You are on page 1of 16

หนวยการเรียนรูที่

สารรอบตัว
สาระการเรียนรูแกนกลาง
• อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษที่ไดจากการสังเกตและการทดสอบ และใชสารสนเทศที่ไดจาก
แหลงขอมูลตาง ๆ รวมทั้งจัดกลุมธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
• วิเคราะหผลจากการใชธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีที่มีตอสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจและสังคม จากขอมูลที่รวบรวมได
• ตระหนักในคุณคาของพืชที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม โดยการรวมกันปลูกและดูแลรักษาตนไมในโรงเรียน
• เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมายขอมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ
• อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนนของสารบริสุทธิ์และสารผสม
• ใชเครื่องมือวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม
• อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใชแบบจําลองและสารสนเทศ
• อธิบายโครงสรางอะตอมที่ประกอบดวยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใชแบบจําลอง
• อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส โดยใช
แบบจําลอง
• อธิบายความสัมพันธระหวางพลังงานความรอนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใชหลักฐานเชิงประจักษและแบบจําลอง
สมบัติของสาร
สมบัติของสารแบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้

สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี
สมบัติทางกายภาพเปนสมบัติท่สี ามารถสังเกตไดจากภายนอก สมบัติทางเคมีเปนสมบัติที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาเคมี ซึ่งทําให
ของสาร เชน สี กลิ่น รส การละลาย ความแข็ง การนําไฟฟา เกิดสารใหมที่มอี งคประกอบภายในและภายนอกเปลี่ยนแปลงไป
จุดเดือด ความหนาแนน เปนตน เชน การเกิดสนิม การเผาไหม ความเปนกรด-เบสของสาร เปนตน

เพชรมีความแข็งมากที่สุด น้ําแข็งมีความหนาแนน เงินนําไฟฟาไดดที ี่สุด การเผาไหม การเกิดสนิมเหล็ก น้ํามะนาวมีฤทธิ์เปนกรด


นอยกวาน้ําทะเล
การจําแนกสาร
การจําแนกสารเพื่อระบุวาสารนั้น ๆ เปนสารชนิดใด มีเกณฑในการจําแนก ดังนี้

1. การใชสถานะเปนเกณฑ
เปนการจําแนกสารโดยใชสมบัติทางกายภาพของสาร ซึ่งสารแตละชนิดมีรูปรางและปริมาตรตางกัน

การจัดเรียงอนุภาคภายใน แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล อนุภาคของสารเคลื่อนที่


เนื่องจาก ทําให สงผลให
สารแตละชนิดไมเหมือนกัน ของสารแตละชนิดไมเทากัน แตกตางกัน
สารแบงออกไดเปน 3 สถานะ ดังนี้
แกส
อนุภาค : อยูหางกันมาก
แรงยึดเหนี่ยว : นอยที่สุด
การเคลื่อนที่ : เคลื่อนที่ไดอยางอิสระ
รูปราง : ไมคงที่
ปริมาตร : ไมคงที่

ของเหลว
อนุภาค : อยูใกลกัน ของแข็ง
แรงยึดเหนี่ยว : ปานกลาง อนุภาค : เรียงชิดกัน
การเคลื่อนที่ : เคลื่อนที่ได แตไมอิสระ แรงยึดเหนี่ยว : มากที่สุด
รูปราง : ไมคงที่ การเคลื่อนที่ : สั่นอยูกับที่
ปริมาตร : คงที่ รูปราง : คงที่
ปริมาตร : คงที่
2. การใชเนื้อสารเปนเกณฑ จําแนกสารออกไดเปน 2 กลุม ดังนี้

สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันทุกสวน สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีเนื้อสารแตกตางกัน ทําใหสาร
ทําใหสารมีสมบัติเหมือนกันตลอดทุกสวน เชน น้ําเกลือ มีสมบัติไมเหมือนกันตลอดทุกสวน เชน น้ําอบไทย น้ําคลอง
ทองคํา เปนตน สมตํา เปนตน

น้ําเตาหูเปนสารเนื้อเดียว สลัดเปนสารเนื้อผสม
3. การใชขนาดของอนุภาคเปนเกณฑ จําแนกสารออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้

สารแขวนลอย คอลลอยด สารละลาย


สารผสมที่ประกอบดวยอนุภาคที่มีเสน สารผสมที่ประกอบดวยอนุภาคที่มีเสน สารผสมที่ประกอบดวยอนุภาคที่มีเสน
ผานศูนยกลางมากกวา 10 เซนติเมตร ผานศูนยกลางระหวาง 10 - 10 ผานศูนยกลางนอยกวา 10 เซนติเมตร
เชน น้ําโคลน น้ําแปง เปนตน เซนติเมตร เชน น้ํานม หมอก เปนตน เชน น้ําเกลือ น้ําหวาน น้ําทะเล เปนตน

น้ําโคลนเปนสารแขวนลอย น้ํานมเปนคอลลอยด น้ําทะเลเปนสารละลาย


การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ : คือ สารบางชนิดมีสี กลิ่น รูปราง หรือสถานะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยไมเกิดเปนสารใหม
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี : คือ การเปลี่ยนแปลงของสารบางชนิด ที่มีผลตอองคประกอบเคมีภายใน ทําใหเกิดเปนสารใหม

พลังงานความรอนเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลใหสมบัติทางกายภาพหรือสถานะของสารเปลี่ยนแปลง ดังนี้

ของแข็ง >> ของเหลว ของเหลว >> แกส แกส >> ของเหลว ของเหลว >> ของแข็ง
เรียกอุณหภูมิน้วี า จุดเยือกแข็ง
เรียกอุณหภูมิน้วี า จุดหลอมเหลว เรียกอุณหภูมิน้วี า จุดเดือด เรียกอุณหภูมิน้วี า จุดควบแนน (ซึ่งเปนอุณหภูมิเดียวกับจุดหลอมเหลว)

การหลอมเหลวของน้ําแข็ง การเดือดของน้ํากลายเปนไอ ไอน้ําควบแนนกลายเปนน้ํา น้ําแข็งตัวกลายเปนน้ําแข็ง


การเยือกแข็ง การหลอมเหลว
ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนของแข็งที่อุณหภูมิหนึ่ง ของแข็งเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิหนึ่ง
เรียกวา จุดเยือกแข็ง ของแข็ง เรียกวา จุดหลอมเหลว

แข็งตัว หลอมเหลว

ของเหลว
ควบแนน ระเหย

การควบแนน การเดือด
แกสเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมหิ นึ่ง ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนแกสที่อุณหภูมหิ นึ่ง
เรียกวา จุดควบแนน เรียกวา จุดเดือด

แกส
การเปลี่ยนสถานะของน้ําในธรรมชาติ 2 เมื่อไอน้ําในอากาศมีอณ
ุ หภูมิตํา่ ลง
จะควบแนนกลายเปนละอองน้ํา
และรวมตัวกันเปนเมฆ

1 เมื่อน้ําในแหลงน้ําไดรบั ความรอนจาก
ดวงอาทิตย น้ําจะระเหยกลายเปนไอน้ํา
ลอยขึ้นไปในอากาศ

3 เมื่อละอองน้ําในชั้นเมฆตกลงมาเปน
4 เมื่อลูกเห็บไดรับความรอนจาก
หยดน้ํา กระทบกับอากาศที่มีอุณหภูมิต่ํา
ดวงอาทิตย ลูกเห็บจะหลอมละลาย
ทําใหหยดน้ํากลายเปนลูกเห็บ
กลายเปนน้ําแลวไหลลงสูน้ํา
สารบริสทุ ธิ์
สารบริสุทธิ์ แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้
1. ธาตุ คือ สารบริสุทธที่ประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดียว ไมสามารถแยกหรือสลายออกเปนสารอื่นได

ธาตุแตละชนิดมีสมบัติตางกัน และบางชนิดมีความคลายคลึงกัน เมื่อพิจารณาสมบัติของธาตุ จะแบงธาตุไดเปน 3 กลุม ดังนี้

ธาตุโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุอโลหะ


เปนธาตุที่มสี ถานะเปนของแข็งที่ เปนธาตุที่มีสมบัติบางประการเหมือนโลหะ เปนธาตุที่มีทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง
อุณหภูมิหอง (ยกเวนปรอท) มีผิวมันวาว และบางประการเหมือนอโลหะ ซึ่งนําไฟฟา ของเหลว แกส และมีสมบัติตรงขามกับ
นําไฟฟาและความรอนไดดี นิยมนํามาใช ไมดีเมื่ออยูในอุณหภูมหิ อง แตจะนําไฟฟา ธาตุโลหะ เชน ผิวไมมันวาว ไมนําไฟฟา
ในงานกอสราง ไดดเี มื่ออุณหภูมิสงู ขึ้น และความรอน เปราะและแตกหักงาย
สารบริสทุ ธิ์
ธาตุโลหะ กึ่งโลหะ และอโลหะ ที่มีเลขอะตอมสูงกวา 83 จะสามารถแผรังสีได เรียกธาตุเหลานี้วา ธาตุกัมมันตรังสี
และเรียกรังสีที่แผออกมาจากธาตุวา กัมมันตภาพรังสี

กัมมันตภาพรังสี มี 3 ประเภท ดังนี้


๑ รังสีแอลฟา
อนุภาคแอลฟามีโปรตอนและนิวตรอนอยางละ 2 อนุภาค มีอํานาจทะลุทะลวงต่ํา ไมสามารถทะลุผานแผนกระดาษบาง ๆ ได

๒ รังสีบีตา
อนุภาคบีตาเกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจํานวนโปรตอนมากหรือนอยเกินไป มีอํานาจทะลุทะลวงสูง แตไมสามารถทะลุผาน
แผนอะลูมเิ นียมหนา 2 มิลลิเมตรได

๓ รังสีแกมมา
อนุภาคแกมมาไมมีประจุและมวล มีอํานาจทะลุทะลวงสูงกวารังสีบีตามาก แตไมสามารถทะลุผานแผนตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได
รังสีที่แผออกมาจากธาตุมีพลังงานสูง และมีอาํ นาจทะลุทะลวงในระดับที่แตกตางกัน
สามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในดานตาง ๆ ดังนี้

ดานอุตสาหกรรม ดานการเกษตร

ดานการแพทย ดานธรณีวิทยา

ตัวอยางเชน ตัวอยางเชน
การใชรังสีแกมมาหารอยรั่ว การใชโคบอลต-60
ของทอลําเลียงน้ํา ยับยั้งการเจริญเติบโต
เชื้อจุลินทรียในอาหาร
ตัวอยางเชน ตัวอยางเชน
การใชไอโอดีน–131 ตรวจ การใชคารบอน–14
ความผิดปกติของตอมไทรอยด หาอายุของซากวัตถุโบราณ
สารบริสทุ ธิ์
2. สารประกอบ คือ สารบริสุทธที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกันทางเคมี โดยมีอัตราสวน
โดยมวลคงที่กลายเปนสารใหมที่มีสมบัติแตกตางไปจากธาตุที่เปนองคประกอบเดิม
สูตรเคมีของสารประกอบบางชนิด
สารประกอบ สูตรเคมีของสารประกอบ
โซเดียมไฮดรอกไซด (โซดาไฟ) NaOH

โพแทสเซียมไฮดรอกไซด (ดางคลี) KOH

แคลเซียมไฮดรอกไซด (น้ําปูนใส) Ca(OH)

โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง) NaCl

โพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต (ดางทับทิม) KMnO

แคลเซียมคารบอเนต (หินปูน) CaCO

กรดคารบอนิก H CO

กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) HCl


สารผสม
สารผสม แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้
๑ สารละลาย
เปนสารผสมเนื้อเดียวที่ประกอบดวยสารตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมารวมเปนเนื้อเดียว และมีสมบัติเหมือนกันทุกสวน เชน น้ําเกลือ
น้ําหวาน เปนตน

๒ สารแขวนลอย
เปนสารผสมที่เกิดจากสาร 2 ชนิดรวมกัน โดยโมเลกุลของสารมีขนาดเสนผานศูนยกลางมากกวา 10 เซนติเมตร ลอยกระจาย
อยูในสารอีกชนิดหนึ่ง ถามองดูดวยตาเปลาจะมีลักษณะขุน เมื่อตั้งทิ้งไวอนุภาคจะตกตะกอน เชน น้ําโคลน น้ําแปง เปนตน

๓ คอลลอยด
เปนสารผสมที่เกิดจากสาร 2 ชนิดรวมกัน โดยโมเลกุลของสารมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 - 10 เซนติเมตร เชน หมอก
น้ําสลัด เปนตน
สารผสม

โมเลกุลของสารในสารแขวนลอยและคอลลอยดมีขนาดใหญ
เมื่อมีลําแสงสองผานสารทั้งสองชนิด จะทําใหเกิดปรากฏการณทินดอลล

สารคอลลอยดอกี ชนิดหนึ่งที่เกิด ซึ่งตองมีตัวประสาน


จากการผสมกันของของเหลวตั้งแต ใหของเหลวทั้งสองรวมกันได
2 ชนิด ที่ไมละลายซึ่งกันและกัน

เรียกวา อิมัลชัน (emulsion) เรียกวา อิมัลซิไฟเออร (emulsifier)


สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม

จุดเดือด อุณหภูมิ
สารผสม
สารบริสทุ ธิ์มีจุดเดือดคงที่ แตในทางกลับกันสารผสมมีจุดเดือดไมคงที่ เนื่องจากสารผสมเกิดจากสาร
ตั้งแต 2 ชนิด มาผสมกันโดยสารที่มีจุดเดือดต่ําจะระเหยเร็วกวาสารที่มีจุดเดือดสูง สงผลใหอัตราสวนระหวาง
สารที่มาผสมเปลี่ยนแปลงไป สารที่มีจุดเดือดสูงจึงมีปริมาณมากกวาทําใหจุดเดือดสูงขึ้นเรื่อย ๆ ดังกราฟ สารบริสทุ ธิ์

จุดเดือด
จุดหลอมเหลว
สารบริสทุ ธิ์จะมีจุดหลอมเหลวคงที่ และมีชวงอุณหภูมิการหลอมเหลวแคบ แตในทางกลับกันสารผสม อุณหภูมิ
จะมีจุดหลอมเหลวไมคงที่ และมีชวงอุณหภูมกิ ารหลอมเหลวกวาง ดังกราฟ สารบริสทุ ธิ์

สารผสม
ความหนาแนน
สารบริสทุ ธิ์จะมีความหนาแนนคงที่ แตสารผสมมีความหนาแนนไมคงที่ จุดหลอมเหลว

You might also like