You are on page 1of 59

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยาย


ของพื้นมหาสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

นางมงคล จันทราภรณ์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสริมได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย นของผู้ เ รี ย นกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็น นวั ต กรรมที่ ช่ ว ยลดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซึง่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่ อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้

มงคล จันทราภรณ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
แนวความคิดต่อเนื่อง 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทรฯ 7
บัตรกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง แบบจาลองการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร 26
บัตรกิจกรรมที่ 3.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทรฯ 30
บัตรกิจกรรมที่ 3.3 ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทรฯ 31
แบบฝึกหัด เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทรฯ 32
แบบทดสอบหลังเรียน 34
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 37
บรรณำนุกรม 39
ภำคผนวก 39
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง แบบจาลองการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร 40
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรฯ 45
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.3 ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรฯ 46
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทรฯ 47
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 49
ประวัติย่อผู้จัดทำ 50

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คำชี้แจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลง


ภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยให้
สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับและ
วัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริม
เจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และ
สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีส ารวจตรวจสอบข้อมูล การคิด
แก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน
9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 4 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชุดที่ 7 เรื่อง แผ่นดินไหว
ชุดที่ 8 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์นี้ เป็น ชุด ที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีกำรแผ่
ขยำยพื้นสมุทรและหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศึกษาขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรี ย นและผู้ส นใจที่จ ะน าไปใช้ส อนและฝึ กเด็กในปกครองในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

เสริมพื้นฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพื้นฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามขั้นตอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดกิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีกำรแผ่ขยำยพื้นสมุทรและหลักฐำนสนับสนุน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิด


ของทฤษฎีกำรแผ่ขยำยพื้น สมุทรและหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด
กระบวนการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล กระบวนการทางสั ง คม ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การดาเนินการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดังนี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนั กเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนี้
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏิบัติกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่รบกวนผู้อื่น และไม่ชักชวนเพื่อนให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิ้นให้เรียบร้อย
4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัติตนอย่างตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขั้นตอน ดังนี้
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
5.2 ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความสนใจ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

5.3 ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา


5.4 ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
5.5 ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมิน
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิด


ของทฤษฎี ก ำรแผ่ ข ยำยพื้ น สมุ ท รและหลั ก ฐำนสนั บ สนุ น ซึ่ ง นั ก เรี ย นจะได้ ส ารวจ สั ง เกต
และรวบรวมข้อ มู ล มาสรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู้ โดยใช้ก ระบวนการคิด กระบวนการสื บ ค้ นข้ อ มู ล
กระบวนการทางสั งคม ทั กษะกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์
และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคา
ชี้แจง ดังต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีกำรแผ่ขยำย
พื้นสมุทรและหลักฐำนสนับสนุน ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวิธีดาเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 1

ชุดที่ 3

แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
และหลักฐานสนับสนุน

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและความสั ม พั น ธ์ ข องระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีโดย
ใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณที่สัมพันธ์กับ
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้ อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณี วิทยา
ที่พบ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 2

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด

1. อธิบายแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีขยายพื้นสมุทร (K)


2. อธิบายหลักฐานทางธรณีที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีขยายพื้นสมุทร (K)
3. สร้างแบบจาลองและอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของรอยต่อของแผ่นธรณีภาคของโลก (P)
4. ทดลองและอธิบายสาเหตุที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ (P)
5. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
และหลักฐานสนับสนุน ในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)
6. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่นได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนือ่ ง

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ธรณี ภ าคซึ่งเป็น ชั้น นอกสุดของโครงสร้ า งโลก แบ่งออกเป็น แผ่น ธรณี (plate)
หลายแผ่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนฐานธรณีภาคทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีอยู่ตลอดเวลา

ทฤษฎีทวีปเลื่อน คือ แนวความคิดที่กล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ


ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปัจจุบัน แต่เคยอยู่รวมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพียงแผ่นดินเดียวที่
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)

หลักฐานที่สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซาก


ดึกดา บรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครูดบนหินที่เกิด
จากการเคลื่อนตัวของธารน้า แข็งบรรพกาล

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 3

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ได้แ ก่ สัน เขากลางสมุทร อายุของหิน บะซอลต์บนพื้น มหาสมุทร
ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่


ขยายพื้นสมุทร นา มาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่น ธรณี อัน เนื่องมาจากวงจรการพาความร้ อนของแมกมา
ภายในเนื้อโลก

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ


แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณีต่าง ๆ บนโลก

สาระสาคัญ

นักธรณีวิทยาได้พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นบนโลก โดยใช้


หลักฐานข้อมูลทางธรณีภาค ได้แก่ รอยต่อของแผ่นธรณีภาค ตัวอย่างที่สังเกตได้ชัดคือ ขอบของทวีป
อเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกาที่น่าจะต่อกันได้พอดี นักธรณีวิทยาจึงทาการศึก ษาต่อที่ใต้มหาสมุทร
แอตแลนติก พบรอยแยกของแผ่นธรณีภาค และเทือกเขากลางมหาสมุทร นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ
ซากดึกดาบรรพ์ช นิ ดเดีย วกัน แต่ อยู่ กันคนละทวีป จากข้อมูล ต่า ง ๆ เหล่ านี้ทาให้ นั กธรณีวิทยา
สันนิ ษฐานว่า โลกมีการเปลี่ย นแปลงอยู่ตลอดเวลา แผ่นธรณีภ าคแต่ละแผ่ นเคลื่ อนที่อยู่ตลอด
นับตั้งแต่โลกเริ่มเกิด การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคมีทั้งแบบแยกจากกัน หรือมุดซ้อนกัน ส่งผลให้
เกิดเป็นปรากฏการณ์แผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 4

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม อยู่ในหินบน
เปลือกโลก คือข้อใด
ก. ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค. ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการเกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร

2. เมื่อพื้นแผ่นมหาสมุทรใหม่ก่อรูปขึ้น จะเกิดผลอย่างไรกับพื้นแผ่นมหาสมุทรเก่า
ก. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวเทือกเขา
ข. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นบริเวณพื้นทวีป
ค. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
ง. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่าเคลื่อนตัวลงไปภายในโลก บริเวณร่องลึกก้นสมุทร เกิดการมุด
ตัวของเปลือกโลก

3. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด


ก. ลอเรเซียและกอนด์วานา
ข. ออสเตรเลียและอัฟริกา
ค. ยุโรปและอเมริกา
ง. เอเชียและยุโรป

4. สาเหตุที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อใด
ก. การปะทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ข. การไหลวนของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ค. การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง. การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 5

5. ถ้าแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นเคลื่อนที่แยกจากกันที่เทือกสันเขากลางมหาสมุทร จะเกิดผลตาม


ข้อใด
ก. การขยายตัวของทวีป
ข. เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร
ค. เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร
ง. เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร

6. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของ


หินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

7. แนวหินใหม่ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก เกิดใต้มหาสมุทร
อะไร
ก. แอตแลนติก
ข. อาร์กติก
ค. แปซิฟิก
ง. อินเดีย

8. สนามแม่เหล็กโลกโบราณใช้เป็นหลักฐานเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีอะไร
ก. การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ข. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
ค. แม่เหล็กโลกในปัจจุบัน
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 6

9. การที่แ ผ่น ธรณี ภาคในแต่ ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไ ม่เ ท่ากัน นักเรี ยนคิดว่า เกิดจาก
สาเหตุใด
ก. ความร้อนจากชั้นเนื้อโลกถ่ายเทอุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. อัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ค. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ง. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน

10. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 7

บัตรเนื้อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

จากทฤษฎีทวีปเลื่อนที่กล่าวว่าทวีปต่าง ๆ ในอดีต เคยอยู่ติดกันมาก่อน แต่ก็ยังไม่สามารถ


อธิบายสาเหตุที่ทาให้ทวีปเคลื่อนที่แยกออกจากกัน จนกระทั่งแฮรี่ แฮมมอนด์ เฮส ได้สารวจพื้น
มหาสมุทร และพบแมกมาแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกในบริเวณสันเขากลางสมุทร (mid-oceanic
ridge) และแข็งตัวกลายเป็ นหินเกิดเป็นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่อย่างต่อเนื่ องทาให้พื้นมหาสมุทร
ขยายตั ว และทวี ป ทั้ ง สองฝั่ ง ของสั น เขากลางสมุ ท รแยกออกจากกั น อย่ า งช้ า ๆ ดั ง รู ป 3.1
นักวิทยาศาสตร์จึงนาปรากฏการณ์ดังกล่าวมาอธิบายกลไกการเคลื่อนที่ของทวีป

รูปที่ 3.1 บริเวณสันเขากลางสมุทร


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 124)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 8

ต่อมาแฮรี่ แฮมมอนด์ เฮส และนักวิทยาศาสตร์คนอื่น ๆ ได้ศึกษาชนิดหิน อายุหิ น


และภาวะแม่เหล็กบรรพกาล (paleomagnetism) ของหินบริเวณพื้นมหาสมุทร พบว่าพื้นมห่าสมุทร
เป็นหินบะชอลต์เกือบทั้งหมด และหินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกบริเวณสันเขากลางสมุทรมีอายุ
มากกว่าหินบะชอลต์ที่อยู่ใกล้รอยแยก โดยมีรูปแบบสมมาตรตามแนวสันเขากลางสมุทร ดังรูป 3.2
และพบว่าหินบะซอลต์ที่มีอายุเดียวกันทั้งสองข้างของรอยแยก แสดงทิศทางการเรียงตัวของแร่ในหิน
บะซอลต์ตามทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกเหมือนกัน แสดงว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ทั้งสองข้างของรอย
แยกเกิดขึ้นพร้อมกันแล้วถูกแยกออกจากกัน จากหลักฐานที่กล่าวมาข้างต้นทาให้สามารถสรุปได้เป็น
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading) ที่กล่าวว่าพื้นมหาสมุทรมีการเคลื่อนที่และ
ขยายตัว ออกเนื่ องจากการแทรกดัน ของลาวาขึ้นมาตามรอยแยกของพื้ น มหาสมุทรและแข็งตั ว
กลายเป็นหินบะซอลต์ทาให้เกิดเป็นพื้นมหาสมุทรใหม่

รูปที่ 3.2 อายุหินบะซอลต์บนพื้นสมุทร และทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกบนหินบะซอลต์


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 125)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

หลังจากมีการค้นพบทฤษฎีทวีปเลื่อนไปแล้ว ในเวลาต่อมาได้มีการค้นพบหลักฐานเกี่ยวกับ
อายุหินของพื้นมหาสมุทร ซึ่งเป็นที่มาของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (theory of sea floor
spreading) ที่อธิบายถึงสาเหตุที่ทาให้ แพงเจียแตกและเคลื่อนที่แยกออกจากกันได้ โดยกล่าวว่า
การปะทุแทรกข้นมาของแมกมาบนเปลือกโลกทวีป ทาให้เปลือกโลกทวีปโป่งตัวขึ้นแล้วแตกออกจาก

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 9

กัน จากนั้นก็ทรุดตัวลงเกิดเป็น หุบเขาทรุด (rift valley) ร่องที่เกิดจากการทรุดตัวทาให้น้าทะเล


ไหลท่ ว มเข้ า มาเกิ ด เป็ น ทะเลหรื อ มหาสมุ ท ร แมกมาที่ ป ะทุ แ ทรกขึ้ น มาบนเปลื อ กโลก
เรี ยกว่า ลาวา (lava) เมื่อลาวาอุณหภูมิลดลงจะเกิดการแข็งตัวเป็นหินที่เป็นส่ว นประกอบของ
เปลือกโลกมหาสมุทร เปลือกโลกมหาสมุทรที่อยู่ใกล้แนวรอยแตกของเปลือกโลกจะมีลักษณะเป็น
เทือกสันเขาใต้สมุทร (mid-oceanic ridge) ที่มีลักษณะขรุขระและพอกพูนขึ้นมาเป็นแนวสันเขา
ทอดยาวอยู่ใต้มหาสมุทรขนานกับแนวรอยแตก การเพิ่มขึ้นของเปลือกโลกมหาสมุทรเนื่องจากลาวา
แข็งตัวเป็นหินอย่างต่อเนื่องทาให้เกิดแรงดึงและดันเปลือกโลกมหาสมุทรที่เกิดขึ้นก่อนหรือที่มีอายุ
มากกว่าให้เคลื่อนที่ออกห่างจากแนวรอยแตกมากขึ้นๆ สาเหตุดังกล่าวจึงอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใด
พันเจียจึงแตกและเคลื่อนที่แยกออกจากกันได้
แนวคิดที่ว่าแต่เดิมทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดต่อกันเป็นผืนแผ่นดินเดียวและต่อมาได้ค่อย ๆ
แยกออกจากกัน นั้นเป็นของนักอุตุนิยมวิทยาและนักธรณีฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ อัลเฟรด โลทาร์
เวเกเนอร์ (Alfred Lothar Wegener) ซึ่งแนวคิดนี้ปรากฏในหนังสือที่เขาได้แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545
และเป็นที่มาของทฤษฎีว่าด้วย ทวีปเลื่อน (Theory of Continental Drift) ซึ่งยังคงได้รับการ
กล่าวถึงในแวดวงวิชาการปัจจุบัน ตามทฤษฎีว่าด้วยทวีปเลื่อนนั้นได้อธิบายว่าแต่เดิมพื้นแผ่นดิน
ของโลกอยู่ติดต่อกันเป็นผืนเดียวเรียกว่า พันเจีย (Pangaea) ต่อมาได้ค่อย ๆ แยกออกเป็น 2 ส่วน
ใหญ่ ๆ ส่วนหนึ่งเรียกว่า ลอเรเซีย (Laurasia) อยู่ในซีกโลกเหนือประกอบด้วยผืนแผ่นดินที่เป็น
ทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ทวี ป ยุ โ รป และทวี ป เอเชี ย โดยไม่ ร วมคาบสมุ ท รอิ น เดี ย และอี ก ส่ ว นหนึ่ ง
เรียกว่า กอนด์วานาแลนด์ (Gondwanaland) อยู่ในซีกโลกใต้ประกอบด้วยผืนแผ่นดินส่วนที่เป็น
ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กติกาและคาบสมุทรอินเดีย หลังจาก
นั้นลอเรเซียและกอนด์วานาแลนด์ก็ค่อย ๆ แยกส่วนและเคลื่อนที่ออกห่างจากกันกลายเป็นทวีป
ต่าง ๆ ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 10

รูปที่ 3.3
ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/blog/content/58101

รูปที่ 3.4
ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/blog/content/58101

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 11

ปัจจุบันเปลือกโลกมหาสมุทรมีแนวรอยแตกหรือช่องให้แมกมาปะทุแทรกขึ้นมาบนเปลือก
โลกได้มากมาย ดังตัวอย่างแนวรอยแตกของเปลือกโลกบริเวณพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก
จากการสารวจและการหาอายุหินของพื้นมหาสมุทรทาให้ทราบว่าพื้นมหาสมุทรที่อยู่ใกล้กับ
แนวรอยแตกของเปลือกโลกจะมีอายุน้อยกว่าพื้นมหาสมุทรที่อยู่ไกลออกไปตามลาดับ จากทฤษฎี
การแผ่ขยายพื้นสมุทรทาให้เราทราบว่าการแข็งตัวเป็นหินของลาวาอย่างต่อเนื่องทาให้เกิดเปลือก
โลกมหาสมุทรชุดใหม่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นสาเหตุทาให้เปลือกโลกมหาสมุทรเคลื่อนที่และแผ่ขยาย
ออกไปจากแนวรอยแตกของเปลือกโลกได้

รูปที่ 3.5 แนวรอยแตกของเปลือกโลก


ที่มา : http://blog12509.blogspot.com/p/blog-page_97.html

จากข้อมูลการสารวจพื้นท้องทะเลทาให้นักธรณีฟิสิกส์ชื่อ แฮร์รี แฮมมอนด์ เฮสส์ (Harry


Hammond Hess) ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันในสหรัฐอเมริการะหว่าง พ.ศ.
2470 – 2512 ได้เสนอแนวความคิดใหม่ใน พ.ศ. 2504 ว่าพื้นท้องทะเลใหม่น่าจะถูกสร้างขึ้นใน
บริเวณสันเขาใต้สมุทร โดยการพวยพุ่งของสารร้อนที่หลอมละลายจากชั้นเนื้อโลกจนในที่สุดทาให้
เปลือกโลกเกิดการปริแตกเป็นแนวยาวและเป็นหนทางให้สารหลอมละลายเหล่านั้นเคลื่อนตัวพุ่ง
ขึ้นมาจากเนื้อโลกตามรอยแยกนั้นซึ่งการแทรกดันของสารหลอมละลายนี้เกิดขึ้นตลอดเวลาทาให้ดัน
หินบนเปลื อกโลกปริ แตกออกแยกตัวและเคลื่ อนตัวออกจากกัน แนวคิดนี้ทาให้ เกิดทฤษฎีใหม่ที่
เรียกว่า ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นท้องทะเล (Theory of Seafloor Spreading) ซึ่งการขยายของ
พื้น ท้ องทะเลในแต่ล ะแห่ งมี อัตราไม่เท่ ากั น เช่น พื้ นท้ องมหาสมุท รแอตแลนติก มีก ารแผ่ ข ยาย

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 12

ประมาณปีละ 5 เซนติเมตร ส่วนพื้นท้องมหาสมุทรแปซิฟิกแผ่ขยายออกไปได้เร็วกว่าคือประมาณ


ปีละเกือบ 10 เซนติเมตร
ในปั จ จุ บั น นั ก ธรณี วิ ท ยาเชื่ อ ว่ า แผ่ น เปลื อ กโลกมี ก ารสร้ า งขึ้ น ใหม่ แ ละถู ก ท าลายอยู่
ตลอดเวลา ลักษณะเช่นนี้ส่งผลให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนลักษณะ (deformation) และการ
ดัดแปลง (modification) อยู่เสมอ เราเรียกกระบวนการที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้ างอั น เป็ น ผลเนื่ อ งมาจากแรงภายในโลกว่ า การแปรสั ณ ฐานแผ่ น เปลื อ กโลก ( plate
tectonics) ในปัจจุบันเชื่อว่ากระบวนการทางธรณีวิทยาต่าง ๆ ของโลกเป็นผลเสียเนื่องมาจากการ
แปรสัณฐานเปลือกโลกแทบทั้งสิ้นเนื่องจากกระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างขวางทั่วทั้ง
โลก บางคนจึงเรียกว่า การแปรสัณฐานพิภพ (global tectonics) ซึ่งเป็นแนวคิดของนักธรณีวิทยา
ชาวแคนาดาชื่อนายทูโซ วิลสัน (Tuzo Wilson) ศาสตราจารย์ แห่งมหาวิทยาลัยโทรอนโต (Toronto
University) เมื่อ พ.ศ. 2508 เนื่ องจากการเคลื่ อนที่ห รื อการแปรสั ณฐานเห็ น ชัดเจนมากภายใน
เปลื อ กโลกบางครั้ ง จึ ง เรี ย กว่ า การแปรสั ณ ฐานแผ่ น เปลื อ กโลก ( crustal tectonics) ที่ จ ริ ง
แผ่ น เปลื อ กโลก ( crustal plate) ประกอบด้ ว ยเปลื อ กโลกและส่ ว นบนสุ ด ของเนื้ อ โลกด้ ว ย
แผ่นเปลือกโลกดังกล่าวนี้มีอยู่ทั้งหมด 15 แผ่น แต่ละแผ่นอาจประกอบด้วยพื้นทะเลเพียงอย่างเดียว
เช่น แผ่นแปซิฟิก แผ่นแคริบเบียนหรือประกอบด้วยทั้งพื้นทะเลและพื้นทวีปก็ได้ เช่น แผ่นอเมริกา
เหนือ แผ่นแอฟริกา แผ่นอเมริกาใต้
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกมักเกิดเด่นชัดมากที่บริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกส่วนใน
บริ เ วณกลางแผ่ น มั ก ไม่ ค่ อ ยเกิ ด ขึ้ น มากเท่ า ใดนั ก คื อ มี ค วามเสถี ย ร (stable) มากกว่ า การที่
นักวิทยาศาสตร์ทราบว่าขอบแผ่นเปลือกโลกนี้อยู่ตรงส่วนใดของโลกสามารถอธิบายได้เมื่อนาเอาจุด
ที่เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทุบ่อย ๆ มากาหนดลงบนแผนที่โลกจะเห็นได้ชัดเจนว่าจุดดังกล่าวนี้
ต่อกันเป็ นแนวยาวเรีย งรายต่อเนื่ องกันไปที่เห็นเด่นชัดมากคือบริเวณแนวจุดรอบ ๆ มหาสมุทร
แปซิฟิกที่เรียกว่า วงแหวนอัคนี (ring of fire) เมื่อก่อนนักวิทยาศาสตร์อธิบายไม่ได้ว่าทาไมจึงเกิด
แนวดังกล่าวเหล่านั้นแต่เมื่อได้พิจารณาถึงการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกตามกระบวนการแปร
สัณฐานแผ่นเปลือกโลกแล้วเราสามารถอธิบายการเกิดวงแหวนอัคนีที่เชื่อ มโยงไปถึงการกาหนด
บริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกได้ กล่าวคือบริเวณที่เป็นสันเขาใต้สมุทรมักเป็นบริเวณที่เป็นแนวยาว
นู น สู งและมีร อยแตกตรงกลางแนวมากมายซึ่งเป็น ช่องทางให้ หิ นหนื ด (magma) คือ หิ นที่ร้อ น
และหลอม ละลายอยู่ ภ ายในโลกไหลเคลื่ อ นที่ขึ้ น มาบนผิ ว โลก โดยหิ นหนื ดจะเย็ น ตัว ตกผลึ ก
และแข็งตัวตามรอยแตกได้อย่างรวดเร็วเมื่อสัมผัสกับน้าทะเลกลายเป็นหินภูเขาไฟที่มีองค์ประกอบ
เป็นหินบะซอลต์ ซึ่งเป็นหินหลักของพื้นทะเล การเกิดขึ้นมาเรื่อย ๆ ของหินหนืดบริเวณสันเขาใต้
สมุทรนี้เองที่ทาให้เกิดการแผ่ขยายพื้นท้องทะเลออกไปเรื่อย ๆ เมื่อท้องทะเลแผ่กว้างออกไปจึงมี
ส่วนผลักดันให้แผ่นเปลือกทวีปที่เดิมติดกันอยู่เกิดการเคลื่อนที่ห่างออกไปจากกันด้วยจนในที่สุดจะ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 13

ทาให้ขอบแผ่นเปลือกโลกแผ่นหนึ่งมุดตัวลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่งได้โดยแผ่นที่มุดตัวลงไป
ส่วนใหญ่เป็นแผ่นเปลือกสมุทร เช่ น แผ่นอินเดียมุดลงไปใต้แผ่นยูเรเชียแถบเกาะสุมาตราหรือแผ่น
แปซิฟิกมุดตัวลงไปใต้แผ่นอเมริกาใต้
แผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นที่อยู่ใกล้ชิดกันหากเกิดการเคลื่อนที่ผ่านกันหรือสวนทางกันเราเรียก
การเคลื่ อนที่แบบนี้ ว่า การเคลื่อนแผ่น ผ่า นกัน (transform plate motion) ซึ่งจะทาให้ แผ่ น
เปลือกโลก 2 แผ่นนั้นเสียดสีกันจนเกิดแผ่นดินไหวได้ แต่โดยทั่วไปการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
มักมี 2 ลักษณะหลัก ๆ คือ การเคลื่อนแผ่นออกจากกัน (divergent plate motion) ซึ่งทาให้
เกิดหินหนืดและหินอัคนีได้ดังกล่าวมาแล้วและอีกแบบคือ การเคลื่อนแผ่นเข้าหากัน (convergent
plate motion) ซึ่งทาให้เกิดการชนกันของแผ่นเปลือกโลกและดันบางส่วนของแผ่นเปลือกโลกให้
ยกตัวสูงขึ้น การเกิดเป็นภูเขาสูง ๆ เช่น เทือกเขาหิมาลัยของทวีปเอเชีย เทือกเขาแอลป์ของทวีป
ยุโรป เทือกเขาร็อกกีและเทือกเขาแอนดีสของทวีปอเมริกา ก็เป็นผลมาจากการเคลื่ อนที่เข้าหากัน
ระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป 2 แผ่น แต่ในบางครั้งจะพบว่าแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรอาจ
เคลื่ อ นที่ เ ข้ า หาแผ่ น เปลื อ กโลกภาคพื้ น ทวี ป แล้ ว แผ่ น เปลื อ กโลกภาคพื้ น สมุ ท รเกิ ด การมุ ด ตั ว
(subduction) ลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นเปลือกโลกทั้ง
สองนอกจากจะทาให้เปลือกโลกบริเวณนั้นเกิดการยกตัวเป็นภูเขาสูงหรือยุบตัวต่าลงเป็นแอ่งหรือหุบ
เขาแล้วยังทาให้เปลือกโลก เกิดการเสียดสีกันอย่างมากจนในที่สุดอาจเกิดเป็นแผ่นดินไหวขึ้นได้ซึ่งถ้า
แผ่นดินไหวนี้เกิดขึ้นใต้ทะเลและมีกาลังแรงมากก็อาจก่อให้เ กิดสึนามิ (tsunami) ซึ่งเป็นคลื่นที่มี
ขนาดใหญ่มาก เคลื่อนตัวเข้าสู่บริเวณชายฝั่งทะเลและก่อให้เกิดความเสียหายได้มากดังเช่นที่เคย
เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่งทะเลในภาคใต้ของประเทศไทยด้านทะเลอันดามันเมื่อปลายเดือนธันวาคม พ.ศ.
2547

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 14

รูปที่ 3.6 แผนที่แสดงอายุของหินบริเวณพื้นมหาสมุทร โดยหินที่มีอายุอ่อนที่สุด (สีแดง)


อยู่บริเวณแนวรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก
ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki

อนึ่ง การเสียดสีของแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรที่มุดตัวลงไปทั้งใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้น
ทวีปอาจก่อให้เกิดความร้อนอย่างรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการหลอมละลายบางส่วนของ
แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรที่มุดตัวลึกลงไป การหลอมละลายของหินเปลือกโลกบางส่วนนี้ทาให้
เกิดหินหนืดขึ้นได้นอกจากนั้นการที่แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปถูกบีบอัดอย่างรุนแรงอันเป็นผลต่อ
เนื่องมาจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกส่วนมหาสมุทรนี้ทาให้อุณหภูมิและความดันในหินเปลือก
โลกภาคพื้นทวีปสูงขึ้นมากจนทาให้หินตะกอนบริเวณนั้นเกิดการแปรสภาพกลายเป็นหินแปรได้
จากทฤษฎีทวีปเลื่อนที่กล่าวไปแล้วนั้นทาให้ทราบว่าทวีปต่าง ๆ เคยเป็นแผ่นทวีปขนาดใหญ่
แผ่นเดียวกันมาก่อนต่อมาจึงเคลื่อนที่แยกออกจากกันกระบวนการใดที่ทาให้แผ่นทวีปแยกออกจาก
กันและยังมีแนวคิดและหลักฐานอื่น ๆ อีกหรือไม่ที่นามาใช้สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
จากแฮรี่แฮมมอนด์เฮส (Harry Hammond Hess) ได้สารวจพบการเหลื่อมกันของสันเขาที่
เป็นแนวยาวบริเวณตอนกลางของพื้นมหาสมุทรแอตแลนติกทาให้เกิดแนวคิดว่าพื้นมหาสมุทรมีการ
เคลื่อนที่ทาให้สันเขาที่ควรเชื่อมต่อกันเหลือมออกจากกันจากการศึกษาในระยะต่อมาได้พบหลักฐาน
ต่าง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดดังกล่าว ดังนี้

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 15

(1) สันเขากลางสมุทร (mid-oceanic ridge) เกิดจากการแทรกตัวขึ้นมาของลาวาตาม


รอยแยกกลางมหาสมุทรทาให้มีลักษณะเป็นสั นเขาที่มีฐานกว้างมากเมื่อเทียบกับความสู งโดยที่
บริเวณส่วนยอดของสันเขามีลักษณะภูมิประเทศแบบหุบเขาทรุด (rift valley) ที่มีลักษณะเป็นรอย
แยกตลอดความยาวของเทือกเขาอีกทั้งมีรอยแตกและรอยเลื่อนตัดขวางกับรอยแยกจานวนมากการ
แทรกดันของลาวาในบริเวณดังกล่าวจะดันให้บริเวณส่วนกลางเทือกเขากลางสมุทรของแผ่นธรณี
มหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกันดังรูป 3.5 นอกจากนี้ยังพบว่ารอยแยกเหล่านี้เป็นศูนย์กลางการเกิด
แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด

รูปที่ 3.7 แสดงบริเวณสันเขากลางมหาสมุทร


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 46)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

(2) อายุ ข องหิ น บะซอลต์ บ นพื้ น มหาสมุ ท ร จากการส ารวจพื้ น มหาสมุ ท รพบว่ า
หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกบริเวณสันเขากลางสมุทรมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยู่ใกล้รอย
แยกบริเวณสันเขากลางสมุทรนักวิทยาศาสตร์ได้อธิบายปรากฏการณ์นี้ว่าลาวาจากส่วนล่างแทรกดัน
ขึ้ น มาท าให้ ธ รณี ภ าคในบริ เ วณนั้ น เกิ ด รอยแยกและเกิ ด การเคลื่ อ นตั ว ออกจากกั น อย่ างช้ า ๆ
ตลอดเวลาเมื่อลาวาเย็นตัวลงเป็นหินบะซอลต์ทาให้เกิดเป็นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่และทาให้พื้น
มหาสมุทรขยายตัวดังรูป 3.6

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 16

รูปที่ 3.8 อายุหินบะซอลต์บนพื้นมหาสมุทร


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 47)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

(3) ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล (paleomagnetism) เป็นร่องรอยของสนามแม่เหล็กโลกใน


อดีตที่อยู่ในหินที่เกิดจากการแข็งตัวของลาวาซึ่งในขณะที่ลาวากาลังเย็นตัวกลายเป็นหินแร่ประกอบ
หินในลาวาที่ตอบสนองกับสนามแม่เหล็กได้จะถูกเหนี่ยวนาให้ วางตัวตามทิศทางของสนามแม่เหล็ก
โลกในช่วงเวลานั้น ๆ ซึ่งภายหลังจากการแข็งตัวของลาวาแล้วการวางตัวนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงตาม
สนามแม่ เ หล็ ก โลกในเวลาต่ อ มาจากการศึ ก ษาหิ น บะซอลต์ บ ริ เ วณรอยแยกกลางมหาสมุ ท ร
แอตแลนติกที่มีอายุ เท่ากันเป็นรูปแบบสมมาตรทั้ งสองฝั่งตามแนวรอยแยกกลางสันเขากลางสมุทร
พบว่ า แร่ ป ระกอบหิ น ในหิ น บะซอลต์ ที่ มี อ ายุ เ ดี ย วกั น ทั้ ง สองข้ า งของรอยแยกนั้ น แสดงทิ ศ ของ
สนามแม่เหล็กโลกเหมือนกันแสดงว่า หินบะซอลต์ที่ทั้งสองข้างของรอยแยกที่มีอายุเดียวกันและมีทิศ
ของสนามแม่เหล็กโลกเหมือนกันนั้นเกิดขึ้นพร้อมกันแล้วถูกแยกออกจากกันดังรูป 3.7

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 17

รูปที่ 3.9 ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 48)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

จากหลักฐานที่กล่าวาข้างต้นทาให้ส ามารถสรุปได้เป็นทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทร
ทะเล (Sea Floor Spreading Theory) ที่กล่าวว่า พื้นมหาสมุทรมรการเคลื่อนที่และขยายตัวออก
เนื่ องจากการแทรกดัน ตัว ของลาวาขึ้ นมาตามรอยแยกของพื้ นมหาสมุ ทรและแข็ งตัว กลายเป็ น
หินบะซอลต์ ทาให้เกิดเป็นพื้นสมุทรใหม่
แนวความคิดที่สนั บ สนุ น ทฤษฎีทวีปเลื่อน ได้แก่ ทฤษฎีการขยายตัว ของพื้นทะเล (Sea
Floor Spreading Theory) และยังมีหลักฐานสนับสนุนอื่นๆ อีก เช่น หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ที่พบบริเวณสองฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ได้แก่ ฝั่งทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกาใต้ มีลักษณะ
คล้ายกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 18

รูปที่ 3.10 แสดงการขยายตัวของพื้นทะเล


ที่มา : http://www.baanjomyut.com

รูปที่ 3.11 รอบต่อของขอบทวีป


ที่มา : http://www.baanjomyut.com

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 19

รูปที่ 3.12
ที่มา : http://www.baanjomyut.com

รูปที่ 3.13 แสดงการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก


ที่มา : http://khanaporn.exteen.com

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 20

spreading plate boundary = การเคลื่ อ นที่ ข องขอบแผ่ นเปลื อ กโลกแบบกระจายตั ว


โดยแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นมีการเคลื่อนที่ออกจากกัน
plate subduction = ขอบแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนเข้าหากันแบบมุดตัว การที่แผ่นเปลือก
โลกแผ่นหนึ่งมุดเข้าไปอยู่ใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง เป็นแรงบีบอัด (Compress Forces) มัก
เกิดจากแผ่นทวีปมหาสมุทรกับมหาสมุทร หรือมหาสมุทรกับแผ่นทวีปทาให้เกิดแนวร่องลึกบาดาล
(Trench) ตามมา ซึ่งรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกมีหลายแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวิธีเคลื่อนตัวที่แผ่น
หนึ่งกระทาต่ออีกแผ่นหนึ่งซึ่งวิธีเคลื่อนตัวมีอยู่ 3 แบบ คือ
1. แบบกระจายตัว (spreading)
2. แบบมุดตัว (subduction)
3. แบบเปลี่ยนรูป (transform)
แผ่นดินไหวอาจเกิดมาจากภูเขาไฟระเบิด แต่แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนที่
บริเวณรอยแตกของเปลือกโลก แผ่นดินไหวระดับที่มีความรุนแรงมากหรือที่ปล่อยพลังงานเท่ากับ
ร้ อ ยละ 80 ของพลั ง งานที่ เ กิ ด จากแผ่ น ดิ น ไหวทั่ ว โลก มั ก จะเกิ ด ขึ้ น ในบริ เ วณที่ เ กิ ด การมุ ด ตั ว
ซึ่งพื้นผิวโลกใต้มหาสมุทรมีการเคลื่อนตัวมุดเข้าไปใต้พื้นแผ่นทวีปหรือใต้แผ่นท้องมหาสมุทรที่เพิ่งจะ
ก่อตัวขึ้นมาใหม่
transform fault =รอยเลื่ อน ซึ่งเป็นรอยเลื่อนขนาดใหญ่ มักเกิดขึ้นในบริเวณเทือกเขา
กลางมหาสมุทร เช่น จากการศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตร์ระยะใกล้ของแนวเทือกเขาที่มีการแยกตัว
ที่ Juan de Fuca นอกชายฝั่งแปซิฟิกด้านตะวันตกเฉียงเหนือ แสดงให้เห็นถึงขอบของศูนย์กลางที่
เกิดการแยกตัวซึ่งปรากฏขึ้นมา ในขณะที่เปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจากแนวเทือกเขาก็จะเย็นตัวและ
จมลง แนวเทือกเขาที่เหลื่ อมกันด้านข้างเชื่อมต่อกันด้ว ยรอยเลื่อนแปลง (transform fault) แต่
บางครั้งก็เกิดขึ้นบริเวณชายฝั่ง เช่น รอยเลื่อนแอนเดรียส์ ที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหวในรัฐแคลิฟอร์เนีย
ประเทศสหรัฐอเมริกา เกิดจากการเคลื่อนที่สวนกันของเพลตอเมริกาเหนือและเพลตแปซิฟิก
แผ่ น เปลื อ กโลกทั้ ง 16 แผ่ น ที่ ป ระกอบกั น เข้ า เป็ น เปลื อ กโลกนั้ น มี ก ารเคลื่ อ นที่ อ ยู่
ตลอดเวลา บางทีก็เคลื่อนที่ผ่านกัน และเฉียดกันในทิศทางที่สวนกัน จนเกิดเป็นรอยเลื่อนด้านข้าง
ขนาดใหญ่ (transform fault)ขึ้นได้ โดยอัตราการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นนั้น นับว่า
ช้ามาก ๆ โดยเฉลี่ยแล้วเพียงแค่ 2.5 ซม. ต่อปี หรือเทียบง่าย ๆ ว่าพอ ๆ กับเล็บมือของเราที่งอก
ออกมาในแต่ละปี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 21

การเกิดและลักษณะของ Island arcs และ ring of fire

รูปที่ 3.14 แสดงการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก


ที่มา http://khanaporn.exteen.com

Island arcs = หมู่เกาะรูปโค้ง เช่น ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ เป็นบริเวณที่สามารถพบร่องลึก


ก้นสมุทรได้ นอกจากนี้สามารถพบร่องลึกก้นสมุทรได้ตามขอบทวีป โดยร่องลึกก้อนสมุทร (oceanic
trench) มีลักษณะยาว แคบและลึกกว่าบริเวณที่ราบก้นสมุทร (abyssal plain)
เปลื อ กโลกภาคพื้ น สมุ ท รชนกั น เอง จะได้ เ กาะภู เ ขาไฟ(volcanic Island arcs) ซึ่ ง เป็ น
ลักษณะหมู่เกาะรูปโค้งอย่างหนึ่ง มีส่วนประกอบแบบandesitic และเกิดเนินชั้นตะกอนที่อยู่บนพื้น
สมุทรนั่นแหละถูกโกยมารวมกันเกิดรอยแตก เกิดการคดโค้งเป็นภูเขาที่เป็นหินตะกอน หรืออาจเกิด
hotspot จากใต้โลกดันเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรขึ้นมาเกิดเป็นแนวภูเขาไฟ เช่นแนวภูเขาไฟที่ฮาวาย
เมื่อแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทรเคลื่อนที่เข้าปะทะกัน แผ่นเปลือกโลกหนึ่งก็จะมุดตัวลงไป
ใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง เช่นเดียวกับที่เกิดแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นสมุทร-ภาคพื้นทวีป เคลื่อน
ตัวเข้าหากัน ดังที่ได้อธิบายไปแล้ว ส่วนที่ต่างกันนั้นอยู่ที่การสะสมตัวของแมกมาและการเกิดระเบิด
ของภูเขาไฟนั้น จะเกิดที่พื้นมหาสมุทร และถ้าเกิดภูเขาไฟระเบิดต่อๆกัน ในที่สุดก็สามารถทาให้เกิด
เป็นเกาะใหม่ขึ้นมาในมหาสมุทร เกาะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้ประกอบด้วยเกาะภูเขาไฟ หลายๆเกาะเป็นแนว
ภูเขาไฟ ซึ่งเรี ยกว่า volcanic Island arcs เกาะภูเขาไฟเหล่านี้มักจะอยู่ห่างจากแกนของร่องลึ ก
(trench axis) ประมาณ 200-300 กม.

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 22

รูปที่ 3.15 แสดงหลักฐานร่องรอยแนววงแหวนไฟ


ที่มา : http://khanaporn.exteen.com

The Ring of Fire = "วงแหวนแห่ ง ไฟ" หมายถึ ง แนวภู เ ขาไฟที่ ผุ ด ขึ้ น มาคู่ กั บ ร่ อ งลึ ก
เป็นแถบที่มีการเกิดแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด ในบริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งเป็นแนว
เพลตเทคโทนิก (Tectonic Plates) และเขตภูเขาไฟคุกรุ่น (ในโลกมีแผ่นเทคโทนิกทั้งสิ้น 12 แผ่น
เป็นแนวที่จะเกิดการเคลื่อนไหว อันเกิดจากความร้อนภายในโลก ทั้งการขยายตัวและหดตัว รวมถึง
การเคลื่อนไหวของแมกมาอย่างฉับพลัน)
จากการศึกษาพบว่ามากกว่าร้อยละ 75 ของภูเขาไฟบนโลก คือ ประมาณ 637 ลูก จาก
850 ลูก เป็นภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยู่และอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า "วงแหวนไฟ" (Ring of Fire) บริเวณ
ตั้งแต่ทางตอนใต้ของประเทศซิลีขึ้นไปทางขอบตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ อเมริกาเหนือ ถึงรัฐอา
ลาสกา โค้งไปยังตะวันออกของเอเชีย จากไซบีเรียลงไปจนถึงนิวซีแลนด์และที่เหลืออีกร้อยละ 20
คือ ภูเขาไฟในอินโดนีเซีย และภูเขาไฟในญี่ปุ่น หมู่เ กาะอาลิวเชียน และอเมริกากลางเป็นเขตที่มี
ภูเขาไฟที่ยังมีพลั งอยู่ทั้งหมด เรามักพบว่าภูเขาไฟมักอยู่ตามขอบของแผ่ นทวีป ซึ่งขอบเขตของ
“วงแหวนของไฟ” นั้นเป็นบริเวณขอบทวีประหว่างแผ่นทวีปแปซิฟิก (Pacific Plates) กับแผ่นทวีป
โดยรอบมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนภูเขาไฟที่ยังมีพ ลังอื่นๆ ได้แก่ เขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเกาะ
ไอซ์แลนด์ พบว่าอยู่บริเวณขอบแผ่นทวีปเช่นเดียวกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 23

ที่มาของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เกิดจากการค้นพบหลักฐานเกี่ยวกับอายุหิน ของพื้น


มหาสมุทร โดยทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร ได้อธิบายถึงสาเหตุที่ทาให้พันเจียแตก และเคลื่ อนที่
แยกออกจากกัน ซึ่งเกิดจากการปะทุแทรกขึ้นมาของแมกมาบนเปลือกโลกทวีป ทาให้เปลือกโลก
ทวีปโป่งตัวขึ้น เกิดเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร จนแตกออกจากกัน แล้วเกิดการทรุดตัวเป็นหุบเขา
ทรุด ร่องที่เกิดจากการทรุดตัวเกิดเป็นทะเล และมหาสมุทร
เปลือกโลกมหาสมุทรที่อยู่ใกล้แนวรอยแตกของเปลือกโลก จะมีลักษณะเป็นสันเขาใต้สมุทร
การเพิ่มขึ้นของเปลือกโลกใต้มหาสมุทร เนื่องจากลาวาแข็งตัวเป็นหินอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดแรง
ดึงดูด และดันเปลือกโลกมหาสมุทรที่เกิดขึ้นก่อน หรือมีอายุมากกว่า ให้เคลื่อนที่ออกห่างจากแนว
รอยแตกมากขึ้น ส่งผลให้พื้น มหาสมุทร ที่อยู่ใกล้กับแนวรอยแตกของเปลือกโลกมีอายุน้อยกว่าพื้น
สมุทรที่อยู่ไกลออกไป และการแข็งตัวเป็นหินของลาวาอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดเปลือกโลกมหาสมุทร
ชุดใหม่อยู่ตลอดเวลา

รูปที่ 3.16 รอยเลื่อนกลางมหาสมุทร


ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34154

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 24

หลักฐานที่สนับสนุนว่ามีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร ได้แก่
1. เทือกเขากลางสมุทร เนื่องจากเกิดรอยแยกบริเวณมหาสมุทร กลายเป็นบริเวณที่เกิดการ
ปะทุของภูเขาไฟ การแทรกดันของหินหนืดในบริเวณดังกล่าว จะดันให้แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่
ออกจากกัน จากส่วนกลางของเทือกเขากลางมหาสมุทร
2. อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร จากการศึกษาหินบะซอลต์บริเวณหุบเขาทรุด หรือรอยแยก
บริ เวณเทือกเขากลางมหาสมุทร พบว่าหิ นบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยก จะมีอายุมากกว่าหิ น
บะซอลต์ที่อยู่ใกล้รอยแยก เพราะเมื่อแผ่นธรณีเกิดรอยแยก แผ่นธรณีจะเคลื่อนที่ออกจากกันอย่าง
ช้าๆ ตลอดเวลา ซึ่งเนื้อของหินบะซอลต์จากส่วนล่าง จะแทรกเสริมขึ้นมาตรงรอยแยกเป็นธรณีภาค
ใหม่ ท าให้ บ ริ เวณรอยแยกเกิด หิ น บะซอลต์ ใหม่เ รื่ อยๆ ดั งนั้ น แผ่ น ธรณี บริ เวณเทื อกเขากลาง
มหาสมุทร จึงมีอายุน้อยที่สุด และแผ่นธรณีใกล้ขอบทวีป จะมีอายุมากกว่า
3. ภาวะแม่ เ หล็ ก โลกบรรพกาล คื อ ร่ อ งรอยสนามแม่ เ หล็ ก โลกในอดี ต ศึ ก ษาจากหิ น
บะซอลต์ที่มีแร่แมกนีไทต์ (Fe3O4) เป็นองค์ประกอบ เพราะธาตุเหล็กที่อยู่ในแร่นี้ จะถูกเหนี่ยวนา
โดยสนามแม่เหล็กโลก ทาให้มีการเรียงตัวในทิศทางเดียวกับเส้นแรงแม่เหล็กโลก

รูปที่ 3.17 แผนที่แผ่นเปลือกโลกทางทะเล


http://www.mitrearth.org/10-1-ocean-and-exploration/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 25

โลกประกอบด้วยแผ่นดินประมาณ 29% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด ส่วนที่เหลืออีก 71% หรือ


คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 361×106 ตารางกิโลเมตร นั้นเป็นส่วนของมหาสมุทร โดยซีกโลกเหนือถือ
เป็น ซีกโลกแห่งแผ่นดิน (land hemisphere) ในขณะที่ซีกโลกใต้ เรียกว่า ซีกโลกแห่งน้า (water
hemisphere)
นักวิทยาศาสตร์จาแนกมหาสมุทรหลักๆ ออกเป็น 4 มหาสมุทร คือ 1) มหาสมุทรแปซิฟิก
(Pacific Ocean) มี พื้ น ที่ 181.34×106 ตารางกิ โ ลเมตร (46% ของพื้ น ที่ ม หาสมุ ท รทั้ ง หมด)
เป็นมหาสมุทรที่มีพื้นที่กว้างและลึกมากที่สุด 2) มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) มีพื้นที่
106.57×106 ตารางกิโลเมตร (23%) มีความลึกไม่มากนัก 3) มหาสมุทรอินเดีย (Indian Ocean)
มีพื้นที่ 74.1×106 ตารางกิโลเมตร (20%) มีพื้นที่โดยส่วนใหญ่อยู่ทางซีกโลกใต้ และ 4) มหาสมุทร
อาร์คติก (Arctic Ocean) มีพื้นที่ประมาณ 7% ของมหาสมุทรแปซิฟิก

รูปที่ 3.18
http://www.mitrearth.org/10-1-ocean-and-exploration/



โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 26

บัตรกิจกรรม 3.1
เรื่อง แบบจาลองการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร

จุดประสงค์กิจกรรม
สร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายกระบวนการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร

วัสดุ-อุปกรณ์
1. รูปรอยแยกกลางมหาสมุทร (รูป 1)
2. แผนที่แสดงอายุของหินบริเวณพื้นมหาสมุทร (รูป 2)
3. แผนที่พื้นมหาสมุทร (ภาคผนวก ค)
4. วัสดุสาหรับทาแบบจาลองตามที่นักเรียนออกแบบ

สถานการณ์
นักวิทยาศาสตร์ได้สารวจพื้นมหาสมุทรพบข้อมูล ดังนี้
1. มีแมกมาแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกกลางมหาสมุทร
2. เมื่อเจาะสารวจหินบริเวณพื้นมหาสมุทร และนามาตรวจสอบ วิเคราะห์ หาชนิดหินและ
อายุพบว่า
- หินบริเวณพื้นมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์
- หินบริเวณพื้นมหาสมุทรมีอายุอ่อนกว่าหินที่อยู่บนพื้นทวีป
- หินพื้นมหาสมุทรบริเวณรอยแยกมีอายุที่สมมาตรกันทั้งด้านซ้ายและขวาของ รอยแยก
โดยหินใกล้รอยแยกจะมีอายุน้อยที่สุด และหินมีอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อ ห่างออกจากรอยแยก
3. นักวิทยาศาสตร์นาข้อมูลต่าง ๆ มาสร้างแบบจาลองและแผนที่ได้ดัง รูป 1 และ 2

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 27

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลและรูปที่กาหนด เกี่ยวกับลักษณะสัณฐาน ชนิดและ อายุ
ของหินที่พบบนพื้นสมุทร
2. อภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากข้อ 2
3. ออกแบบโดยวาดภาพร่างแบบจาลองแสดงการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และกาหนด วัสดุ
ต่าง ๆ ที่จะใช้ในแบบจาลอง โดยครูตรวจภาพร่างของแบบจาลองเพื่อให้ข้อเสนอ แนะก่อนให้
นักเรียนลงมือสร้างจริง
4. สร้างแบบจาลองแสดงการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร พร้อมทั้งนาเสนอและอธิบาย การแผ่
ขยายพื้นมหาสมุทรด้วยแบบจาลองที่สร้างขึ้น
5. รวบรวมข้อคิดเห็นที่ได้จากการนาเสนอมาปรับปรุงแบบจาลองให้ถูกต้องและสมบูรณ์

ผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 28

สรุปผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

คาถามท้ายกิจกรรม
1. องค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ของแบบจ าลองที่ นั ก เรี ย นสร้ า งขึ้ น เปรี ย บได้ กั บ สิ่ ง ใดบ้ า งใน
กระบวนการการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ข้อมูลจากรูป 1 และรูป 2 สามารถนามาใช้ในการสร้างแบบจาลองได้อย่างไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. จากรูป กระบวนการใดบ้างที่เกิดขึ้นในบริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 29

4. จากรูป หินที่พบบนพื้นมหาสมุทรเป็นหินชนิดใด และอายุของหินแต่ละบริเวณเหมือน


หรือต่างกันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. หินบริเวณใดบ้างที่มีอายุเท่ากัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

6. หินบริเวณใดมีอายุมากที่สุด และบริเวณใดมีอายุน้อยที่สุด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

7. นักวิทยาศาสตร์ ตั้งสมมติฐ านว่า "พื้นมหาสมุทรมีการแผ่ขยายตัว " นักเรียนเห็ นด้ว ย


หรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 30

บัตรกิจกรรมที่ 3.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

ค าชี้แ จง ให้ นั กเรี ย นสรุ ป ความรู้ ที่ เกี่ย วกับ “แนวคิ ดของทฤษฎีก ารแผ่ข ยายพื้น สมุท รและ
หลักฐานสนับสนุน” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 31

บัตรกิจกรรมที่ 3.3
ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คาชี้แ จง ให้นักเรีย นถอดบทเรี ยนที่เกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้น สมุทรและ


หลักฐานสนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้ว
นาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 32

แบบฝึกหัด
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

1. จงทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง


คาตอบ ข้อความ
1. หินบะซอลต์ที่พบใกล้รอยแยกบริเวณเทือกสันเขาใต้สมุทรจะมีอายุ อ่อนกว่า
หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกออกไป
2. เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรเกิดรอยแยกและเคลื่อนที่ออกจากกันอย่าง ช้า ๆ จะมี
เนื้อหินแกรนิตจากส่วนล่างแทรกดันขึ้นมาตรงรอยแยกเกิด เป็นชั้นธรณีภาคใหม่
3. วงจรการพาความร้อนเป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของ แผ่นธรณ
4. อัลเฟรด เวเกเนอร์ เป็นผู้เสนอทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
5. บริเวณทะเลแดงเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นธรณีมหาสมุทร กับแผ่น
ธรณีทวีป
6. เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นทวีปยูเรเซีย และแผ่นทวีป
อินเดีย – ออสเตรเลีย
7. ในอดีตประเทศไทยเคยเป็นส่วนหนึ่งของทวีปลอเรเซีย
8. ร่องลึกก้นสมุทรเกิดขึ้นบริเวณกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
9. รอยเลื่อนซานแอนเดรียสเกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นทวีป
10. ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาลของพื้นมหาสมุทรเป็นหลักฐานยืนยัน การ
เคลื่อนที่ออกจากกันของแผ่นทวีป

2. การค้นพบสิ่งใดของ แฮรี่ เฮส ที่ถูกนามาใช้สนับสนุนทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 33

3. แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผ่น


ธรณีมีความเหมือน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 34

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. เมื่อพื้นแผ่นมหาสมุทรใหม่ก่อรูปขึ้น จะเกิดผลอย่างไรกับพื้นแผ่นมหาสมุทรเก่า
ก. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวเทือกเขา
ข. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นบริเวณพื้นทวีป
ค. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่ารวมตัวกันเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร
ง. พื้นแผ่นมหาสมุทรเก่าเคลื่อนตัวลงไปภายในโลก บริเวณร่องลึกก้นสมุทร เกิดการมุดตัว
ของเปลือกโลก

2. ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม อยู่ในหินบน


เปลือกโลก คือข้อใด
ก. ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค. ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการเกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร

3. สาเหตุที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่คือข้อใด
ก. การปะทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ข. การไหลวนของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ค. การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง. การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

4. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด


ก. ลอเรเซียและกอนด์วานา
ข. ออสเตรเลียและอัฟริกา
ค. ยุโรปและอเมริกา
ง. เอเชียและยุโรป

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 35

5. แนวหินใหม่ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก เกิดใต้มหาสมุทร
อะไร
ก. แอตแลนติก
ข. อาร์กติก
ค. แปซิฟิก
ง. อินเดีย

6. แผ่นดินของทวีปอเมริกากับทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาแยกห่างกัน มากขึ้นตลอดเวลา
เพราะเหตุใด
ก. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เนื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ข. หินหนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขึ้นมาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ค. เกิดการระเบิดของภูเขาไฟและแผ่นดินไหวในบริเวณนี้บ่อยครั้ง
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

7. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของ


หินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

8. ถ้าแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นเคลื่อนที่แยกจากกันที่เทือกสันเขากลางมหาสมุทร จะเกิดผลตาม


ข้อใด
ก. การขยายตัวของทวีป
ข. เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร
ค. เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร
ง. เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 36

9. เทือกเขากลางมหาสมุทรเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
ข. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
ค. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
ง. ข้อ ก และ ข ถูก

10. การที่แผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน นักเรียนคิดว่าเกิดจาก


สาเหตุใด
ก. ความร้อนจากชั้นเนื้อโลกถ่ายเทอุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. อัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ค. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ง. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 37

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายของพื้นสมุทร
และหลักฐานสนับสนุน

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 38

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม
2542. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.
กรมทรัพยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
http://blog12509.blogspot.com/p/blog-page_97.html
https://www.google.com/search?q=tbm
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/58101
http://www.baanjomyut.com
http://khanaporn.exteen.com

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 39

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 40

เฉลยบัตรกิจกรรม 3.1
เรื่อง แบบจาลองการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร

จุดประสงค์กิจกรรม
สร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายกระบวนการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทร

วัสดุ – อุปกรณ์
1. รูปรอยแยกกลางมหาสมุทร (รูป 1)
2. แผนที่แสดงอายุของหินบริเวณพื้นมหาสมุทร (รูป 2)
3. แผนที่พื้นมหาสมุทร (ภาคผนวก ค)
4. วัสดุสาหรับทาแบบจาลองตามที่นักเรียนออกแบบ

สถานการณ์
นักวิทยาศาสตร์ได้สารวจพื้นมหาสมุทรพบข้อมูล ดังนี้
1. มีแมกมาแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกกลางมหาสมุทร
2. เมื่อเจาะสารวจหินบริเวณพื้นมหาสมุทร และนามาตรวจสอบ วิเคราะห์ หาชนิดหินและ
อายุพบว่า
- หินบริเวณพื้นมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์
- หินบริเวณพื้นมหาสมุทรมีอายุอ่อนกว่าหินที่อยู่บนพื้นทวีป
- หินพื้นมหาสมุทรบริเวณรอยแยกมีอายุที่สมมาตรกันทั้งด้านซ้ายและขวาของ รอยแยก
โดยหินใกล้รอยแยกจะมีอายุน้อยที่สุด และหินมีอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อ ห่างออกจากรอยแยก
3. นักวิทยาศาสตร์นาข้อมูลต่าง ๆ มาสร้างแบบจาลองและแผนที่ได้ดัง รูป 1 และ 2

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 41

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลและรูปที่กาหนด เกี่ยวกับลักษณะสัณฐาน ชนิดและ อายุ
ของหินที่พบบนพื้นสมุทร
2. อภิปรายและสรุปข้อมูลที่ได้จากข้อ 2
3. ออกแบบโดยวาดภาพร่างแบบจาลองแสดงการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และกาหนด วัสดุ
ต่าง ๆ ที่จะใช้ในแบบจาลอง โดยครูตรวจภาพร่างของแบบจาลองเพื่อให้ข้อเสนอ แนะก่อนให้
นักเรียนลงมือสร้างจริง
4. สร้างแบบจาลองแสดงการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร พร้อมทั้งนาเสนอและอธิบาย การแผ่
ขยายพื้นมหาสมุทรด้วยแบบจาลองที่สร้างขึ้น
5. รวบรวมข้อคิดเห็นที่ได้จากการนาเสนอมาปรับปรุงแบบจาลองให้ถูกต้องและสมบูรณ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 42

ผลการทากิจกรรม

สรุปผลการทากิจกรรม
จากกิจกรรมนักเรียนได้ทดลองสร้างแบบจาลองที่แสดงถึงการแผ่ขยาย ของพื้นมหาสมุทร
จากหลักฐานการพบรอยแยกและสันเขากลางมหาสมุทร อายุหินบะซอลต์ บนพื้นมหาสมุทร
ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading theory) ที่กล่าวว่าพื้น
มหาสมุทร มีการเคลื่อนที่และขยายตัวออกเนื่องจากการแทรกดันของแมกมาขึ้นมา
ตามรอยแยกของพื้นมหาสมุทรและแข็งตัวกลายเป็นหินบะซอลต์ ทาให้เกิดเป็นพื้นมหาสมุทรใหม่
นอกจากนี้การศึกษาภาวะแม่เหล็กบรรพกาล ยังเป็นอีกหลักฐานหนึ่งที่สนับสนุนทฤษฎี ข้างต้น

คาถามท้ายกิจกรรม
1. องค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ของแบบจ าลองที่ นั ก เรี ย นสร้ า งขึ้ น เปรี ย บได้ กั บ สิ่ ง ใดบ้ า งใน
กระบวนการการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร
แนวคาตอบ
อธิบายแบบจาลองขอกลุ่มตนตามที่ได้ออกแบบไว้ เช่น ใช้แผ่นพลาสติก
ลูกฟูกแทนพื้นมหาสมุทรใช้แถบกระดาษแทนการแทรกดันของแมกมา

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 43

2. ข้อมูลจากรูป 1 และรูป 2 สามารถนามาใช้ในการสร้างแบบจาลองได้อย่างไร


แนวคาตอบ
ข้อมูลจากรูป 1 ทาให้ทราบว่ากลางมหาสมุทรมีรอยแยก และมีแมกมา แทรกดันขึ้นมา
ทาให้หินเดิมถูกดันออกห่างจากรอยแยก
ข้อมูลจากรูป 2 ทาให้ทราบ ว่าอายุหินที่อยู่ไกลรอยแยกออกไปมีอายุมากกว่าหิน
ที่อยู่ใกล้รอยแยก ดังนั้นการจะสร้างแบบจาลองจะต้องหาวัสดุที่มาแทนรอยแยก พื้นมหาสมุทร
และหินที่แทรกตัวขึ้นมา

3. จากรูป กระบวนการใดบ้างที่เกิดขึ้นในบริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทร
แนวคาตอบ
การแทรกดันของแมกมาขึ้นมาตามรอยแยกและการเคลื่อนที่แยกออกจากกันของพื้น
มหาสมุทร

4. จากรูป หินที่พบบนพื้นมหาสมุทรเป็นหินชนิดใด และอายุของหินแต่ละบริเวณเหมือน


หรือต่างกันอย่างไร
แนวคาตอบ
หินบะซอลต์ แตกต่างกันถ้าหากพิจารณาเพียงด้านใดด้านหนึ่งของรอยแยก จะพบว่า
หินบะซอลต์ที่อยู่ใกล้รอยแยกจะมีอายุอ่อนกว่าที่อยู่ไกลรอยแยกออกไปแต่ถ้าพิจารณาทั้งสองฝั่ง
ของรอยแยกจะพบว่าอายุของหินบะซอลต์ทั้งสองฝั่งสมมาตรกัน

5. หินบริเวณใดบ้างที่มีอายุเท่ากัน
แนวคาตอบ
แมกมาที่แทรกขึ้นมาพร้อมกันและแข็งตัวเป็นหินทั้งด้านซ้ายและขวาของรอยแยกกลาง
มหาสมุทร

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 44

6. หินบริเวณใดมีอายุมากที่สุด และบริเวณใดมีอายุน้อยที่สุด
แนวคาตอบ
หินบริเวณใกล้รอยแยกมีอายุน้อยที่สุด หินที่อยู่ใกล้กับขอบทวีปมี อายุมากที่สุด

7. นักวิทยาศาสตร์ ตั้งสมมติฐ านว่า "พื้นมหาสมุทรมีการแผ่ขยายตัว " นักเรียนเห็ นด้ว ย


หรือไม่ อย่างไร
แนวคาตอบ
นักเรียนอาจเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนบอกเหตุผล เช่น
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของ
แผ่นธรณี ได้แก่ เทือกเขากลางมหาสมุทร อายุของหินบะซอลต์บนพื้นมหาสมุทรภาวะแม่เหล็ก
โลกบรรพกาล นักวิทยาศาสตร์พยายามรวบรวมหลักฐานและแนวคิด เช่น ทฤษฎีทวีปเลื่อน
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรนามาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่นธรณีอันเนื่องมาจากการพาความร้อน
ของแมกมาภายในเนื้อโลก กระบวนการทีท่ าให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่คือวงจรพาความร้อน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 45

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

ค าชี้แ จง ให้ นั กเรี ย นสรุ ป ความรู้ ที่ เกี่ย วกับ “แนวคิ ดของทฤษฎีก ารแผ่ข ยายพื้น สมุท รและ
หลักฐานสนับสนุน” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอ
ผลงานหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 46

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3.3
ถอดบทเรียน เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

คาชี้แ จง ให้นักเรีย นถอดบทเรี ยนที่เกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้น สมุทรและ


หลักฐานสนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้ว
นาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 47

เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน

1. จงทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง


คาตอบ ข้อความ
1. หินบะซอลต์ที่พบใกล้รอยแยกบริเวณเทือกสันเขาใต้สมุทรจะมีอายุ อ่อนกว่า
 หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกออกไป
2. เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรเกิดรอยแยกและเคลื่อนที่ออกจากกันอย่าง ช้า ๆ จะมี
 เนื้อหินแกรนิตจากส่วนล่างแทรกดันขึ้นมาตรงรอยแยกเกิด เป็นชั้นธรณีภาคใหม่
 3. วงจรการพาความร้อนเป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของ แผ่นธรณ
 4. อัลเฟรด เวเกเนอร์ เป็นผู้เสนอทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
5. บริเวณทะเลแดงเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นธรณีมหาสมุทร กับแผ่น
 ธรณีทวีป
6. เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นทวีปยูเรเซีย และ แผ่น
 ทวีปอินเดีย – ออสเตรเลีย
 7. ในอดีตประเทศไทยเคยเป็นส่วนหนึ่งของทวีปลอเรเซีย
 8. ร่องลึกก้นสมุทรเกิดขึ้นบริเวณกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
 9. รอยเลื่อนซานแอนเดรียสเกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นทวีป
10. ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาลของพื้นมหาสมุทรเป็นหลักฐานยืนยัน การ
 เคลื่อนที่ออกจากกันของแผ่นทวีป

2. การค้นพบสิ่งใดของ แฮรี่ เฮส ที่ถูกนามาใช้สนับสนุนทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร


แนวคาตอบ
แฮรี่ เฮส ค้นพบการแทรกดันและแข็งตัวของลาวาที่ปะทุขึ้นมาตามรอยแยกกลางสันเขา
กลางสมุทรเกิดเป็นส่วนหนึ่งของเปลือกโลกใหม่และดันเปลือกโลก ทั้งสองฝั่งให้เคลื่อนที่
แยกออกจากกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 48

3. แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผ่น


ธรณีมีความเหมือน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง
แนวคาตอบ
ทั้งสามทฤษฎีต่างกล่าวถึงการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเหมือนกัน แต่แตกต่างกันที่
รายละเอียดและหลักฐานสนับสนุน ทฤษฎีทวีปเลื่อนมีหลักฐานสนับสนุน เช่น หลักฐานซาก
ดึกดาบรรพ์ หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา และหลักฐานจาก การเคลื่อนที่ของ
ธารน้าแข็งบรรพกาล แต่ยังไม่สามารถอธิบายสาเหตุของการเคลื่อนที่ได้
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรมีหลักฐานการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร คือ
การค้นพบสันเขากลางสมุทร อายุของหินบะซอลต์บนพื้นสมุทร และภาวะแม่เหล็กบรรพกาล
ถึงแม้จะสามารถอธิบายว่าทวีปเคลื่อนที่ออกจากกันได้เพราะมหาสมุทรขยายตัวแต่ก็ยังไม่สามารถ
อธิบายกลไกการเคลื่อนที่ได้
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี รวมเอาหลักฐาน แนวคิด ทฤษฎี ต่าง ๆ เช่น ทฤษฎี
ทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และแนวคิดวงจรการพาความร้อน มาอธิบาย
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีและการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแผ่นธรณี โดยใช้ ข้อมูลการพา
ความร้อนของแมกมาภายในฐานธรณีภาค และใช้การเคลื่อนที่ของ แผ่น ธรณีในลักษณะต่างๆ
มาอธิบายธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และปรากฏการณ์ทาง ธรณีวิทยาต่างๆ ที่มี
กระบวนการเกิดอยู่ภายในโลกและส่งผลกระทบขึ้นมาสู่โลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 49

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 3 แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
และหลักฐานสนับสนุน

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1  1 
2  2 
3  3 
4  4 
5  5 
6  6 
7  7 
8  8 
9  9 
10  10 

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดที่ 3 แนวคิดทฤษฎีการแผ่ขยายพืน้ สมุทรและหลักฐานสนับสนุน 50

ประวัติย่อผู้จัดทา

ชื่อ นางมงคล จันทราภรณ์


วันเกิด วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
สถานที่เกิด อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 164 หมู่ 9 ตาบลหัวนา
อาเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี 34170
ตาแหน่งหน้าที่การงาน ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
สถานทีท่ างานปัจจุบัน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ตาบลแก้งเหนือ
อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี 34170
สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2535 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพังเคนพิทยา ตาบลพังเคน
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนพังเคนพิทยา
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วิชาเอกฟิสิกส์ สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี
พ.ศ. 2553 ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
(เน้นฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

You might also like