You are on page 1of 13

1

บทที่ 16

แสงและการมองเห็น

1. คลื่นแสง
 แสงเป็นคลื่นประเภทใด
- กล/แม่เหล็กไฟฟ้า
- ตามขวาง/ตามยาว
- อัตราเร็วเป็นเท่าใด
- แสงเดินทางเป็นเส้นตรง
2. การเกิดเงา
 ถ้าแหล่งกาเนิดแสงเป็นจุด

 ถ้าแหล่งกาเนิดแสงมีขนาด
- แหล่งกาเนิดเล็กกว่าหรือเท่ากับวัตถุ
2

- แหล่งกาเนิดใหญ่กว่าวัตถุ

- ตัวอย่างที่ 1 : โป๊ะไฟกระจกฝ้าทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร และลูกเทนนิส


ขนาดรัศมี 2 เซนติเมตร วาง ณ ตาแหน่งจุดศูนย์กลางทั้งสองห่างกัน 1 เมตร
เกิดเงามืดและเงามัวบนฉากที่วางใกล้ ลูกเทนนิสพอสมควร จงหาตาแหน่งใกล้
สุดจากลูกเทนนิสในแนวของเงาที่ไม่มีเงามืดเลย
1. 0.20 เมตร 2. 0.25 เมตร

3. 0.30 เมตร 4. 0.35 เมตร

 วิธที า

ใช้ความรู้เรื่องสามเหลี่ยมคล้าย
1 d

5 1d
1  d  5d
1  4d
1
d
4
d  0.25
3

3. สมบัตขิ องคลื่นแสง
 สมบัติเชิงเรขาคณิต
- สะท้อน

 อุปกรณ์สาหรับการสะท้อน คือกระจก
กระจกราบ

 ระยะภาพ = ระยะวัตถุ
 ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ
กระจกโค้ง
4

กระจกเว้า/ นูน
 ส่วนประกอบสาคัญของกระจกเว้า/กระจกนูน

R
f
2

 การเกิดภาพจากกระจก
5

สรุปการเกิดภาพ
 กระจกเว้า
 ภาพจริง ทุกขนาด
 ภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
 กระจกนูน
1 1 1
 ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ  
f s s'
 การขยายขนาด (m) y' s ' f s ' f
   
y s sf f

ตัวอย่างที่ 2 : วัตถุสูง L วางอยู่หน้ากระจกเว้า ซึ่งมีทางยาวโฟกัส f


ด้วยระยะ s จากกระจก ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่าใด
y' s ' f s ' f
จากสูตร 1 1 1 จากสูตร m    
  y s sf f
f s s' y' s '
1 1 1 
  L s
s' f s sf
1 sf y'  s  f 
 
s' sf L s
sf y' f
จะได้ s '  
sf L s  f 
จะได้ y'  fL
sf
ดังนั้น ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับ fL
y' 
sf
6

ตัว อย่ างที่ 3 : วางวั ตถุ ไว้ หน้ ากระจกโค้ง ซึ่ งมี ความยาวโฟกั ส 20
เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพเสมือนโดยมีกาลังขยาย 0.1 จงหาระยะวัตถุ
1. -180 เซนติเมตร 2. +180 เซนติเมตร
3. -220 เซนติเมตร 4. +220 เซนติเมตร
f
m 
sf
20
0.1 
s   20 
20
s  20 
0.1
s  20  200
จะได้ s = 180 เซนติเมตร

- หักเห
 การหักเหของแสง
กฎของสเนลล์ (Snell’s Law)

sin 1 v 1 1 n 2
1 n2    
sin 2 v 2  2 n1
c
n
v
7

ตัวอย่างที่ 4 : แสงเดินทางจากวัตถุ ก ที่มีดัชนีหักเห 1.2 ไปยัง


อากาศ ด้วยมุมตกกระทบ 30 องศา ดังรูป มุม มีค่าเท่าข้อใด
กาหนดให้ดัชนี หักเหของอากาศเป็น 1.0
วิธที า

จากรูปตามโจทย์จะได้
ดังนั้น มุม   sin1  1.0  sin1  0.6 

 เมื่อสะท้อนหรือหักเห ก็จะเห็นภาพ
- ภาพจริง
- ภาพเสมือน

4. มุมวิกฤต
 คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ทาให้มุมหักเหโตเท่ากับ 90 องศา
8

- ตัวอย่างที่ 5 : มุมวิก ฤตต่ อแสงในของเหลวชนิดหนึ่งมีค่ าเท่ ากับ 60 องศา


ความยาวคลื่นของแสงนั้นในของเหลวจะเป็นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ
วิธที า

5. การหักเหแสงผ่านเลนส์
9

สรุปการเกิดภาพ

 เลนส์นูน
 ภาพจริง ทุกขนาด
 ภาพเสมือน ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
 เลนส์เว้า
1 1 1
 ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ  
f s s'

y' s ' f s ' f


 การขยายขนาด (m)    
y s sf f

ตัวอย่างที่ 6 : มีเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 ซม. อยู่ 1 อัน ถ้า


ต้องการภาพขยายเป็น 2 เท่าของวัตถุจะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์
เท่าใด
กรณีที่ 1 m  2 (ได้ภาพจริง)
f
m
sf
10
2
s  10
s  10  5
s  15cm
10

กรณีที่ 2 m  2 (ได้ภาพเสมือน)
f
m
sf
10
2 
s  10
s  10  5
s  5cm

ดังนั้น ถ้าต้องการภาพขยายเป็น 2 เท่าของวัตถุ แล้วเราสามารถวางวัตถุห่างจากเลนส์ได้ 2


ตาแหน่ง คือห่า งจากเลนส์เป็ นระยะ 15 cm (ได้ ภาพจริง) และห่างจากเลนส์ เป็น ระยะ 5 cm (ได้
ภาพเสมือน)

6. ช่องแคบเดีย่ ว
 เกิดการเลี้ยวเบน

 ภาพจริงๆที่ทดลองได้
11

 สูตรคานวณ

สูตรคานวณหาตาแหน่งบัพ (เกิดเป็นแถบมืด)
d sin = เมื่อ n 1,2,3,…
ถ้า x<< L หรือ เป็นมุมเล็กๆ แล้ว sin tan =
d tan = n เมือ่ n=1,2,3,…
X
หรือ d   = n เมื่อ n=1,2,3,…
L 

- ตัวอย่างที่ 7 : แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยว


ที่มีความกว้าง 0.01 เซนติเมตร จงหาระยะห่างระหว่างแถบมืด ลาดับที่ 1 ซึ่ง
อยู่สองข้างของแถบสว่างที่ปรากฏบนฉาก ซึ่งอยู่ห่างออกไป 1.5 เมตร
หรือ d  X   n n  1, 2, 3, ..
L 
x
(0.01x1012 )    1  500x109 
 1.5 
X  0.75x102 เมตร
 2  0.75x102 

ระยะห่างระหว่างแถบมืดลาดับที่1 = 2X
= 1.5x10-2 เมตร
12

7. การแทรกสอดผ่านสลิตคู่

 ภาพจริงๆที่ได้จากการทดลอง

 การคานวณ

S 1P  S 2 O 

d sin    

dX 
L

- ถ้าเป็น Antinode ใช้ nλ


- ถ้าเป็น Node ใช้ (n-1/2) λ
13

- ตัวอย่างที่ 8 : ให้ แ สงที่ มี ค วามยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ผ่ า นสลิ ต คู่ ใ น


แนวตั้งฉาก เกิดลวดลายการแทรกสอดบนฉากที่อยู่ห่างจาก สลิต 1.5 เมตร
วัดระยะระหว่างกึ่งกลางของแถบสว่าง 2 แถบที่ถัดกันได้ 5 มิลลิเมตร สลิตคู่นี้
มีระยะระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร
วิธที า
x
พิจารณาแถบสว่างแรก  n  1  d     1  
 L 
D
d
x


 500x109  1.5 
5x10
จะได้ d  0.15x103 เมตร
d  0.15 มิลลิเมตร
ดังนั้น สลิตคู่นี้มีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.15 มิลลิเมตร

You might also like