You are on page 1of 6

1

ข้ อสอบโควตา ม.ช. สมดุลเคมี


1. ในการทดลองศึกษาภาวะที่ท ำให้เหล็กผุกร่ อนง่ายนั้น ถ้าสังเกตไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจนจะมีวิธีตรวจสอบ
ไอออนของเหล็กว่าเกิดขึ้นหรื อไม่โดยวิธีใด
1, ใช้ K3Fe(CN)6 ถ้าสารละลายมีสีน ้ำเงินแสดงว่ามี Fe2+
2. ใช้ K3Fe(CN)6 ถ้าสารละลายมีสีน ้ำตาลแสดงว่ามี Fe2+
3. ใช้ Cu(NH3)4SO4 ถ้าสารละลายมีสีน ้ำตาลแสดงว่ามี Fe2+
4. ใช้ Cu(NH3)4SO4 ถ้าสารละลายมีสีน ้ำเงินแสดงว่ามี Fe2+
2. บรรจุ NH3 2 โมล ในภาชนะปิ ดขนาด 1.0 ลิตร ที่ 650 C ที่สมดุล พบว่ามีก๊าซเหลืออยู่ 70% ค่า K ของ
ปฏิกิริยานี้เป็ นเท่าใด
2NH3(g)  N2(g) + 3H2(g)
1. 0.0041 2. 0.064 3. 0.11 4. 0.21
3. สำปรับปฏิกิริยา
2CO(g) + O2(g)  2CO2(g) + ความร้อน
1. เมื่อเพิม่ CO เข้าไป และเอา CO2 ออกที่ปริ มาตรคงที่ ปฏิกิริยาจะไปทางขวามือ
2. เมื่อเพิม่ อุณหภูมิและลดปริ มาตร จะเกิด CO2 น้อยลง
3. เมื่อเพิม่ ตัวเร่ งและลดอุณหภูมิ จะเกิด CO2 มากขึ้น
4. เมื่อเพิม่ CO เข้าไป และเพิ่มอุณหภูมิที่ปริ มาตรคงที่ ปฏิกิริยาอยูท่ ี่ภาวะสมดุล
ข้อใดถูกต้อง
1. 1 และ 2 2. 1 และ 3 3. 1, 2 และ 3 4. 1, 3 และ 4
4. ปฏิกิริยา A + 2B  C + D มีค่าคงที่ของสมดุลเป็ น 1.0 X 10 เมื่อบรรจุ A 1.0 โมล และ B 3.0
4

โมล ลงในภาชนะขนาด 1 ลิตร ปล่อยให้เข้าสู่ สมดุล จงหาความเข้มข้นของ A ที่สมดุลเป็ นโมล/ลิตร


1. 1.0 X 10-4 2. 5.0 X 10-3 3. 2.0 X 10-2 4. 3.2 X 10-2
5. ค่าคงที่ของปฏิกิริยา XO กับ O2 เพื่อเกิดเป็ น XO2 ที่ 400 K มีค่าเป็ น 1.0 X 10-4 ลิตร/โมล
ถ้าบรรจุ XO 1.0 โมล และ O2 2.0 โมล ในภาชนะขนาด 1 ลิตร จงหาความเข้มข้น XO2 ที่สมดุล
6. ปฏิกิริยา PCI3(g) + CI2(g)  PCI5(g) ในภาชนะขนาด 1 ลิตร มีความเข้มข้นที่สมดุลของ PCI3,
CI2 และ PCI5 เป็ น 0.20, 0.10 และ 0.40 โมล ตามลำดับ เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ CI2 อีก 0.1 โมล จง
หาความเข้มข้นของ PCI5 ที่สมดุลใหม่ (หน่วย mol/l)
7. ปฏิกิริยา X(aq) + Y(aq)  2Z(aq) + A(aq) เมื่อนำสารละลาย X 0.010 mol/dm3 20 cm3 สารละลาย Y
0.020 mol/dm3 20 cm3 สารละลาย Z 0.040 mol/dm3 10 cm3 และสารละลาย A a mol/dm3 50 cm3
มาผสมกันจะได้ระบบซึ่งอยูใ่ นสภาวะสมดุลพอดี ค่าคงที่ของสมดุลของปฎิกิริยานี้เท่ากับ 0.14 จงหาค่า a
ข้ อมูลต่ อไปนีใ้ ช้ ในการตอบคำถาม 2 ข้ อถัดไป
จากการทดลองเพื่อหาภาวะสมดุลของปฎิกิริยา
2XY3(g)  X2Y6(g)
ที่อุณหภูมิ 25C และความดัน 1.5 บรรยากาศ ได้ผลการทดลองดังกราฟ

8. ค่าคงที่ของสมดุลของปฏิกิริยานี้จะเท่ากับกี่ mol/dm3
1. 4.0 X 102 2. 2.5 X 10-3 3. 2.0 X 102 4. 2.8 X 10-2
2

9. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ความใดถูกต้อง เมื่อเพิม่ ความดันของระบบนี้ เป็ น 2.0 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิคงที่ค่าคงที่ของ


สมดุลใหม่จะเป็ นอย่างไร
1. เท่าเดิม เพราะค่าคงที่ของสมดุลเป็ นค่าคงที่เสมอที่อุณหภูมิคงที่
2. เพิ่มขึ้น เพราะความเข้มข้น XY3 ของลดลง
3. ลดลง เพราะความเข้มข้นของ X2Y6 เพิ่มขึ้น
4. ลดลง เพราะความเข้มข้นของ XY3 เพิ่มขึ้น
10. ในการทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลโดยผสมสารละลาย Fe(NO3)3 เข้ากับ NH4SCN ได้สมดุลดังนี้
Fe3+(aq) + SCN-(aq)  FeSCN2+(aq)
สี เหลือง ไม่มีสี สี แดง
เมื่อเติมสารละลายไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต (Na2HPO4) ลงไปจะเกิดผลตามข้อใด
1. สี แดงเข้มข้นเนื่องจาก (Na2HPO4) ทำปฏิกิริยากับ Fe3+
2. สี แดงจางลงเนื่องจาก (Na2HPO4) ทำปฏิกิริยากับ FeSCN2+
3. สี แดงจางลงเนื่องจาก (Na2HPO4) ทำปฏิกิริยากับ Fe3+
4. สี แดงเข้มข้นเนื่องจาก (Na2HPO4) ทำปฏิกิริยากับ SCN-
11. ปฏิกิริยา C(s) + H2O(g)  CO(g) + H2(g) เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อนสภาวะใดที่จะทำให้ค่าคงที่ของ
สมดุลเพิ่มขึ้น
1. เพิ่ม H2O(g) 2. เพิ่มปริ มาตร 3. เพิ่มอุณหภูมิ 4. ทุกสภาวะในข้อ 1, 2 และ 3
12. ปฏิกิริยา 2CO2(g)  2CO(g) + O2(g) ในภาชนะ 1 dm เริ่ มต้นด้วย CO2 1.0 mol เมื่อถึงภาวะสมดุล
3

ที่อุณหภูมิหนึ่ง พบว่ามี O2 เกิดขึ้น 5.6 dm3 ที่ STP ค่า k ของปฏิกิริยานี้เป็ นเท่าใด
1. 0.12 2. 0.25 3. 0.50 4. 0.75
13. ปฏิกิริยา CI2(g)  2CI(g) มีค่า K = 1.21 X 10 ที่ 1000 C ถ้าใส่ I2 1.0 mol ในภาชนะขนาด 1 dm3
-16

ที่ภาวะสมดุล CI2 จะสลายตัวไปกี่ mol


1. 1.1 X 10-3 2. 1.21 X 10-6 3. 1.1 X 10-6 4. 5.5 X 10-4
14. ปฏิกิริยาในการผลิตก๊าซแอมโมเนีย N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g) +92 kJ ข้อใดต่อไปนี้ ผดิ
1. ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. การลดอุณหภูมิท ำให้เกิดก๊าซแอมโมเนียมากขึ้น
3. การเพิม่ ความดันทำให้เกิดก๊าซแอมโมเนียน้อยลง
4. การผลิตก๊าซแอมโมเนียสามารถใช้เหล็กเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาได้
15. ปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุลที่อุณหภูมิคงที่ต่อไปนี้ปฏิกิริยาใด หากมีการขยายปริ มาตรจากเดิมเป็ นสองเท่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงทิศทางของปฏิกิริยาไปทางขวามือ
1. H2(g) + CO2(g)  H2O(g) + CO(g)
2. PCI5(g)  PCI3(g) + CI2(g)
3. H2(g) + CI2(g)  2HCI(g)
4. N2(g) + 3H2(g)  2NH3(g)
16. ที่อุณหภูมิที่ก ำหนดให้ ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g)  2HI(g) มีค่าคงที่สมดุล K = 9.0 ที่อุณหภูมิน้ ี พบว่า ที่ภาวะ
สมดุลมี 0.60 โมลของ HI และ 0.40 โมลของ H2 ในปริ มาตร 2.0 dm3 จงหาจำนวนโมลของ I2 ที่ภาวะ
สมดุลนี้
1. 0.40 2. 0.17 3. 0.10 4. 0.085
17. พิจารณาปฏิกิริยา
[Co(H2O)6]2+ +4Cl-  [CoCl]2- + 6H2O
สี ชมพู สี น้ำเงิน
3

เมื่อเติม HCI (เข้มข้น) ทีละหยดลงในสารละลาย Co(NO3)2 1 cm3 เขย่าให้เข้ากัน จะได้สารละลายสี น ้ำเงินต่อมา


ค่อย ๆ เติมน้ำทีละหยดในสารละลายเดิมนี้ จนได้สารละลายสี ชมพู จากนั้นนำสารละลายไปอุ่นที่ 100C
สารละลายควรจะมีสีอะไร และเป็ นปฏิกิริยาดูดหรื อคายความร้อนตามลำดับ
1. ชมพู คายความร้อน
2. น้ำเงิน คายความร้อน
3. ชมพู ดูดความร้อน
4. น้ำเงิน ดูดความร้อน
18. ถ้าเพิ่มความดันให้แก่ระบบแล้ว ปฏิกิริยาข้อใดที่จะเพิ่มปริ มาณผลิตภัณฑ์
1. 2CO(g) + 2NO(g)  2CO(g) + N(g)
2. C2H4(g) C2H2(g) + H2(g)
3. C(s) + O2(g)  CO2(g)
4. 3Fe(s) + 4H2O(g) Fe3O4(s) + 4H2(g)
19. ผลการทดลองการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและ ค่า K ของปฏิกิริยา P(g)  Q(g) แสดงในตาราง
อุณหภูมิ C ค่าคงที่สมดุล
T1 1.2 X 10-4
T2 2.4 X 10-2
T3 3.6 X 10-1
T4 9.0 X 10
ถ้าปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยาดูดความร้อน การเรี ยงลำดับของอุณหภูมิที่ถูกต้อง คือ
1. T1 = T2 = T3 = T4 2. T1 < T2 < T3 < T4
3. T1 > T2 > T3 < T4 4. T1  T2  T3  T4
20. ที่ภาวะสมดุล สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ในอัตราส่วน 1 ต่อ 2 mol ได้สาร C 2 mol ถ้าผสมสาร A 1.0
mol กับสาร B 1.8 mol ในภาชนะ 2 dm3 เมื่อถึงภาวะสมดุลความเข้มข้นของ C เป็ น 0.81 mol/dm3 จง
คำนวณค่าคงที่สมดุล
21. เมื่อผสมก๊าซ A และ ก๊าซ B เข้าด้วยกันในภาชนะขนาด 500 cm3 ที่อุณหภูมิ 70C เมื่อเข้าสู่ ภาวะสมดุลพบว่า
มีก๊าซ A, B และ C เท่ากับ 2, 2.5 และ 4 โมล ตามลำดับ จงคำนวณหาค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่ก ำหนด
ให้ A + 2B  2C
22. ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g)  2HI(g) ที่อุณหภูมิ 458 C มีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 45.0 ทำการทดลอง 4 ครั้ง วัดความ
เข้มข้นก๊าซต่าง ๆ ได้ดงั นี้
ความเข้ มข้ นที่วดั ได้ mol/dm3
การทดลองที่ [H2] [I2] [HI]
1 1.0x10 -2
0.2x10 -2
3x10-2
2 0.1x10-2 3.6x10-2 4x10-2
3 0.9x10-2 0.1x10-2 2x10-2
4 2.8x10-2 2.0x10-2 5x10-2
การทดลองใดที่ปฏิกิริยายังไม่เข้าสู่ สภาวะสมดุล
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
23. พิจารณาสภาวะสมดุลของ 2 ระบบ ที่อุณหภูมิหอ้ ง
พลังงาน + 2AB(g)  A2(g) + B2(g) ระบบ 1
P(g)  Q(g) + R(g) + พลังงาน ระบบ 2
ข้อสรุ ปใดที่ไม่ถูกต้อง
4

1. ถ้าเพิม่ อุณหภูมิให้แก่ 2 ระบบจะทำให้เกิด A2(g) เพิ่มและ Q(g) ลดลง


2. ถ้านำ A2(g) และ P(g) ออกจากระบบ ระบบทั้งสองจะมีอุณหภูมิลดลง
3. ถ้าเพิม่ [A2(g)] และ [Q(g)] ในระบบ 1 และ 2 ตามลำดับจะทำให้ท้ งั สองระบบมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
4. การลดปริ มาตรของภาชนะจะทำให้ระบบที่ 1 ไม่เปลี่ยนแปลง แต่ท ำให้เกิด [P(g)] เพิ่มขึ้นในระบบ 2
24. ปฏิกิริยาระหว่าง N2O(g) และ O2(g) เกิดขึ้นดังนี้ 2N2O(g) +3O2(g)  4NO2(g) ที่ 25C ถ้ามีการบรรจุ O2(g)
0.112 mol และ N2O 0.040 mol ลงในภาชนะที่ปิดสนิทที่มีความจุ 2.00 dm3 ที่ภาวะสมดุลพบว่ามีความเข้ม
ข้นของ NO2 เท่ากับ 0.020 mol/dm จงหาความเข้มข้นของ N2O(g) ที่ภาวะสมดุล
25. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ 4NH3(g) + 3O2(g)  2N2(g) + 6H2O(g) มีค่าคงที่สมดุลที่ 25C เท่ากับ 1 X 1028 ถ้าเพิม่
ความดันของปฏิกิริยานี้ที่ 25 C ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ความใดถูกต้อง
1. จะเกิด NH3(g) เพิ่มขึ้น เป็ นผลให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้ ลดลง
2. จะเกิด O2(g) ลดลง เป็ นผลทำให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้ เพิ่มขึ้น
3. จะเกิด N2(g) เพิ่มขึ้น เป็ นผลทำให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้ เพิ่มขึ้น
4. จะเกิด H2O(g) ลดลง เป็ นผลทำให้ค่าคงที่ของสมดุลนี้ เท่าเดิม
5

26. จากปฏิกิริยา A  B เมื่อพล็อตกราฟระหว่างความเข้มข้นของ A และ ความเข้มข้นของ B เทียบกับเวลาได้รูป


กราฟเกิดขึ้นดังต่อไปนี้

ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ความในข้อใดถูกต้อง
1. รู ป a, b และ c มีภาวะสมดุลเกิดขึ้นในขณะที่รูป d ยังไม่ถึงภาวะสมดุล
2. มีรูป a เท่านั้น ที่เป็ นไปได้สำหรับปฏิกิริยาที่มีภาวะสมดุลเกิดขึ้น
3. ในรู ป d ที่จุด ก. เป็ นจุดที่มีความเข้มข้นของ A และ B มีค่าเท่ากันและเกิดภาวะสมดุลขึ้นที่จุดนี้
4. รู ป a, b และ d มีภาวะสมดุลเกิดขึ้นที่จุดตัดกันระหว่างความเข้มข้นของ A และ B
27. กำหนดสมการ SO2 + NO2  SO3 + NO และให้ความเข้มข้นเริ่ มต้นของ SO2 เป็ น 0.5 mol/dm3 และ
NO2 เป็ น 0.6 mol/dm3 เมื่อปฏิกิริยาสิ้ นสุ ดลงมี NO2 เหลือ 0.2 mol/dm3 จงหาค่าคงที่สมดุล
28. กำหนดค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา Ag+(aq) + 2NH3(aq)  Ag(NH3)2+(aq) คือ 4.00 X 104 จงหาค่าคงที่สมดุล
ของปฏิกิริยาต่อไปนี้ ½Ag(NH3)2+(aq)  ½ Ag+(aq) + NH3(aq)
29. จากปฏิกิริยา
Fe3+(aq) + SCN-(aq)  [FeSCN]2+(aq)
สี เหลืองอ่อน ไม่มีสี สี แดงเลือดนก
การกระทำในข้อใดมีผลทำให้สีแดงของสารละลายจางลงอันเนื่องมาจากการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ กำหนด
Fe3+(aq) + 2HPO42-(aq)  FePO4(s) + H2PO-4(aq)
A. เติมน้ำ B. เติม HPO42-(q) C. เติม KSCN
1. A 2. B 3. A, B 4. B, C
30. จากสมการ H2(g) + I2(g)  2HI(g) ซึ่งมีค่า K = 5.0 เมื่อผสม 1.00 M H และ 2.00M I2 อย่างละ
2.00 ลิตร กับ 2.00 M HI จำนวน 1.00 ลิตร โดยให้มีปริ มาตรรวมที่สมดุลเป็ น 1.00 ลิตร ความเข้มข้น
ของ HI จะเปลี่ยนแปลงอย่างไรที่สมดุล
1. เพิ่มขึ้น 2. ลดลง 3. ลดลงจนกระทัง่ เป็ นศูนย์ 4. ไม่เปลี่ยนแปลง

31. อัตราการเกิดปฏิกิริยาของ P(g) + Q(s)  R(g) + S(s) เปลี่ยนแปลงตามเวลาตามรู ปกราฟใด


6

32. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
ก. PbSO4(s) + H+(aq)  Pb2+(aq) + HSO4-(aq) เติม Pb(NO3)2(aq)
ข. Fe3+(aq) + SCN-(aq)  [Cu(H2O)4]2+(aq) + SO42-(aq) เติม Cl-
ค. PbCl2(s)  Pb2+(aq) + Cl-(aq) เติม AgNO3
ง. Fe3+(aq) + SCN-(aq)  [FeSCN]2+ เติม NaOH
เมื่อเติมสารต่าง ๆ ในแต่ละข้อลงในสมการที่อยูท่ ี่สมดุลแล้วข้อที่แสดงว่าปฏิกิริยาดำเนินไปทางซ้ายคือข้อใด
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ง
33. ปฏิกิริยา N2(g) + O2(g)  2NO(g) เกิดที่ 1000C มีค่าคงที่ สมดุล = 5.0 X 10-3 ถ้ามี N2 14.0 g และ NO
15.0 g ในภาชนะ 1.0 dm3 จะมี O2 อยูก่ ี่โมล (N = 14 O = 16)
34. กำหนดปฏิกิริยาที่สภาวะสมดุล
A + 3B  P K1 = 0.2
2P  2Q + R K2 = 4.0
2A + 6B  2Q + R K3 = ?
ค่าของ K3 คือข้อใด
1. 100 2. 1.60 3. 0.16 4. 0.05

You might also like