You are on page 1of 44

ใบงานเเบบฝึกหัด

วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : นักเรียนรู้จักแรงอะไรบ้าง จงตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์


1. จากที่เคยเรียนมา นักเรียนรู้จักแรงอะไรบ้าง
ตอบ แรงในการดึงแรงในการผลัก แรงดึงดูดหรือแรงโน้มถ่วงของโลก
2. แรงมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างไร
ตอบ

3. ถ้าต้องการวัดขนาดของแรง นักเรียนจะใช้อุปกรณ์ใดในการวัด
ตอบ ใช้เครื่องชั่งสปริงวัดขนาดของแรง
4. มีแรงกระท�ำต่อวัตถุหนึ่งๆ มากกว่า 1 แรง ได้หรือไม่ อย่างไร
ตอบ ได้ นักเรียน 2 คนช่วยกันยกของ การเล่นชักเย่อ เป็นต้น
5. ถ้ามีแรงหลายๆ แรงมากระท�ำต่อวัตถุ เราจะหาผลรวมของแรงเหล่านั้นได้อย่างไร
ตอบ น�ำแรงทั้งหมดมารวมกัน
6. การเล่นกีฬามีผลต่อร่างกายอย่างไร
ตอบ ท�ำให้ร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพดี
7. การเล่นชักเย่อมีกติกาอย่างไร
ตอบ การเล่นชักเย่อประกอบด้วยผู้เล่น 2 ฝ่าย จ�ำนวนผู้เล่นฝ่ายละเท่า ๆ กัน จับเชือกคนละด้าน มีเส้นแบ่งเขตแดน
อยู่ตรงกลาง ที่จุดกึ่งกลางของเชือกมีผ้าผูกไว้ เมื่อเริ่มเล่น ต่างฝ่ายต่างออกแรงเพื่อดึงเชือกให้ผ้าที่จุดกึ่งกลางเชือก
เคลื่อนที่ไปยังเขตแดนของฝ่ายตน จึงจะตัดสินว่าชนะ
8. ถ้าดึงเชือก แล้วผ้าที่ผูกจุดกึ่งกลางเชือกอยู่นิ่ง นักเรียนคิดว่า ผลรวมของแรงทั้งหมดที่กระท�ำต่อเชือกขณะนั้นเป็นอย่างไร
ตอบ มีค่าเท่ากัน
9. การเล่นชักเย่อมีแรงใดมาเกี่ยวข้องบ้าง
ตอบ แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันที่ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ เป็นการออกแรงในลักษณะใด จงยกตัวอย่าง
ตอบ

2. เราสามารถเขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระท�ำต่อวัตถุได้อย่างไร
ตอบ

3. ถ้าเราออกแรงกระท�ำต่อวัตถุมากหรือน้อยแตกต่างกัน แผนภาพแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ

4. ถ้าเราดึงและผลักประตู ลูกศรแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ

5. กิจกรรมใดบ้างที่ต้องอาศัยแรงจากหลายคน
ตอบ

6. แรงลัพธ์ คืออะไร
ตอบ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
กรณีที่ 1 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง ............................. กรณีที่ 2 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง ..............................
เเรง 1 = 20 N
เเรง 2 = 30 N เเรง 1 = 50 N เเรง 2 = 20 N

วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ............... แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ............... แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน

เเรง 1 = 40 N เเรง 2 = 40 N กรณีที่ 3 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง .............................


วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ...............
แรงลัพธ์ = ................
0 นิวตัน

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนหาแรงลัพธ์จากแผนภาพการออกแบบ พร้อมบอกทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่


1. 2.
5 นิวตัน
5 นิวตัน 7 นิวตัน
5 นิวตัน
แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ
3. 4.
6 นิวตัน 6 นิวตัน 8 นิวตัน 2 นิวตัน

แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ g แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ


ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (3)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
1. แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน
2. แรงเป็นปริมาณที่มีขนาดและมีทิศทาง
3. = ปริมาณเวกเตอร์
4. แรงหลายแรงสามารถรวมเป็นแรงเดียวได้
5. แรง 5 นิวตัน รวมกับแรง 4 นิวตัน จะได้แรง 9 นิวตัน
6. แรงเมื่อกระท�ำต่อวัตถุท�ำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปในทิศทางตามแรงที่กระท�ำ
7. แรงลัพธ์หาโดยการเขียนเวกเตอร์แบบหางต่อหัว
8. ส่วนหัวที่เป็นลูกศรแทนทิศทางของแรง
9. ส่วนของความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรง
10. ในการเคลื่อนที่วัตถุที่มีน�้ำหนักมากควรใช้แรงเพียงแรงเดียว
11. ขณะที่เราใช้แรงดึงวัตถุขึ้นที่สูงเราต้องระมัดระวังมาก เพราะมีแรงดึงดูดของโลกที่กระท�ำต่อวัตถุอยู่ตลอดเวลา
12. การเคลื่อนที่วัตถุไปบนพื้นที่แข็งและเรียบจะใช้แรงไม่มาก
13. การเคลื่อนที่ไปในน�้ำจะเคลื่อนที่ไปได้ง่ายและใช้แรงน้อย
14. การพัดของลมมีแรงจ�ำนวนหนึ่งที่มีทิศทาง
15. เครื่องบินที่มีน�้ำหนักมาก สามารถบินได้เพราะแรงขับเพียงครั้งเดียวของเครื่องยนต์ขึ้นจากพื้นสนามบิน
16. วัตถุที่มีขนาดเล็กเคลื่อนที่ช้าจะท�ำให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่
17. รถไฟชนสิ่งต่างๆ ด้วยขนาดของแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะรถไฟวิ่งเร็ว
18. ต้นไม้ขนาดใหญ่เมื่อล้มก่อให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะต้นไม้ต้นนั้นมีมวลมาก

19. เรือเดินทะเลต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการชนกลางทะเล เพราะจะเกิดความเสียหายมากเนื่องจากเรือมีขนาดใหญ่มี


น�้ำหนักมาก
20. การกระโดดน�้ำถ้ากระโดดโดยใช้ส่วนของร่างกายส่วนมากปะทะน�้ำจะรู้สึกเจ็บเพราะ มีแรงต้านจากน�้ำ มีแรง
กระแทกจากร่างกาย จึงท�ำให้แรงจ�ำนวนมากหรือขนาดใหญ่ที่ท�ำให้รู้สึกเจ็บ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (4)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/3
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์

1. นักวิทยาศาสตร์ ที่ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก คือ ...........................................................................................................

2. เครื่องชั่งสปริง คือ ...............................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................

3. เครื่องชั่งสปริง ใช้วัด .................................................................................. มีหน่วยเป็น ................................................

4. การใช้เครื่องชั่งสปริงท�ำได้โดย ........................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................

5. ถ้ามีแรงมากระท�ำต่อวัตถุมากกว่า 1 แรง จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ ดังนี้

5.1 เมื่อแรง 2 แรง กระท�ำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกัน

ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

5.2 เมื่อแรง 2 แรง กระท�ำต่อวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน

ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

5.3 เมื่อแรง 2 แรง ที่เท่ากันกระท�ำต่อวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน

ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

6. กระถางต้นไม้หนัก 90 นิวตัน มีลวดแขวนทั้งหมด 3 เส้น อยากทราบว่าลวดแต่ละเส้นต้องรับน�้ำหนักแรงจากกระถางเส้นละกี่นิวตัน


ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 2 แรงเสียดทาน (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/4
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ถ้านักเรียนก�ำลังปีนต้นไม้ นักเรียนคิดว่ามีแรงอะไรกระท�ำต่อนักเรียน และมีทิศทางของแรงนั้นเป็นอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. นอกจากแรงดึงดูดของโลกแล้ว นักเรียนคิดว่ายังมีแรงอะไรที่กระท�ำต่อนักเรียนขณะปีนต้นไม้อีก ที่ท�ำให้เราปีนต้นไม้โดยไม่
ตกลงมา
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
3. แรงมีผลต่อวัตถุอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
4. การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุมีลักษณะใดบ้าง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
5. เมื่อออกแรงกระท�ำต่อตู้ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของตู้ คืออะไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
6. แรงเสียดทานเกิดขึ้นเมื่อใด
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
7. แรงเสียดทานเกิดขึ้นที่ใด และมีทิศทางใด
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
8. นักเรียนลากเพื่อนที่นั่งยองให้เคลื่อนที่ไปบนพื้น แล้วตอบค�ำถามต่อไปนี้
8.1 ขณะนักเรียนลากเพื่อนให้เคลื่อนที่ มีแรงเสียดทานเกิดขึ้นหรือไม่ ................................ แรงเสียดทานมีทิศทางอย่างไร
..................................................................................................................................................................................
8.2 แรงเสียดทานเกิดขึ้นบริเวณใด .......................................................................................................................................
8.3 เมื่อนักเรียนลากเพื่อน แล้วเพื่อนไม่เคลื่อนที่ นักเรียนคิดว่ามีแรงเสียดทานเกิดขึ้นหรือไม่ ............................................
คิดว่า มีค่าเป็นเท่าใด ...............................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 2 แรงเสียดทาน (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/4
ค�ำชี้แจง : จากเหตุการณ์ต่อไปนี้ เป็นข้อดีหรือข้อเสียของแรงเสียดทาน

1. รองเท้าฟุตบอล หรือรองเท้าสตั๊ด

2. ใส่รองเท้ายางเดินได้รวดเร็ว

3. รถดอกยางหมด ฝนก็ตกถนนลื่น

4. เพิ่งเปลี่ยนยางมา เบรกได้มั่นใจ

5. ดันตู้เสื้อผ้าโดยไม่ใช้ผ้ารอง

6. หล่อลื่นชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์เพื่อให้ท�ำงานได้ดีขึ้น

7. เหยียบเบรกเพื่อหยุดรถกะทันหัน

8. ตลับลูกปืนในพัดลม

9. ออกแบบลูกกอล์ฟให้มีรอยบุบ

10. ขับรถยนต์บนถนนที่มีแรงเสียดทานมาก

11. ออกแบบชุดว่ายน�้ำให้เบาและน�้ำไม่เกาะ

12. ออกแบบนอตให้มีเกลียว

13. การปีนเขา ปีนหน้าผา ใช้มือช่วยยึด

14. ปีนต้นไม้ด้วยมือเปล่า

15. รองเท้าสเก็ตน�้ำแข็ง
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน (สรุป 1)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ออกแรง คนละ 2 นิวตัน ดึง 2. เด็กชาย ง ออกแรงดึงวัตถุที่อยู่บนพื้นลื่นไปทางขวามือด้วย
วัตถุที่อยู่บนพื้นลื่นไปทางขวามือ ในขณะที่เด็กหญิง ค ออกแรง แรง 8 นิวตัน ถ้าเด็กหญิง จ ต้องการให้วัตถุนี้อยู่นิ่ง เด็กหญิง
4 นิวตัน ดึงวัตถุนี้ไปทางซ้ายมือ แรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุนี้เป็น จ ต้องออกแรงดึงวัตถุนี้ด้วยแรงขนาดเท่าใด และในทิศทางใด
เท่าใด วัตถุนี้จะเคลื่อนที่หรือไม่ อย่างไร เขียนแผนภาพแสดง เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก
ขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็กกระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร กระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร
ตอบ แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับ ........................................ ตอบ ถ้าต้องการให้วัตถุนี้อยู่นิ่ง เด็กหญิง จ ต้องออกแรง
วัตถุจะ .................................................................. ขนาดเท่ากับ ........................................................................
เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก ในทิศทาง ..............................................................
กระท�ำต่อวัตถุ ได้ดังนี้ เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก
กระท�ำต่อวัตถุ ได้ดังนี้

3. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ช่วยกันเปิดหนังสือ 2 เล่ม ให้ซ้อนสลับกันทีละหน้าจนหมดเล่ม ดังรูป ก แล้วออกแรงดึงที่สัน


หนังสือทั้งสองเล่ม ดังรูป ข พบว่าดึงหนังสือทั้งสองเล่มให้แยกออกจากกันได้ยาก สถานการณ์ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับแรงอะไรบ้าง
เพราะเหตุใด
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน (สรุป 2)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/5

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. นักกีฬาทีม ก และทีม ข แข่งขันชักเย่อ โดยแต่ละทีมออกแรงดึงเชือกไปคนละด้าน พบว่าเชือกไม่เคลื่อนที่ มีแรงเสียดทาน
เกิดขึ้นที่ใดบ้าง เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงเสียดทานนั้นๆ ได้อย่างไร

2. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ออกแรงคนละ 40 นิวตัน ดึง 3. เพราะเหตุใดสะพานขึง จึงต้องใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่เป็น


วัตถุไปทางด้านซ้าย เด็กชาย ง ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ จ�ำนวนมากและแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อสะพานมีค่าเท่าใด
เท่าใดและทิศทางอย่างไรเพื่อท�ำให้วัตถุอยู่นิ่ง และเขียนแผนภาพ .............................................................................................
แสดงขนาดและทิศทางของแรงที่เด็กชาย ก ข ค และ ง .............................................................................................
กระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร .............................................................................................
เด็กชาย ง ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ ......................
โดยมีทิศทาง ............................................................
เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงที่เด็กกระท�ำต่อ
วัตถุ

4. ถ้าออกแรงเพื่อเข็นรถยนต์ให้เคลื่อนที่ แต่รถยังอยู่นิ่งเขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงในแนวราบที่กระท�ำต่อ
รถยนต์ที่อยู่นิ่งได้อย่างไร และแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อรถยนต์มีค่าเท่าใด เพราะเหตุใด
ใบงานเเบบฝึกหัด
วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน
บทที่ 2 เสียง

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์

^j _r i ^k` b

1. เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. เสียงที่นักเรียนได้ยินจากต้นก�ำเนิดแสงต่างๆ เสียงใดเป็นเสียงสูง เสียงใดเป็นเสียงต�่ำ
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
3. เสียงสูง เสียงต�่ำ ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
4. นักเรียนเคยชมภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับอวกาศหรือไม่
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
5. นักเรียนคิดว่าถ้านักบินอวกาศอยู่ในเหตุการณ์การระเบิดของดาวในอวกาศ จะได้ยินเสียงระเบิดหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ

6. เสียงต่างๆ ที่ได้ยินนั้นเกิดจากวัตถุใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร


ตอบ

7. เสียงเคลื่อนที่มาถึงหูของนักเรียนได้อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
8. เสียงแต่ละเสียงมีลักษณะอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านบทความในหนังสือเรียน สสวท. เล่ม 1 หน้า 50 เเล้วตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากสถานการณ์ เรื่อง “แม่ค้าปากตลาด” ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1.1 เมือเข้าไปในตลาด นักเรียนจะได้ยินเสียงอะไรบ้าง
ตอบ

1.2 เสียงสูง เสียงต�่ำ เกิดจากอะไร


ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.3 ท�ำไมเราได้ยินเสียงพ่อค้า แม่ค้าอยู่ไกล ดังกว่าเสียงคนที่พูดคุยอยู่ใกล้ๆ
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.4 ความถี่คืออะไร
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.5 จ�ำนวนรอบของการสั่นในหนึ่งวินาทีของวัตถุ จะสังเกตได้จากอะไร
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.6 ถ้าวัตถุ ก. สั่นได้ 6 รอบ/นาที และวัตถุ ข สั่นได้ 10 รอบ/วินาที นักเรียนคิดว่าวัตถุใดสั่นด้วยความถี่มากกว่ากัน
ตอบ ............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
2. ถ้านักเรียนได้ยินเสียงกระดิ่ง เสียงนั้นเกิดจากวัตถุใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. เสียงเคลื่อนที่มาถึงหูของนักเรียนได้อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
4. เสียงแต่ละเสียงมีลักษณะอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ แหล่งก�ำเนิดเสียง กับ เสียงที่เกิดขึ้น ให้สัมพันธ์กัน

1. อู๊ด...อู๊ด

2. เพล้ง...

3. ปิ๊น...ปิ๊น

4. จิ๊บ...จิ๊บ

5. หึ่ง...หึ่ง

6. ปัง...ปัง

7. โฮ่ง...โฮ่ง

8. กริ๊ง...กริ๊ง

9. เมี้ยว...เมี้ยว

10. ฮี้...ฮี้
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (3)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : จากภาพที่ก�ำหนดให้ ให้นักเรียนขีด √ ให้ถูกต้องกับแหล่งก�ำเนิดเสียง
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่มนุษย์สร้างขึ้น

เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่มนุษย์สร้างขึ้น

ค�ำชี้แจง : จากตัวกลางที่ก�ำหนดให้ ให้นักเรียนขีด √ หน้าตัวกลางที่เสียงผ่านได้ และกา X หน้าตัวกลางที่เสียงผ่านไม่ได้


1. น�้ำ 2. อากาศ
3. รั้วไม้ 4. ก�ำแพงห้อง
5. รั้วก�ำแพงปูน 6. เส้นด้าย
7. แก๊ส 8. เหล็ก
9. คาร์บอนไดออกไซด์ 10. ฮีเลียม
11. แก้ว 12. น�้ำทะเล
13. อะลูมิเนียม 14. ปรอท
15. ไฮโดรเจน 16. น�้ำตึกที่สร้างจากซีเมนต์

ค�ำชี้แจง : จากเรื่อง “ครอบแก้วสุญญากาศ” ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์


1. ถ้าเราค่อยๆ สูบอากาศภายในครอบแก้วออก เราจะได้ยินเสียงนาฬิกาปลุกเป็นอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. เพระเหตุใดเราจึงไม่ได้ยินเสียงในครอบแก้ว
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
3. ตัวกลางที่ท�ำให้ได้ยินหรือไม่ได้ยินเสียงในครอบแก้วคืออะไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (4)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากภาพที่ก�ำหนดให้ จงตอบค�ำถามให้ถูกต้อง
ใบหู หมายเลข ................
รูหู หมายเลข ................
เยื่อแก้วหู หมายเลข ................
กระดูกค้อน หมายเลข ................
กระดูกทั้ง หมายเลข ................
กระดูกโกลน หมายเลข ..............
คอเคลีย หมายเลข ................
ท่อครึ่งวงกลม หมายเลข ................ ท่อยูสเตเชียน หมายเลข ..............
2. จงอธิบายขั้นตอนการเคลื่อนที่ของเสียงจากแหล่งก�ำเนิดเสียงจนถึงหูผู้ฟัง
การได้ยินเสียงต้องมีองค์ประกอบ คือ 1. ................................................................ 2. ............................................
และ 3. ................... โดยแหล่งก�ำเนิดเสียงจะ ........................ ท�ำให้ตัวกลางของเสียง .........................................................
ใบหูจะ .............................. เข้าสู่ ...................... รูหูท�ำหน้าที่เป็นทางเดินของเสียง เมื่อเสียงกระทบ ...................................
ท�ำให้กระดูกสามชิ้นคือ 1. .................................. 2. ..................................... และ 3. .............................. สั่นต่อเนื่องกันไป
เนื่องจากกระดูกโกลนอยู่ติดกับท่อคล้ายก้นหอยหรือ ....................................... ซึ่งมี ........................... และ .......................
อยู่ภายใน จึงสั่นเกิดเป็นสัญญาณไปที่สมอง ท�ำให้เราได้ยินเสียงและเข้าใจความหมายของเสียง
3. ให้นักเรียนน�ำอักษรหน้าข้อความทางขวามือ เติมลงหน้าข่อความทางซ้ายให้สัมพันธ์กัน
1. คอเคลีย ก. เยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูชั้นนอกกับหูชั้นกลาง
2. เยื่อแก้วหู ข. ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว
3. หูชั้นนอก ค. ประกอบด้วยคอเคลีย และท่อครึ่งวงกลม
4. หูชั้นกลาง ง. กระดูกค้อน กระดูกทั่ง กระดูกโกลน
5. หูชั้นใน จ. รูปร่างคล้ายหอยโข่ง
6. ท่อครึ่งวงกลม ฉ. ประกอบด้วยใบหู ช่องหู และเยื่อแก้วหู
7. ใบหู ช. สะท้อนคลื่นเสียงให้เข้ารูหู
8. ท่อยูสเตเชียน ฌ. เชื่อมระหว่างหูชั้นกลางและคอ ช่วยปรับความดันภายในหู
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (5)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
1. การสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ต่างกันท�ำให้ได้เสียงที่ต่างกัน
2. เสียงที่เกิดจากการสั่นน้อยจะไพเราะน่าฟังกว่าเสียงจากการสั่นแบบอื่นๆ
3. การสั่นที่ช้าและเร็วเกินไปมนุษย์จะไม่ได้ยินเสียงการสั่นนั้น
4. มนุษย์สามารถสร้างเสียงที่มีความถี่ต่างๆ ได้
5. ความแตกต่างในการฟังเสียงที่มีความถี่ต่างกันน�ำไปใช้ประโยชน์ได้
6. ความถี่เสียงน�ำมาประดิษฐ์เครื่องมือไล่สัตว์บางอย่างได้
7. เสียงของมนุษย์โดยทั่วไปมีความถี่อยู่ที่ระหว่าง 85 – 1,100 เฮิรตซ์
8. อัลตราโซนิกเป็นผลงานทางเทคโนโลยีที่สามารถมีความถี่ได้สูงกว่า
20,000 เฮิรตซ์ ชาวประมงน�ำไปใช้ในการตรวจหาปลา
9. การท�ำความสะอาดเครื่องมือแพทย์ใช้เทคโนโลยีอัลตราโซนิกได้
10. ในที่สูงอากาศมีความหนาแน่นน้อยเสียงจะเดินทางได้ช้าลง
11. การใช้เสียงบนภูเขาสูงต้องเพิ่มความถี่เสียงให้มากขึ้นจึงจะเป็นปกติ
12. การสื่อสารของวาฬโดยเสียงใช้น�้ำทะเลเป็นตัวกลางของเสียง
13. การเดินทางของเสียงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากๆ จะเกิดขึ้นช้า
14. การเดินทางไปในตัวกลางที่เป็นแก๊สจะเดินทางได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นของเหลวเพราะไม่มีแรงต้าน
15. ความหนาแน่นของตัวกลางมีความสัมพันธ์กับความเร็วในการเดินทางของเสียงทุกความถี่
16. อุณหภูมิของตัวกลางมีผลต่อความเร็วในการเดินทางของเสียง
17. การเดินทางของเสียงจะเดินทางเป็นคลื่นเรียกว่า คลื่นเสียง
18. บรรดาสารทั้ง 3 สถานะ สถานะของสารที่เป็นแก๊สเป็นตัวกลางที่เสียงเดินทางผ่านได้ช้าที่สุด
19. เสียงเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการใช้กันมากในชีวิตประจ�ำวัน
20. รอเบิร์ด ออยล์ เป็นผู้ที่ค้นพบว่าตัวกลางที่แสงผ่านไปไม่ได้คือสภาวะสุญญากาศ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (6)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
1. เสียงต�่ำ เรียกว่า ...............................................................................................................................................
2. เสียงสูง เรียกว่า ...............................................................................................................................................
3. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่สูงจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................
4. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่ต�่ำจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................
5. สายกีตาร์เส้นใหญ่เมื่อดีดจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................................................
6. สายกีตาร์เส้นเล็กเมื่อดีดจะท�ำให้เกิดเสียง .......................................................................................................................
7. เสียงระนาดเอกเป็นเสียง .............................................................................................................................
8. เสียงของกลองทัดเป็นเสียง ............................................................................................................................................
9. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลมากเมื่อสั่นจะสั่น .....................................................................................................
10. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลน้อยเมื่อสั่นจะสั่น ....................................................................................................
11. เสียงแตรตัวใหญ่ในวงโยธวาทิตเป็นเสียง ......................................................................................................................
12. เสียงแตรตัวเล็กในวงโยธวาทิตเป็นเสียง .......................................................................................................................
13. เมื่อเคาะถังเก็บน�้ำพบว่าเกิดเสียงเป็นเสียงสูงแสดงว่าปริมาณน�้ำในถังเก็บน�้ำ ...........................................................
14. เมื่อเคราะห์เก็บน�้ำพบว่าเกิดเสียงที่เป็นเสียงต�่ำแสดงว่าปริมาณน�้ำในถังเก็บน�้ำ ............................................................
15. ถ้าต้องการตีกลองให้ได้เสียงทุ้มจะต้อง ................................................................................................... ที่ไม้ตีกลอง
16. ระนาดเอกเมื่อตีจะให้เสียงสูง เพราะลูกระนาดท�ำมาจากไม้เนื้อแข็งและไม้ตีก็ถูกท�ำให้มีความ ....................................
ระนาดทุ้มเมื่อตีจะให้เสียงต�่ำ เพราะลูกระนาดท�ำมาจากไม้ไผ่และไม้ตีก็ถูกท�ำให้มีความ ..............................................
17. เสียงเหมียวของแมวเป็นเสียงที่เส้นเสียงสั่น ............................................... มีความถี่ .................................................
ท�ำให้เสียง ..............................................................................................................................................................................
18. เสียงอู๊ดของหมู เป็นเสียงที่เส้นเสียงสั่น .................................................... มีความถี่ ...................................................
ท�ำให้เสียง ..............................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (7)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/3-4
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
1. เสียงดัง เสียงค่อย เกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียง ซึ่งท�ำให้ช่วงกว้างของการสั่นสะเทือนหรือ
ไม่เท่ากัน
2. เสียงดังเกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ ...............................................................................................................
3. เสียงค่อยเกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ ...............................................................................................................
4. หูของมนุษย์วัดความดังความค่อยของเสียง ............................... เพราะ ...........................................................................
5. ค่าความดังของเสียงวัดจาก .............................................................................................................................................
มีหน่วยเป็น ......................................................................
6. เสียงพูดคุยของคนปกติทั่วไปดัง ............................................................................................................................ เดซิเบล
7. เสียงของฟ้าผ่าดังประมาณ ................................................................................................................................... เดซิเบล
8. เสียงที่ดังแล้วปลอดภัยดังประมาณ ....................................................................................................................... เดซิเบล
9. เสียงที่ดังแล้วไม่ปลอดภัยดังมากกว่า ............................................................................................... เดซิเบลเป็นเวลานาน
10. บ้านเรือนที่อยู่รอบสนามบินได้รับผลกระทบจาก ............................................................................................................
11. เสียงเครื่องบินไอพ่นตอนเริ่มขึ้นจากสนามบินมีความดังของเสียงประมาณ ....................................................... เดซิเบล
12. เสียงของเครื่องจักรในโรงงานขนาดใหญ่จัดเป็นเสียงที่ ...................................................................................................
13. การใช้หูฟังเวลานานจะท�ำให้เกิดอันตราย คือ ................................................................................................................
14. เสียงของการเปิดเพลงเพื่อเต้นร�ำในสถานบันเทิง ท�ำให้หูถึงขั้นพิการได้ เพราะ .............................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
15. แรงมีผลต่อต้นก�ำเนิดเสียงคือ ............................................................ เพราะ ...............................................................
............................................................................................................................................................................................
16. ประโยชน์ของเสียงดัง เช่น ...........................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (8) มลพิษทางเสียง
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/5
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

เหตุการณ์ที่ท�ำให้เกิดมลพิษทางเสียง ผลกระทบจากการได้ยินเสียง วิธีป้องกันหลีกเลี่ยงมลพิษทางเสียง

1. เครื่องบินก�ำลังบินขึ้น

2. ฟ้าผ่า

3. จุดประทัด

4. สุนัขเห่า

5. สนามเล็กเล่นเวลาพักกลางวัน

6. ห้องเรียนเวลาเรียน

7. ถนนที่มีการจราจรคับคั่ง

8. หน้าเวทีแสดงดนตรี
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง (สรุป 1)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1-5

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เด็ก 2 คน ไปเที่ยววัดแห่งหนึ่ง ซึ่งมีระฆัง 3 ขนาด แขวนไว้ ดังรูป เด็กชายทดสอบเสียงระฆัง โดยตีระวังแต่ละใบ

1 2 3

พิจารณาว่าข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง ท�ำเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง


1.1 เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 1 จะเป็นเสียงต�่ำที่สุด
1.2 ถ้าตีระฆังใบที่ 3 ด้วยแรงที่มากกว่าการตีระฆังใบที่ 2 เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 3 จะต�่ำกว่าระฆังใบที่ 2
1.3 ถ้าตีระฆังด้วยแรงที่เท่ากัน เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 3 จะค่อยกว่าระฆังใบที่ 1
1.4 ถ้าต้องการให้เสียงจากระฆังเป็นเสียงที่สูงขึ้น ต้องตีระฆังให้แรงขึ้น
1.5 ถ้าเด็กผู้หญิงไม่ชอบเสียงระฆัง เสียงระฆังจะจัดเป็นมลพิษทางเสียงส�ำหรับเด็กผู้หญิงคนนั้น

2. ถ้าเราน�ำกลองใบหนึ่งไปตีในอวกาศแล้วฟังเสียง เราจะได้ยินเสียงเหมือนกับการตีกลองบนโลกแล้วฟังเสียงหรือไม่ อย่างไร


ตอบ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง (สรุป 2)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1-5

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. ขณะที่โลมา 2 ตัว ก�ำลังสื่อสารกันใต้น�้ำ อธิบายการเคลื่อนที่ของเสียงจากโลมาตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งได้อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
2. ถ้าเราใช้ไม้เคาะขวดแก้วเปล่าบริเวณใกล้ๆ ก้นขวด แล้วเติมน�้ำลงในขวดทีละน้อย พร้อมกับเคาะที่ต�ำแหน่งเดิมอย่างต่อ
เนื่องด้วยแรงที่เท่ากัน เสียงที่ได้ยินจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ ..................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลมาก ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ข. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลน้อย ท�ำให้เกิดเสียงต�่ำ
ค. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่น้อย ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ง. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่มาก ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
4. ใครควรใส่เครื่องป้องกันหูเพื่อป้องกันมลพิษทางเสียง ให้เหตุผลประกอบ
ก. นาย ก ท�ำงานขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง
ข. นาย ข ท�ำงานในร้านอาหารที่มีการแสดงดนตรี
ค. นาย ค ท�ำงานในสถานที่ก่อสร้างที่มีการขุดเจาะพื้น
ง. นาย ง ก�ำลังรอรถอยู่ที่ป้ายรถโดยสารประจ�ำทางที่มีการจราจรคับคั่ง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
เฉลย
ใบงานเเบบฝึกหัด
วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : นักเรียนรู้จักแรงอะไรบ้าง จงตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์


1. จากที่เคยเรียนมา นักเรียนรู้จักแรงอะไรบ้าง
แรงในการดึงแรงในการผลั
ตอบ แรงในการดึ แรงในการผลักก แรงดึ
แรงดึงดูงดดูหรื
ดหรือแรงโน้
อแรงโน้มถ่มวถ่งของโลก
วงของโลก
2. แรงมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุอย่างไร
ตอบ แรงท�ำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ เช่น แรงโน้มถ่วงของโลกท�ำให้วัตถุต่าง ๆ ตกลงสู่พื้น

3. ถ้าต้องการวัดขนาดของแรง นักเรียนจะใช้อุปกรณ์ใดในการวัด
ตอบ ใช้ใช้เเครื
ครื่อ่องชั่งสปริงวัวัดดขนาดของแรง
ขนาดของแรง
4. มีแรงกระท�ำต่อวัตถุหนึ่งๆ มากกว่า 1 แรง ได้หรือไม่ อย่างไร
ตอบ ได้ได้ นันักกเรียน 2 คนช่
คนช่ววยกั
ยกันนยกของ
ยกของการเล่
การเล่นชันกชัเย่กอเย่อเป็นเป็ต้นนต้น
5. ถ้ามีแรงหลายๆ แรงมากระท�ำต่อวัตถุ เราจะหาผลรวมของแรงเหล่านั้นได้อย่างไร
ตอบ น�น�ำำแรงทั
แรงทั้งหมดมารวมกั
หมดมารวมกันน
6. การเล่นกีฬามีผลต่อร่างกายอย่างไร
ตอบ ท�ท�ำำให้
ให้รร่างกายแข็งแรงมี
แรงมีสสุขุขภาพดี
ภาพดี
7. การเล่นชักเย่อมีกติกาอย่างไร
ตอบ การเล่
การเล่นนชักเย่อประกอบด้
ประกอบด้ววยผูยผู้เล่้เล่นน2 2ฝ่าฝ่ยายจ�ำจ�นวนผู
ำนวนผู
้เล่น้เล่ฝ่นายละเท่
ฝ่ายละเท่
า ๆา กัๆน กัจันบเชืจัอบกคนละด้
เชือกคนละด้
าน มีาเนส้นมีแบ่เส้งนเขตแดน
แบ่งเขตแดน
อยูอยู่ต่ตรงกลาง
รงกลาง ทีที่จุดกึ่งกลางของเชื
กลางของเชืออกมี
กมีผผ้า้าผูผูกกไว้ไว้เมืเมื่อเริ่อเริ
่มเล่่มเล่
น นต่าต่งฝ่าางฝ่ยต่าายต่ างออกแรงเพื
งออกแรงเพื ่อดึง่อเชืดึองกให้
เชือผกให้
้าที่จผุด้ากึที่ง่จกลางเชื
ุดกึ่งกลางเชื
อก อก
เคลื
เคลื่อ่อนที
นที่ไ่ไปยั
ปยังงเขตแดนของฝ่
เขตแดนของฝ่าายตน
ยตน จึจึงงจะตั
จะตัดดสิสินว่นาว่ชนะ
าชนะ
8. ถ้าดึงเชือก แล้วผ้าที่ผูกจุดกึ่งกลางเชือกอยู่นิ่ง นักเรียนคิดว่า ผลรวมของแรงทั้งหมดที่กระท�ำต่อเชือกขณะนั้นเป็นอย่างไร
ตอบ มีมีคค่า่าเท่เท่ากัน
9. การเล่นชักเย่อมีแรงใดมาเกี่ยวข้องบ้าง
ตอบ แรงลั
แรงลัพพธ์และแรงเสียยดทาน
ดทาน
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันที่ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ เป็นการออกแรงในลักษณะใด จงยกตัวอย่าง
ตอบ แปรงฟันเป็นทั้งการดึงและการผลัก การยกกระเป๋าขึ้นจากโต๊ะเป็นการดึง

2. เราสามารถเขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระท�ำต่อวัตถุได้อย่างไร
ตอบ ใช้ลูกศร โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรงที่มากระท�ำต่อวัตถุ ความยาวของลูกศรแสดงขนาดของแรงนั้นๆ

3. ถ้าเราออกแรงกระท�ำต่อวัตถุมากหรือน้อยแตกต่างกัน แผนภาพแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ถ้าขนาดของแรงมาก ลูกศรจะมีความยาวมาก ถ้าขนาดของแรงน้อยลูกศรจะสั้น

4. ถ้าเราดึงและผลักประตู ลูกศรแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ ถ้าเราดึงประตู หัวลูกศรแสดงแรงจะชี้เข้าหาตัวเรา ถ้าเราผลักประตู หัวลูกศรแสดงแรงจะชี้ออกจากตัวเรา

5. กิจกรรมใดบ้างที่ต้องอาศัยแรงจากหลายคน
ตอบ การยกวัตถุที่มีน�้ำหนักมาก การเข็นรถยนต์ให้เคลื่อนที่

6. แรงลัพธ์ คืออะไร
ตอบ ผลรวมของแรงหลายแรงที่กระท�ำต่อวัตถุ ซึ่งมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
กรณีที่ 1 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง .............................
เดียวกัน กรณีที่ 2 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง ..............................
ตรงข้ามกัน
เเรง 1 = 20 N
เเรง 2 = 30 N เเรง 1 = 50 N เเรง 2 = 20 N

ขวามือ แรงลัพธ์ = ................


วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ............... 50 นิวตัน ขวามือ แรงลัพธ์ = ................
วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ............... 30 นิวตัน

เเรง 1 = 40 N เเรง 2 = 40 N กรณีที่ 3 สองแรงกระท�ำกับวัตถุในทิศทาง .............................


ตรงข้ามกัน
วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ...............
ไม่มีการเคลื่อนที่
แรงลัพธ์ = ................
0 นิวตัน

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนหาแรงลัพธ์จากแผนภาพการออกแบบ พร้อมบอกทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่


1. 2.
5 นิวตัน
5 นิวตัน 7 นิวตัน
5 นิวตัน
10
แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ เคลื่อนที่ไปทางขวา 2
แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ เคลื่อนที่ไปทางซ้าย
3. 4.
6 นิวตัน 6 นิวตัน 8 นิวตัน 2 นิวตัน

0
แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ gไม่เคลื่อนที่ 6
แรงลัพธ์ = ................ นิวตัน วัตถุ เคลื่อนที่ไปทางขวา
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (3)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
1.
√ แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน
2.
√ แรงเป็นปริมาณที่มีขนาดและมีทิศทาง

√ 3. = ปริมาณเวกเตอร์
4.
√ แรงหลายแรงสามารถรวมเป็นแรงเดียวได้

× 5. แรง 5 นิวตัน รวมกับแรง 4 นิวตัน จะได้แรง 9 นิวตัน
6.
√ แรงเมื่อกระท�ำต่อวัตถุท�ำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปในทิศทางตามแรงที่กระท�ำ
7.
√ แรงลัพธ์หาโดยการเขียนเวกเตอร์แบบหางต่อหัว
8.
√ ส่วนหัวที่เป็นลูกศรแทนทิศทางของแรง
9.
√ ส่วนของความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรง
10.
× ในการเคลื่อนที่วัตถุที่มีน�้ำหนักมากควรใช้แรงเพียงแรงเดียว

√ 11. ขณะที่เราใช้แรงดึงวัตถุขึ้นที่สูงเราต้องระมัดระวังมาก เพราะมีแรงดึงดูดของโลกที่กระท�ำต่อวัตถุอยู่ตลอดเวลา
12.
√ การเคลื่อนที่วัตถุไปบนพื้นที่แข็งและเรียบจะใช้แรงไม่มาก
13.
× การเคลื่อนที่ไปในน�้ำจะเคลื่อนที่ไปได้ง่ายและใช้แรงน้อย
14.
√ การพัดของลมมีแรงจ�ำนวนหนึ่งที่มีทิศทาง

× 15. เครื่องบินที่มีน�้ำหนักมาก สามารถบินได้เพราะแรงขับเพียงครั้งเดียวของเครื่องยนต์ขึ้นจากพื้นสนามบิน
16.
× วัตถุที่มีขนาดเล็กเคลื่อนที่ช้าจะท�ำให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่

× 17. รถไฟชนสิ่งต่างๆ ด้วยขนาดของแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะรถไฟวิ่งเร็ว

18. ต้นไม้ขนาดใหญ่เมื่อล้มก่อให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะต้นไม้ต้นนั้นมีมวลมาก


√ 19. เรือเดินทะเลต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการชนกลางทะเล เพราะจะเกิดความเสียหายมากเนื่องจากเรือมีขนาดใหญ่มี
น�้ำหนักมาก

√ 20. การกระโดดน�้ำถ้ากระโดดโดยใช้ส่วนของร่างกายส่วนมากปะทะน�้ำจะรู้สึกเจ็บเพราะ มีแรงต้านจากน�้ำ มีแรง
กระแทกจากร่างกาย จึงท�ำให้แรงจ�ำนวนมากหรือขนาดใหญ่ที่ท�ำให้รู้สึกเจ็บ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 1 แรงลัพธ์ (4)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/3
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
เซอร์ ไอแซก นิวตัน
1. นักวิทยาศาสตร์ ที่ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก คือ ...........................................................................................................
เครื่องชั่งที่ใช้วัดปริมาณน�้ำหนักของวัตถุ มีหลายรูปแบบแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับประโยชน์ของ
2. เครื่องชั่งสปริง คือ ...............................................................................................................................................
การใช้งาน
............................................................................................................................................................................................
ขนาดของแรงที่กระท�ำต่อวัตถุ
3. เครื่องชั่งสปริง ใช้วัด .................................................................................. นิวตัน (N)
มีหน่วยเป็น ................................................
ยึดปลายสปริงด้านหนึ่งให้อยู่กับที่หรือจับไว้ให้แน่น แล้วน�ำวัตถุมาแขวนไว้กับปลายอีก
4. การใช้เครื่องชั่งสปริงท�ำได้โดย ........................................................................................................................................
ข้างหนึ่งให้ออกแรงดึงเพื่อยึดสปริงให้ขยายออกแล้วอ่านค่าขนาดของแรงจากขีดสเกลบนเครื่องชั่งสปริง
............................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................

5. ถ้ามีแรงมากระท�ำต่อวัตถุมากกว่า 1 แรง จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ ดังนี้

5.1 เมื่อแรง 2 แรง กระท�ำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกัน


ผลรวมของแรงทั้งสอง ท�ำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับแรงที่มากระท�ำ
ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

5.2 เมื่อแรง 2 แรง กระท�ำต่อวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน


แรงหักล้างของแรงทั้งสอง ท�ำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่มีแรงมากกว่า
ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

5.3 เมื่อแรง 2 แรง ที่เท่ากันกระท�ำต่อวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน


แรงทั้งสองหักล้างกันหมด ท�ำให้วัตถุ หยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่
ผลลัพธ์ของแรงคือ ....................................................................................................................................

6. กระถางต้นไม้หนัก 90 นิวตัน มีลวดแขวนทั้งหมด 3 เส้น อยากทราบว่าลวดแต่ละเส้นต้องรับน�้ำหนักแรงจากกระถางเส้นละกี่นิวตัน


แรงดึงลวดมี 3 เส้น
แรงดึงลวดแต่ละเส้น = แรงจากกระถาง/จ�ำนวนเส้นลวด
= 90/3
= 30 N
แรงดึงลวดแต่ละเส้น เท่ากับ 30 นิวตัน
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 2 แรงเสียดทาน (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/4
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. ถ้านักเรียนก�ำลังปีนต้นไม้ นักเรียนคิดว่ามีแรงอะไรกระท�ำต่อนักเรียน และมีทิศทางของแรงนั้นเป็นอย่างไร
มีแรงดึงดูดของโลกหรือแรงโน้มถ่วงของโลกมากระท�ำ โดยมีทิศทางลงสู่พื้นโลก
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. นอกจากแรงดึงดูดของโลกแล้ว นักเรียนคิดว่ายังมีแรงอะไรที่กระท�ำต่อนักเรียนขณะปีนต้นไม้อีก ที่ท�ำให้เราปีนต้นไม้โดยไม่
ตกลงมา
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
แรงต้าน แรงฝืด หรือแรงเสียดทาน
3. แรงมีผลต่อวัตถุอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
แรงท�ำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
4. การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุมีลักษณะใดบ้าง
วัตถุที่อยู่นิ่งเปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่ หรือจากเคลื่อนที่อยู่แล้วเปลี่ยนเป็นเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง หยุดนิ่ง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
หรือเปลี่ยนทิศทาง
5. เมื่อออกแรงกระท�ำต่อตู้ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของตู้ คืออะไร
แรงเสียดทาน
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
6. แรงเสียดทานเกิดขึ้นเมื่อใด
เมื่อมีแรงมากระท�ำต่อวัตถุเพื่อท�ำให้วัตถุเคลื่อนที่ ซึ่งวัตถุอาจจะเคลื่อนที่หรือไม่เคลื่อนที่ก็ได้
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
7. แรงเสียดทานเกิดขึ้นที่ใด และมีทิศทางใด
แรงเสียดทานเกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของตู้กับพื้นบริเวณที่สัมผัสกับตู้ โดยแรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับ
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ทิศทางที่ต้องการให้ตู้เคลื่อนที่
8. นักเรียนลากเพื่อนที่นั่งยองให้เคลื่อนที่ไปบนพื้น แล้วตอบค�ำถามต่อไปนี้
มีแรงเสียดทาน
8.1 ขณะนักเรียนลากเพื่อนให้เคลื่อนที่ มีแรงเสียดทานเกิดขึ้นหรือไม่ ................................ แรงเสียดทานมีทิศทางอย่างไร
มีทิศทางตรงกั นข้ามกับทิศทางที่ตัวเพื่อนเคลื่อนที่ไป
..................................................................................................................................................................................
ระหว่างเท้าของนักเรียนที่นั่งยองกับพื้น
8.2 แรงเสียดทานเกิดขึ้นบริเวณใด .......................................................................................................................................
มีแรงเสียดทานเกิดขึ้น
8.3 เมื่อนักเรียนลากเพื่อน แล้วเพื่อนไม่เคลื่อนที่ นักเรียนคิดว่ามีแรงเสียดทานเกิดขึ้นหรือไม่ ............................................
แรงเสียดทานจะมีค่าเท่ากับแรงที่ลากเพื่อน
คิดว่า มีค่าเป็นเท่าใด ...............................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

เเ น น
เรื่องที่ 2 แรงเสียดทาน (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/4
ค�ำชี้แจง : จากเหตุการณ์ต่อไปนี้ เป็นข้อดีหรือข้อเสียของแรงเสียดทาน


ข้อดี 1. รองเท้าฟุตบอล หรือรองเท้าสตั๊ด

2.
ข้อดี ใส่รองเท้ายางเดินได้รวดเร็ว


ข้อเสีย 3. รถดอกยางหมด ฝนก็ตกถนนลื่น


ข้อดี 4. เพิ่งเปลี่ยนยางมา เบรกได้มั่นใจ

5.
ข้อเสีย ดันตู้เสื้อผ้าโดยไม่ใช้ผ้ารอง


ข้อดี 6. หล่อลื่นชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์เพื่อให้ท�ำงานได้ดีขึ้น

7.
ข้อดี เหยียบเบรกเพื่อหยุดรถกะทันหัน

8.
ข้อดี ตลับลูกปืนในพัดลม

9.
ข้อดี ออกแบบลูกกอล์ฟให้มีรอยบุบ

10.
ข้อเสีย ขับรถยนต์บนถนนที่มีแรงเสียดทานมาก

11.
ข้อดี ออกแบบชุดว่ายน�้ำให้เบาและน�้ำไม่เกาะ

12.
ข้อดี ออกแบบนอตให้มีเกลียว


ข้อดี 13. การปีนเขา ปีนหน้าผา ใช้มือช่วยยึด

14.
ข้อดี ปีนต้นไม้ด้วยมือเปล่า

15.
ข้อดี รองเท้าสเก็ตน�้ำแข็ง
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน (สรุป 1)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ออกแรง คนละ 2 นิวตัน ดึง 2. เด็กชาย ง ออกแรงดึงวัตถุที่อยู่บนพื้นลื่นไปทางขวามือด้วย
วัตถุที่อยู่บนพื้นลื่นไปทางขวามือ ในขณะที่เด็กหญิง ค ออกแรง แรง 8 นิวตัน ถ้าเด็กหญิง จ ต้องการให้วัตถุนี้อยู่นิ่ง เด็กหญิง
4 นิวตัน ดึงวัตถุนี้ไปทางซ้ายมือ แรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อวัตถุนี้เป็น จ ต้องออกแรงดึงวัตถุนี้ด้วยแรงขนาดเท่าใด และในทิศทางใด
เท่าใด วัตถุนี้จะเคลื่อนที่หรือไม่ อย่างไร เขียนแผนภาพแสดง เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก
ขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็กกระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร กระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร
0 นิวตัน
ตอบ แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับ ........................................ ตอบ ถ้าต้องการให้วัตถุนี้อยู่นิ่ง เด็กหญิง จ ต้องออกแรง
วัตถุจะ ..................................................................
ไม่เคลื่อนที่ ขนาดเท่ากับ ........................................................................
8 นิวตัน
เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก ในทิศทาง ..............................................................
ไปทางซ้ายมือ
กระท�ำต่อวัตถุ ได้ดังนี้ เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงทั้งหมดที่เด็ก
กระท�ำต่อวัตถุ ได้ดังนี้

6 นิวตัน
ค ก 2 นิวตัน 8 นิวตัน 8 นิวตัน
2 นิวตัน
ข จ ง

3. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ช่วยกันเปิดหนังสือ 2 เล่ม ให้ซ้อนสลับกันทีละหน้าจนหมดเล่ม ดังรูป ก แล้วออกแรงดึงที่สัน


หนังสือทั้งสองเล่ม ดังรูป ข พบว่าดึงหนังสือทั้งสองเล่มให้แยกออกจากกันได้ยาก สถานการณ์ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับแรงอะไรบ้าง
เพราะเหตุใด
สถานการณ์ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับแรง ที่ใช้ดึง
หนังสือ แรงเสียดทาน เพราะแรงเสียดทานเป็น
แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดระหว่าง
ผิวสัมผัสของวัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทาง
ที่ต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ท�ำให้หนังสือแยกออก
จากกันได้ยากเมื่อออกแรงดึง
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 1 แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน (สรุป 2)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.2 ป.5/5

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. นักกีฬาทีม ก และทีม ข แข่งขันชักเย่อ โดยแต่ละทีมออกแรงดึงเชือกไปคนละด้าน พบว่าเชือกไม่เคลื่อนที่ มีแรงเสียดทาน
เกิดขึ้นที่ใดบ้าง เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงเสียดทานนั้นๆ ได้อย่างไร
แรงเสียดทานที่เชือกกระท�ำต่อมือ

แรงเสียดทานที่พื้นกระท�ำต่อเท้า
มีแรงเสียดทานเกิดระหว่างมือของผู้เล่นแต่ละคนกับเชือกและเกิดขึ้นบริเวณเท้าของผู้เล่นแต่ละคนกับพื้น

2. เด็กชาย ก และเด็กชาย ข ออกแรงคนละ 40 นิวตัน ดึง 3. เพราะเหตุใดสะพานขึง จึงต้องใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่เป็น


วัตถุไปทางด้านซ้าย เด็กชาย ง ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ จ�ำนวนมากและแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อสะพานมีค่าเท่าใด
เท่าใดและทิศทางอย่างไรเพื่อท�ำให้วัตถุอยู่นิ่ง และเขียนแผนภาพ .............................................................................................
สะพานขึงต้องใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่จ�ำนวนมากเพื่อช่วย
แสดงขนาดและทิศทางของแรงที่เด็กชาย ก ข ค และ ง .............................................................................................
รับน�้ำหนักของสะพาน โดยแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อสะพาน
กระท�ำต่อวัตถุนี้ได้อย่างไร .............................................................................................
มีค่าเท่ากับศูนย์
30 นิวตัน
เด็กชาย ง ต้องออกแรงกระท�ำต่อวัตถุ ......................
โดยมีทิศทาง ............................................................
ไปทางด้านซ้ายมือ
เขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงที่เด็กกระท�ำต่อ
วัตถุ

4. ถ้าออกแรงเพื่อเข็นรถยนต์ให้เคลื่อนที่ แต่รถยังอยู่นิ่งเขียนแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงในแนวราบที่กระท�ำต่อ
รถยนต์ที่อยู่นิ่งได้อย่างไร และแรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อรถยนต์มีค่าเท่าใด เพราะเหตุใด
แรงที่ใช้เข็นรถยนต์ให้เคลื่อนที่ แรงลัพธ์ที่กระท�ำต่อรถยนต์มีค่า 0 นิวตัน
เพราะรถยนต์ไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่เกิด
ระหว่างล้อรถยนต์กับพื้น มีขนาดเท่ากับแรงที่ใช้ใน
การเข็นรถยนต์ให้เคลื่อนที่ แต่มีทิศทางตรงกันข้าม
แรงเสียดทาน
เฉลย
ใบงานเเบบฝึกหัด
วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน
บทที่ 2 เสียง

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์
โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์
“ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์

^j _r i ^k` b

1. เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร
เสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. เสียงที่นักเรียนได้ยินจากต้นก�ำเนิดแสงต่างๆ เสียงใดเป็นเสียงสูง เสียงใดเป็นเสียงต�่ำ
เสียงแมว เสียงม้า เป็นเสียงสูง เสียงรถพยาบาล เป็นเสียงต�่ำ
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
3. เสียงสูง เสียงต�่ำ ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
ต่างกัน โดยเสียงสูงจะเป็นเสียงแหลม เสียงต�่ำจะเป็นเสียงทุ้ม
4. นักเรียนเคยชมภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับอวกาศหรือไม่
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
เคยชมภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับอวกาศ
5. นักเรียนคิดว่าถ้านักบินอวกาศอยู่ในเหตุการณ์การระเบิดของดาวในอวกาศ จะได้ยินเสียงระเบิดหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ไม่ เพราะในอวกาศไม่มีตัวกลางของเสียง ท�ำให้เสียงไม่สามารถเคลื่อนที่มาถึงหูผู้ฟังได้ จึงท�ำให้ไม่ได้ยินเสียง

6. เสียงต่างๆ ที่ได้ยินนั้นเกิดจากวัตถุใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร


ตอบ เสียงเคาะแก้ว เกิดจากการกระทบของวัตถุที่ใช้เคาะแก้ว เสียงกระดิ่ง เกิดจากการสั่นของกระดิ่ง

7. เสียงเคลื่อนที่มาถึงหูของนักเรียนได้อย่างไร
กระดิ่งเกิดการสั่น เสียงกระดิ่งเคลื่อนที่ผ่านอากาศมาถึงหู จึงได้ยินเสียง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
8. เสียงแต่ละเสียงมีลักษณะอย่างไร
เสียงสูง เสียงต�่ำ เสียงดัง เสียงค่อย
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (1)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านบทความในหนังสือเรียน สสวท. เล่ม 1 หน้า 50 เเล้วตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากสถานการณ์ เรื่อง “แม่ค้าปากตลาด” ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1.1 เมือเข้าไปในตลาด นักเรียนจะได้ยินเสียงอะไรบ้าง
ตอบ เสียงพูดคุย เสียงพ่อค้า แม่ค้า ตะโกนเรียกลูกค้าตามแผงขายของต่างๆ เสียงล้อรถเข็นที่ลากไปบนพื้น

1.2 เสียงสูง เสียงต�่ำ เกิดจากอะไร


การสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.3 ท�ำไมเราได้ยินเสียงพ่อค้า แม่ค้าอยู่ไกล ดังกว่าเสียงคนที่พูดคุยอยู่ใกล้ๆ
เพราะพ่อค้าแม่ค้าตะโกน
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.4 ความถี่คืออะไร
จ�ำนวนรอบของการสั่นในหนึ่งวินาที
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.5 จ�ำนวนรอบของการสั่นในหนึ่งวินาทีของวัตถุ จะสังเกตได้จากอะไร
สังเกตจากการสั่นเร็ว ช้า หรือสังเกตจากจ�ำนวนรอบของการสั่นของวัตถุ
ตอบ ............................................................................................................................................................................
1.6 ถ้าวัตถุ ก. สั่นได้ 6 รอบ/นาที และวัตถุ ข สั่นได้ 10 รอบ/วินาที นักเรียนคิดว่าวัตถุใดสั่นด้วยความถี่มากกว่ากัน
วัตถุ ข
ตอบ ............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
2. ถ้านักเรียนได้ยินเสียงกระดิ่ง เสียงนั้นเกิดจากวัตถุใด และเกิดขึ้นได้อย่างไร
เสียงกระดิ่ง เกิดจากการสั่นของกระดิ่ง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. เสียงเคลื่อนที่มาถึงหูของนักเรียนได้อย่างไร
เสียงต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ซึ่งตัวกลางของเสียงมีทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยเสียงจาก
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
แหล่งก�ำเนิดเสียงจะผ่านตัวกลางของเสียงที่สั่นต่อๆ กันไป จนถึงหูผู้ฟัง
4. เสียงแต่ละเสียงมีลักษณะอย่างไร
เสียงสูง แหล่งก�ำเนิดเสียงสั่นด้วยความถี่มาก เสียงต�่ำ แหล่งก�ำเนิดเสียงสั่นด้วยความถี่น้อย เสียงดัง มีพลังงานมาก
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
เสียงค่อย มีพลังงานน้อย
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (2)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่ แหล่งก�ำเนิดเสียง กับ เสียงที่เกิดขึ้น ให้สัมพันธ์กัน

1. อู๊ด...อู๊ด

2. เพล้ง...

3. ปิ๊น...ปิ๊น

4. จิ๊บ...จิ๊บ

5. หึ่ง...หึ่ง

6. ปัง...ปัง

7. โฮ่ง...โฮ่ง

8. กริ๊ง...กริ๊ง

9. เมี้ยว...เมี้ยว

10. ฮี้...ฮี้
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (3)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : จากภาพที่ก�ำหนดให้ ให้นักเรียนขีด √ ให้ถูกต้องกับแหล่งก�ำเนิดเสียง
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
√ ตามธรรมชาติ
ตามธรรมชาติ
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
√ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ที่มนุษย์สร้างขึ้น

√ เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ
เเหล่งก�ำเนิดเสียง เเหล่งก�ำเนิดเสียง
ที่มนุษย์สร้างขึ้น √ ที่มนุษย์สร้างขึ้น

ค�ำชี้แจง : จากตัวกลางที่ก�ำหนดให้ ให้นักเรียนขีด √ หน้าตัวกลางที่เสียงผ่านได้ และกา X หน้าตัวกลางที่เสียงผ่านไม่ได้


1. √ น�้ำ √ 2. อากาศ
3. √ รั้วไม้ X 4. ก�ำแพงห้อง
5. X รั้วก�ำแพงปูน 6. √ เส้นด้าย
7. √ แก๊ส 8. √ เหล็ก
9. √ คาร์บอนไดออกไซด์ √ 10. ฮีเลียม
11. √ แก้ว 12. √ น�้ำทะเล
13. √ อะลูมิเนียม 14. √ ปรอท
15. √ ไฮโดรเจน 16. X น�้ำตึกที่สร้างจากซีเมนต์

ค�ำชี้แจง : จากเรื่อง “ครอบแก้วสุญญากาศ” ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์


1. ถ้าเราค่อยๆ สูบอากาศภายในครอบแก้วออก เราจะได้ยินเสียงนาฬิกาปลุกเป็นอย่างไร
เราจะได้ยินเสียงนาฬิกาปลุกค่อยลง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
2. เพระเหตุใดเราจึงไม่ได้ยินเสียงในครอบแก้ว
ในครอบแก้วไม่มีอากาศหรือเป็นสุญญากาศ ท�ำให้ไม่มีตัวกลางของเสียง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
3. ตัวกลางที่ท�ำให้ได้ยินหรือไม่ได้ยินเสียงในครอบแก้วคืออะไร
อากาศ
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (4)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากภาพที่ก�ำหนดให้ จงตอบค�ำถามให้ถูกต้อง
ใบหู 3
หมายเลข ................
รูหู 2
หมายเลข ................
เยื่อแก้วหู 4
หมายเลข ................
กระดูกค้อน 6
หมายเลข ................
กระดูกทั้ง 7
หมายเลข ................
กระดูกโกลน 8
หมายเลข ..............
คอเคลีย 10
หมายเลข ................
9
ท่อครึ่งวงกลม หมายเลข ................ 12
ท่อยูสเตเชียน หมายเลข ..............
2. จงอธิบายขั้นตอนการเคลื่อนที่ของเสียงจากแหล่งก�ำเนิดเสียงจนถึงหูผู้ฟัง
แหล่งก�ำเนิดเสียง
การได้ยินเสียงต้องมีองค์ประกอบ คือ 1. ................................................................ ตัวกลางของเสียง
2. ............................................
และ 3. ...................
หู โดยแหล่งก�ำเนิดเสียงจะ ........................
สั่น ท�ำให้ตัวกลางของเสียง .........................................................
สั่นต่อเนื่องกันไป
รวมเสียง
ใบหูจะ .............................. รูหู
เข้าสู่ ...................... เยื่อแก้วหู
รูหูท�ำหน้าที่เป็นทางเดินของเสียง เมื่อเสียงกระทบ ...................................
กระดูกค้อน
ท�ำให้กระดูกสามชิ้นคือ 1. .................................. กระดูกทั่ง
2. ..................................... กระดูกโกลน
และ 3. .............................. สั่นต่อเนื่องกันไป
คอเคลีย
เนื่องจากกระดูกโกลนอยู่ติดกับท่อคล้ายก้นหอยหรือ ....................................... ของเหลว
ซึ่งมี ........................... เซลล์ขน
และ .......................
อยู่ภายใน จึงสั่นเกิดเป็นสัญญาณไปที่สมอง ท�ำให้เราได้ยินเสียงและเข้าใจความหมายของเสียง
3. ให้นักเรียนน�ำอักษรหน้าข้อความทางขวามือ เติมลงหน้าข่อความทางซ้ายให้สัมพันธ์กัน
1. จ คอเคลีย ก. เยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูชั้นนอกกับหูชั้นกลาง

2. เยื่อแก้วหู ข. ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว

3. หูช้นั นอก ค. ประกอบด้วยคอเคลีย และท่อครึ่งวงกลม

4. หูชั้นกลาง ง. กระดูกค้อน กระดูกทั่ง กระดูกโกลน

5. หูชั้นใน จ. รูปร่างคล้ายหอยโข่ง

6. ท่อครึ่งวงกลม ฉ. ประกอบด้วยใบหู ช่องหู และเยื่อแก้วหู

7. ใบหู ช. สะท้อนคลื่นเสียงให้เข้ารูหู
8.
ฌ ท่อยูสเตเชียน ฌ. เชื่อมระหว่างหูชั้นกลางและคอ ช่วยปรับความดันภายในหู
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (5)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1
ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
1.
√ การสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ต่างกันท�ำให้ได้เสียงที่ต่างกัน
2.
× เสียงที่เกิดจากการสั่นน้อยจะไพเราะน่าฟังกว่าเสียงจากการสั่นแบบอื่นๆ
3.
√ การสั่นที่ช้าและเร็วเกินไปมนุษย์จะไม่ได้ยินเสียงการสั่นนั้น
√ 4. มนุษย์สามารถสร้างเสียงที่มีความถี่ต่างๆ ได้

5. ความแตกต่างในการฟังเสียงที่มีความถี่ต่างกันน�ำไปใช้ประโยชน์ได้
6.
√ ความถี่เสียงน�ำมาประดิษฐ์เครื่องมือไล่สัตว์บางอย่างได้
√ 7. เสียงของมนุษย์โดยทั่วไปมีความถี่อยู่ที่ระหว่าง 85 – 1,100 เฮิรตซ์
8. อัลตราโซนิกเป็นผลงานทางเทคโนโลยีที่สามารถมีความถี่ได้สูงกว่า
√ 20,000 เฮิรตซ์ ชาวประมงน�ำไปใช้ในการตรวจหาปลา
9.
√ การท�ำความสะอาดเครื่องมือแพทย์ใช้เทคโนโลยีอัลตราโซนิกได้
10.
√ ในที่สูงอากาศมีความหนาแน่นน้อยเสียงจะเดินทางได้ช้าลง
11.
√ การใช้เสียงบนภูเขาสูงต้องเพิ่มความถี่เสียงให้มากขึ้นจึงจะเป็นปกติ
12.
√ การสื่อสารของวาฬโดยเสียงใช้น�้ำทะเลเป็นตัวกลางของเสียง
× 13. การเดินทางของเสียงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากๆ จะเกิดขึ้นช้า
14.
× การเดินทางไปในตัวกลางที่เป็นแก๊สจะเดินทางได้เร็วกว่าตัวกลางที่เป็นของเหลวเพราะไม่มีแรงต้าน
15.
√ ความหนาแน่นของตัวกลางมีความสัมพันธ์กับความเร็วในการเดินทางของเสียงทุกความถี่
16.
√ อุณหภูมิของตัวกลางมีผลต่อความเร็วในการเดินทางของเสียง
√ 17. การเดินทางของเสียงจะเดินทางเป็นคลื่นเรียกว่า คลื่นเสียง
√ 18. บรรดาสารทั้ง 3 สถานะ สถานะของสารที่เป็นแก๊สเป็นตัวกลางที่เสียงเดินทางผ่านได้ช้าที่สุด
19.
√ เสียงเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีการใช้กันมากในชีวิตประจ�ำวัน
√ 20. รอเบิร์ด ออยล์ เป็นผู้ที่ค้นพบว่าตัวกลางที่แสงผ่านไปไม่ได้คือสภาวะสุญญากาศ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (6)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/2
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
เสียงทุ้ม
1. เสียงต�่ำ เรียกว่า ...............................................................................................................................................
เสียงแหลม
2. เสียงสูง เรียกว่า ...............................................................................................................................................
เสียงสูงหรือเสียงแหลม
3. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่สูงจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................
เสียงต�่ำหรือเสียงทุ้ม
4. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่ต�่ำจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................
ต�่ำหรือทุ้ม
5. สายกีตาร์เส้นใหญ่เมื่อดีดจะท�ำให้เกิดเสียง .....................................................................................................................
สูงหรือแหลม
6. สายกีตาร์เส้นเล็กเมื่อดีดจะท�ำให้เกิดเสียง .......................................................................................................................
7. เสียงระนาดเอกเป็นเสียง สูงหรือแหลม
.............................................................................................................................
ต�่ำหรือทุ้ม
8. เสียงของกลองทัดเป็นเสียง ............................................................................................................................................
9. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลมากเมื่อสั่นจะสั่น ได้ ช้า (ความถี่ต�่ำ)
.....................................................................................................
10. วัตถุที่เป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลน้อยเมื่อสั่นจะสั่น ได้ เร็ว (ความถี่สูง)
....................................................................................................
11. เสียงแตรตัวใหญ่ในวงโยธวาทิตเป็นเสียง ทุ......................................................................................................................
้ม
แหลม
12. เสียงแตรตัวเล็กในวงโยธวาทิตเป็นเสียง .......................................................................................................................
13. เมื่อเคาะถังเก็บน�้ำพบว่าเกิดเสียงเป็นเสียงสูงแสดงว่าปริมาณน�้ำในถังเก็บน�้ำ มีน้อย
...........................................................
14. เมื่อเคราะห์เก็บน�้ำพบว่าเกิดเสียงที่เป็นเสียงต�่ำแสดงว่าปริมาณน�้ำในถังเก็บน�้ำ มี............................................................
มาก
15. ถ้าต้องการตีกลองให้ได้เสียงทุ้มจะต้อง น�ำผ้ามาพัน
................................................................................................... ที่ไม้ตีกลอง
16. ระนาดเอกเมื่อตีจะให้เสียงสูง เพราะลูกระนาดท�ำมาจากไม้เนื้อแข็งและไม้ตีก็ถูกท�ำให้มีความ ....................................
แข็ง
นุ่ม
ระนาดทุ้มเมื่อตีจะให้เสียงต�่ำ เพราะลูกระนาดท�ำมาจากไม้ไผ่และไม้ตีก็ถูกท�ำให้มีความ ..............................................
เร็ว
17. เสียงเหมียวของแมวเป็นเสียงที่เส้นเสียงสั่น ............................................... สูง
มีความถี่ .................................................
ท�ำให้เสียง ..............................................................................................................................................................................
สูงหรือแหลม
ช้า
18. เสียงอู๊ดของหมู เป็นเสียงที่เส้นเสียงสั่น .................................................... มีความถี่ ต�...................................................
่ำ
ท�ำให้เสียง ..............................................................................................................................................................................
ต�่ำหรือทุ้ม
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (7)
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/3
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
1. เสียงดัง เสียงค่อย เกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียง ซึ่งท�ำให้ช่วงกว้างของการสั่นสะเทือนหรือ ช่วงของแอมพลิจูด
ไม่เท่ากัน
2. เสียงดังเกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ มี...............................................................................................................
ช่วงกว้างของการสั่นสะเทือนกว้าง
มีช่วงกว้างของการสั่นสะเทือนแคบ
3. เสียงค่อยเกิดจากการสั่นของแหล่งก�ำเนิดเสียงที่ ...............................................................................................................
ไม่ได้
4. หูของมนุษย์วัดความดังความค่อยของเสียง ............................... มีตัวแปรหลายอย่าง
เพราะ ...........................................................................
พลังงานเสียงที่ตกเป็นมุมฉากบนพื้นที่ 1 ตารางหน่วย ในระยะเวลา 1 หน่วยเวลา
5. ค่าความดังของเสียงวัดจาก .............................................................................................................................................
เดซิเบล
มีหน่วยเป็น ......................................................................
60
6. เสียงพูดคุยของคนปกติทั่วไปดัง ............................................................................................................................ เดซิเบล
120
7. เสียงของฟ้าผ่าดังประมาณ ................................................................................................................................... เดซิเบล
85
8. เสียงที่ดังแล้วปลอดภัยดังประมาณ ....................................................................................................................... เดซิเบล
85
9. เสียงที่ดังแล้วไม่ปลอดภัยดังมากกว่า ............................................................................................... เดซิเบลเป็นเวลานาน
เสียงที่ดังตลอดทั้งวัน
10. บ้านเรือนที่อยู่รอบสนามบินได้รับผลกระทบจาก ............................................................................................................
110
11. เสียงเครื่องบินไอพ่นตอนเริ่มขึ้นจากสนามบินมีความดังของเสียงประมาณ ....................................................... เดซิเบล
ดังมาก
12. เสียงของเครื่องจักรในโรงงานขนาดใหญ่จัดเป็นเสียงที่ ...................................................................................................
อวัยวะในหูได้รับเสียงโดยตรงเป็นเวลานานๆ
13. การใช้หูฟังเวลานานจะท�ำให้เกิดอันตราย คือ ................................................................................................................
สถานบันเทิงโดยทั่วไปเป็นห้องปิดทึบ
14. เสียงของการเปิดเพลงเพื่อเต้นร�ำในสถานบันเทิง ท�ำให้หูถึงขั้นพิการได้ เพราะ .............................................................
และเสี่ยงที่เกิดจากแรงสั่นสะเทือนมากๆ เยื่อแก้วหู จะสั่นมากเกินปกติ และถ้าเป็นเวลานาน อาจท�ำให้การได้ยินของหู
............................................................................................................................................................................................
เสียไปได้
............................................................................................................................................................................................
ความดังความค่อย
15. แรงมีผลต่อต้นก�ำเนิดเสียงคือ ............................................................ แรงจะท�ำให้ช่วงกว้างของการสั่น
เพราะ ...............................................................
มีมากหรือน้อย
............................................................................................................................................................................................
เป็นสัญญาณเตือน
16. ประโยชน์ของเสียงดัง เช่น ...........................................................................................................................................
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง

เเ น น
เรื่องที่ 1 เสียงกับการได้ยิน (8) มลพิษทางเสียง
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/5
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมค�ำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

เหตุการณ์ที่ท�ำให้เกิดมลพิษทางเสียง ผลกระทบจากการได้ยินเสียง วิธีป้องกันหลีกเลี่ยงมลพิษทางเสียง

1. เครื่องบินก�ำลังบินขึ้น อาจท�ำให้หูหนวกชั่วคราวหรือ หากท�ำงานในบริเวณสนามบิน


หูหนวกถาวร เป็นประจ�ำ ควรใส่อุปกรณ์ครอบหู

2. ฟ้าผ่า อาจท�ำให้หูหนวกชั่วคราวหรือ ใช้มืออุดหูทันที


หูหนวกถาวร

3. จุดประทัด อาจท�ำให้หูหนวกชั่วคราวหรือ ใช้มืออุดหูทันที


หูหนวกถาวร

4. สุนัขเห่า ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ

5. สนามเล็กเล่นเวลาพักกลางวัน ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ หลีกเลี่ยงบริเวณนั้น

6. ห้องเรียนเวลาเรียน ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ หลีกเลี่ยงบริเวณนั้น

7. ถนนที่มีการจราจรคับคั่ง ท�ำให้เกิดความร�ำคาญ หลีกเลี่ยงบริเวณนั้น

8. หน้าเวทีแสดงดนตรี อาจท�ำให้หูหนวกชั่วคราวหรือ หลีกเลี่ยงบริเวณนั้น


หูหนวกถาวร
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง (สรุป 1)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/1

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. เด็ก 2 คน ไปเที่ยววัดแห่งหนึ่ง ซึ่งมีระฆัง 3 ขนาด แขวนไว้ ดังรูป เด็กชายทดสอบเสียงระฆัง โดยตีระวังแต่ละใบ

1 2 3

พิจารณาว่าข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง ท�ำเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง


√ 1.1 เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 1 จะเป็นเสียงต�่ำที่สุด
1.2 ถ้าตีระฆังใบที่ 3 ด้วยแรงที่มากกว่าการตีระฆังใบที่ 2 เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 3 จะต�่ำกว่าระฆังใบที่ 2
1.3 ถ้าตีระฆังด้วยแรงที่เท่ากัน เสียงที่เกิดจากการตีระฆังใบที่ 3 จะค่อยกว่าระฆังใบที่ 1
1.4 ถ้าต้องการให้เสียงจากระฆังเป็นเสียงที่สูงขึ้น ต้องตีระฆังให้แรงขึ้น
√ 1.5 ถ้าเด็กผู้หญิงไม่ชอบเสียงระฆัง เสียงระฆังจะจัดเป็นมลพิษทางเสียงส�ำหรับเด็กผู้หญิงคนนั้น

2. ถ้าเราน�ำกลองใบหนึ่งไปตีในอวกาศแล้วฟังเสียง เราจะได้ยินเสียงเหมือนกับการตีกลองบนโลกแล้วฟังเสียงหรือไม่ อย่างไร


ตอบ ไม่เหมือนกัน เพราะการตีกลองในอวกาศ เราจะไม่สามารถได้ยินเสียงกลอง เนื่องจากในอวกาศไม่มีตัวกลางของเสียง
ท�ำให้เสียงไม่สามารถเคลื่อนที่มาถึงหูผู้ฟังได้ จึงท�ำให้ไม่ได้ยินเสียง ส่วนการตีกลองบนโลกเราจะได้ยินเสียงกลองตามปกติ
ใบงานแบบฝึกหัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
หน่วยที่ 2 แรงและพลังงาน คะ
บทที่ 2 เสียง (สรุป 2)

เเ น น
ชื่อ – สกุล _________________________________ ชั้น _________ เลขที่ _________ ว 2.3 ป.5/4

ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบค�ำถามให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง
อ่านสถานการณ์และตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. ขณะที่โลมา 2 ตัว ก�ำลังสื่อสารกันใต้น�้ำ อธิบายการเคลื่อนที่ของเสียงจากโลมาตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งได้อย่างไร
เสียงจากโลมาตัวหนึ่งเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางของเสียง คือ น�้ำไปยังอวัยวะรับเสียงของโลมาอีกตัวหนึ่ง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
2. ถ้าเราใช้ไม้เคาะขวดแก้วเปล่าบริเวณใกล้ๆ ก้นขวด แล้วเติมน�้ำลงในขวดทีละน้อย พร้อมกับเคาะที่ต�ำแหน่งเดิมอย่างต่อ
เนื่องด้วยแรงที่เท่ากัน เสียงที่ได้ยินจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด
การเติมน�้ำลงไปในขวดทีละน้อยเป็นการเพิ่มมวลรวมของขวดแก้ว เมื่อเราใช้ไม้เคาะขวดบริเวณเดิม จะท�ำให้เสียงที่
ตอบ ..................................................................................................................................................................................
ได้ยินต�่ำลงๆ เพราะความถี่ในการสั่นของวัตถุน้อยลงเรื่อยๆ
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลมาก ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ข. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่มีมวลน้อย ท�ำให้เกิดเสียงต�่ำ
ค. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่น้อย ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ง. แหล่งก�ำเนิดเสียงที่สั่นด้วยความถี่มาก ท�ำให้เกิดเสียงสูง
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
4. ใครควรใส่เครื่องป้องกันหูเพื่อป้องกันมลพิษทางเสียง ให้เหตุผลประกอบ
ก. นาย ก ท�ำงานขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง
ข. นาย ข ท�ำงานในร้านอาหารที่มีการแสดงดนตรี
ค. นาย ค ท�ำงานในสถานที่ก่อสร้างที่มีการขุดเจาะพื้น
ง. นาย ง ก�ำลังรอรถอยู่ที่ป้ายรถโดยสารประจ�ำทางที่มีการจราจรคับคั่ง
เพราะในสถานที่ก่อสร้างที่มีการขุดเจาะพื้น จะมีเสียงดังมากที่สุดซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อหู
ตอบ ...................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

You might also like