - สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ทักษะการท�ำงาน
ดาวฤกษ์ได้ (P) ร่วมกัน
3. ให้ความร่วมมือ
ในการท�ำกิจกรรม
และมีความ
รับผิดชอบในการ
ส่งงานตรงเวลา
(A)

แผนฯ ที่ 5 - แบบทดสอบหลังเรียน 1. อธิบายการวัด - แบบสืบเสาะ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสังเกต - มีวินัย


การใช้มุมทิศและ - หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ มุมทิศและมุมเงย หาความรู้ - ตรวจการท�ำกิจกรรมในสมุด - ทักษะการส�ำรวจ - ใฝ่เรียนรู้
มุมเงย ป.5 เล่ม 2 ได้ (K) (5Es หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ค้นหา - มุ่งมัน่ ใน
2 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
ป.5 เล่ม 2
2. วัดมุมทิศและ
มุมเงยได้ (P)
Instructional - การน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม
Model) - การน�ำเสนอชิ้นงาน/ผลงาน
- ทักษะการสรุป การท�ำงาน
อ้างอิง
ชั่วโมง
- วัสดุ-อุปกรณ์การทดลอง 3. รับผิดชอบต่อ - ตรวจชิน้ งาน/ผลงาน (แบบจ�ำลอง - ทักษะการรวบรวม
กิจกรรมที่ 4 หน้าที่ที่ได้รับ ของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า) ข้อมูล
- PowerPoint มอบหมาย (A) - สังเกตพฤติกรรมการท�ำงาน - ทักษะการท�ำงาน
- สมุดประจ�ำตัวนักเรียน รายบุคคล ร่วมกัน
- สังเกตพฤติกรรมการท�ำงานกลุ่ม
- สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

T107
Chapter Concept Overview

1. ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์
ความแตกตางระหวางดาวฤกษและดาวเคราะห
ดาวฤกษ ดาวเคราะห
ดาวที่เปนแหล่งก�าเนิดแสง ดาวที่ไม่เปนแหล่งก�าเนิดแสง
ดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
มองเห็นเปนจุดสว่างและมีแสงระยิบระยับ มองเห็นเปนแสงนิ่งไม่กะพริบ
ตัวอย่างดาวฤกษ์ เช่น ดวงอาทิตย์ ดาวเหนือ ตัวอย่างดาวเคราะห์ เช่น ดาวศุกร์ ดาวพุธ ดาวอังคาร

ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์

2. กลุมดาวฤกษ์บนท้องฟา
1. รูปรางของกลุมดาวฤกษ
ดาวฤกษ์ในแต่ละกลุ่มจะมีรูปร่างแตกต่างกันออกไป ซึ่งกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ จะมีการเรียงตัวของดาวฤกษ์อย่างคงที่ จึงท�าให้มี
รูปร่างเหมือนเดิมทุกคืน และในรอบ 1 ปี เราจะสามารถมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์ได้ในเวลาแตกต่างกัน ตัวอย่างกลุ่มดาวฤกษ์ ดังภาพ

กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวหมีเล็ก

กลุ่มดาวหมีใหญ่ กลุ่มดาวสิงโต

T108
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
2. การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ
เมื่อเราสังเกตทองฟาในชวงเวลาตาง ๆ ในคืนเดียวกัน เราจะมองเห็นดวงดาวบนทองฟาเคลื่อนที่และเปลี่ยนตําแหนงจากทาง
ทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง เราจึงมองเห็นกลุมดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันออกและตกลับขอบฟาไปทาง
ทิศตะวันตก ซึ่งดาวฤกษและกลุมดาวฤกษมีเสนทางการขึ้นและตกตามเสนทางเดิมทุกคืน และจะปรากฏตําแหนงเดิมเสมอ
3. การบอกตําแหนงของกลุมดาวฤกษ
1) การใชแผนที่ดาว
การสังเกตเพื่อบอกตําแหนงของกลุมดาวฤกษ สามารถทําไดโดยการใชแผนที่ดาวแบบหมุน ซึ่งจะบอกตําแหนงของกลุมดาวเปน
มุมทิศและมุมเงยได ซึ่งแผนที่ดาวแบบหมุนมีลักษณะ ดังภาพตัวอยาง
กลุมดาว

วันที่และเดือน

เสนแสดง
คามุมเงย
เสนแสดง
คามุมทิศ

ตัวเลขบอกเวลา

สัญลักษณบอก
อันดับความสวาง
สัญลักษณอื่น ๆ
แผนที่ดาวดานทิศใต แผนที่ดาวดานทิศเหนือ
(ทีม่ าภาพ : สมาคมดาราศาสตรไทย)
2) การกําหนดคามุมทิศและการประมาณคาของมุมเงย
ตัวอยางการใชนิ้วหรือมือประมาณคาของมุมเงย
จุดเหนือศีรษะ (zenith)1 ํ 1ํ 2.5 ํ

เสนขอบฟา
(horizon)
ทิศตะวันออก 90 ํ มุม
เงย
ทิศเหนือ 0 ํ มุมทิศ ตัวเรา ทิศใต 180 ํ
2.5 ํ 5ํ 10 ํ
ทิศตะวันตก 270 ํ
มุมทิศ คือ มุมที่วัดตาม มุมเงย คือ มุมที่วัดจาก
แนวระนาบกับพื้นดิน เสนขอบฟาขึน้ ตามแนวดิง่
ไปหาดวงดาวที่สนใจ

10 ํ 10 ํ 10 ํ 10 ํ T109 15 ํ
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา

7
กระตุน ความสนใจ หนวยการเรียนรูที่
1. ครูทักทายกับนักเรียน จากนั้นแจงจุดประสงค
การเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนหนวย
´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò
การเรียนรูที่ 7 เรื่อง ดาวบนทองฟา ´ÒÇġɏ ÁÕáʧÊNjҧ㹵ÑÇàͧ à¾ÃÒдÒÇġɏ
3. ครูใหนักเรียนอานสาระสําคัญและดูภาพ จาก ໚¹áËÅ‹§¡íÒà¹Ô´áʧ àÃÒ¨Ö§ÁͧàËç¹´ÒÇġɏ䴌
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 หนานี้ ʋǹ´ÒÇà¤ÃÒÐˏ äÁ‹ÁÕáʧÊNjҧ㹵ÑÇàͧ à¾ÃÒÐ
äÁ‹ãª‹áËÅ‹§¡íÒà¹Ô´áʧ ᵋàÃÒÊÒÁÒöÁͧàËç¹
จากนั้นครูถามคําถามนักเรียน ดังนี้ ´ÒÇà¤ÃÒÐˏ䴌 à¹×èͧ¨Ò¡áʧ¨Ò¡´Ç§ÍҷԵ
• นักเรียนเคยดูดาวหรือไม µ¡¡Ãзº´ÒÇà¤ÃÒÐˏáÅŒÇÊзŒÍ¹à¢ŒÒÊÙµ‹ Ò
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน) ¡ÅØÁ‹ ´ÒÇġɏÁÃÕ »Ù Ëҧᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ «Ö§è ´ÒÇġɏ
ÁÕàÊŒ¹·Ò§¡ÒâÖé¹áÅе¡µÒÁàÊŒ¹·Ò§à´ÔÁ·Ø¡¤×¹
• นักเรียนดูดาวอยางไร áÅШлÃÒ¡¯·Õµè Òí á˹‹§à´ÔÁ
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน)
• นักเรียนรูหรือไมวา ดาวที่นักเรียนดูมีชื่อวา
อะไร
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

µÑǪÕéÇÑ´
1. เปรียบเทียบความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษจากแบบจําลอง (มฐ. ว 3.1 ป.5/1)
2. ใชแผนที่ดาวระบุตําแหนงและเสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟา และอธิบายแบบรูปเสนทางการขึ้นและตกของ
กลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป (มฐ. ว 3.1 ป.5/2)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


กอนเขาสูบ ทเรียน ครูสามารถใชแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ดาวพุธเปนดาวฤกษหรือดาวเคราะห เพราะเหตุใด
ดาวบนทองฟา จากทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 7 ได 1. ดาวฤกษ เพราะมองเห็นดาวพุธมีแสงกะพริบ
เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนกอนเรียน ดังภาพตัวอยาง 2. ดาวฤกษ เพราะดาวพุธไมมีแสงสวางในตัวเอง
3. ดาวเคราะห เพราะดาวพุธมีแสงสวางในตัวเอง
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 4. ดาวเคราะห เพราะมองเห็นดาวพุธมีแสงนิ่งไมกะพริบ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ดวงดาวใดมีประโยชน์ในการหาทิศ
1) ดาวพุธ
2) ดาวเสาร์
3) ดาวเหนือ
6. เครื่องมือที่ช่วยในการสังเกตตาแหน่งดวงดาวบนท้องฟ้า คืออะไร
1) แผนที่ดาว
2) แว่นขยาย
3) กล้องจุลทรรศน์
(วิเคราะหคําตอบ ดาวพุธ เปนดาวเคราะห เพราะดาวพุธไมมี
4) ดาวลูกไก่
2. ถ้าสังเกตกลุม่ ดาวตอนใกล้รุ่งสาง จะเห็นกลุ่มดาว
เคลื่อนที่ไปทางทิศใด
1) ทิศใต้
4) เทอร์มอมิเตอร์
7. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ได้ถูกต้อง
1) ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์มีแสงสว่างในตัวเอง
2) ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ไม่มแี สงสว่างในตัวเอง
แสงสวางในตัวเอง และมองเห็นดาวพุธมีแสงนิง่ ไมกะพริบ ดังนัน้
ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)
2) ทิศเหนือ 3) ดาวเคราะห์มีแสงสว่างในตัวเอง ส่วนดาวฤกษ์ไม่มีแสงสว่าง
3) ทิศตะวันตก ในตัวเอง
4) ทิศตะวันออก 4) ดาวฤกษ์มีแสงสว่างในตัวเอง ส่วนดาวเคราะห์ไม่มีแสงสว่าง
3. การขึ้น-ตกของกลุ่มดาวฤกษ์เกีย่ วข้องกับข้อใด ในตัวเอง
1) โลกหมุนรอบตัวเอง 8. ที่ระดับสายตา มุมเงยมีค่าเท่ากับเท่าใด
2) ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 1) 0 องศา 2) 30 องศา
3) โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 3) 60 องศา 4) 90 องศา
4) ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง 9. มีแสงสว่างในตัวเอง เป็นแหล่งกาเนิดแสง จากข้อความหมายถึง
4. ข้อใดคือดาวฤกษ์ ข้อใด
1) ดาวพุธ 1) ดาวพุธ
2) ดาวศุกร์ 2) ดาวยูเรนัส
3) ดาวพลูโต 3) ดาวเนปจูน
4) ดวงอาทิตย์ 4) ดวงอาทิตย์
5. การดูดาวเป็นการฝึกทักษะด้านใด 10. ถ้าต้องการมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าให้ชัดเจน เราควร
1) การมีวินัย เลือกดูกลุ่มดาวฤกษ์ในคืนใด
2) การสังเกต
1) คืนเดือนมืด
3) การแก้ปัญหา
2) คืนที่มีฝนตก
4) ความรับผิดชอบ
3) คืนที่มีเมฆมาก
4) คืนที่มีพระจันทร์เต็มดวง

เฉลย 1. 3) 2. 3) 3. 1) 4. 4) 5. 2) 6. 1) 7. 4) 8. 1) 9. 4) 10. 1)

T110
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ

º··Õè 1 ·ŒÍ§¿‡ÒáÅСÅØ‹Á´ÒÇġɏ 4. นักเรียนดูภาพในหนาบทที่ 1 ทองฟาและกลุม


ดาวฤกษ จากหนังสือเรียนหนานี้ จากนั้นให
ชวยกันตอบคําถามสําคัญประจําบทนี้วา
ศัพทนารู • นั ก เรี ย นคิ ด ว า เราสามารถมองเห็ น ดาว
คําศัพท คําอาน คําแปล
planet 'แพล็นนิท ดาวเคราะห เคราะหไดหรือไม อยางไร
direction ดิ 'เร็คชัน ทิศ (แนวตอบ เราสามารถมองเห็นดาวเคราะห
constellation ค็อนสเต็ล 'เลชัน กลุมดาว ได เพราะแสงจากดวงอาทิ ต ย ต กกระทบ
ดาวเคราะห แลวสะทอนเขาสูตา)
5. นั ก เรี ย นร ว มกั น อ า นคํ า ศั พ ท ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ
ทองฟาและกลุมดาวฤกษ จากหนังสือเรียน
direction หนานี้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
constellation
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò
àÃÒÊÒÁÒöÁͧàËç¹
´ÒÇà¤ÃÒÐˏ䴌ËÃ×ÍäÁ‹
? Í‹ҧäÃ

97

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ดาวฤกษและดาวเคราะหแตกตางกันหรือไม อยางไร นักเรียนเรียนรูและฝกอานคําศัพทวิทยาศาสตร ดังนี้
1. แตกตางกัน เพราะดาวฤกษมีแสงสวางในตัวเอง สวนดาว คําศัพท คําอาน คําแปล
เคราะหไมมีแสงสวางในตัวเอง
2. แตกตางกัน เพราะดาวฤกษไมมแี สงสวางในตัวเอง สวนดาว planet 'แพล็นนิท ดาวเคราะห
เคราะหมีแสงสวางในตัวเอง constellation ค็อนสเต็ล'เลชัน กลุมดาว
3. ไมแตกตางกัน เพราะดาวฤกษและดาวเคราะหมีแสงสวาง horizon ไฮ'ไรซัน เสนขอบฟา
ในตัวเอง direction ดิ'เร็คชัน ทิศ
4. ไมแตกตางกัน เพราะดาวฤกษและดาวเคราะหไมมแี สงสวาง
ในตัวเอง compass 'คัมพัส เข็มทิศ
(วิเคราะหคําตอบ ดาวฤกษและดาวเคราะหแตกตางกัน คือ
ดาวฤกษมีแสงสวางในตัวเอง สวนดาวเคราะหไมมีแสงสวางใน
ตัวเอง ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T111
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
6. ครูใหนกั เรียนจับคูก บั เพือ่ น จากนัน้ ชวยกันทํา
กิจกรรมนําสูการเรียน โดยศึกษาขอมูลจาก
กิจกรรม
หนังสือเรียนหนานี้ แลวเขียนคําตอบลงใน
นําสูก ารเรียน
สมุดหรือทําลงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 ÈÖ¡ÉÒ¢ŒÍÁÙÅ áŌǵͺ¤íÒ¶ÒÁ
เลม 2 จากนั้นนําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน 1
ทีละคู เพื่ออภิปรายและสรุปคําตอบรวมกัน àÃÒ¨ÐÁͧàËç¹´ÒÇÈءÏ໚¹áʧ¹Ôè§äÁ‹¡Ð¾ÃÔº ´ÒÇÈءϨТÖé¹·Ò§·ÔȵÐÇѹÍÍ¡µÍ¹àªŒÒ¡‹Í¹
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ÊÇ‹Ò§ 3 ªÑèÇâÁ§ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ´ÒÇ»ÃСÒ¾ÃÖ¡ áÅШÐÁͧàËç¹ÍÂÙ‹·Ò§¢Íº¿ŒÒ´ŒÒ¹·ÔȵÐÇѹµ¡¡‹Í¹
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) ´Ç§ÍҷԵµ¡ 3 ªÑèÇâÁ§ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ´ÒÇ»ÃШíÒàÁ×ͧ

´ÒǴǧ¹Ñé¹ÁÕª×èÍÇ‹Ò
´ÒÇÈءϤ‹Ð
¤Ø³áÁ‹¤Ð ´ÒÇ·ÕèÊÇ‹Ò§
·ÕèÊØ´ã¹·ŒÍ§¿ŒÒµÃ§¹Ñé¹
ÁÕª×èÍÇ‹ÒÍÐääÐ

1. ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò ´ÒÇÈءÏ໚¹´ÒÇġɏËÃ×Í´ÒÇà¤ÃÒÐˏ à¾ÃÒÐÍÐäÃ


2. ¡µÑÇÍ‹ҧ´ÒÇà¤ÃÒÐˏ·Õè¹Ñ¡àÃÕ¹ÃÙŒ¨Ñ¡ÁÒÍ‹ҧ¹ŒÍ 3 ´Ç§
แนวตอบ กิจกรรมนําสูการเรียน
1. ดาวศุกร เปนดาวเคราะห เพราะดาวศุกรไมมี
98
แสงสวางในตัวเอง
2. ตัวอยางคําตอบ ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวเสาร

นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด


1 ดาวศุกร เปนดาวเคราะหที่อยูในระบบสุริยะ ดาวศุกรมีขนาดใกลเคียง ขอใดกลาวถึงดาวศุกรไดถูกตอง
กับโลก จนไดชื่อวาเปน “ฝาแฝด” กับโลก ดาวเคราะหทั้ง 8 ดวง ในระบบสุริยะ 1. เปนแหลงกําเนิดแสง
มี ด าวศุ ก ร ป รากฏสว า งที่ สุ ด เราจะเห็ น ดาวศุ ก ร ขึ้ น ทางทิ ศ ตะวั น ออกใน 2. ไมมีแสงสวางในตัวเอง
เวลากอนสวาง 3 ชั่วโมง หรือตอนใกลรุง เรียกวา ดาวประกายพรึก หรือ 3. ดาวศุกรถูกจัดเปนดาวฤกษ
ดาวรุง และจะมองเห็นอยูทางขอบฟาดานทิศตะวันตกกอนดวงอาทิตยตก 4. มองเห็นเปนจุดสวางและมีแสงระยิบระยับ
3 ชั่วโมง เรียกวา ดาวประจําเมือง (วิเคราะหคําตอบ ดาวศุกร เปนดาวเคราะห ไมมีแสงสวางใน
ตัวเอง ไมใชแหลงกําเนิดแสง เมือ่ สังเกตจากโลกมองเห็นดาวศุกร
เปนแสงนิ่ง ไมกะพริบ ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T112
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò สํารวจคนหา

1. ´ÒÇġɏáÅдÒÇà¤ÃÒÐˏ 1. ครูแบงกลุมใหนักเรียนออกเปนกลุมละ 4-5


คน โดยให นั ก เรี ย นจั บ สลากชื่ อ ดาวต า งๆ
เมื่อเราลองสังเกตทองฟาในเวลากลางคืน จะสังเกตเห็นแสงระยิบระยับ และกําหนดใหนักเรียนที่จับสลากชื่อดาวดวง
หรื อ แสงนิ่ ง ไม ก ะพริ บ บนท อ งฟ า แสงที่ มี ลั ก ษณะแตกต า งกั น ดั ง กล า วนั้ น เดียวกันใหอยูกลุมเดียวกัน
คือ ดาวฤกษและดาวเคราะห ซึ่งในแตละคืนเราจะมองเห็นแสงนั้นมากหรือนอย 2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาขอมูลและ
แตกตางกันออกไป หากเปนคืนเดือนมืดเราจะสามารถสังเกตเห็นดาวตาง ๆ ภาพเกี่ยวกับดาวฤกษและดาวเคราะห จาก
จํานวนมากกวาคืนที่ดวงจันทรเต็มดวง เนื่องจากดาวบนทองฟามีจํานวนมาก หนังสือเรียนหนานี้ จากนัน้ ชวยกันตอบคําถาม
นักเรียนจะสามารถจําแนกดาวฤกษและดาวเคราะหไดจากการศึกษาเรื่องนี้ ดังนี้
• จากภาพดาวดวงใดเปนดาวฤกษ
ดวงอาทิตย ดาวศุกร (แนวตอบ ดวงอาทิตย)
• เราสามารถมองเห็นดาวเคราะหไดหรือไม
เพราะเหตุใด
(แนวตอบ เราสามารถมองเห็นดาวเคราะห
ได เพราะแสงจากดวงอาทิตยตกกระทบ
ดาวเคราะหแลวสะทอนเขาสูตา)

ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี

ดาวเสาร ภาพที่ 7.1 ตัวอยางดาวฤกษและดาวเคราะห

àÃÒÊÒÁÒöÁͧàËç ¹ ´ÒÇà¤ÃÒÐˏ
ä´ŒËÃ×ÍäÁ‹ à¾ÃÒÐà˵Øã´

99

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวเกี่ยวกับดาวฤกษไดถูกตอง ครูใหความรูกับนักเรียนเพิ่มเติมวา เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2563 สํานักขาว
1. เปนแหลงกําเนิดแสง BBC NEWS ประเทศอังกฤษ รายงานขอมูลวา “วูลฟ คูเคียร” ชาวอเมริกัน อายุ
2. ไมมีแสงสวางในตัวเอง 17 ป ซึ่งเปนเด็กฝกงานขององคการนาซา คือผูคนพบดาวเคราะหดวงใหม TOI
3. ดาวอังคารถูกจัดเปนดาวฤกษ 1338 b ที่อยูหางจากโลก 1,300 ปแสง และมีขนาดใหญกวาโลกเกือบ 7 เทา
4. มองเห็นเปนแสงนิ่ง ไมกะพริบ
(วิเคราะหคําตอบ ดาวฤกษ เปนแหลงกําเนิดแสง มีแสงสวางใน
ตัวเอง เมื่อสังเกตจากโลกมองเห็นดาวฤกษเปนจุดสวางและมี
สื่อ Digital
แสงระยิบระยับ สวนดาวอังคารถูกจัดเปนดาวเคราะห ดังนั้น ครูใหนกั เรียนเรียนรูเ กีย่ วกับดวงอาทิตยเพิม่ เติมจากสือ่ ดิจทิ ลั โดยใหสแกน
ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง) QR Code 3D เรื่อง ดวงอาทิตย

ดวงอาทิตย
www.aksorn.com/interactive3D/RK571

T113
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. สมาชิกของแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอน
การทํากิจกรรมที่ 1 เรื่อง ความแตกตางของ
¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 1 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช
ดาวฤกษและดาวเคราะห โดยชวยกันศึกษา ความแตกตางของดาวฤกษและ 1. การสังเกต

ขัน้ ตอนการทํากิจกรรม จากหนังสือเรียน หนา ดาวเคราะห 2.


3.
การสรางแบบจําลอง
การลงความเห็นจากขอมูล
4. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป
100-101 5. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
4. นักเรียนแตละกลุม ชวยกันทํากิจกรรมที่ 1 แลว จุดประสงค
บันทึกผลลงในสมุดหรือทําลงในแบบฝกหัด 1. สรางแบบจําลองเพื่ออธิบายการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 2. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางดาวฤกษและดาวเคราะห
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ตองเตรียมตองใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
1. สีไม 1 กลอง
2. กระดาษแข็งแผนใหญ 1 แผน
3. วัสดุสําหรับใชสรางแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห เชน กรรไกร
ตัวเรืองแสง กาว กระดาษสีดํา ลูกปดพลาสติก กลองลังเจาะรูดานขาง ไฟฉาย
4. แหลงขอมูล เชน หนังสือ อินเทอรเน็ต
ลองทําดู
1. แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน จากนั้นชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการมองเห็นดาวฤกษและ
ดาวเคราะห แลวนําขอมูลมาแสดงความคิดเห็นรวมกัน
2. วางแผนสรางแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห โดยใหกําหนดอุปกรณที่
ตองใชและวิธีการทํา แลวบันทึกลงในสมุด
3. ชวยกันสรางแบบจําลองตามที่ออกแบบไว

ภาพที่ 7.2 สรางแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห


100

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 1
บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตัวอยาง)
อุปกรณที่ใช แผนภาพแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห
กลองปดฝา แทน อวกาศ
ลูกบอลยาง แทน ดาวเคราะหตางๆ กลองเจาะรู ตัวเรืองแสง
ตัวเรืองแสง แทน ดาวฤกษดวงอื่นๆ ที่อยูไกล
ไฟฉาย แทน แสงของดวงอาทิตย ไฟฉาย
ลูกบอลยาง
วิธีการสรางแบบจําลอง
1. ใชเทปกาวติดเชือกกับลูกบอลยางและตัวเรืองแสง แนวคิดในการสรางแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห
2. นําลูกบอลยางและตัวเรืองแสงที่ติดเชือกมาแขวนในกลอง แลวปดฝากลอง ดาวฤกษเปนดาวที่มีแสงสวางในตัวเอง เราจึงมองเห็นเปนแสงสวาง
3. สังเกตเขาไปในกลองผานรูที่เจาะไว และบันทึกผล ระยิบระยับอยูบนทองฟา สวนดาวเคราะหเปนดาวที่ไมมีแสงสวางในตัวเอง
4. นําไฟฉายวางไวในกลอง แลวเปดไฟสองไปที่ลูกบอลยางและตัวเรืองแสง แตเราสามารถมองเห็นดาวเคราะหเปนแสงนิ่งได เนื่องจากแสงสวางจาก
แลวปดฝากลอง จากนั้นสังเกตผานรูเดิม ดวงอาทิตย ซึ่งเปนดาวฤกษที่อยูใกลโลกมากที่สุดสองแสงไปกระทบกับ
พืน้ ผิวของดาวเคราะหแลวสะทอนกลับมาทีโ่ ลก จึงทําใหเรามองเห็นดาวเคราะห
มีแสงนิ่ง คงที่ และไมกะพริบ

T114
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 1 ภายในกลุม
2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนกลุมใหออกมา
4. นําขอมูลมาเขียนแผนภาพแสดงแบบจําลองลงในกระดาษแข็งแผนใหญ จากนั้นนําเสนอ นําเสนอผลการทํากิจกรรมที่ 1 หนาชั้นเรียน
แบบจําลองโดยใชแผนภาพประกอบ เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางระหวางดาวฤกษและ โดยครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้น
ดาวเคราะหหนาชั้นเรียน ใหแตละกลุมสงตัวแทนเพื่อออกมานําเสนอ
5. รวมกันอภิปรายและสรุปผลเกี่ยวกับความแตกตางระหวางดาวฤกษและดาวเคราะห ตามลําดับ
3. นักเรียนรวมกันสรุปเกีย่ วกับความแตกตางของ
แบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห ดาวฤกษและดาวเคราะห โดยมีครูคอยอธิบาย
ในสวนที่บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

ภาพที่ 7.3 นําเสนอแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห


แนวตอบ หนูตอบได
หนูตอบได ขอ 3.
1. ดาวฤกษและดาวเคราะหมีความแตกตางกันหรือไม อยางไร • ใชกลองโทรทรรศน เพราะกลองโทรทรรศน
2. “ดาวเคราะหไมใชแหลงกําเนิดแสง แตเราสามารถมองเห็นดาวเคราะหได” จากขอความ ชวยใหมองเห็นวัตถุในระยะไกลไดชัดเจน ทําให
ดังกลาว นักเรียนเห็นดวยหรือไม อยางไร 1 มองเห็นลักษณะและรายละเอียดอืน่ ๆ ของดาวฤกษ
3. นักเรียนจะเลือกสังเกตดาวฤกษดวยตาเปลาหรือใชกลองโทรทรรศน เพราะอะไร ไดชัดเจนมากขึ้น
• ใชตาเปลา เพราะดาวฤกษเปนดาวที่เรา
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง 101 มองเห็นไดดวยตาเปลา เนื่องจากดาวฤกษเปนดาว
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน) ที่มีแสงสวางในตัวเอง

ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู


ดาวฤกษ มีแสงสวางในตัวเอง และเปนแหลงกําเนิดแสง จาก 1 กลองโทรทรรศน เปนอุปกรณที่ใชสําหรับสองวัตถุที่อยูไกลๆ หรือที่อยู
ขอความกลาวถึงดาวในขอใด หางไกลจากโลก โดยกลองโทรทรรศนจะขยายภาพของวัตถุใหมีขนาดใหญขึ้น
1. ดวงอาทิตย จึงทําใหเราสามารถมองเห็นรายละเอียดของวัตถุนั้นๆ ได
2. ดวงจันทร
3. ดาวเสาร
4. ดาวพุธ หองปฏิบัติการ
(วิเคราะหคําตอบ ดวงอาทิตย เปนดาวฤกษ เพราะมีแสงสวาง à·¤¹Ô¤  ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
ในตัวเอง และเปนแหลงกําเนิดแสง ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบ
ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนระมัดระวังขณะใชกรรไกร หามเลนหลอกลอกัน
ที่ถูกตอง)
ขณะทํากิจกรรม เพราะกรรไกรมีความคม จึงอาจเกิดอันตรายได

T115
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก ดาวที่เรามองเห็นบนทองฟา จะเปนบริเวณที่อยูนอกบรรยากาศของโลก
หนังสือเรียน หนา 101 ลงในสมุดหรือทําลงใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
มีทั้งดาวฤกษและดาวเคราะห ซึ่งมีความแตกตางกัน ดังนี้
2. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับดาวฤกษและ 1.1 ดาวฤกษ
ดาวเคราะห จากหนังสือเรียน หนา 102-103 ดาวฤกษ เปนดาวที่มีแสงสวางในตัวเอง จึงจัดเปนแหลงกําเนิดแสง
และศึ ก ษาข อ มู ล จากสื่ อ ดิ จิ ทั ล เพิ่ ม เติ ม ใน เราสามารถมองเห็นเปนจุดสวางและมีแสงระยิบระยับบนทองฟา ดวงอาทิตย
หนังสือเรียนหนานี้ โดยใหใชโทรศัพทมือถือ เปนดาวฤกษทอี่ ยูใ กลโลกของเรามากทีส่ ดุ ทําใหมองเห็นดวงอาทิตยมขี นาดใหญ
สแกน QR Code เรือ่ ง ความแตกตางระหวาง และสวางมาก สวนดาวฤกษดวงอื่น ๆ ในจักรวาลมีอยูมากมายแตอยูหางไกล
ดาวฤกษและดาวเคราะห ทําใหเรามองเห็นเปนจุดสวางระยิบระยับบนทองฟาเทานั้น แตเมื่อเทียบขนาด
3. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 1-2 คน ใหอธิบาย
ความแตกตางของดาวฤกษและดาวเคราะห
ของดวงอาทิตยกับดาวฤกษดวงอื่น ๆ ที่อยูนอกระบบสุริยะจะพบวา ดวงอาทิตย
โดยใหเพื่อนๆ ชวยอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ มีขนาดเล็กมาก ดังภาพ
บกพรอง ภาพที่ 7.4 ตัวอยางการเปรียบเทียบขนาดของดวงอาทิตยกับดาวฤกษดวงอื่น ๆ
4. ครูถามคําถามทาทายการคิดขัน้ สูงกับนักเรียน
ทุกคน จากหนังสือเรียนหนานี้วา เราสามารถ
มองเห็นดาวฤกษหรือดาวเคราะหดวงอื่นๆ
ในเวลากลางวันเหมือนดวงอาทิตยไดหรือไม
เพราะอะไร โดยครูใหนักเรียนแตละคนตอบ
คําถามลงในสมุด ซีรีอุส
(แนวตอบ มองไมเห็น เพราะแสงของดวงอาทิตย
บดบังดาวฤกษและดาวเคราะหดวงอื่นๆ)
5. นักเรียนแตละคนทําใบงาน เรือ่ ง ดาวฤกษและ
ดาวเคราะห ที่ครูแจกให จากนั้นนํามาสงใน
ดวงอาทิตย พอลลักซ อารคตุรุส
ชั่วโมงถัดไป
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ¤Ó¶ÒÁ·ŒÒ·Ò¡ÒäԴ¢Ñé¹ÊÙ§
เราสามารถมองเห็นดาวฤกษหรือดาวเคราะห
ดวงอืน่ ๆ ในเวลากลางวันเหมือนดวงอาทิตย
ไดหรือไม เพราะอะไร
102 ความแตกตางระหวางดาวฤกษและดาวเคราะห

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถหยิบใชใบงาน เรื่อง ดาวฤกษและดาวเคราะห ไดจากแผน ปานสังเกตดาวดวงหนึ่งบนทองฟา พบวา มีแสงนิ่งไมกะพริบ
การจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษจาก จากขอมูล ดาวที่ปานสังเกตคือดาวในขอใด เพราะอะไร
แบบจําลอง 1. ดาวศุกร เพราะดาวที่มีแสงนิ่งไมกะพริบ คือ ดาวเคราะห
ซึ่งดาวศุกร คือ ดาวเคราะห
2. ดวงอาทิตย เพราะดาวทีม่ แี สงนิง่ ไมกะพริบ คือ ดาวเคราะห
สื่อ Digital ซึ่งดวงอาทิตย คือ ดาวเคราะห
3. ดาวศุกร เพราะดาวที่มีแสงนิ่งไมกะพริบ คือ ดาวฤกษ
ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับ เรื่อง ความแตกตางระหวางดาวฤกษและ
ซึ่งดาวศุกร คือ ดาวฤกษ
ดาวเคราะหเพิ่มเติมจากสื่อดิจิทัล โดยสแกน QR Code เรื่อง ความแตกตาง
4. ดวงอาทิตย เพราะดาวที่มีแสงนิ่งไมกะพริบ คือ ดาวฤกษ
ระหวางดาวฤกษและดาวเคราะห จากหนังสือเรียน หนา 102
ซึ่งดวงอาทิตย คือ ดาวฤกษ
(วิเคราะหคําตอบ ดาวที่มีแสงนิ่งไมกะพริบ คือ ดาวเคราะห ซึ่ง
ดาวศุกร คือ ดาวเคราะห สวนดวงอาทิตย คือ ดาวฤกษ ดังนั้น
ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T116
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สรุป


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò ตรวจสอบผล
ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ แลวใหสรุป
1.2 ดาวเคราะห ความรูจ ากการเรียนจนไดขอ สรุปวา ดาวฤกษและ
ดาวเคราะห ไมมีแสงสวางในตัวเอง เพราะไมใชแหลงกําเนิดแสง แตเรา ดาวเคราะหมีความแตกตางกัน คือ ดาวฤกษเปน
สามารถมองเห็นเปนแสงนิ่งไมกะพริบ เนื่องจากแสงจากดวงอาทิตยตกกระทบ แหลงกําเนิดแสง มีแสงสวางในตัวเอง มองเห็น
ดาวเคราะหแลวสะทอนเขาสูตา เปนจุดสวาง มีแสงระยิบระยับ เชน ดวงอาทิตย
ดาวเคราะหในระบบสุริยะมีทั้งหมด 8 ดวง ซึ่งดาวเคราะหที่เราสามารถ สวนดาวเคราะหไมเปนแหลงกําเนิดแสง ไมมี
มองเห็นไดดวยตาเปลามีเพียง 5 ดวง ไดแก ดาวพุธ ดาวศุกร ดาวอังคาร แสงสวางในตัวเอง มองเห็นเปนแสงนิ่งไมกะพริบ
ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร สวนดาวยูเรนัส (ดาวมฤตยู) และดาวเนปจูน เชน ดาวศุกร
(ดาวเกตุ) นั้นอยูไกลจากโลกมากจึงไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
ภาพที่ 7.5 ดาวเคราะหในระบบสุริยะ ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
โลก ดาวพฤหัสบดี 1. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบกอนเรียน
ดาวพุธ
เพื่ อ ตรวจสอบความเข า ใจก อ นเรี ย นของ
ดาวยูเรนัส นักเรียน
2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมนําสูการเรียน
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
ดาวศุกร ดาวอังคาร ดาวเนปจูน เลม 2
3. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง ความ
แตกตางของดาวฤกษและดาวเคราะหในสมุด
ดาวเสาร หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
4. ครูตรวจสอบแบบจําลองการมองเห็นดาวฤกษ
และดาวเคราะห
à¡Ãç´ ÇԷ¹Ò‹ ÃÙŒ
แสงจ
าก
5. ครูตรวจสอบแผนภาพแสดงแบบจําลองการ
ดวงอ
ดวงจันทรทเ่ี ปนดาวบริวารของโลกไมมแี สงสวาง ดวงอาทติย์
าทติย์ ดวงจันทร
มองเห็นดาวฤกษและดาวเคราะห
ในตั ว เอง แต เ ราสามารถมองเห็ น ดวงจั น ทร ไ ด ะ ทอ้น 6. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได
แสงส
เนื่องจากแสงของดวงอาทิตยตกกระทบพื้นผิวของ โลก กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ความแตกตางของดาวฤกษ
ดวงจันทร แลวสะทอนมายังโลก ภาพที่ 7.6 การมองเห็นดวงจันทร และดาวเคราะห ในสมุดหรือในแบบฝกหัด
103 วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2

กิจกรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู


ใหนักเรียนแตละคนสืบคนดาวตางๆ บนทองฟา แลวเลือก ครูอาจอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเพิม่ เติมวา ดวงจันทรมกี ารเคลือ่ นทีเ่ ชนเดียว
ดาวที่เปนดาวเคราะห จากนั้นติดภาพ พรอมระบุชื่อดาวเคราะห กับโลก คือ หมุนรอบตัวเอง ดวงจันทรโคจรรอบโลกและหมุนรอบตัวเองใน
ลงในกระดาษแข็งแผนใหญ แลวนําสงครู ทิศเดียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลก คือ หมุนในทิศทวนเข็มนาฬกา จึงทําให
เกิดปรากฏการณขึ้นและตกของดวงจันทร เชนเดียวกับการขึ้นและตกของ
ดวงอาทิตย

แนวทางการวัดและประเมินผล
ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน จากการตอบคําถาม การทํางาน
รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ
หนวยการเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา

T117
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ นํา
กระตุน ความสนใจ
ครูแจงนักเรียนวา ในชั่วโมงนี้นักเรียนจะได
เรียนรูเกี่ยวกับรูปรางของกลุมดาวฤกษ จากนั้น
2. ¡ÅØ‹Á´ÒÇġɏº¹·ŒÍ§¿‡Ò
ครูถามคําถามนักเรียน ดังนี้
ท อ งฟ า มี ลั ก ษณะคล า ยครึ่ ง ทรงกลม ซึ่ ง ในเวลากลางวั น เราจะมอง
• เมื่อคืนมีใครดูดาวบนทองฟาบาง เห็ น ท อ งฟ า เป น สี ฟ  า ส ว นในเวลากลางคื น เราจะมองเห็ น กลุ  ม ดาวฤกษ
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน ) ตาง ๆ ทีอ่ ยูบ นทองฟามีรปู รางแตกตางกันออกไป และกลุม ดาวฤกษจะมีเสนทาง
• นักเรียนรูห รือไมวา กลุม ดาวฤกษบนทองฟา การขึ้นและตกในทิศเดิมเสมอ โดยเราสามารถใชแผนที่ดาวในการสังเกต
มีชื่อวาอะไรบาง ตําแหนงการขึ้นและตกของดาวฤกษและกลุมดาวฤกษได นอกจากนี้ ยังสามารถ
(แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน )
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ใชมือในการประมาณคามุมเงยได
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ภาพที่ 7.7 ตัวอยางกลุมดาวบนทองฟา

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
1. นักเรียนศึกษาขอมูลและดูภาพในหนังสือเรียน
หนานี้ แลวถามคําถามนักเรียนวา
• นักเรียนสังเกตและจินตนาการกลุม ดาวฤกษ
บนทองฟาเปนรูปรางอะไรบาง
(แนวตอบ ตัวอยางคําตอบ หมี นายพราน)
2. สมาชิกของแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอน
การทํากิจกรรมที่ 2 เรื่อง สังเกตรูปรางของ
กลุ  ม ดาวฤกษ โดยศึ ก ษาขั้ น ตอนการทํ า
กิจกรรม จากหนังสือเรียน หนา 105
3. ในชั่วโมงนี้ครูใชรูปแบบการสอนแบบรวมมือ
เทคนิค L.T. หรือ Learning Together มาจัด
กิจกรรมการเรียนรู เพื่อกําหนดใหสมาชิกของ
นักเรียนแตละกลุมมีหนาที่ของตนเอง และให ¹Ñ¡àÃÕ¹ÊѧࡵáÅШԹµ¹Ò¡ÒÃ
ทํางานรวมกัน ¡ÅØ‹Á´ÒǺ¹·ŒÍ§¿ŒÒ໚¹ÃٻËҧ
4. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 2 ÍÐäúŒÒ§
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 104
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เทคนิค L.T. หรือ Learning Together คือ กระบวนการสอนหนึ่งของ ดาวฤกษจะขึ้นทางทิศตะวันตกและตกทางทิศตะวันออก เปน
รูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังนี้ ขอความที่ไมถูกตอง นักเรียนคิดวา ขอใดกลาวไดถูกตอง
1. นักเรียนแบงกลุม กลุม ละเทาๆ กัน จากนัน้ ครูใหนกั เรียนทบทวนเนือ้ หา 1. ดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันตกและตกทางทิศตะวันตก
เดิมหรือความรูพื้นฐานที่เกี่ยวของ 2. ดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันออก
2. ครูแจกแบบฝกหัด ใบงาน หรือโจทย ใหนักเรียนทุกกลุม กลุมละ 1 ชุด 3. ดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
เหมือนกัน จากนั้นใหนักเรียนแบงหนาที่ในการทํางาน 4. ดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันตกเปนเวลา 1 ป และขึ้นทาง
3. นักเรียนทํากิจกรรม แลวนําเสนอผลงาน จากนั้นใหครูประเมินผลงาน ทิศตะวันออกเปนเวลา 1 ป สลับกัน
ของกลุม โดยเนนกระบวนการทํางานกลุม (วิเคราะหคําตอบ ดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทาง
ทิศตะวันตก ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T118
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò อธิบายความรู
¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 2 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 2 ภายในกลุม
สังเกตรูปรางของกลุมดาวฤกษ 1. การสังเกต 2. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนกลุมใหออกมา
2. การลงความเห็นจากขอมูล
3. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป นําเสนอผลการทํากิจกรรมที่ 2 หนาชั้นเรียน
จุดประสงค 4. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
โดยครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้น
สังเกตและบรรยายรูปรางของกลุมดาวฤกษบนทองฟา ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาเพื่อนําเสนอ
ตามลําดับ
ตองเตรียมตองใช 3. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับ
1. กระดาษแข็งแผนใหญ 1 แผน รูปรางของกลุมดาวฤกษ โดยมีครูคอยอธิบาย
2. บัตรภาพกลุม ดาวฤกษ (ครูเตรียมให) ในสวนที่บกพรอง
3. แหลงขอมูล เชน หนังสือ อินเทอรเน็ต (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
ลองทําดู
ขยายความเขาใจ
1. แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวใหแตละคนสังเกตบัตรภาพกลุมดาวฤกษที่ครูเตรียมให
1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก
จากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปรางของกลุมดาวฤกษที่สังเกตเห็น
หนังสือเรียนหนานี้ ลงในสมุดหรือทําลงใน
2. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับรูปรางของกลุมดาวฤกษตาง ๆ บนทองฟาเพิ่มเติม แลวบันทึกผล
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
3. รวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอมูลที่แตละคนไดจากการสังเกตและการสืบคน
2. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับรูปราง
แลวรวมกันสรุปความรูโดยวาดภาพกลุมดาวฤกษลงในกระดาษแข็งแผนใหญ พรอม
ของกลุมดาวฤกษ จากหนังสือเรียน หนา 106
ลากเสนเชื่อมดาวแตละดวงตามรูปรางของกลุมดาวฤกษนั้น ๆ
จากนั้นครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน ให
4. นําเสนอภาพกลุมดาวฤกษหนาชั้นเรียน พรอมบอกชื่อรูปรางของกลุมดาวฤกษ
ออกมาสรุปความรูที่ไดหนาชั้นเรียน โดยให
5. รวมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับรูปรางของกลุมดาวฤกษ เพื่อนคนอื่นๆ เสริมในสวนที่บกพรอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
หนูตอบได
1. ยกตัวอยางกลุมดาวฤกษ พรอมวาดภาพประกอบ
2. ในแตละคืนกลุมดาวฤกษจะมีรูปรางเปลี่ยนแปลงไปหรือไม อยางไร แนวตอบ หนูตอบได
3. “ชาวกรีกไดเรียกกลุมดาวกลุมหนึ่งวา กลุมดาวหมีใหญ แตคนไทยเรียกกลุมดาวนี้วา
ขอ 3.
กลุมดาวจระเข” จากขอความดังกลาวนี้ หากเปนนักเรียนจะเรียกกลุมดาวนี้วาอะไร
• กลุมดาวหมีใหญ เพราะสังเกตเห็นกลุม
เพราะอะไร
ดาวฤกษนี้มีรูปรางคลายหมี
105
(หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง • กลุ  ม ดาวจระเข เพราะสั ง เกตเห็ น กลุ  ม
คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู ดาวฤกษนี้มีรูปรางคลายจระเข
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ขอใดกลาวไดถูกตอง ในการเรี ย นการสอนที่ ส  ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต  อ การเรี ย น
1. รูปรางของกลุมดาวฤกษจะเหมือนเดิมทุกคืน วิ ท ยาศาสตร ควรเน น การจั ด บรรยากาศในชั้ น เรี ย นให เ ป น ไปด ว ยความ
2. เราจะมองเห็นกลุมดาวฤกษขึ้นทางทิศตะวันตก สนุกสนาน เปดโอกาสใหนักเรียนตั้งคําถามจากสิ่งที่สงสัย โดยครูเปนผูกระตุน
3. เราจะมองเห็นกลุมดาวฤกษตกทางทิศตะวันออก ใหนกั เรียนคิดและกลาแสดงออก รวมทัง้ ใหนกั เรียนไดลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมดวย
4. เสนทางการขึน้ และตกของกลุม ดาวฤกษจะเปลี่ยนแปลงไป ตนเอง
ในแตละคืน
(วิเคราะหคําตอบ รูปรางของกลุมดาวฤกษจะเหมือนเดิมทุกคืน
เราจะมองเห็นกลุมดาวฤกษตางๆ ขึ้นทางทิศตะวันออกและตก
ทางทิศตะวันตก การขึน้ และตกของกลุม ดาวฤกษจะมีเสนทางการ
ขึ้นและตกตามเสนทางเดิมทุกคืน ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่
ถูกตอง)

T119
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให
สรุปความรูจ ากการเรียนจนไดขอ สรุปวา ดาวฤกษ
2.1 รูปรางของกลุมดาวฤกษ
ในแตละกลุมมีรูปรางแตกตางกันออกไป ซึ่งกลุม ในคืนเดือนมืดเราสามารถมองเห็นดวงดาวไดชัดเจน เพราะไมมีแสง
ดาวฤกษตางๆ ที่ปรากฏอยูบนทองฟาแตละกลุม สวางของดวงจันทรมาบดบังแสงของดาว เมื่อเราสังเกตและลองโยงเสนกลุม
จะมีการเรียงตัวของดาวฤกษอยางคงที่ จึงทําให ดาวฤกษโดยใชจินตนาการจะพบวา ดาวฤกษในแตละกลุมมีรูปรางแตกตาง
มีรูปรางเหมือนเดิมทุกคืน กันออกไป ซึ่งกลุมดาวฤกษตาง ๆ ที่ปรากฏอยูบนทองฟาแตละกลุมจะมีการ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช เรียงตัวของดาวฤกษอยางคงที่ จึงทําใหมีรูปรางเหมือนเดิมทุกคืน และใน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
รอบ 1 ป เราจะสามารถมองเห็นกลุมดาวฤกษไดในเวลาแตกตางกัน เชน
ขัน้ ประเมิน กลุมดาวนายพราน สามารถมองเห็นไดทั่วกันทั้งโลก แตผูที่อาศัยอยูทาง
ตรวจสอบผล ซีกโลกเหนือในเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคมจะมองเห็นไดในชวงเย็น และชวง
1. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมที่ 2 เรื่ อ ง ปลายเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายนจะสามารถมองเห็นไดในชวงเชามืด
สังเกตรูปรางของกลุมดาวฤกษในสมุดหรือใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
2. ครู ต รวจสอบผลการทํ า กิ จ กรรมหนู ต อบได
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2

ภาพที่ 7.8 กลุมดาวนายพราน


กลุมดาวหมีใหญ ผูที่อาศัยอยูทางซีกโลกเหนือสามารถมองเห็นไดตลอด
ทั้งป สวนผูที่อยูอาศัยอยูทางซีกโลกใตมาก ๆ จะมองเห็นไดลําบาก

ภาพที่ 7.9 กลุมดาวหมีใหญ

106

แนวทางการวัดและประเมินผล ขอสอบเนน การคิด


ครูสามารถสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน จากการตอบคําถาม การทํางาน หากครูมอบหมายใหนักเรียนสังเกตรูปรางของกลุมดาวฤกษ
รายบุคคล การทํางานกลุม และการนําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียนได นักเรียนจะเลือกสังเกตในคืนใด
โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของ 1. มีฝนตก
หนวยการเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา ดังภาพตัวอยาง 2. คืนเดือนมืด
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
3. มีเมฆมากที่สุด
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่

ลาดับที่
ตรงกับระดับคะแนน
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

การทางาน
การมี
4. คืนพระจันทรเต็มดวง
3 2 1 การแสดง การยอมรับ ส่วนร่วมใน รวม
ชื่อ–สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้าใจ

(วิเคราะหคําตอบ คืนที่ไมมีดวงจันทรสองแสงสวาง คือ คืน


1 การแสดงความคิดเห็น    ลาดับที่ ความคิดเห็น ฟังคนอื่น การปรับปรุง 15
ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น   
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
4 ความมีน้าใจ   

เดือนมืด เปนคืนทีจ่ ะมองเห็นดาวตางๆ บนทองฟาไดชดั เจนทีส่ ดุ


5 การตรงต่อเวลา   
รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน
............./.................../..............

ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)


ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ............./.................../..............
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
14-15 ดีมาก
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11-13 ดี
14-15 ดีมาก
8-10 พอใช้
11-13 ดี
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง 8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T120
นํา นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ นํา


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò กระตุน ความสนใจ
¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 3 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช
ครูตั้งคําถามกระตุนความคิดของนักเรียนวา
กลุม ดาวฤกษขนึ้ และตกทางทิศใด แลวใหนกั เรียน
การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ 1. การสังเกต ชวยกันระดมความคิดในการตอบคําถาม โดยครู
2. การลงความเห็นจากขอมูล
3. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป เขียนคําตอบของนักเรียนไวบนกระดาน ซึ่งครูยัง
4. การหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา
จุดประสงค 5. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล ไมเฉลยคําตอบที่ถูกตอง และแจงนักเรียนวา เมื่อ
สังเกตตําแหนง และเสนทางการขึน้ และตกของกลุม ดาวฤกษ ทํากิจกรรมแลว ครูจะนําคําถามนี้มาอภิปรายกับ
โดยใชแผนที่ดาว นักเรียนอีกครั้ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
ตองเตรียมตองใช แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
แผนที่ดาว 1 ชุด
ขัน้ สอน
ลองทําดู สํารวจคนหา
1. แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวชวยกันสังเกตการสาธิตวิธีการใชแผนที่ดาวจากครู ดังนี้ 1. ครูแบงกลุมใหนักเรียน กลุมละ 3-4 คน
• การถือแผนที่ดาวและการหันหนาขณะสังเกตที่ถูกตอง 2. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันศึกษาขั้นตอน
• การหมุนวันที่ เดือน และเวลา ใหตรงกับชวงเวลาที่เราสังเกต การทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การขึ้นและตกของ
กลุมดาวฤกษ โดยใหศึกษาขั้นตอนการทํา
กิจกรรม จากหนังสือเรียน หนา 107-108

ภาพที่ 7.10 นักเรียนสังเกตการสาธิตวิธีการใชแผนที่ดาวจากครู


107

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษเกี่ยวของกับทิศใดบาง ครูอาจใชเกมหอยแบงฝาในการแบงกลุม โดยมีวิธีการเลน ดังนี้ ครูให
1. ทิศใต ทิศตะวันออก นักเรียนแตละคนคิดวา ตนเองอยากเปนตัวหอยหรือเปนฝาหอย จากนั้นครูจะ
2. ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ออกคําสั่ง แลวใหนักเรียนวิ่งไปรวมกลุมกัน ซึ่งกําหนดใหนักเรียนที่ลอมวง คือ
3. ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ฝาหอย และนักเรียนที่อยูในวง คือ ตัวหอย ตัวอยางการออกคําสั่งของครู
4. ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 1) มีหอย 2 ตัว อยูในฝา 4 ฝา
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อเราสังเกตการขึ้นของกลุมดาวฤกษในชวง 2) มีฝา 6 ฝา ลอมหอย 3 ตัว
เย็นจะพบวา กลุม ดาวฤกษจะขึน้ จากขอบฟาทางทิศตะวันออกและ 3) มีหอยและฝาหอยลอมวง 8 ตัว
ลับขอบฟาชวงเชาในทิศตะวันตก ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่
ถูกตอง)

T121
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
สํารวจคนหา
3. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 3
แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
2. นักเรียนรวมกันวางแผนการสังเกตตําแหนง และเสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
โดยปฏิบัติ ดังนี้
• กําหนดวันที่ตองการสังเกตจํานวน 1 วัน และกําหนดเวลาที่ตองการ 3 เวลา คือ
หลังดวงอาทิตยตก กอนนอน และกอนดวงอาทิตยขึ้นในวันถัดไป
• หมุนแผนที่ดาวใหตรงกับวันและเวลาที่กําหนด แลวเลือกกลุมดาวฤกษที่สนใจ 1 กลุม
• สังเกตตําแหนงและเสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษตามกําหนดการที่วางไว
จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวาดแผนภาพแสดงการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษลงในสมุด
3. นําเสนอขอมูลที่ไดจากการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน เพื่อเปรียบเทียบขอมูลกับกลุมอื่น ๆ
แลวรวมกันอภิปรายและสรุปผลภายในชั้นเรียน

ภาพที่ 7.11 ใชแผนที่ดาวสังเกตตําแหนงและเสนทางการขึ้น-ตกของกลุมดาวฤกษ

แนวตอบ หนูตอบได หนูตอบได


ขอ 3. 1. กลุมดาวฤกษมีเสนทางการขึ้นและตกในทิศทางใดบาง
• บนภูเขา เพราะบนภูเขาเปนพื้นที่สูงและ 2. เสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษมีิทิศทางเดียวกับการขึ้นและตกของดวงอาทิตย
โลงกวาง จึงทําใหเรามองเห็นขอบฟาไดทุกดาน หรือไม อยางไร
โดยไมมีสิ่งกีดขวาง ทําใหสังเกตกลุมดาวฤกษบน 3. นักเรียนคิดวา บริเวณใดเหมาะสําหรับการสังเกตการขึน้ และตกของกลุม ดาวฤกษมากทีส่ ดุ
ทองฟาไดอยางชัดเจน ระหวางบนภูเขากับชายทะเล เพราะเหตุใด
• ชายทะเล เพราะเปนบริเวณที่โลงกวาง และ
เห็นทองฟาเปนครึ่งทรงกลม จึงทําใหเราสามารถ 108 (หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง
มองเห็นกลุมดาวฤกษเคลื่อนที่จากทิศตะวันออก คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
ไปยังทิศตะวันตกไดอยางชัดเจน

เกร็ดแนะครู เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 3


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม
ครูอาจอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา การขึ้นและตกของดวงอาทิตย
เวลาที่สังเกต ภาพกลุมดาว
ไมไดเกิดจากการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตยจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
แตเกิดจากโลกหมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬกา จึงทําใหเรามองเห็น หลังดวงอาทิตยตก
ดวงอาทิตยเคลื่อนที่ขามขอบฟาจากฟากหนึ่งไปยังอีกฟากหนึ่ง เวลา......................
งนักเรียน)
กตขอ
กอนนอน การสังเ
เวลา...................... ล ข น
้ ึ อยูกับ
(ผ
กอนดวงอาทิตยขึ้นในวันถัดไป
เวลา......................
สรุปผล จากการทํากิจกรรม พบวา การขึน้ และตกของกลุม ดาวบนทองฟาในชวง
เวลาตางๆ จะมีการเปลี่ยนตําแหนงไปในแตละคืน โดยเสนทางการขึ้นและตก
ของกลุมดาวจะมีเสนทางเดิมทุกคืน

T122
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò สํารวจคนหา
¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè 4 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรที่ใช
4. นักเรียนกลุมเดิมชวยกันศึกษาขั้นตอนการทํา
กิจกรรมที่ 4 เรื่อง การหาคามุมทิศและมุมเงย
การหาคามุมทิศและมุมเงย 1. การสังเกต
โดยใหศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมได จาก
2. การลงความเห็นจากขอมูล
3. การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป หนังสือเรียน หนา 109-110
จุดประสงค
5. นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรมที่ 4
ระบุมุมทิศและมุมเงยที่กลุมดาวฤกษปรากฏบนทองฟา แล ว บั น ทึ ก ผลลงในสมุ ด หรื อ ในแบบฝ ก หั ด
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ตองเตรียมตองใช (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
1. เข็มทิศ 1 อัน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
2. แหลงขอมูล เชน หนังสือ อินเทอรเน็ต
ลองทําดู µÍ¹·Õè 1
1. แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน จากนั้นชวยกันปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
1) สมาชิกในกลุม 1 คน ยืนกลางสนามหนาเสาธง แลวถือเข็มทิศไวในมือโดยหันดาน
ตัวอักษร N ไปดานหนาใหขนานกับพื้น จากนั้นหมุนตัวจนหัวลูกศรบนเข็มทิศทับ
บนตัวอักษร N พอดี
2) สมาชิกในกลุมที่เหลือชวยกันวาดภาพและบันทึกขอมูลสิ่งที่สังเกตไดจากมุมทิศที่
0, 45, 90, 135, 180, 225, 270, และ 315 องศา ตามลําดับ ลงในสมุด
2. นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน จากนั้นรวมกันอภิปรายและสรุปผล

ภาพที่ 7.12 การทดลองหามุมทิศโดยใชเข็มทิศ


109

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 4 เกร็ดแนะครู


ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 1) (ตัวอยาง)
N
ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมวา เข็มทิศ คือ เครื่องมือที่ใชวัดทิศ
โดยเข็มทิศจะชี้ไปทิศเหนือ (เขียนแทนดวย N หรือ น.) เมื่อหันหนาไปทิศเหนือ
ดานขวามือ คือ ทิศตะวันออก ดานซายมือ คือ ทิศตะวันตก และดานหลัง คือ
ทิศใต ตัวอยางเข็มทิศ ดังภาพ

การทดลอง ทิศ สิ่งที่สังเกตเห็น


0 องศา เหนือ เสาธง
45 องศา ตะวันออกเฉียงเหนือ อาคารเรียน 1
90 องศา ตะวันออก อาคารเรียน 2
135 องศา ตะวันออกเฉียงใต สหกรณ
180 องศา ใต อาคารประชาสัมพันธ
225 องศา ตะวันตกเฉียงใต สนามกีฬา
เข็มทิศ
270 องศา ตะวันตก หอประชุม
315 องศา ตะวันตกเฉียงเหนือ อาคารคหกรรม
T123
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
อธิบายความรู
1. นักเรียนแตละกลุม รวมกันอภิปรายและสรุปผล
จากการทํากิจกรรมที่ 3-4 ภายในกลุม
2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ
ผลการทํากิจกรรมที่ 3-4 หนาชั้นเรียน โดย µÍ¹·Õè 2
ครูจับสลากเลือกหมายเลขกลุม จากนั้นให 1. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับการใชนิ้วหรือมือประมาณคามุมเงย (มีหนวยเปนองศา หรือใช
แต ล ะกลุ  ม ส ง ตั ว แทนเพื่ อ ออกมานํ า เสนอ สัญลักษณ o) ของวัตถุบนทองฟา แลวบันทึกผล
ตามลําดับ 2. ประมาณคามุมเงยของวัตถุบริเวณโรงเรียนมา 3 ชนิด เชน หนาตางอาคารเรียน
3. นักเรียนรวมกันสรุปเกีย่ วกับการขึน้ และตกของ หลังคาอาคารเรียน ยอดเสาธง จากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคามุมเงย
กลุมดาวฤกษและการหาคามุมทิศและมุมเงย แลวบันทึกผล
โดยมีครูคอยอธิบายในสวนที่บกพรอง 3. นํ า เสนอผลการทํ า กิ จ กรรมหน า ชั้ น เรี ย น เพื่ อ ร ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป เกี่ ย วกั บ วิ ธี
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช การประมาณคามุมเงยภายในชั้นเรียน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม) การใชนิ้วหรือมือประมาณคามุมเงย
1ํ

ภาพที่ 7.13 นําเสนอผลการทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน

หนูตอบได
1. ยกตัวอยางสถานการณในชีวิตประจําวันที่ตองอาศัยมุมทิศมาอยางนอย 3 สถานการณ
2. หากตองการประมาณคามุมเงยของยอดไม โดยยืนในตําแหนงมุมทิศเดียวกัน แตยืนหาง
แนวตอบ หนูตอบได
ตนไมในระยะหางที่แตกตางกัน คามุมเงยจะเทากันหรือไม อยางไร
ขอ 3. 3. นักเรียนคิดวา มุมเงยหรือมุมทิศ ที่สําคัญตอการกําหนดตําแหนงของวัตถุมากกวากัน
• มุมเงย เพราะวัตถุที่อยูมุมสูง หากไมทราบ เพราะเหตุใด
คามุมเงยก็ไมสามารถบอกตําแหนงของวัตถุได
• มุมทิศ เพราะวัตถุสวนใหญอยูในแนวราบ 110 (หมายเหตุ : คําถามขอสุดทายของหนูตอบได เปนคําถามที่ออกแบบใหผูเรียนฝกใชทักษะการคิดขั้นสูง
หากทราบคามุมทิศก็สามารถบอกตําแหนงของวัตถุ คือ การคิดแบบใหเหตุผล และการคิดแบบโตแยง ซึ่งผูเรียนอาจเลือกตอบอยางใดอยางหนึ่งก็ได ใหครู
พิจารณาจากเหตุผลสนับสนุน)
ตางๆ ได

เฉลย ผลการทํากิจกรรมที่ 4
ตาราง บันทึกผลการทํากิจกรรม (ตอนที่ 2) (ตัวอยาง)
การใชนิ้วหรือมือประมาณคามุมเงย วัตถุที่สังเกต วาดภาพสัญลักษณมือเพื่อหาคามุมเงย คามุมเงย

นาฬกาติดผนัง 45 ํ

1ํ 2.5 ํ 5ํ 10 ํ ยอดเสาธง 60 ํ

หลังคาอาคารเรียน 55 ํ

15 ํ 20 ํ 30 ํ 44 ํ ยอดไม 45 ํ

T124
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò ขยายความเขาใจ

2.2 การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ 1. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก


หนังสือเรียน หนา 108 ลงในสมุดหรือทําลงใน
เนื่องจากโลกของเราหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
(หมุนทวนเข็มนาฬกา) และเมื่อเราสังเกตกลุมดาวฤกษในชวงเวลาตาง ๆ 2. นักเรียนแตละคนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการขึ้น
ในคืนเดียวกัน จะพบวากลุมดาวฤกษมีการเปลี่ยนตําแหนงไป โดยเคลื่อนจาก และตกของกลุมดาวฤกษ จากหนังสือเรียน
ทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก จึงทําใหเรามองเห็นกลุมดาวฤกษขึ้นจาก หนานี้ และศึกษาเพิ่มเติมจาก PowerPoint
ขอบฟาทางทิศตะวันออก และตกลับขอบฟาไปทางทิศตะวันตกเชนเดียวกับ เรื่อง การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ
3. ใหนักเรียนแตละคนเขียนวา กลุมดาวฤกษขึ้น
การขึ้นและตกของดวงอาทิตย ซึ่งดาวฤกษและกลุมดาวฤกษมีเสนทางการขึ้น และตกทิศใดลงใน Post-it แลวใหแตละคน
และตกตามเสนทางเดิมทุกคืน และจะปรากฏตําแหนงเดิมเสมอ นํามาติดไวบนกระดานหนาชั้นเรียน โดยไม
ในขณะที่กลุมดาวฤกษกําลังลับขอบฟาเราจะมองไมเห็นกลุมดาวฤกษ ตองเขียนชื่อ
เพราะแสงสวางจากดวงอาทิตยจะบดบังแสงของกลุมดาวฤกษ ดังนั้น เรา 4. ครูสุมหยิบ Post-it 4-5 แผน แลวอานคําตอบ
จะเห็นกลุมดาวฤกษตาง ๆ ขึ้นทางขอบฟาเมื่อแสงจากดวงอาทิตยลดนอยลง ใหนักเรียนฟง จากนั้นนักเรียนทุกคนรวมกัน
จนกระทั่งดวงอาทิตยลับขอบฟาไป อภิ ป รายว า เป น คํ า ตอบที่ ถู ก ต อ งหรื อ ไม
อยางไร โดยมีครูคอยเฉลยคําตอบที่ถูกตอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

ภาพที่ 7.14 ทองฟาในคืนเดือนมืด ภาพที่ 7.15 ทองฟาในคืนดวงจันทรรูปเสี้ยว

ภาพที่ 7.16 ทองฟาในคืนดวงจันทรเต็มดวง ภาพที่ 7.17 ทองฟาในเวลากลางวัน


111

ขอสอบเนน การคิด สื่อ Digita


เมื่อปุยเดินเทาไปโรงเรียนในตอนเชา ปุยจะหันหลังใหกับ ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษเพิ่มเติม
ดวงอาทิตยทุกวัน แสดงวา โรงเรียนของปุยตั้งอยูในทิศใด จากสื่อ PowerPoint เรื่อง การขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ ดังภาพตัวอยาง
1. ทิศใต
2. ทิศเหนือ
3. ทิศตะวันตก
4. ทิศตะวันออก
(วิเคราะหคําตอบ ในชวงเชาดานที่มองเห็นดวงอาทิตยจะเปน
ทิศตะวันออก ดังนั้น ถาหันหลังใหดวงอาทิตย ดานหนาของปุย
จะเปนทิศตะวันตก ดานซายมือจะเปนทิศใต และดานขวามือจะ
เปนทิศเหนือ แสดงวา โรงเรียนของปุย ตัง้ อยูใ นทิศตะวันตก ดังนัน้
ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T125
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
5. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมหนูตอบได จาก 2.3 การบอกตําแหนงของกลุมดาวฤกษ
หนังสือเรียน หนา 110 ลงในสมุดหรือทําลงใน
แบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ทองฟาที่เราเห็นนั้นมีลักษณะคลายครึ่งทรงกลม มีแนวเสนที่บรรจบ
6. แตละคนศึกษาขอมูล จากหนังสือเรียน หนา กันระหวางทองฟา และผืนนํ้าหรือแผนดิน เรียกวา เสนขอบฟา สวนจุดที่อยู
112-113 และศึกษาเพิ่มเติมจาก PowerPoint สูงสุดของทองฟาและอยูตรงศีรษะพอดี เรียกวา จุดเหนือศีรษะ จุดยอดฟา หรือ
เรื่อง การใชแผนที่ดาว จุดจอมฟา ซึ่งเสนขอบฟาและจุดเหนือศีรษะไมมีจริง เนื่องจากเปนตําแหนงที่
สมมติขึ้นมาจากการมองเห็น
ในการสังเกตตําแหนงของกลุมดาวฤกษบนทองฟาดวยวิธีการตาง ๆ
เปนการฝกทักษะในการสังเกต ฝกความอดทน รวมทั้งยังกอใหเกิดความสนใจ
ในเชิงวิทยาศาสตร ซึ่งการสังเกตตําแหนงของดาวฤกษและกลุมดาวฤกษ
สามารถทําไดโดยใชแผนที่ดาว ซึ่งระบุมุมทิศและมุมเงยที่กลุมดาวนั้นปรากฏ
และเมื่อเราสังเกตดาวบนทองฟา เราสามารถระบุมุมเงยไดโดยใชมือในการ
ประมาณคาของมุมเงย
จุดเหนือศีรษะ จุดยอดฟา หรือจุดจอมฟา

เสนขอบฟา

ภาพที่ 7.18 เสนขอบฟาและจุดเหนือศีรษะ จุดยอดฟา หรือจุดจอมฟา


112

สื่อ Digital ขอสอบเนน การคิด


ครูใหนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับการใชแผนที่ดาวเพิ่มเติมจากสื่อ PowerPoint ในชวงเชา ถายืนหันหนาเขาหาดวงอาทิตยเปนทิศตะวันออก
เรื่อง การใชแผนที่ดาว ดังภาพตัวอยาง แลวดานขวาของนักเรียนจะเปนทิศใด
1. ทิศใต
2. ทิศเหนือ
3. ทิศตะวันตก
4. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
(วิเคราะหคําตอบ ชวงเชาดวงอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออก ถา
เราหันหนาเขาหาดวงอาทิตย ดานหลังของเราจะเปนทิศตะวันตก
ดานซายมือจะเปนทิศเหนือ และดานขวามือจะเปนทิศใต ดังนั้น
ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T126
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò ขยายความเขาใจ
7. ครูถามคําถามนักเรียนวา
1) การใชแผนที่ดาว แผนที่ดาวเปนแผนที่ทองฟา ซึ่งแสดงตําแหนงของ
• นักเรียนสามารถนําความรูจากการศึกษา
กลุมดาวฤกษบนทองฟา โดยแบงออกเปน 2 สวน ไดแก ทองฟาทางทิศเหนือ แผนที่ดาวไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
และทองฟาทางทิศใต ไดหรือไม อยางไร
การใชแผนที่ดาวในการดูดาว มีวิธีการ ดังนี้ (แนวตอบ ตัวอยางคําตอบ ได เพราะนําไป
• หมุนแผนที่ดาวใหวันที่และเดือนตรงกับวันและเวลาที่ตองการดูดาว ใชในการสังเกตกลุมดาวฤกษบนทองฟา)
• เมื่อตองการดูดาวดานทิศเหนือ ใหใชแผนที่ดาวดานทิศเหนือ แลวหันหนาไป 8. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 4-5 คน ใหออกมา
ทางทิศเหนือ ดานซายมือเปนทิศตะวันตก ดานขวามือเปนทิศตะวันออก เขียนคําตอบบนกระดานดําหนาชั้นเรียน แลว
• ยกแผนทีด่ าวขึน้ เหนือศีรษะ ใหทศิ ของแผนทีด่ าวตรงกับทิศของทองฟาจริง แลว ให นั ก เรี ย นในชั้ น เรี ย นแสดงความคิ ด เห็ น
มองแผนที่ดาวตามทิศและคามุมเงยที่ระบุไวในแผนที่ดาว รวมกันวา เห็นดวยหรือไม อยางไร
• มองทองฟาจริงเปรียบเทียบกับแผนที่ดาว (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

µÑÇÍ‹ҧ แผนที่ดาว
กลุมดาว

วันที่และเดือน
เสนแสดง
คามุมเงย
เสนแสดง
คามุมทิศ

ตัวเลขบอกเวลา
สัญลักษณบอก
อันดับความสวาง

สัญลักษณอื่น ๆ
แผนที่ดาวดานทิศใต แผนที่ดาวดานทิศเหนือ
(ทีม่ าภาพ : สมาคมดาราศาสตรไทย)
ภาพที่ 7.19 แผนที่ดาว

113

กิจกรรม ทาทาย เกร็ดแนะครู


ใหนกั เรียนแตละคนใชแผนทีด่ าวสังเกตกลุม ดาวฤกษ จากนัน้ ครูสามารถหยิบใชใบงาน เรื่อง การใชแผนที่ดาว ไดจากแผนการจัดการ
นําขอมูลทีไ่ ดวาดการขึน้ และตกลงในกระดาษแข็งแผนใหญ พรอม เรียนรูที่ 4 เรื่อง การใชแผนที่ดาว ดังภาพตัวอยาง
ระบุชื่อกลุมดาวฤกษ และอธิบายเสนทางการขึ้นและการตกของ
กลุมดาวฤกษ แลวนํามาสงครู ใบงาน
เรื่อง การใช้แผนที่ดาว

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แล้วร่วมกันปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้


1) พิจารณาข้อความ ข้อ 1-5
2) นาข้อความข้อ 1-5 มาเรียงวิธีการ การใช้แผนที่ดาวในการดูดาวให้ถูกต้อง
3) นาเสนอหน้าชั้นเรียนเพื่ออภิปรายร่วมกัน

วิธีการ การใช้แผนที่ดาวในการดูดาว
1. มองท้องฟ้าจริงแล้วเปรียบเทียบกับแผนที่ดาว
2. หมุนแผนที่ดาวให้วันที่และเดือนตรงกับวันและเวลาที่ต้องการดู
3. ยกแผนที่ดาวขึ้นเหนือศีรษะ
4. มองแผนที่ดาวตามทิศและค่ามุมเงยที่ระบุไว้ในแผนที่
5. เมื่อต้องการดูดาวด้านทิศเหนือ ให้ใช้แผนที่ดาวด้านทิศเหนือ แล้วหันหน้าไปทางทิศเหนือ

วิธีการใช้แผนที่ดาวในการดูดาวที่ถูกต้อง

…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….

T127
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
9. ครูแบงกลุมใหนักเรียน กลุมละ 3-4 คน โดย 2) การกําหนดคามุมทิศและการประมาณคาของมุมเงย มุมทิศที่วัดตาม
คละความสามารถ (เกง ปานกลางคอนขาง
เกง ปานกลางคอนขางออน และออน)
แนวระนาบกับพืน้ ดินมีคา อยูร ะหวาง 0-360 องศา สวนการบอกตําแหนงของดาว
10. แตละกลุมชวยกันศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการ ดวยคามุมเงย คือ มุมทีว่ ดั จากเสนขอบฟาขึน้ ไปหาดาวทีส่ งั เกตในแนวดิง่ มีคา อยู
กําหนดคามุมทิศและการประมาณคาของ ระหวาง 0-90 องศา ดังภาพ
มุมเงย จากหนังสือเรียน หนา 114-115
มุมทิศ จุดเหนือศีรษะ จุดยอดฟา หรือจุดจอมฟา มุมเงย
ทิศเหนือมีคา มุมทิศ 0 หรือ จุ ด ที่ เ รามองเห็ น ดาวที่ อ ยู 
360 องศา แลววนไปตาม ตรงกั บ ระดั บ สายตาหรื อ
เข็มนาฬกา (ทิศตะวันออก) เสนขอบฟา มุมเงยจะมีคา
ตามแนวของเสนขอบฟา ประมาณ 0 องศา แตถา
ทิศตะวันออกจะมีคามุมทิศ มองเห็นดาวปรากฏอยูตรง
90 องศา ทิศใต 180 องศา เหนือศีรษะพอดี โดยเวลา
และทิศตะวันตก 270 องศา ดูจะตองเงยหนามากที่สุด
มุมเงยจะมีคา 90 องศา
ทิศตะวันออก 90 ํ
มุมเงย
เสนขอบฟา
อ0ํ
ทิศเหนื มุมทิ2.5ศ ํ ตัวเรา 5 ํ 1 ํ ํ ํ
ทิศใต 180 2.5
1ํ 1ํ 2.5 ํ 5ํ

ทิศตะวันตก 270 ํ
ภาพที่ 7.20 มุมทิศและมุมเงย
การใชนิ้วและมือประมาณคามุมเงย
1ํ 10 ํ 1ํ 10 ํ 2.5 ํ 101 ํ ํ 2.5 ํ 10 ํ 5ํ 15 ํ 102.5ํ ํ 5 15ํ ํ 105 ํ ํ
22 22 ํ 15 ํ

ภาพที่ 7.21 การใชนิ้วและมือประมาณคามุมเงย


114

10 ํ 10 ํ 10 ํ 10 ํ 10 ํ 15 ํ 10 ํ 15 ํ 22 ํ 15 ํ 22 ํ 22 ํ

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


ครูอาจยกตัวอยางการใชนิ้วและมือประมาณคามุมเงยเพิ่มเติม เชน ถานักเรียนไปเขาคายลูกเสือแลวเกิดหลงปา นักเรียนจะใช
อุปกรณในขอใด เพื่อนําทิศทางกลับเขาคายลูกเสือ
1. นาฬกาขอมือ
2. แวนขยาย
3. ไมพลอง
4. เข็มทิศ
20 ํ 30 ํ 44 ํ (วิเคราะหคําตอบ เข็มทิศ เปนเครื่องมือสําหรับใชหาทิศทาง มี
เข็มแมเหล็กทีแ่ กวงไดอสิ ระตามแรงดึงดูดของโลก จะมีปลายชีไ้ ป
ทางทิศเหนือเสมอ ดังนั้น ขอ 4 จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T128
นํา สอน สรุป ประเมิน

หนวยการเรียนรูที่ 7 ขัน้ สอน


´ÒǺ¹·ŒÍ§¿‡Ò ขยายความเขาใจ

วิธีการประมาณคามุมเงยของวัตถุบนทองฟา มีวิธีการ ดังนี้ 11. ครูใหนักเรียนแตละกลุมประมาณคามุมเงย


ตามองศาตางๆ โดยครูอาจใชวธิ สี อนโดยการ
• เหยียดแขนออกไปจนสุดใหตรงในระดับสายตา ลงมือปฏิบัติ (Practice) เขามาจัดกิจกรรม
• หลับตาขางหนึ่ง แลวใชตาอีกขางหนึ่งเล็งไปที่ปลายมือ ในการประมาณคามุมเงยนี้ ใหครูกําหนด
• กางนิ้วมือใหมีความกวางพอดีกับขนาดมุมเงยที่ตองการวัด จุดมุงหมายและกําหนดขอปฏิบัติใหนักเรียน
แตละกลุมทราบ
µÑÇÍ‹ҧ การประมาณคามุมเงย 12. ใหนักเรียนแตละกลุมทดลองประมาณคา
มุมเงย แลวระบุวา มุมเงยทีแ่ ตละกลุม ทดลอง
ประมาณคานัน้ มีคา ประมาณกีอ่ งศา จากนัน้
รวมกันสรุปผลการทํากิจกรรมภายในชัน้ เรียน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
มุมเงยมีคาประมาณ 1 องศา มุมเงยมีคาประมาณ 5 องศา แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม)
13. นักเรียนแตละคนเขียนสรุปความรูเกี่ยวกับ
เรือ่ งทีไ่ ดเรียนมาจากบทที่ 1 ในรูปแบบตางๆ
เชน แผนผังความคิด แผนภาพลงในสมุด
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)
มุมเงยมีคาประมาณ 10 องศา มุมเงยมีคาประมาณ 15 องศา
ภาพที่ 7.22 ตัวอยางการประมาณคามุมเงยตาง ๆ
กิจกรรม สรุปความรูป ระจําบทที่ 1
ตรวจสอบตนเอง 1ํ 1ํ 2.5 ํ 2.5 ํ 5ํ 5ํ
หลังเรียนจบบทนี้แลว ใหนักเรียนบอกสัญลักษณที่ตรงกับระดับความสามารถของตนเอง
เกณฑ
รายการ ดี พอใช ควรปรับปรุง

1. เขาใจเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องทองฟาและกลุมดาวฤกษ
2.5 ํ 2. สามารถทํ
2.5 ํ ากิจกรรมและอธิบายผลการทํ 5 ํ ากิจ5กรรมได

3. สามารถตอบคําถามจากกิจกรรมหนูตอบไดได
4. ทํางานกลุมรวมกับเพื่อนไดดี
5. นําความรูไปใช10ประโยชน
ํ 10ในชี
ํ วิตประจําวันได 10 ํ 10 ํ 15 ํ 15 ํ 22 ํ 22 ํ
115

10 ํ 15 ํ 15 ํ
กิจกรรม สรางเสริ
22 ํ
ม22 ํ เกร็ดแนะครู
ใหนักเรียนแบงกลุม แลวชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการใช วิธีสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) เปนวิธีสอนที่ใหประสบการณตรง
นิ้วและมือประมาณคามุมเงยเพิ่มเติม จากนั้นชวยกันจัดทําเปน กับผูเ รียน โดยใหผเู รียนลงมือปฏิบตั จิ ริง ซึง่ เปนการสอนทีม่ งุ ผสมผสานระหวาง
สมุดภาพเลมเล็ก พรอมตกแตงใหสวยงาม แลวนําสงครู ดังภาพ ทฤษฎีกับการปฏิบัติ วิธีสอนนี้มีขั้นตอนสําคัญ ดังนี้
ตัวอยาง 1. ขั้นเตรียม ผูสอนกําหนดจุดมุงหมายของการปฏิบัติและรายละเอียด
ของการทํางาน
2. ขัน้ ดําเนินการ ผูส อนใหความรูแ ละทักษะทีเ่ ปนพืน้ ฐานในการปฏิบตั แิ ละ
มอบหมายงานเปนกลุมหรือรายบุคคล
3. ขั้นสรุป ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปกิจกรรมการปฏิบัติงาน
4. ขัน้ ประเมินผล ผูส อนสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูแ ละผลการทํางานของ
ผูเรียน
44 ํ

T129
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
ขยายความเขาใจ
14. นั ก เรี ย นแต ล ะคนศึ ก ษา สรุ ป สาระสํ า คั ญ ÊÃØ» ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
»ÃШíÒº··Õè 1
ในหนังสือเรียนหนานี้
ดาวเสาร์
15. นักเรียนแตละคนออกไปเขียนความรูที่ได เช่น
คนละขอลงบนกระดานดําหนาชั้นเรียน งอ าทิตย์
มแี ดว

ไม เพรา าว
16. ครูอานขอความบนกระดานดําใหนักเรียนใน สงส

เ ช่ น
มีแสงสว่างในตัวเอง


ะแ วา่ งในตวั เอง แตม ่ องเหน็ ได้
ชัน้ เรียนฟง แลวใหนกั เรียนชวยกันตรวจสอบ สงจ บ มองเห็นได้
ากดวงอาทิตยต ์ กกระท


เค
วา เปนความรูที่ถูกตองหรือไม พรอมทั้ง ราะ
ห์ แลว้ ส ดาวเคราะ ห์
ะท้อนเข้าสตู่ า
รวมกันแกไขความรูที่ไมถูกตองใหถูกตอง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช ราะห์ ดาวฤก
ษ์
ะ ด า วเ ค
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) ษ์แล
วฤก
ดา

1 ํ มฐ. ว 3.1 ป.5/1-ป.5/2 2.5 ํ 5ํ


เชน

·ŒÍ§¿‡ÒáÅСÅØ‹Á´ÒÇġɏ

มด
กล

าวน
ุ่

ายพ
ราน รปู
กล รา่ งข

ุ่ ด อ
าวฤ ง
กษ์ ฟา้
์ นทอ้ ง
่ ดาวฤกษบ
กลุม
ะตก ์
การขน ้ึ แล วฤกษ
ของกลม ุ่ ดา
10 ํ 1ํ 10 ํ 1ํ 2.5 ํ 15 ํ 2.5 ํ 5ํ

ข้น
ึ ท
ตก างทศ ิ
ทาง ตะวน ั ออกและ
ทศ
ิ ตะวน
ั ตก
กา

อง บอกตาํ แ
าว

ทด่ี

ดาว หน่ง ผน
บนทอ้ งฟา้ ใชแ้ ุ เงย
มม
า ณ ค า่ ของ
ใช้น้ิวหรือมือประม
กา ื ดนิ
รกาํ
หนดมม ั 10ตํ ามแนวระนาบกบ
วด ั พ้น
ุ ทิศ า 15 ํ
องศ
10 ํ 10 ํ 10 ํ
มคี า่ ระหว่าง 0-360

116

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมือ่ เรียนจบบทนีแ้ ลว ครูอาจใหนกั เรียนตัง้ คําถามทีอ่ ยากรูเ พิม่ เติมเกีย่ วกับ ขอใดกลาวไมถูกตอง
เรื่อง ทองฟาและกลุมดาวฤกษ คนละ 1 คําถาม จากนั้นครูสุมเรียกใหนักเรียน 1. ดาวศุกรเปนดาวเคราะห เพราะไมมีแสงสวางในตัวเอง
บอกคําถามของตนเอง แลวใหเพื่อนในชั้นเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นวา 2. เรามองเห็นดาวฤกษเปนแสงระยิบระยับบนทองฟา
จะใชวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรตอบคําถามนีไ้ ดอยางไร โดยครูทาํ หนาทีเ่ ปนผูช แี้ นะ 3. ดาวเคราะหเปนแหลงกําเนิดแสง
และสังเกตการทํากิจกรรมของนักเรียนอยางใกลชิด 4. ดาวฤกษมีแสงสวางในตัวเอง
การตั้งคําถามจากการสังเกตหรือจากประเด็นที่ตนเองสงสัย (ระบุปญหา) (วิเคราะหคําตอบ ดาวฤกษมีแสงสวางในตัวเอง ดาวฤกษเปน
เปนขั้นตอนแรกของวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งครูควรใหนักเรียนไดฝกฝน แหลงกําเนิดแสง เราสามารถมองเห็นดาวฤกษเปนจุดสวางและมี
เพราะเปนคุณสมบัติสําคัญอยางหนึ่งของนักวิทยาศาสตร แสงระยิบระยับบนทองฟา สวนดาวเคราะหไมมแี สงสวางในตัวเอง
ไมใชแหลงกําเนิดแสง เราสามารถมองเห็นดาวเคราะหเปนแสงนิง่
ไมกะพริบ และดาวศุกรถูกจัดเปนดาวเคราะห ดังนั้น ขอ 3. จึง
เปนคําตอบที่ถูกตอง)

T130
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สอน
กิจกรรม º··Õè 1 ขยายความเขาใจ

ฝกทักษะ 17. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 1


จากหนังสือเรียน หนา 117-118 เปนการบาน
1. ขีด ✓ หนาขอความที่กลาวถูก กา ✗ หนาขอความที่กลาวผิด โดยทํ า ลงในสมุ ด หรื อ ทํ า ลงในแบบฝ ก หั ด
............ 1) ดาวฤกษเปนแหลงกําเนิดแสง
วิทยาศาสตร ป.5 เลม 2 แลวนํามาสงครูใน
ชั่วโมงถัดไป
............ 2) ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษที่มีแสงสวางในตัวเอง
จําต มุด

18. นักเรียนแตละคนทํากิจกรรมทาทายการคิด
ประ ลงในส

............ 3) ดาวที่มีแสงระยิบระยับอยูบนทองฟา คือ ดาวฤกษ


ัว)

ขั้นสูงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2


ทึก
(บัน

............ 4) เราสามารถมองเห็นดาวเคราะหเปนแสงนิ่งไมกะพริบ
19. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น ทํ า กิ จ กรรม
............ 5) ดาวเคราะหเปนดาวทีม่ แี สงสวางในตัวเอง ทําใหเรามองเห็นดาวเคราะหได สรางสรรคผลงาน โดยครูใหนักเรียนศึกษา
2. ดูภาพ แลวตอบคําถามตอไปนี้ รายละเอียดในกิจกรรมสรางสรรคผลงาน
จากหนังสือเรียน หนา 119 แลวใหนักเรียน
แตละกลุมรวมกันทํากิจกรรม และนําเสนอ
ผลงานหนาชั้นเรียน
20. นักเรียนทําทบทวนทายหนวยการเรียนรูท่ี 7
ดาวบนทองฟา ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร
ป.5 เลม 2
21. ครูใหนกั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนหนวย
การเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล)

แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ
ขอ 1.
1) หากลากเสนเชื่อมดาวฤกษแตละดวงจะมองเห็นกลุมดาวฤกษเปนรูปอะไร
1) ✓ 2) ✓ 3) ✓ 4) ✓ 5) ✗
2) กลุม ดาวฤกษทกี่ าํ หนดใหจะมีรปู รางเปลีย่ นแปลงไปในแตละคืนหรือไม อยางไร
3) ถาเวลาหัวคํ่า กลุมดาวนี้อยูบริเวณขอบฟาดานทิศตะวันออก นักเรียนคิดวา ขอ 2.
1) มองเห็นกลุมดาวฤกษมีรูปคลายหมี
พอเชามืดวันถัดมา กลุมดาวนี้จะอยูบริเวณใด
2) กลุ  ม ดาวฤกษ ที่ กํ า หนดให จ ะมี รู ป ร า งไม
เปลี่ยนแปลงไปในแตละคืน เพราะจะมีการ
เรียงตัวของดาวฤกษอยางคงที่ จึงทําใหมี
117
รูปรางเหมือนเดิมทุกคืน
3) บริเวณขอบฟาดานทิศตะวันตก

ขอสอบเนน การคิด เกร็ดแนะครู


ดวงอาทิตยถูกจัดใหเปนดาวเคราะห จากขอความกลาวได หลังเรียนจบหนวยการเรียนรู ครูสามารถใชแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการ
ถูกตองหรือไม เพราะอะไร เรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา จากทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรู
1. ผิด เพราะดวงอาทิตยมีแสงสวางในตัวเอง จึงถูกจัดเปน ที่ 7 ได เพื่อวัดความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน ดังภาพตัวอยาง
ดาวฤกษ
2. ผิด เพราะดวงอาทิตยไมมีแสงสวางในตัวเอง จึงถูกจัดเปน แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

ดาวฤกษ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ได้ถูกต้อง 6. ดวงดาวใดมีประโยชน์ในการหาทิศ
1) ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์มีแสงสว่างในตัวเอง 1) ดาวพุธ

3. ถูก เพราะดวงอาทิตยมีแสงสวางในตัวเอง จึงถูกจัดเปน


2) ดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ไม่มแี สงสว่างในตัวเอง 2) ดาวเสาร์
3) ดาวเคราะห์มีแสงสว่างในตัวเอง ส่วนดาวฤกษ์ไม่มี 3) ดาวเหนือ
แสงสว่างในตัวเอง 4) ดาวลูกไก่
4) ดาวฤกษ์มีแสงสว่างในตัวเอง ส่วนดาวเคราะห์ไม่มี 7. เครื่องมือที่ช่วยในการสังเกตตาแหน่งดวงดาวบนท้องฟ้า คืออะไร
แสงสว่างในตัวเอง 1) แผนที่ดาว

ดาวเคราะห
2. การขึ้น-ตกของกลุ่มดาวฤกษ์เกีย่ วข้องกับข้อใด 2) แว่นขยาย
1) โลกหมุนรอบตัวเอง 3) กล้องจุลทรรศน์
2) ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 4) เทอร์มอมิเตอร์
3) โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 8. ถ้าสังเกตกลุม่ ดาวตอนใกล้รุ่งสาง จะเห็นกลุ่มดาวเคลื่อนทีไ่ ปทาง
4) ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง ทิศใด

4. ถูก เพราะดวงอาทิตยไมมีแสงสวางในตัวเอง จึงถูกจัดเปน


3. ที่ระดับสายตา มุมเงยมีค่าเท่ากับเท่าใด 1) ทิศใต้
1) 0 องศา 2) 30 องศา 2) ทิศเหนือ
3) 60 องศา 4) 90 องศา 3) ทิศตะวันตก
4. ข้อใดคือดาวฤกษ์ 4) ทิศตะวันออก
1) ดาวพุธ 9. การดูดาวเป็นการฝึกทักษะด้านใด

ดาวเคราะห
2) ดาวศุกร์ 1) การมีวินัย
3) ดาวพลูโต 2) การสังเกต
4) ดวงอาทิตย์ 3) การแก้ปัญหา
5. ถ้าต้องการมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าให้ชัดเจน 4) ความรับผิดชอบ
เราควรเลือกดูกลุ่มดาวฤกษ์ในคืนใด 10. มีแสงสว่างในตัวเอง เป็นแหล่งกาเนิดแสง จากข้อความหมายถึง

(วิเคราะหคาํ ตอบ ดวงอาทิตย เปนแหลงกําเนิดแสง มีแสงสวางใน


1) คืนเดือนมืด ข้อใด
1) ดาวพุธ
2) คืนที่มีฝนตก
2) ดาวยูเรนัส
3) คืนที่มีเมฆมาก
3) ดาวเนปจูน
4) คืนที่มีพระจันทร์เต็มดวง 4) ดวงอาทิตย์

ตัวเอง ดวงอาทิตยจงึ ถูกจัดเปนดาวฤกษ ดังนัน้ ขอ 1. จึงเปนคําตอบ เฉลย 1. 4) 2. 1) 3. 1) 4. 4) 5. 1) 6. 3) 7. 1) 8. 3) 9. 2) 10. 4)

ที่ถูกตอง)

T131
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ สรุป
ตรวจสอบผล
1. ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ตามเลขที่ จากนั้นให
สรุปความรูเกี่ยวกับการขึ้นและตกของกลุม 3. ระบุวา สถานการณที่กําหนดใหใชมุมทิศหรือมุมเงย
ดาวฤกษ และการบอกตํ า แหน ง ของกลุ  ม 1) ดูแผนที่โลก
ดาวฤกษ 2) เดินทางไกลในปา
2. ครูใหนักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเองจาก
3) ดูแผนผังที่นั่งสอบ
หนังสือเรียน หนา 115 จากนั้นถามนักเรียน
รายบุคคลตามรายการขอ 1-5 เพื่อตรวจสอบ
4) บอกความสูงของภูเขา
ความรู ความเขาใจของนักเรียนหลังเรียน 5) หาตําแหนงของกลุมดาว
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใช 6) วาดแผนผังของหองนอน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล) 7) บอกตําแหนงของผลไมบนตนไม
8) อธิบายเสนทางใหแกนักทองเที่ยว
9) ลองเรือกลางทะเลเพื่อหาทางเขาฝง
แนวตอบ กิจกรรมฝกทักษะ 10) วาดแผนที่ทางไปบานของนักเรียนใหแกเพื่อน
ขอ 3.
1) มุมทิศ 2) มุมทิศและมุมเงย 4. สังเกตภาพ แลวระบุคามุมเงยลงในสมุด
3) มุมทิศ 4) มุมเงย
5) มุมทิศและมุมเงย 6) มุมทิศ
7) มุมเงย 8) มุมทิศ
9) มุมทิศและมุมเงย 10) มุมทิศ
ขอ 4.
ภาพที่ 1 คือ 1 องศา ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4
ภาพที่ 2 คือ 2.5 องศา
ภาพที่ 3 คือ 5 องศา 5. ตอบคําถามตอไปนี้
ภาพที่ 4 คือ 10 องศา 1) ถาตองการมองเห็นดาวฤกษชัดเจน ควรเลือกดูดาวในคืนที่มีลักษณะอยางไร
ขอ 5. 2) นักเรียนคิดวา การศึกษาเกี่ยวกับแผนที่ดาวมีประโยชนหรือไม อยางไร
1) คืนเดือนมืด 3) กลุมดาวฤกษมีเสนทางการขึ้นและตกตามเสนทางเดิมหรือไม อยางไร
2) มีประโยชน เพราะแผนที่ดาวเปนเครื่องมือ
ที่ใชประกอบการสังเกตกลุมดาวบนทองฟา
กิจกรรม ทาทายการคิดขัน้ สูง
สามารถใชหาตําแหนงของกลุมดาวได
3) กลุมดาวฤกษมีเสนทางการขึ้นและตกตาม
118
เสนทางเดิมทุกคืน คือ ขึ้นทางทิศตะวันออก
และตกทางทิศตะวันตก

เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด


เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมฝกทักษะเสร็จแลว ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนรู นํ้าขาวสังเกตรูปรางของกลุมดาวฤกษ พบวา มองเห็นดาวบน
เพิ่มเติม โดยสุมนักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นใหออกมาเฉลยคําตอบ ทองฟาไดอยางชัดเจน และมองไมเห็นดวงจันทร จากขอความ
หนาชั้นเรียนทีละคน แลวใหเพื่อนๆ ในชั้นเรียนรวมกันอภิปรายจนไดคําตอบ นํ้าขาวสังเกตรูปรางของกลุมดาวฤกษในคืนใด
ที่ถูกตอง โดยมีครูคอยตรวจสอบความถูกตอง 1. คืนพระจันทรเต็มดวง
2. คืนเดือนมืด
3. วันแรม 8 คํ่า
4. วันขึ้น 8 คํ่า
(วิเคราะหคําตอบ คืนที่มองไมเห็นดวงจันทรสองแสงสวาง คือ
คืนเดือนมืด เปนคืนที่จะมองเห็นดาวตางๆ บนทองฟาไดชัดเจน
ที่สุด ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง)

T132
นํา สอน สรุป ประเมิน

ขัน้ ประเมิน
ตรวจสอบผล
·Ñ¡ÉÐáË‹§ÈµÇÃÃÉ·Õè 21
✓การสื่อสาร ✓ ความรวมมือ การแกปญหา
1. ครูประเมินผล จากการสังเกตพฤติกรรมการ
✓การสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
✓การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พฤติกรรมการทํางานกลุม และจากการนํา
กิจกรรม เสนอหนาชั้นเรียน
ÊÌҧÊÃ䏼ŧҹ 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การ
ขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษ และกิจกรรมที่ 4
แบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง การหาคามุมทิศและมุมเงยในสมุดหรือ
กลุมดาวฤกษรูปรางตาง ๆ จากนั้นนํามาจัดทําเปนแบบจําลอง ในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
ของกลุมดาวฤกษบนทองฟา และนําเสนอผลงาน 3. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมหนูตอบไดในสมุด
หนาชั้นเรียน หรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
4. ครูตรวจสอบผลการสรุปความรูเ กีย่ วกับทองฟา
และกลุมดาวฤกษจากสมุด
µÑÇÍ‹ҧ ¼Å§Ò¹¢Í§©Ñ¹ 5. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมฝกทักษะบทที่ 1
ในสมุดหรือในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5
เลม 2
6. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทาทายการคิด
ขั้นสูงในแบบฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
7. ครูตรวจชิ้นงาน/ผลงานแบบจําลองของกลุม
ดาวฤกษบนทองฟา และการนําเสนอชิ้นงาน/
ผลงานหนาชั้นเรียน
8. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมทบทวนทาย
หนวยการเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา ในแบบ
ฝกหัดวิทยาศาสตร ป.5 เลม 2
9. ครูตรวจสอบผลการทําแบบทดสอบหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา

ภาพที่ 7.23 ตัวอยางแบบจําลองกลุมดาวนายพราน

119

กิจกรรม 21st Century Skills แนวทางการวัดและประเมินผล


1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ครูสามารถวัดและประเมินผลชิน้ งาน/ผลงานแบบจําลองของกลุม ดาวฤกษ
2. ชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับกลุมดาวฤกษรูปรางตางๆ บนทองฟา โดยศึกษาเกณฑประเมินผลงานจากแบบประเมินชิ้นงาน/ผลงาน
3. นําขอมูลที่ไดจัดทําเปนสมุดภาพ พรอมตกแตงใหสวยงาม โดย ที่แนบมาทายแผนการจัดการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ 7 ดาวบนทองฟา
แบงหนาที่ความรับผิดชอบของสมาชิกแตละคนใหชัดเจน ดังภาพตัวอยาง
4. นําเสนอผลงานหนาชัน้ เรียนดวยวิธกี ารสือ่ สารทีห่ ลากหลาย เพือ่
ใหผูอื่นเขาใจผลงานไดดีขึ้น การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) (แผนฯ ที่ 5)
ฉ)
แบบประเมินผลงานแบบจาลองของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
เกณฑ์การประเมินผลงานแบบจาลองของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า (แผนฯ ที่ 5)

รายการประเมิน
คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ระดับคุณภาพ 1. การออกแบบชิ้นงาน ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง ชิ้นงานมีความถูกต้อง
ลาดับที่ รายการประเมิน 3 2 1 ตามที่ออกแบบไว้ ตามที่ออกแบบไว้ ตามที่ออกแบบไว้
(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง) มีขนาดเหมาะสม มีขนาดเหมาะสม มีขนาดเหมาะสม
1 การออกแบบชิ้นงาน รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ รูปแบบน่าสนใจ
2 การเลือกใช้วัสดุเพื่อสร้างชิ้นงาน แปลกตา และสร้างสรรค์ และสร้างสรรค์
3 ความถูกต้องของเนื้อหา 2. การเลือกใช้วัสดุเพื่อ เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง เลือกใช้วัสดุมาสร้าง
สร้างชิ้นงาน ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานตามที่กาหนดได้ ชิ้นงานไม่ตรงตามที่
4 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน
ถูกต้อง และวัสดุมีความ ถูกต้อง และวัสดุมีความ กาหนด แต่วัสดุมีความ
5 กาหนดเวลาส่งงาน
เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง เหมาะสมกับการสร้าง
รวม
ชิ้นงานดีมาก ชิ้นงานดี ชิ้นงาน
3. ความถูกต้องของ ทาแบบจาลองกลุ่ม ทาแบบจาลองกลุ่ม ทาแบบจาลองกลุ่ม
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน เนื้อหา ดาวฤกษ์ได้ถูกต้อง ดาวฤกษ์ได้ถูกต้องบ้าง ดาวฤกษ์ได้ถูกต้องน้อย
............./.................../.............. ครบถ้วน
4. การสร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม ตกแต่งชิ้นงานได้สวยงาม
ชิ้นงาน ดีมาก ดี น้อย
5. กาหนดเวลาส่งงาน ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด ส่งชิ้นงานช้ากว่ากาหนด
กาหนด 1-2 วัน เกิน 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14-15 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

T133
โครงงาน วิทยาศาสตร
สมุนไพรไลยงุ
โครงงานสํารวจและรวบรวมขอมูล ✓ โครงงานทดลอง
โครงงานสิ่งประดิษฐ โครงงานทฤษฎี

สถานการณ ถ้าอย่างนั้นเราต้องมาท�า
สมุนไพรไล่ยุงกันอีกแล้วล่ะสิ

คุณแม่คะ ที่บ้านเรา
ยุงเยอะจังเลยค่ะ
คุณแม่คะ เราจะใช้
สมุนไพรอะไรมาไล่
ยุงดีคะ

นักเรียนคิดวา
สมุนไพรชนิดใด
ที่สามารถนํามาทํา
สมุนไพรไลยุงไดดีที่สุด
เราจะใชสมุนไพร
ชนิดใดมาทําการทดลอง
เราวาลองใชตะไคร
¨Ò¡Ê¶Ò¹¡Òó ¹Ñ¡àÃÕ¹ เพื่อเปรียบเทียบ
ดวยก็ไดนะ
คุณแมเคยบอกวา
การไลยุงดีละ ใบขี้เหล็กก็สามารถ
à¡Ô´¢ŒÍʧÊÑÂÍÐäà นํามาทําไดนะ

ลองใชใบนอยหนา
ดีไหม เพราะมีกลิ่น
เหมือนกัน

T134
ขั้นตอนการทําโครงงานตามกระบวนการบันได 5 ขั้น
ขั้นตอนที่ 1 นักเรียนอ่านสถานการณ์ที่ก�าหนด แล้วช่วยกันตั้งค�าถาม
ตั้งคําถาม ระบุสมมติฐาน ก�าหนดตัวแปร และประโยชน์ที่คาดว่า
(Question)
จะได้รับจากการท�าโครงงาน
ขัน
้ ตอนที่ 2 นักเรียนสืบค้นข้อมูลได้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
สืบคน เช่น อินเทอร์เน็ต ห้องสมุด สื่อต่าง ๆ รวมทั้งแสวงหา
(Search)
ข้อมูลจากการส�ารวจ หรือการสอบถาม
ขัน
้ ตอนที่ 3 นักเรียนน�าความรู้ ข้อมูล และสารสนเทศต่าง ๆ ที่ ได้
สรุปองคความรู จากการอภิปราย การส�ารวจ การทดลอง มาวิเคราะห์
(Construct)
สังเคราะห์ แล้วสรุปเปนองค์ความรู้
ขัน
้ ตอนที่ 4 นักเรียนมีวิธีน�าเสนอผลงานที่ได้จากโครงงานอย่างไรบ้าง
นําเสนอ เพื่อท�าให้เกิดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และท�าให้ผู้อื่น
(Communicate)
เกิดความเข้าใจได้ง่าย
ขัน
้ ตอนที่ 5 นักเรียนน�าความรู้ที่ได้จากการท�าโครงงานไปประยุกต์ ใช้
ประยุกตใช ให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ได้อย่างไร
(Serve)

เกณฑการประเมิน
รายการประเมิน ระดับคะแนน
3 (ดี) 2 (พอใช) 1 (ปรับปรุง)
1. ตั้งค�าถามและตั้งสมมติฐานได้
2. บอกแหล่งการเรียนรู้ได้
3. สรุปองค์ความรู้และน�าเสนอข้อมูลได้
4. น�าความรู้จากผลงานไปใช้ประโยชน์

T135
บรรณานุ ก รม
กุณฑรี  เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. 2550. สุดยอดวิธีสอนวิทยาศาสตร์ น�ำไปสู่การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
คาน, ซาราห์ และกิลเลสพี, ลิซา เจน. 2558. พจนานุกรมภาพวิทยาศาสตร์ ประถม-มัธยมต้น. แปลโดย กฤติกา ชินพันธ์.
กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ส�ำนัก. 2549. หนังสือชุดกิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรู้ “การสืบค้นทางวิทยาศาสตร์” ระดับมัธยมศึกษา. ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ.
ชุติมา  วัฒนะคีรี. 2549. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ทิพย์สุดา  บัวแก้ว และคณะ. 2559. คู่มือครูวิทยาศาสตร์ เพื่อศตวรรษที่ 21 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
ทิศนา  แขมมณี. 2556. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ :
ด่านสุทธาการพิมพ์.
พลอยทราย  โอฮาม่า. 2559. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม วิทยาศาสตร์เพื่อศตวรรษที่ 21 ป.4. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี :
ไทยร่มเกล้า.
. 2560. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม วิทยาศาสตร์เพื่อศตวรรษที่ 21 ป.5. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
พิมพ์พันธ์  เดชะคุปต์. 2544. การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสอนแบบสืบสวน. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์.
ภพ  เลาหไพบูลย์. 2542. แนวการสอนวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
แรมสมร  อยู่สถาพร. 2538. เทคนิคและวิธีการสอนในระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจารณ์  พานิช. 2555. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตาพับลิเคชั่น.
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, ส�ำนัก. 2553. แนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. 2560. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
ศิริรัตน์  วงศ์ศิริ และคณะ. 2560. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
. 2560. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
. 2560. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
. 2560. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
. 2560. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, สถาบัน. 2558. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
. 2559. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
. 2561. คูม่ อื การใช้หลักสูตรรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2561.
จาก http://www.scimath.org/e-books/8922/flippingbook/index.html#2.
สุวิทย์  มูลค�ำ และอรทัย  มูลค�ำ. 2547. 21 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.
ส�ำนักบริหารวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์, แผนกบริหารหลักสูตร. 2557. เอกสารเผยแพร่ความรู้วิชาการศึกษา :
วิธีการสอน (Teaching Methodology). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์.
Marshall Cavendish Education. 2012. My Pals are Here! Science (International Edition) Teacher’s Guide 5A. Singapore:
Times Printers Pte Ltd.
. 2010. My Pals are Here! Science (International Edition) Teacher’s Guide 6A. Singapore: Times Printers
Pte Ltd.

T136

You might also like