You are on page 1of 33

หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 1

นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

ตัวชี้วดั
มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับดาวฤกษ์ ลักษณะของดาวฤกษ์
กลุ่มดาวฤกษ์ที่ควรทราบ สามารถอ่านแผนที่ดาว สังเกตและอธิบาย
กลุ่มดาวฤกษ์ และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากตาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและลักษณะของดาวฤกษ์ได้
2. อธิบายลักษณะของกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ที่สาคัญได้
3. ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ได้
4. สามารถอ่านแผนที่ดาว และสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ บนท้องฟ้ าได้

ถ้ าพร้ อมแล้ ว...


ทาแบบทดสอบ
ก่ อนเรี ยนเลยค่ ะ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 1


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 2
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมายทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ลงในกระดาษคาตอบ


(ข้อละ 1 คะแนน)
1. เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดาวฤกษ์รวมทั้งดวงอาทิตย์ข้ ึนทางขอบฟ้ า
ด้านทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
ก. โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก
ข. โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
ค. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
ง. ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยูท่ างขอบฟ้ าด้านทิศตะวันออก
2. ข้อใดไม่ ใช่ สมบัติของดาวฤกษ์
ก. มีแสงสว่างในตัวเอง
ข. กะพริ บแสงระยิบระยับ
ค. เป็ นบริ วารของดวงอาทิตย์
ง. ไม่เคลื่อนที่เมื่อเทียบกับดาวส่ วนใหญ่
ใช้ ข้อมูลต่ อไปนีต้ อบคาถามข้ อ 3 – 4

ดาวฤกษ์ สี ของดาวฤกษ์
A ขาว
B แดง
C เหลือง
D น้ าเงิน

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 2


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 3
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

3. ข้อใดเรี ยงลาดับดาวฤกษ์จากอุณหภูมิสูงไปหาอุณหภูมิต่าได้ถูกต้อง
ก. A  BC D
ข. D A C B
ค. BC  A  D
ง. D C A  B
4. ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ที่มีสีเหมือนกับดาวฤกษ์ในข้อใด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
5. ดาวฤกษ์ดวงใดที่อยูใ่ กล้ระบบสุ ริยะมากที่สุด
ก. ดาวซีรีอุส
ข. ดาวคาเพลลา
ค. ดาวบีเทลจุส
ง. ดาวพร็อกซิมา - เซนเทารี
6. ในวันที่ 15 กันยายน ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มใด
ก. กลุ่มดาวปู
ข. กลุ่มดาวสิ งโต
ค. กลุ่มดาวคันชัง่
ง. กลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี
7. ถ้านักเรี ยนต้องการสังเกตกลุ่มดาวแมงป่ อง จะมองหาดาวดวงไหนได้ง่ายที่สุด
ก. ดาวซีรีอุส
ข. ดาวไรเจล
ค. ดาวบีเทลจุส
ง. ดาวแอนแทเรส

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 3


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 4
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

8. กลุ่มดาวฤกษ์กลุ่มใดที่ใช้หาตาแหน่งของดาวเหนือบนท้องฟ้ าได้
ก. กลุ่มดาวจระเข้
ข. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ค. กลุ่มดาวนายพราน
ง. กลุ่มดาวแพะทะเล
9. กลุ่มดาวที่ปรากฏอยูบ่ นท้องฟ้ าทางทิศเหนือ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวงเรี ยงกัน
เวลาขึ้นจะเป็ นรู ป M เวลาตกจะเป็ นรู ป W ชาวกรี ก เรี ยกว่า กลุ่มดาวอะไร
ก. กลุ่มดาวเต่า
ข. กลุ่มดาวค้างคาว
ค. กลุ่มดาวจระเข้
ง. กลุ่มดาวแคสสิ โอเปี ย
10. กลุ่มดาวในข้อใดที่ข้ ึนตรงจุดด้านทิศตะวันออกพอดี และตกทางด้าน
ทิศตะวันตกพอดี
ก. กลุ่มดาวค้างคาว
ข. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ค. กลุ่มดาวนายพราน
ง. กลุ่มดาวหมีใหญ่

คาถามไม่ ยากเลยครั บ..ถ้ า


ตอบเสร็ จแล้ วก็ตรวจคาตอบ
เลยครั บผม!

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 4


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 5
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย
1 ก 6 ข
2 ค 7 ง
3 ข 8 ก
4 ค 9 ง
5 ง 10 ค

ตรวจคาตอบแล้ ว บันทึก
คะแนนไว้ ด้วยนะครั บ
ตามผมมาทางนีเ้ ลยครั บ..ลุย!!

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 5


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 6
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

สาระสาคัญ

ดวงดาวต่าง ๆ ที่เรามองเห็นบนท้องฟ้ าส่ วนใหญ่เป็ นดาวฤกษ์


ดาวฤกษ์มีพลังงานความร้อนและแสงสว่างในตัวเอง มีการเคลื่อนที่
โดยเกาะกลุ่มอยูใ่ นตาแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับดาวส่ วนใหญ่ เพราะดาวฤกษ์
เหล่านั้นอยูไ่ กลจากโลกมาก ดังนั้นเราจึงเห็นดาวฤกษ์ปรากฏอยูใ่ นลักษณะ
เดิมทุกวัน ดาวฤกษ์จึงเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า ดาวประจาที่ แสงจากดาวฤกษ์ตอ้ ง
ใช้เวลาเดินทางหลายปี กว่าจะมาถึงโลกได้ การมองเห็นดาวฤกษ์ที่อยูไ่ กล
มากเท่าใดก็เปรี ยบเสมือนการมองเห็นอดีตได้มากเท่านั้น ดาวฤกษ์มีขนาด
อายุ และอุณหภูมิพ้นื ผิวต่างกัน ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับวิวฒั นาการของ
ดาวฤกษ์จึงอาจช่วยให้เราทราบถึงความเป็ นมาของดวงอาทิตย์และโลกของ
เราได้

นักเรี ยน ทราบไหมครั บว่ า


ดาวฤกษ์ มีลกั ษณะอย่ างไร ?
หาคาตอบจากบทเรี ยนกันเลยครั บ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 6


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 7
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

ดาวฤกษ์

ความหมายและลักษณะของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ (Star) คือ มวลของกลุ่มแก๊สที่ร้อนจัดรู ปทรงกลมสามารถปล่อยพลังงาน
ความร้อน พลังงานแสงสว่าง และรังสี ต่าง ๆ ออกมาได้ ดาวฤกษ์ที่เราคุน้ เคยมากที่สุด
คือ ดวงอาทิตย์เพราะอยูใ่ กล้โลกมากที่สุด โดยอยูห่ ่ างประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร
ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ดวงเดียวของระบบสุ ริยะ
ดาวฤกษ์ที่อยูใ่ กล้ระบบสุ ริยะมากที่สุด คือ
ดาวพร็อกซิมา– เซนเทารี (Poxima Centauri)
โดยอยูห่ ่างประมาณ 4.3 ปี แสง ส่ วนดาวฤกษ์
ดวงอื่น ๆ ที่ปรากฏเต็มท้องฟ้ าจะอยูไ่ กลมาก
เราจึงมองเห็นดาวฤกษ์กะพริ บแสงระยิบระยับ
กระจุกดาวลูกไก่ในกลุ่มดาววัว
การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์จะเกาะกลุ่มอยูใ่ น
ตาแหน่งเดิมเมื่อเทียบกับดาวดวงอื่น

องค์ประกอบของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์มีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ ธาตุไฮโดรเจน ประมาณ 90.8 % ฮีเลียม
ประมาณ 9.1 % และธาตุโลหะอื่น ๆ ที่อยูใ่ นสภาพของแก๊สประมาณ 0.1 % พลังงาน
ของดาวฤกษ์เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันโดยอะตอมของไฮโดรเจนจะหลอมรวม
เป็ นอะตอมของฮีเลียม แล้วมวลของไฮโดรเจนจะถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานจานวนมหาศาล
ดังนั้นเมื่อดาวฤกษ์อายุมากขึ้นไฮโดรเจนจะลดลงทาให้ฮีเลียมมากขึ้น รวมทั้งธาตุอื่น ๆ
จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของธาตุที่มีอยูใ่ นดาวฤกษ์ ธาตุเหล่านี้จะพบในดาวฤกษ์
ที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น ดวงอาทิตย์และดาวบริ วาร ธาตุต่าง ๆประมาณ 90 % ของธาตุที่พบ
บนโลกเกิดจากดาวฤกษ์ท้ งั สิ้ น

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 7


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 8
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กาเนิดดาวฤกษ์
นักดาราศาสตร์พบว่าก่อนที่จะมีดาวดวงแรกเกิดขึ้นในเอกภพ มีเพียงธาตุเบา
เช่น ไฮโดรเจน ฮีเลียม เป็ นส่ วนใหญ่ และมีธาตุลิเทียมปะปนอยูเ่ ล็กน้อย แม้วา่ จะมีธาตุ
เหล่านี้เพียงเบาบางเมื่อเทียบกับเอกภพที่กว้างใหญ่ แต่ในบางบริ เวณโดยเฉพาะของ
กาแล็กซีโมเลกุลของแก๊สเหล่านี้จะอยูใ่ กล้กนั เกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ทาให้เกิด
การรวมตัวเป็ นกลุ่มแก๊สที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อย ๆ จนมีความกว้าง 10 – 100 ปี แสง
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของแก๊สที่อยูก่ นั อย่างหนาแน่นกว่าส่ วนอื่น โดยเฉพาะตรงกลาง
จะเกิดการยุบตัวเข้าหากันส่ งผลให้เกิดความร้อนเพิ่มขึ้น เมื่อความร้อนถึงจุดหนึ่ง
จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันขึ้น ปรากฏการณ์ดงั กล่าวถือเป็ นการกาเนิดดวงดาวต่าง ๆ
กลุ่มแก๊สที่เป็ นแหล่งกาเนิดดวงดาว เรี ยกว่า เนบิวลา (Nebula) เนบิวลาบางแห่งเป็ น
เนบิวลาสว่าง บางแห่งเป็ นเนบิวลามืด เพราะประกอบด้วยฝุ่ นเป็ นส่ วนใหญ่จึงบังแสง
จากดาวฤกษ์ที่อยูเ่ บื้องหลังไม่ให้ส่องผ่านได้จึงดูเป็ นสี ดา

เนบิวลาในกลุ่มดาวนายพราน เนบิวลา M 16

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 8


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 9
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

สีและอุณหภูมิของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ที่มีอยูม่ ากมายบนท้องฟ้ ามีสีและอุณหภูมิแตกต่างกัน
โดยสี ของดาวฤกษ์จะบอกถึงอุณหภูมิของดาวฤกษ์น้ นั ๆได้อีกด้วย
ตารางแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างสี และอุณหภูมขิ องดาวฤกษ์

สี ของดาวฤกษ์ อุณหภูมิพนื้ ผิว (C) ตัวอย่ างดาวฤกษ์


แดง 3,000 บีเทลจุส ,แอนแทเรส
ส้ม 4,000 อาร์คตุรุส (ดาวดวงแก้ว),อัลดิบาแรน
เหลือง 5,600 ดวงอาทิตย์ ,คาเพลลา
ขาว 11,000 ซีรีอุส
น้ าเงิน 25,000 ไรเจล ,สไปกา

ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงจะสว่างมากมีสีค่อนไปทางสี น้ าเงิน ส่ วนดาวฤกษ์ที่มี


อุณหภูมิต่าจะสว่างน้อย มีสีค่อนไปทางสี แดง นักดาราศาสตร์ใช้เกณฑ์ความสัมพันธ์
ระหว่างสี และอุณหภูมิจาแนกประเภทของดาวฤกษ์ ทาให้ทราบว่าดาวฤกษ์บนท้องฟ้ า
ส่ วนใหญ่จะมีสีเหลืองคล้ายกับสี ของดวงอาทิตย์
ความสว่ างของดาวฤกษ์ เรี ยกว่า อันดับความสว่ างหรื อแมกนิจูด
(Magnitude)ของดาว โดยอันดับความสว่างที่มีค่าน้อยจะสว่างมากกว่าอันดับความสว่าง
ที่มีค่ามาก เช่น ดาวที่มีอนั ดับความสว่าง -1 จะสว่างมากกว่า
ดาวที่มีอนั ดับความสว่าง 1.5 เป็ นต้น

ทดสอบความจาเลยครั บ

ดาวฤกษ์

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 9


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 10
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กิจกรรมที่ 1 ทบทวนความจา
เรื่อง ดาวฤกษ์
ชื่อ....................................................ชั้นมัธยมศึกษาปี ที.่ ....................เลขที.่ ..........

จุดประสงค์ การเรียนรู้ อธิบายความหมายและลักษณะของดาวฤกษ์ได้


คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเติมคาตอบลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ดาวฤกษ์ คือ............................................................................................................
2. ดาวฤกษ์ที่อยูใ่ กล้โลกมากที่สุด คือ.........................................................................
โดยอยูห่ ่างจากโลกประมาณ...................................................................กิโลเมตร
3. ดาวฤกษ์ที่อยูใ่ กล้ระบบสุ ริยะมากที่สุด คือ.............................................................
โดยอยูห่ ่างจากระบบสุ ริยะประมาณ.............................................................ปี แสง
4. ดาวฤกษ์มีลกั ษณะ คือ.............................................................................................
และ.........................................................................................................................
5. ดาวฤกษ์มีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ ......................................................................
..................................................................................................................................
6. สี ของดาวฤกษ์จะบอกถึงอุณหภูมิของดาวฤกษ์ กล่าวคือ..........................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
7. ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์สี.......................มีอุณหภูมิที่พ้นื ผิวประมาณ................... oC
8. กลุ่มแก๊สที่เป็ นแหล่งกาเนิดดวงดาว เรี ยกว่า.............................................................
9. ความสว่างของดาวฤกษ์ เรี ยกว่า................................หรื อ.......................................
10. ดาวฤกษ์ที่มีตวั เลขบอกอันดับความสว่างน้อยจะมีความสว่าง..................................
ส่ วนดาวฤกษ์ที่มีตวั เลขบอกอันดับความสว่างมากจะมีความสว่าง...........................

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 10


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 11
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เฉลยกิจกรรมที่ 1
เรื่อง ดาวฤกษ์

1. ตอบ มวลของกลุ่มแก๊สที่ร้อนจัดรู ปทรงกลมสามารถปล่อยพลังงานความร้อน


พลังงานแสง และรังสี ต่าง ๆ ออกมาได้
2. ตอบ ดวงอาทิตย์ และ 150 ล้านกิโลเมตร
3. ตอบ ดาวพร็อกซิมา– เซนเทารี และ 4.3 ปี แสง
4. ตอบ กะพริ บแสงระยิบระยับ และไม่เคลื่อนที่เมื่อเทียบกับดาวส่ วนใหญ่
5. ตอบ ธาตุไฮโดรเจน ประมาณ 90.8 % ฮีเลียม ประมาณ 9.1 % และธาตุโลหะอื่น ๆ
ที่อยูใ่ นสภาพของแก๊สประมาณ 0.1 %
6. ตอบ ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงจะมีสีค่อนไปทางสี น้ าเงินส่ วนดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิ
ต่าจะมีสีค่อนไปทางสี แดง
7. ตอบ สี เหลือง และ 5,600 oC
8. ตอบ เนบิวลา
9. ตอบ อันดับความสว่าง หรื อ แมกนิจูด (Magnitude)ของดาว
10. ตอบ มาก และน้อย

นักเรี ยน ตอบถูกกี่ข้อคะ
แหม! เก่ ง ๆ กันทั้งนั้นเลย

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 11


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 12
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กลุ่มดาวฤกษ์

ดวงดาวต่าง ๆบนท้องฟ้ าที่สังเกตเห็นส่ วนใหญ่เป็ นดาวฤกษ์ ในการสังเกต


ดาวแต่ละคืนจะพบว่าดาวมีการเคลื่อนที่ไปบนท้องฟ้ าจากทิศตะวันออกไปทาง
ทิศตะวันตก เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก
การบอกตาแหน่ งของดาว เราบอกด้วยค่ามุมสองชนิด คือ มุมทิศ และมุมเงย
ซึ่งเรี ยกว่า ระบบ "อัลตาซิมุท" (Altazimuth)
1) มุมทิศ (Azimuth) เป็ นมุมในแนวราบ นับจากทิศเหนือในทิศทาง
ตามเข็มนาฬิกาไปยังทิศตะวันออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก และกลับมาทิศเหนืออีกครั้งหนึ่ง
มีค่าระหว่าง 0 - 360 องศา
2) มุมเงย (Altitude) เป็ นมุมในแนวตั้ง นับจากเส้นขอบฟ้ าขึ้นไปสู่
จุดเหนือศีรษะ มีค่าระหว่าง 0 - 90 องศา

ภาพท้ องฟ้าแสดงค่ามุมทิศ และมุมเงย

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 12


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 13
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

ให้นกั เรี ยนสังเกตท้องฟ้ า แล้วบันทึกตาแหน่งและลักษณะของ


กลุ่มดาวฤกษ์ที่นกั เรี ยนสนใจ แล้วจินตนาการรู ปร่ างของกลุ่มดาวนั้นว่ามีรูปร่ างคล้าย
สิ่ งใด แล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับแผนที่ดาว 

กลุ่มดาวฤกษ์ (Constellations) หมายถึง การที่ดาวฤกษ์บนท้องฟ้ าอยูป่ ระจาที่


ทาให้เกิดรู ปร่ างต่าง ๆ ตามที่ผมู ้ องจินตนาการ เช่น รู ปคน สัตว์ เทพเจ้า หรื อสิ่ งของ
เครื่ องใช้ เช่น ดาวไถ ดาวลูกไก่ เป็ นต้น กลุ่มดาวกลุ่มเดียวกันผูส้ ังเกตคนละวัฒนธรรม
อาจจินตนาการเป็ นรู ปที่แตกต่างกัน กลุ่มดาวฤกษ์มี 88 กลุ่ม ตามข้อตกลงของสหพันธ์
ดาราศาสตร์สากล เมื่อปี พ.ศ. 2471 ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มดาวจักรราศี 12 กลุ่ม และ
กลุ่มดาวนอกราศีอีก 76 กลุ่ม กลุ่ม ดาวฤกษ์ที่ควรรู ้จกั และสามารถสังเกตได้ง่าย มีดงั นี้
1. กลุ่มดาวจักรราศี (Zodiac Constellations)
กลุ่มดาวจักรราศี เป็ นกลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่มที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผา่ นในรอบปี
เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกรอบละ 1 ปี หรื อ
12 เดือน ทาให้เราเห็นคล้ายกับว่าดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผา่ นกลุ่มดาวจักรราศีจากทิศตะวันตก
ไปทิศตะวันออก เส้นทางเดินของดวงอาทิตย์ เรี ยกว่า เส้ นสุ ริยวิถี (Ecliptic)
กลุ่มดาวจักรราศี มีประโยชน์ในการบอกทิศ ฤดูกาล และหาดาวเคราะห์

นักเรี ยนทราบไหมคะว่ า
กลุ่มดาวจักรราศี
ทั้ง 12 กลุ่มชื่ ออะไรบ้ าง
นะ ?

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 13


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 14
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

ตารางแสดงกลุ่มดาวจักรราศี

ราศี ชื่อกลุ่มดาว เดือน


เมษ แกะ (Aries) เมษายน
พฤษภ วัว (Taurus) พฤษภาคม
มิถุน คนคู่ (Gemini) มิถุนายน
กรกฎ ปู (Cancer) กรกฎาคม
สิ งห์ สิ งโต (Leo) สิ งหาคม
กันย์ หญิงพรหมจารี (Virgo) กันยายน
ตุล คันชัง่ (Libra) ตุลาคม
พฤศจิก แมงป่ อง (Scorpius) พฤศจิกายน
ธนู คนยิงธนู (Sagittarius) ธันวาคม
มกร แพะทะเล (Capricornus) มกราคม
กุมภ์ คนแบกหม้อน้ า (Aquarius) กุมภาพันธ์
มีน ปลาคู่ (Pices) มีนาคม

ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวจักรราศีเดือนละประมาณ 1 กลุ่ม
ซึ่งจะเป็ นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยูใ่ นราศีที่มีชื่อสัมพันธ์กบั ชื่อเดือน เช่น ดวงอาทิตย์
เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวคนคู่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์
อยูใ่ นราศีมิถุน ต่อจากนั้นก็เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวปูในปลายเดือนกรกฎาคม
ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์อยูใ่ นราศีกรกฏ เป็ นต้น

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 14


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 15
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เมื่อเริ่ มต้นเดือน ดวงอาทิตย์จะยังไม่เข้าไปอยูต่ รงกลุ่มดาวที่มีชื่อเกี่ยวข้อง


กับเดือนนั้น ๆ ต้องรอประมาณวันที่ 21 ของเดือน ดวงอาทิตย์จึงจะเข้าไปอยูต่ รง
กลุ่มดาวประจาเดือนนั้น ๆ เช่น วันที่ 1 กุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์ยงั คงอยูก่ ลุ่มดาวแพะทะเล
ซึ่งเป็ นกลุ่มดาวประจาเดือนมกราคม จนกระทัง่ ประมาณวันที่ 21 กุมภาพันธ์
ดวงอาทิตย์จึงจะเข้าไปอยูต่ รงกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ า ซึ่งเป็ นกลุ่มดาวประจาเดือน
กุมภาพันธ์ ทั้งนี้เนื่องจากจุดตั้งต้นนับราศีเขยื้อนไปทางทิศตะวันตกประมาณ
ปี ละ 50 ฟิ ลิปดา และจะเขยื้อนไปเป็ นมุม 360 องศา หรื อ 1 รอบ ในเวลาประมาณ
25,800 ปี ถ้าคานวณย้อนกลับจะพบว่าราศีและกลุ่มดาวเคยตรงกันเมื่อประมาณ 2,000 ปี
มาแล้ว

ปลาคู่ คนแบกหม้ อนา้


แกะ
วัว
แพะทะเล
คนคู่

ปู คนยิงธนู
สิ งโต ป่ อง

หญิงพรหมจารี คันชั่ง แมงป่ อง


คนยิงธนูป่อง
กลุ่มดาวจักรราศี

จากภาพดวงอาทิ ตย์ จะ
อยู่ตรงกับกลุ่มดาวอะไร
คะ?

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 15


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 16
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

การสังเกตกลุ่มดาวจักรราศี
เมื่อเราต้องการหากลุ่มดาวจักรราศีในคืนใดคืนหนึ่ง เราจะต้องเริ่ มต้นจาก
กลุ่มดาวที่ปรากฏตรงตาแหน่งที่ดวงอาทิตย์กาลังลับขอบฟ้ า เพราะเป็ นกลุ่มดาวที่มีชื่อ
สัมพันธ์กบั ชื่อเดือนนั้น และกลุ่มดาวนี้จะขึ้นและตกพร้อมกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นเราจึง
สังเกตเห็นกลุ่มดาวนี้เพียงบางส่ วนเท่านั้น เช่น จากภาพกลุ่มดาวจักรราศี จะพบว่า
ในเดือนสิ งหาคม ขณะดวงอาทิตย์กาลังลับขอบฟ้ าทางทิศตะวันตกเราจะเห็นบางส่ วน
ของกลุ่มดาวสิ งโตอยูเ่ หนือขอบฟ้ า และถ้ามองสู งขึ้นมาผ่านกลางท้องฟ้ าไปทาง
ทิศตะวันออกจะเห็นกลุ่มดาวหญิงพรหมจารี กลุ่มดาวคันชัง่ กลุ่มดาวแมงป่ อง
กลุ่มดาวคนยิงธนู และกลุ่มดาวแพะทะเล ตามลาดับ ในแต่ละขณะจะเห็นกลุ่มดาวจักรราศี
ได้อย่างมากที่สุด 6 กลุ่ม ในแต่ละคืนจะเห็นอย่างมากที่สุด 11 กลุ่ม
กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ า (ราศีกมุ ภ์) จะปรากฏอยูบ่ นท้องฟ้ านานที่สุด
ในเดือนสิ งหาคม เพราะในขณะที่กลุ่มดาวสิ งโตปรากฏที่ขอบฟ้ าด้านทิศตะวันตก
กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ าจะปรากฏที่ขอบฟ้ าด้านทิศตะวันออกในเวลาหัวค่าพอดี
กลุ่มดาวจักรราศีที่สังเกตได้ง่ายในท้องฟ้ าซีกเหนือ ได้แก่ กลุ่มดาวสิ งโต
กลุ่มดาวคนคู่และกลุ่มดาววัว

ดาวหัวใจสิง

กลุ่มดาวสิ งโต(ราศีสิงห์ ) กลุ่มดาวคนคู่(ราศีมถิ ุน)

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 16


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 17
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

 กลุ่มดาวจักรราศีที่สังเกตได้ง่ายในท้องฟ้ าซีกใต้
คือ กลุ่มดาวแมงป่ อง ซึ่งดาวที่เห็นเด่นที่สุด คือ ดาวปาริชาติ
หรือ ดาวแอนแทเรส

ดาวปาริชาติ

กลุ่มดาวแมงป่ อง (ราศีพฤศจิก)

2. กลุ่มดาวจระเข้ หรือกลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa Major)


กลุ่มดาวจระเข้ เป็ นกลุ่มดาวที่ประจาอยูท่ อ้ งฟ้ าทางทิศเหนือ สังเกตได้ง่าย
ในช่วงฤดูหนาว คือ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ช่วงหัวค่าจะเห็นกลุ่มดาวจระเข้ข้ ึนทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ และตกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือในเวลาใกล้สว่าง กลุ่มดาวจระเข้
ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 7 ดวง คือ ดาว 4 ดวงแรกเป็ นลาตัวจระเข้ อีก 3 ดวง
เป็ นหางจระเข้ ชาวจีนเห็นกลุ่มดาวนี้เป็ นรู ปกระบวยตักน้ า ชาวกรี กโบราณเห็นเป็ น
หมีใหญ่ ส่ วนคนไทยเห็นเป็ นจระเข้ ถ้าลากเส้นตรงจากดาวดวงที่ 2 ไปยังดาวดวงที่ 1
และต่อเส้นเลยไปประมาณ 5 เท่าครึ่ ง ของระยะระหว่างดาวดวงที่ 1 และ 2 จะพบ
ดาวเหนือ ดังนั้นเราจึงใช้กลุ่มดาวจระเข้ในการหาทิศเหนือได้

ดาวจระเข้ ขึน้
ทางทิศไหนครั บ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 17


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 18
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กลุ่มดาวจระเข้ กาลังขึน้ ใกล้จุดทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ดาวเหนือ

ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

กลุ่มดาวจระเข้ หรือกลุ่มดาวหมีใหญ่

กลุ่มดาวค้ างคาว อยากทราบก็รีบหาคาตอบ


ประกอบด้ วยดาวกี่ดวงคะ จากหน้ าถัดไปได้ เลยครั บ
ผม

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 18


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 19
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

3. กลุ่มดาวค้างคาวหรือกลุ่มดาวแคสสิโอเปี ย (Cassiopeia)
กลุ่มดาวค้างคาวจะปรากฏอยูบ่ นท้องฟ้ าทางทิศเหนือ ประกอบด้วยดาวฤกษ์
5 ดวงเรี ยงกัน ในขณะขึ้นบนท้องฟ้ าทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะเป็ นรู ปตัวเอ็ม (M)
เวลาตกจะเป็ นรู ปตัวดับเบิลยู (W) อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คนไทยเรี ยกกลุ่มดาว
นี้วา่ กลุ่มดาวค้ างคาว แต่ชาวกรี กเรี ยกว่า กลุ่มดาวแคสสิ โอเปี ย กลุ่มดาวค้างคาวเป็ น
ประโยชน์สาหรับคนที่อยูบ่ ริ เวณเหนือเส้นศูนย์สูตรขึ้นไป โดยใช้หาตาแหน่งของ
ดาวเหนือ กลุ่มดาวค้างคาว และกลุ่มดาวจระเข้จะอยูค่ นละด้านของดาวเหนือ

กลุ่มดาวค้ างคาวขณะอยู่สูงสุ ดบนท้ องฟ้า มุมเงยประมาณ 45

 ดาวเหนือ

ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
การหาตาแหน่ งดาวเหนือจากกลุ่มดาวค้ างคาว

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 19


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 20
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

4. กลุ่มดาวเต่ าหรือกลุ่มดาวนายพราน (Orion)


ถ้าสังเกตท้องฟ้ าทางทิศตะวันออกช่วงหัวค่าของฤดูหนาวในเดือนธันวาคม
จะพบกลุ่มดาวเต่าซึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์ 7 ดวง โดยดาวสาคัญ 4 ดวง เรี ยงกัน
อยูใ่ นตาแหน่งขาเต่า 4 ขา ที่กลางหลังเต่ามีดาว 3 ดวง เรี ยงเป็ นเส้นตรง เรี ยกว่า ดาวไถ
ส่ วนคันไถชี้ไปทางขาหลังของเต่า ชาวกรี กโบราณจินตนาการดาวทั้ง 7 ดวงนี้เป็ นรู ป
นายพราน ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวนายพรานคือ ดาวไรเจล (Rigel)
เนื่องจากดาวไถจะขึ้นตรงจุดทิศตะวันออกพอดี และตกตรงทิศตะวันตกพอดี
ดังนั้นเราจึงใช้กลุ่มดาวนายพรานหาทิศตะวันออกและทิศตะวันตกได้

กลุ่มดาวนายพรานขณะอยู่สูงสุ ดทางทิศใต้ มุมเงยประมาณ 65-85

กลุ่มดาวเต่ าหรือกลุ่มดาวนายพราน

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 20


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 21
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กิจกรรมที่ 2 ทบทวนความจา
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

ชื่อ.......................................ชั้นมัธยมศึกษาปี ที.่ ...........เลขที.่ ........

จุดประสงค์ การเรียนรู้ อธิบายลักษณะของกลุ่มดาวฤกษ์ที่สาคัญได้


ตอนที่ 1 ให้นกั เรี ยนเติมคาตอบหรื อข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ข้อละ 1 คะแนน)
1. กลุ่มดาวจักรราศี หมายถึง...........................................................................................
2. ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวจักรราศีเดือนละประมาณ................. กลุ่ม
และเส้นทางเดินของดวงอาทิตย์ เรี ยกว่า......................................................................
3. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์
เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวจักรราศีจากทิศ.........................ไปทิศ...........................
4. ในช่วงกลางเดือนมีนาคม ขณะดวงอาทิตย์กาลังลับขอบฟ้ า กลุ่มดาวฤกษ์ที่ปรากฏทาง
ขอบฟ้ าด้านทิศตะวันตกคือ.................................................................................
5. กลุ่มดาวจระเข้ ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย...................ดวง โดยลาตัวจระเข้
ประกอบด้วยดาวฤกษ์.................ดวง ส่ วนดาวฤกษ์อีก...............ดวงเป็ นหางจระเข้
6. กลุ่มดาวจระเข้ข้ ึนทางทิศ..........................................................................................
และตกทางทิศ...........................................................................................................
7. การใช้กลุ่มดาวจระเข้หาตาแหน่งดาวเหนือมีวธิ ีการ คือ............................................
...................................................................................................................................
8. กลุ่มดาวค้างคาว ประกอบด้วยดาวฤกษ์.............ดวง ขณะขึ้นบนท้องฟ้ ามีลกั ษณะ
เป็ นรู ป.........................................เวลาตกมีลกั ษณะเป็ นรู ป......................................
9. ดาวฤกษ์ 3 ดวงที่เรี ยงกันเป็ นเส้นตรงในกลุ่มดาวนายพรานเรี ยกว่า..........................
10. ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวนายพราน คือ..............................................

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 21


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 22
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

จุดประสงค์ การเรียนรู้ ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากดาวฤกษ์ได้


ตอนที่ 2 ให้นกั เรี ยนจับคู่ขอ้ ความที่สัมพันธ์กนั (ข้อละ 1 คะแนน)
...........1. เป็ นกลุ่มดาวฤกษ์ที่มีชื่อสัมพันธ์กบั ชื่อเดือน ก. กลุ่มดาวค้างคาว
ขึ้นและตกพร้อมดวงอาทิตย์ ข. กลุ่มดาวเต่า
...........2. เป็ นกลุ่มดาวที่ข้ ึนตรงจุดทิศตะวันออก ค. กลุ่มดาวจระเข้
และตกตรงจุดทิศตะวันตก ง. กลุ่มดาวจักรราศี
...........3. เป็ นกลุ่มดาวที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวง จ. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ใช้หาตาแหน่งดาวเหนือ ฉ. ดาวไถ
...........4. เมื่อลากเส้นจากดาวดวงที่ 2 ไปทางดาวดวงที่ 1 ช. กลุ่มดาวคนคู่
ประมาณ 5 เท่าครึ่ งของระยะระหว่างดาวทั้งสอง ซ. กลุ่มดาวสิ งโต
จะพบดาวเหนือเสมอ
...........5. เป็ นกลุ่มดาวที่สังเกตได้ง่ายในท้องฟ้ าซีกใต้

ถ้ านักเรี ยนตอบเสร็ จแล้ ว


ตรวจคาตอบได้ เลยนะครั บ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 22


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 23
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เฉลยกิจกรรมที่ 2
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

ตอนที่ 1

1. ตอบ กลุ่มดาวฤกษ์ 12 กลุ่มที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏผ่านในรอบปี


2. ตอบ 1 กลุ่ม และเส้นสุ ริยวิถี
3. ตอบ ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก
4. ตอบ กลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ า
5. ตอบ 7 ดวง โดยดาว 4 ดวงแรกเป็ นลาตัวจระเข้ และอีก 3 ดวงเป็ นหางจระเข้
6. ตอบ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ
7. ตอบ ลากเส้นจากดาวดวงที่ 2 ไปทางดาวดวงที่ 1 ประมาณ 5 เท่าครึ่ ง
ของระยะระหว่างดาวทั้งสองจะพบดาวเหนือ
8. ตอบ 5 ดวง ขณะขึ้นเป็ นรู ปตัวเอ็ม(M) เวลาตกเป็ นรู ปตัวดับเบิลยู (W)
9. ตอบ ดาวไถ
10. ตอบ ดาวไรเจล

ตรวจคาตอบ
ตอนที่ 2 ได้ เลยค่ ะ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 23


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 24
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

ตอนที่ 2
.....ง....1. เป็ นกลุ่มดาวฤกษ์ที่มีชื่อสัมพันธ์กบั ชื่อเดือน ก. กลุ่มดาวค้างคาว
ขึ้นและตกพร้อมดวงอาทิตย์ ข. กลุ่มดาวเต่า
.....ข....2. เป็ นกลุ่มดาวที่ข้ ึนตรงจุดทิศตะวันออก ค. กลุ่มดาวจระเข้
และตกตรงจุดทิศตะวันตก ง. กลุ่มดาวจักรราศี
.....ก....3. เป็ นกลุ่มดาวที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวง จ. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ใช้หาตาแหน่งดาวเหนือ ฉ. ดาวไถ
.....ค....4. เมื่อลากเส้นจากดาวดวงที่ 2 ไปทางดาวดวงที่ 1 ช. กลุ่มดาวคนคู่
ประมาณ 5 เท่าครึ่ งของระยะระหว่างดาวทั้งสอง ซ. กลุ่มดาวสิ งโต
จะพบดาวเหนือเสมอ
.....จ....5. เป็ นกลุ่มดาวที่สังเกตได้ง่ายในท้องฟ้ าซีกใต้

นักเรี ยนตอบถูกกี่ข้อคะ
เก่ งมากเลยค่ ะ...สาหรั บ สาหรั บคนที่ตอบถูก ผม
คนที่ตอบผิดให้ ทบทวน จะพาไปศึกษาแผนที่ดาว
อีกจนเข้ าใจนะคะ กันนะครั บ.. เชิ ญครั บ...

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 24


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 25
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

แผนที่ดาว

แผนทีด่ าว (Sky Map) คือ แผนที่แสดงตาแหน่งของดวงดาวบนท้องฟ้ า


ที่ครอบโลกของเราอยู่ มีลกั ษณะเป็ นทรงกลมไม่ว่าเราจะดูดาวที่ตาแหน่งใดของโลก
ตัวผูด้ ูจะเป็ นศูนย์กลางของท้องฟ้ าเสมอ

การอ่านแผนที่ดาว
การอ่านแผนที่ดาวจะทาให้ผดู ้ ูรู้จกั กลุ่มดาวอย่างถูกต้องว่ากลุ่มดาวแต่ละกลุ่ม
นั้นมีดาวสาคัญอยูก่ ี่ดวง แต่ละดวงอยูใ่ นลักษณะอย่างไร การอ่านแผนที่ดาวที่ถูกต้อง
เราจะต้องแหงนหน้าขึ้นไปบนท้องฟ้ าแล้วยกแผนที่ดาวขึ้นเหนือศีรษะแทนท้องฟ้ า
ตั้งทิศในแผนที่ดาว และทิศจริ งของท้องฟ้ าให้ตรงกัน เพื่อให้สามารถอ่านแผนที่
และเห็นดวงดาวบนท้องฟ้ าตรงกับตาแหน่งที่อยูใ่ นแผนที่ดาว ในแผนที่ดาวจะบอก
ตาแหน่งเฉพาะดาวฤกษ์ ส่ วนตาแหน่งของดวงจันทร์และดาวเคราะห์ไม่ได้กาหนดไว้
เพราะดวงจันทร์และดาวเคราะห์มีการเปลี่ยนตาแหน่งตลอดเวลา

แผนทีด่ าวแบบหมุนหน้ าเดียว

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 25


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 26
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

แผนที่ดาวแบบหมุนหน้ าเดียวประกอบด้ วย 2 ส่ วน คือ


 ส่ วนที่ 1 แผ่นกลมที่ลงตาแหน่งดาวทัว่ ฟ้ าที่เราสามารถมองเห็นได้
และแผ่นที่เป็ นช่องท้องฟ้ า ขอบนอกแบ่งขีดบอกวันที่และเดือนครบ 1 ปี
 ส่ วนที่ 2 มีลกั ษณะเป็ นซองพลาสติกที่สามารถตรึ งเข้ากับส่ วนที่ 1
ตรงจุดศูนย์กลาง โดยจุดศูนย์กลางของการหมุนคือ ตาแหน่งของดาวเหนือ
ในส่ วนที่ 2 จะมีขีดบอกเวลาอยูส่ ่ วนที่แสดงขอบฟ้ า และจะมีจุดบอกทิศต่าง ๆ

การใช้ แผนที่ดาว
การใช้แผนที่ดาวที่ถูกต้องให้ปฏิบตั ิตามขั้นตอน ดังนี้
1. หมุนแผ่นวงกลมให้วนั ที่และเดือนที่ตอ้ งการดูดาวตรงกับขีดบอกเวลา
ขณะที่ดูดาวในแผ่นรู ปท้องฟ้ าหรื อส่ วนที่ 2
2. ถือแผนที่ดาวไว้ตรงหน้าและหันหน้าไปทางทิศที่ตอ้ งการดู เช่น ต้องการ
ดูดาวบนท้องฟ้ าทางทิศเหนือ เวลา 20.00 น. ของวันที่ 10 มกราคม ให้ปฏิบตั ิ ดังนี้
2.1 ให้หมุนแผ่นวงกลมที่มีช่องวันที่ และเดือนจนช่องวันที่ 10 มกราคม
อยูต่ รงขีดเลข 20 ของแผ่นเวลา
2.2 หันหน้าไปทางทิศเหนือ ถือแผนที่ดาวไว้ตรงหน้า แล้วแหงนหน้าดูดาว
โดยทิศเหนือในแผนที่จะอยูต่ รงกับทิศเหนือของโลกและดาวเหนือ ซึ่งทิศตะวันออกจะอยู่
ทางขวามือ และทิศตะวันตกอยูท่ างซ้ายมือ
2.3 ดาวบนฟ้ าที่อยูบ่ นครึ่ งโดมด้านเหนือ คือ ดาวที่ลอ้ มรอบด้วยเส้นโค้ง
2 เส้น เป็ นดาวที่อยูท่ างทิศเหนือ
2.4 ดาวที่อยูน่ อกกรอบข้างบนเป็ นดาวที่อยูท่ างทิศใต้ ถ้าต้องการดูดาว
ทางทิศใต้ตอ้ งหันหน้าไปทางทิศใต้ แล้วกลับแผนที่ดาวให้ทิศใต้อยูด่ า้ นล่าง
ทิศตะวันออกจะอยูท่ างซ้ายมือ และทิศตะวันตกอยูท่ างขวามือ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 26


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 27
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

กิจกรรมที่ 3 นักวิทยาศาสตร์ น้อย


การสารวจกลุ่มดาวบนท้ องฟ้า

วันที่.....................เดือน.........................................พ.ศ.....................
ชื่อ.....................................................ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่...................เลขที่...............
จุดประสงค์ การเรียนรู้
สามารถอ่านแผนที่ดาว และสังเกตกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ บนท้องฟ้ าได้
วัสดุ/อุปกรณ์
1. แผนที่ดาวชนิดหมุน 1 อัน
2. ไฟฉาย 1 กระบอก
3. กระดาษแก้วสี แดง 1 แผ่น
4. หนังยางเส้นเล็ก 1 เส้น
5. กรรไกร 1 อัน
วิธที ากิจกรรม
1. นาแผนที่ดาวชนิดหมุนไปทากิจกรรมที่บา้ นในเวลากลางคืน
2. แหงนหน้าขึ้นบนท้องฟ้ า แล้วยกแผนที่ดาวชนิดหมุนขึ้นเหนือศีรษะ
หรื อนอนหงาย แล้วจัดตั้งทิศในแผนที่ดาวให้ตรงกับทิศจริ ง
3. ตัดกระดาษแก้วสี แดงให้เป็ นวงกลมขนาดใหญ่กว่าเลนส์ของกระบอกไฟฉาย
แล้วนาไปปิ ดที่หน้าเลนส์รัดด้วยหนังยางเพื่อช่วยกรองแสงไม่ให้ตาพร่ ามัว
4. ใช้ไฟฉายส่ องดูแผนที่ดาว แล้วสังเกตดวงดาวบนท้องฟ้ ากับแผนที่ดาว
แล้วบันทึกสิ่ งที่สังเกตได้

โอ้ โฮ ! ดาวเต็มฟ้ าเลย

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 27


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 28
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

บันทึกผลการสั งเกต (10 คะแนน)


ให้นกั เรี ยนบันทึกตาแหน่งของดาวหรื อกลุ่มดาวบนท้องฟ้ าตามที่สังเกตเห็น

สถานที่สังเกต......................................วันที่......เดือน....................พ.ศ.......... เวลา..........น.
คาถามหลังทากิจกรรม
1. ถ้าวางแผนที่ดาวบนพื้นจะเห็นกลุ่มดาวบนท้องฟ้ าต่างจากในแผนที่ดาวคือ...........
................................................................................................................................
2. การเขียนภาพดวงดาวหรื อกลุ่มดาวจะต้องปฏิบตั ิ ดังนี้............................................
..................................................................................................................................
สรุปผลจากการทากิจกรรม
........................................................................................................................
....................................................................................................................................

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 28


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 29
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เฉลยกิจกรรมที่ 3
การสารวจกลุ่มดาวบนท้ องฟ้า

ผลการสั งเกต ให้นกั เรี ยนบันทึกตาแหน่งของดาว หรื อกลุ่มดาวตามที่สังเกตได้จริ ง

เฉลยคาถาม
1. ตอบ จะกลับทิศกันระหว่างทิศตะวันออกกับทิศตะวันตก
2. ตอบ ยกกระดาษขึ้นเหนือศีรษะ แล้วเขียนตาแหน่งของดาวหรื อกลุ่มดาวที่เห็น

สรุปผลจากการทากิจกรรม
ได้แผนที่ดาวที่แสดงตาแหน่งดาว หรื อกลุ่มดาวบนท้องฟ้ า

ได้ สิ..แต่ เราต้ องทา


..คืนนีเ้ ราไปดูดาว
แบบทดสอบหลังเรี ยน
กันนะ
ก่ อนนะ O.K.!

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 29


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 30
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมาย  ทับข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวในกระดาษคาตอบ


(ข้อละ 1 คะแนน)
1. ข้อใดไม่ ใช่ สมบัติของดาวฤกษ์
ก. มีแสงสว่างในตัวเอง
ข. กะพริ บแสงระยิบระยับ
ค. เป็ นบริ วารของดวงอาทิตย์
ง. ไม่เคลื่อนที่เมื่อเทียบกับดาวส่ วนใหญ่
ใช้ ข้อมูลต่ อไปนีต้ อบคาถามข้ อ 2 – 3
ดาวฤกษ์ สี ของดาวฤกษ์
A ขาว
B แดง
C เหลือง
D น้ าเงิน
2. ข้อใดเรี ยงลาดับดาวฤกษ์จากอุณหภูมิต่าไปหาอุณหภูมิสูงได้ถูกต้อง
ก. BC  A  D
ข. A  BC D
ค. D A C B
ง. D C A  B
3. ดวงอาทิตย์เป็ นดาวฤกษ์ที่มีสีเหมือนกับดาวฤกษ์ในข้อใด
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 30


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 31
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

4. ดาวฤกษ์ดวงใดที่อยูใ่ กล้ระบบสุ ริยะมากที่สุด


ก. ดาวซีรีอุส
ข. ดาวคาเพลลา
ค. ดาวบีเทลจุส
ง. ดาวพร็อกซิมา - เซนเทารี
5. เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดาวฤกษ์รวมทั้งดวงอาทิตย์ข้ ึนทางขอบฟ้ า
ด้านทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก
ก. โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
ข. โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก
ค. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
ง. ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยูท่ างขอบฟ้ าด้านทิศตะวันออก
6. ในวันที่ 15 กันยายน ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาวจักรราศีกลุ่มใด
ก. กลุ่มดาวปู
ข. กลุ่มดาวคันชัง่
ค. กลุ่มดาวสิ งโต
ง. กลุ่มดาวหญิงสาวพรหมจารี
7. กลุ่มดาวในข้อใดที่ข้ ึนตรงจุดด้านทิศตะวันออกพอดี
และตกทางด้านทิศตะวันตกพอดี
ก. กลุ่มดาวนายพราน
ข. กลุ่มดาวค้างคาว
ค. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ง. กลุ่มดาวหมีใหญ่
8. กลุ่มดาวฤกษ์กลุ่มใดที่ใช้หาตาแหน่งของดาวเหนือบนท้องฟ้ าได้
ก. กลุ่มดาวแมงป่ อง
ข. กลุ่มดาวนายพราน
ค. กลุ่มดาวแพะทะเล
ง. กลุ่มดาวจระเข้

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 31


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 32
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

9. กลุ่มดาวที่ปรากฏอยูบ่ นท้องฟ้ าทางทิศเหนือ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 5 ดวงเรี ยงกัน


เวลาขึ้นจะเป็ นรู ป M เวลาตกจะเป็ นรู ป W ชื่อกลุ่มดาวอะไร
ก. กลุ่มดาวเต่า
ข. กลุ่มดาวค้างคาว
ค. กลุ่มดาวจระเข้
ง. กลุ่มดาวแมงป่ อง
10. ถ้านักเรี ยนต้องการสังเกตกลุ่มดาวแมงป่ อง จะมองหาดาวดวงไหนได้ง่ายที่สุด
ก. ดาวซีรีอุส
ข. ดาวไรเจล
ค. ดาวบีเทลจุส
ง. ดาวแอนแทเรส

นักเรี ยนตรวจคาตอบ
ได้ เลย..โชคดีนะครั บ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 32


หนังสื ออ่ านเพิ่มเติม เล่ มที่ 3 เรื่ อง กลุ่มดาวฤกษ์ หน้า 33
นางอภิญญา เที่ยงธรรม โรงเรี ยนพิบูลย์รักษ์ พิทยา

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง กลุ่มดาวฤกษ์

ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย
1 ค 6 ค
2 ก 7 ก
3 ค 8 ง
4 ง 9 ข
5 ข 10 ง

ใครได้ คะแนนสูงสุด
รั บรางวัลทางนีน้ ะครั บ

ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู ้ พื้ น ฐ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 3 หน้า 33

You might also like