You are on page 1of 63

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

นางพัชรี คูณทอง
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสริมได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย นของผู้ เ รี ย นกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็น นวั ต กรรมที่ ช่ ว ยลดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซึง่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่ อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้

พัชรี คูณทอง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1
แนวความคิดต่อเนื่อง 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 5 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 7
บัตรกิจกรรมที่ 5.1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี 32
บัตรกิจกรรมที่ 5.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 34
บัตรกิจกรรมที่ 5.3 ถอดบทเรียน เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 35
แบบฝึกหัด เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 36
แบบทดสอบหลังเรียน 38
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 41
บรรณำนุกรม 42
ภำคผนวก 43
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี 44
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 47
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.3 ถอดบทเรียน เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 48
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก 49
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 51
ประวัติย่อผู้จัดทำ 52

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คำชี้แจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลง


ภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยให้
สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับและ
วัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริม
เจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และ
สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการ
ทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีส ารวจตรวจสอบข้อมูล การคิด
แก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน
9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 4 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 5 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ชุดที่ 7 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชุดที่ 8 เรื่อง แผ่นดินไหว
ชุดที่ 9 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้เป็น ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปรสัณฐำนของแผ่นธรณี
ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศึกษาขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรี ย นและผู้ส นใจที่จ ะน าไปใช้ส อนและฝึ กเด็กในปกครองในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

เสริมพื้นฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพื้นฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามขั้นตอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดกิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปรสัณฐำนของแผ่นธรณี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปร


สัณฐำนของแผ่นธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและ
รวบรวม ข้ อ มู ล มาสรุ ป เป็ น องค์ ค วามรู้ โดยใช้ ก ระบวนการคิ ด กระบวนการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แก้ ปั ญ หา ผ่ านทางกระบวนการกลุ่ ม เพื่ อช่ ว ยให้ ก ารดาเนิ นการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ บรรลุ
จุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดังนี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนี้
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏิบัติกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่รบกวนผู้อื่น และไม่ชักชวนเพื่อนให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิ้นให้เรียบร้อย
4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัติตนอย่างตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขั้นตอน ดังนี้
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
5.2 ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความสนใจ
5.3 ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

5.4 ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป


5.5 ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมิน
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปร


สัณฐำนของแผ่นธรณี ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคาชี้แจง ดังต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง กำรแปรสัณฐำนของแผ่นธรณี
ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวิธีดาเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ชุดที่ 5

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและความสั ม พั น ธ์ ข องระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีโดย
ใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณที่สัมพันธ์กับ
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้ อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณี วิทยา
ที่พบ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายสาเหตุ และกระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี และระบุผลที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ (K)
2. ทดลองและอธิบายสาเหตุที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ (P)
3. สืบค้นข้อมูล อธิบายและสรุป เกี่ยวกับกระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (P)
4. อธิบายรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดธรณีสัณฐานและโครงสร้าง
ทางธรณีวิทยาแบบต่าง ๆ (K)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


1
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

5. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีในการ
ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)
6. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่นได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนื่อง

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ธรณี ภ าคซึ่งเป็น ชั้น นอกสุดของโครงสร้ า งโลก แบ่งออกเป็น แผ่น ธรณี (plate)
หลายแผ่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนฐานธรณีภาคทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีอยู่ตลอดเวลา

ทฤษฎีทวีปเลื่อน คือ แนวความคิดที่กล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ
ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปัจจุบัน แต่เคยอยู่รวมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพียงแผ่นดินเดียวที่
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)

หลั ก ฐานที่ ส นั บ สนุ น ว่ า ทวี ป เคยอยู่ ติ ด กั น มาก่ อ น ได้ แ ก่ รู ป ร่ า งของขอบทวี ป
ซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครูดบนหิน
ที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของธารน้า แข็งบรรพกาล

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ได้แ ก่ สัน เขากลางสมุทร อายุของหิน บะซอลต์บนพื้น มหาสมุทร
ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่
ขยายพื้นสมุทร นา มาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่น ธรณี อัน เนื่องมาจากวงจรการพาความร้ อนของแมกมา
ภายในเนื้อโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


2
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ


แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณีต่าง ๆ บนโลก

สาระสาคัญ
นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ ตั้งแต่ทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎี
การแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และแนวคิดการพาวงจรความร้อน มาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่า ทฤษฎีการ
แปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่และการเปลี่ยนแปลงลักษณะ เช่น ขนาด ตาแหน่ง
ของแผ่นธรณี โดยมีวงจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนให้แผ่นธรณีมี
การเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีจะส่งผลต่อการเกิดและการเปลี่ยนปลงของ
ทวีปและมหาสมุทร รวมทั้งธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี แผ่นธรณีแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
แผ่นทวีป และแผ่นมหาสมุทร แผ่นธรณีภาคเหล่านี้มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์และ
นักธรณีวิทยาได้ศึกษารอบต่อของแผ่นธรณีภาคอย่างละเอียด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณีภาคได้ดังนี้
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน
3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

ที่มา : https://www.google.com/search?sxsrf=ALiCzsZ8eHAM1GG_t_

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


3
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม อยู่ในหินบน
เปลือกโลก คือข้อใด
ก. ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค. ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร

2. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด


ก. เอเชียและยุโรป
ข. ยุโรปและอเมริกา
ค. ออสเตรเลียและอัฟริกา
ง. ลอเรเซียและกอนด์วานา

3. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของ


หินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก

4. สนามแม่เหล็กโลกโบราณใช้เป็นหลักฐานเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีอะไร
ก. การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ข. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
ค. แม่เหล็กโลกในปัจจุบัน
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


4
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

5. แผ่นดินของทวีปอเมริกากับทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา แยกห่างกันมากขึ้นตลอดเวลา


เพราะสาเหตุใด
ก. เกิดการแทรกตัวของภูเขาไฟและแผ่นดินในบริเวณชั้นนี้บ่อยครั้ง
ข. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เนื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ค. หินหนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขึ้นมาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

6. ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่


อย่างไร
ก. เคลื่อนที่เข้าหากัน
ข. เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ค. เคลื่อนที่ในทิศที่แตกต่างกัน
ง. ยังไม่มีการเคลื่อนที่แต่อย่างไร

7. เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ข. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ง. แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป

8. สาเหตุที่ทาให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ คือข้อใด
ก. การไหลของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ข. การประทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ค. การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง. การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


5
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

9. การที่แ ผ่ น ธรณี ภ าคในแต่ ล ะส่วนมีอั ตราการเคลื่อนที่ ไ ม่เ ท่า กั น นักเรี ยนคิดว่า เกิดจาก
สาเหตุใด
ก. ความร้อนจากชั้นเนื้อโลกถ่ายเทอุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกเท่ากัน
ค. อัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ง. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน

10. สาเหตุสาคัญที่ทาให้ธารน้าแข็งเคลื่อนที่ลงสู่ที่ต่าจนทาให้เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงคืออะไร
ก. แรงดึงดูดของโลก
ข. ความลาดเอียงของภูมิประเทศ
ค. ความกดดันของธารน้าแข็งด้านบน
ง. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิรอบๆ ธารน้าแข็ง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


6
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรเนื้อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics)


จากทฤษฎีทวีปเลื่อนและทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรทาให้ทราบว่าทวีปและพื้นมหาสมุทร
มีการเคลื่อนที่ แต่ทวีปและพื้นมหาสมุทรเป็นส่วนบนของธรณีภาคการเคลื่อนที่ของทวีปและพื้น
มหาสมุทรจึงมีความเกี่ยวข้องกับธรณีภาคโดยรอยแยกที่เกิดขึ้นบนพื้นมหาสมุทรเป็นรอยแตกในธรณี
ภาคซึ่งทาให้ธรณีภาคแตกออกเป็นแผ่นย่อย ๆ เรียกว่าแผ่นธรณี (plate หรือ lithospheric plate)
แผ่ น ธรณี แ ต่ ล ะแผ่ น อาจรองรั บ ทั้ง พื้ นมหาสมุท รและพื้ นทวี ปแผ่ น ธรณี ที่ส าคั ญ ในปัจ จุ บัน เช่ น
แผ่นยูเรเซีย แผ่นแปซิฟิก แผ่นอินเดีย-ออสเตรเลีย แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นอเมริกาใต้ แผ่นแอฟริกา
แผ่นแอนตาร์กติกา ดังรูป 5.1

รูปที่ 5.1 แผ่นธรณีของโลก


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 49)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


7
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แผ่นธรณีเคลื่อนที่ได้เนื่องจากกระบวนการพาความร้อนภายในโลกโดยกระบวนการนี้เกิด
จากความร้อนจากแก่นโลกที่ส่งผ่านเนื้อโลกตอนล่างมาถึงเนื้อโลกตอนบนเมื่อเนื้อโลกตอนบนสูญเสีย
ความร้อนบางส่วนให้กับธรณีภาคอุณหภูมิของเนื้อโลกตอนบนจึงลดต่าลงและไหลวนลงสู่ด้านล่าง
กลับมารับพลังงานความร้อนเพิ่มจากแก่นโลกอีกครั้งเกิดการเคลื่อนที่หมุนวนจนเป็นวงจรเรียกว่า
วงจรการพาความร้อน (convection cell) ดังรูป 5.2

รูปที่ 5.2 วงจรการพาความร้อนภายในโลก


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 51)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ตั้งแต่ทฤษฎีทวีปเลื่อนทฤษฎี
การแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรและแนวคิดวงจรการพาความร้อนมาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่าทฤษฎีการ
แปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics) ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่และการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
เช่น ขนาดตาแหน่ งของแผ่ น ธรณีโ ดยมีว งจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกส าคัญในการ
ขับเคลื่อนให้แผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีนอกจากจะส่งผลต่อ
การเกิดและการเปลี่ยนแปลงของทวีปและมหาสมุทรแล้วยังส่งผลต่อธรณีสัณฐานและโครงสร้างทาง
ธรณี
การแปรสั ณ ฐานแผ่ น ธรณี ภ าค เป็ น ทฤษฎี เ ชิง ธรณี วิ ท ยาที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ อธิ บ ายถึ ง
หลั กฐานจากการสั งเกตการเคลื่ อ นตัว ของแผ่ นเปลื อกโลกขนาดใหญ่ โดยทฤษฎี นี้ได้พั ฒ นาต่ อ
ยอดจากทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปเดิมที่ถูกเสนอขึ้นมาระหว่าง พ.ศ. 2443-2493 ทฤษฎีธรณีแปร

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


8
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สัณฐานนี้ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลายหลังจากการเสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับการกระจายของพื้น
ทะเลในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 (ช่วงต้น พ.ศ. 2500)
โครงสร้างส่วนนอกของโลกนั้นแบ่งตามคุณสมบัติของชั้นหินต่อ คลื่นไหวสะเทือนได้สองชั้น
ชั้นที่อยู่นอกสุดคือชั้นธรณีภาคชั้นดินแข็ง (lithosphere) อันประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้อโลก
(mantle) ชั้ น บนซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ ต่ าและแข็ ง เกร็ ง ชั้ น ล่ า งลงไปคื อ ชั้ น ฐานธรณี ภ าคชั้ น ดิ น อ่ อ น
(asthenosphere) ซึ่งมีสถานะเป็น ของแข็งแต่มีความยืดหยุ่นค่อนข้างต่าและขาดความแข็งแรง
อีกทั้งยังสามารถเคลื่อนที่ได้คล้ายของเหลวเมื่อพิจารณาในช่วงระยะเวลาเชิงธรณีวิทยา ชั้นแมนเทิล
ที่อยู่ลึกลงไปภายใต้ชั้นดินอ่อนนั้นจะมีความแข็งมากขึ้นอีกครั้ง กระนั้นความแข็งดังกล่าวไม่ได้มา
จากการเย็นลงของอุณหภูมิ แต่เนื่องมาจากความดันที่มีอยู่สูง
ธรณีภาคแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นประกอบกัน ในกรณีของโลกสามารถแบ่งเป็น
แผ่นขนาดใหญ่ได้เจ็ดแผ่น และแผ่นขนาดเล็กอีกจานวนมาก แผ่นเปลือกโลกเหล่านี้เคลื่อนที่สัมพันธ์
กับ แผ่ น เปลื อกโลกอื่ น ๆ ขอบของเปลื อกโลกสามารถแบ่ งได้ เป็ นสามประเภทตามลั กษณะการ
เคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกสัมพัทธ์ของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นนั้น คือ ขอบเปลือกโลกที่มีการชน
กันหรือบรรจบกัน ขอบเปลือกโลกที่มีการแยกตัวออกจากกันหรือกระจายจากกัน และขอบเขตที่มี
การแปลงสภาพ ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ได้แก่ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ การก่อตัวของ
ภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวสมุทรนั้นจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของขอบเขตแผ่นดิน
การเคลื่อนตัวด้านข้างของแผ่นดินนั้นมีอัตราเร็วอยู่ระหว่าง 0.66 ถึง 8.50 เซนติเมตรต่อปี

แผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่

แผ่นเปลือกโลกที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่
1. แผ่นแอฟริกา ครอบคลุมทวีปแอฟริกา เป็นแผ่นทวีป แอฟริกา เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจานวนประชากร ด้วยพื้นที่
ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีป
แอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4
ของพื้น ดิน ทั้ งหมด ประชากรกว่า 1,100 ล้ า นคน (พ.ศ. 2556) ในดิน แดน 61 ดิ นแดน นับ เป็ น
ร้อยละ 14.72 ของประชากรโลก
ทวีปแอฟริกาถูกล้อมรอบด้วยทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตอนเหนือ คลองสุเอซ และทะเล
แดง บริเวณคาบสมุทรไซนายทางตะวันออกเฉียงเหนือ มหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้
และมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ประกอบด้วย 54 รัฐ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


9
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.3 ทวีปแอฟริกา


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

ทวีป แอฟริ กาเป็ น ทวี ป ที่มีขนาดใหญ่เป็นอั นดับ 2 ของโลก มี ท ะเลเมดิเตอร์เรเนี ยนเป็ น


พรมแดนระหว่างทวีปยุโรปทางตอนเหนือ และมี คลองสุเอซเป็นพรมแดนระหว่างทวีปเอเชียทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือ จุดเด่นของทวีปแอฟริกาคือ มีที่ราบสูงถึง 2 ใน 3 ของทวีป โดยเฉพาะทางภาค
ตะวันออกของทวีป เป็นที่ราบสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1,500 - 2,000 เมตรจากระดับน้าทะเล มีแนว
ภูเขาไฟที่ดับแล้ว มีแนวทะเลสาบขนาดใหญ่ แล้วจะลาดต่าไปทางตะวันตก มีเกาะมาดากัสการ์
1. เทือกเขา แบ่งออกเป็น 2 เขตคือ
1. เขตภูเขาทางภาคเหนือ เป็นเขตเทือกเขาเกิดใหม่อายุราวพอ ๆ กับ เทือกเขาแอลป์ใน
ทวีปยุโรป เรียกว่า เทือกเขาแอตลาส ขนานไปกับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในเขตพื้นที่ประเทศ
โมร็อกโก แอลจีเรีย และตูนิเซีย
2. เขตภูเขาทางภาคใต้ ได้แก่ เทือกเขาดราเคนสเบิร์ก ในประเทศแอฟริกาใต้และเลโซโท
2. ทะเลทราย แบ่งเป็น 2 เขตคือ
1. เขตทะเลทรายตอนเหนือ ได้แก่ ทะเลทรายสะฮารา (ซึ่งเป็นทะเลทรายที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดในโลก) และทะเลทรายลิเบีย บริเวณนี้จะเกิดลมร้อนในทะเลทรายสะฮารา เรียกว่า ซิร็อกโก
2. เขตทะเลทรายตอนใต้ ได้แก่ ทะเลทรายนามิบ และทะเลทรายคาลาฮารี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


10
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

3. แม่น้า
1. แม่น้าไนล์ เป็นแม่น้าสายที่ยาวที่สุดในโลก ต้นน้าคือทะเลสาบวิกตอเรีย ไหลลงทะเล
เมดิเตอร์เรเนียน
2. แม่น้าคองโก เป็นแม่น้าเขตศูนย์สูตร ไหลลงมหาสมุทรแอตแลนติก
3. แม่น้าไนเจอร์ อยู่ในส่วนแอฟริกาตะวันตก ต้นน้าอยู่ที่ประเทศเซียร์ราเลโอน ไหลลงสู่
อ่าวกินี
4. แม่น้าแซมเบซี อยู่ทางด้านตะวันออกของทวีปมีแอ่งน้าตก น้าค่อนข้างไหลเชี่ยว ไหล
ลงมหาสมุทรอินเดีย ที่ประเทศโมซัมบิก

รูปที่ 5.4 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


11
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

2. แผ่ น แอนตาร์ ก ติ ก ครอบคลุ ม ทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก า เป็ น แผ่ น ทวี ป แอนตาร์ ก ติ ก า


(Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้ว
โลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมรอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่
ประมาณ 14 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง
2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้าแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด
เว้นแต่ส่วนเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก

รูปที่ 5.5 ทวีปแอนตาร์กติกา


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูง


โดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มี หยาดน้าฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนว
ชายฝั่งและพื้นที่ภายใน ในช่วงไตรมาสที่สามซึ่งเป็นช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย -63 °C
แต่(ที่สถานีวอสตอค ของรัสเซีย) อุณหภูมิที่วัดได้เคยต่าถึง -89.2 °C (และเคยวัดได้ถึง -94.7 °C โดย
เป็นการวัดจากดาวเทียมในอวกาศ บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่
กระจายอยู่ทั่วทั้ งทวีป ตลอดทั้งปี สิ่ งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ ด
รา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร หนอนตัวกลม เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้า
ส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


12
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แม้ว่ามีตานานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุ
ว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบ เพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง พ.ศ.
2363 นักสารวจชาวรัสเซียเฟเบียน ก็อทลีป ฟอน เบลลิ่งเชาเซนและมิคาอิล ลาซาเรฟที่อยู่บนเรือ
สลุ บ วอสตอค และเรื อ สลุ บ เมอร์ นี ย์ ได้ สั ง เกตเห็ น หิ้ ง น้ าแข็ ง ฟิ ม โบลแต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส นใจเนื่ อ งจาก
สภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรต่อมนุษย์ ขาดแคลนทรัพยากรในการสารวจและความห่างไกลของพื้นที่
ต่อมาพ.ศ. 2438 ทีมสารวจชาวนอร์เวย์ได้รับการยืนยันการมาเยือนดินแดนแห่งนี้เป็นครั้งแรก
ทวีปแอนตาร์กติกาเป็นดินแดนใต้การปกครองร่วมโดยพฤตินัยตามกฎหมายระหว่างประเทศ
และอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก ที่ลงนามครั้งแรกโดย 12 ประเทศใน
พ.ศ. 2502 และตามด้วยการลงนามอีกเพิ่ม 38 ประเทศ ระบบสนธิสัญญานี้ห้ามมิให้มีการทาเหมือง
แร่ กิจกรรมทางทหาร ทดลองระเบิดนิ วเคลียร์และการกาจัดกากนิวเคลียร์ แต่จะสนับสนุนการวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์และปกป้องชั้นโอโซนของทวีป ทาให้มีการทดลองอย่างต่อเนื่องโดนนักวิทยาศาสตร์
4,000 คนจากหลายประเทศบนทวีปนี้

รูปที่ 5.6 ภาพถ่ายดาวเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


13
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

3. แผ่นออสเตรเลีย ครอบคลุมออสเตรเลีย (เคยเชื่อมกับแผ่นอินเดียเมื่อประมาณ 50-55


ล้านปีก่อน) เป็นแผ่นทวีป

รูปที่ 5.7 ทวีปออสเตรเลีย


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

ออสเตรเลีย (Australia) หรื อชื่อทางการคือ เครื อรั ฐออสเตรเลีย (Commonwealth of


Australia) เป็ น ประเทศซึ่ ง ประกอบด้ ว ยแผ่ น ดิ น หลั ก ของทวี ป ออสเตรเลี ย เกาะแทสเมเนี ย
และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ ออสเตรเลียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็น
อั น ดั บ หกของโลกเมื่ อ นั บ พื้ น ที่ ทั้ ง หมด ประเทศเพื่ อ นบ้ า นของออสเตรเลี ประกอบด้ ว ย
อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนีย
ทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้
เป็ น เวลาอย่ า งน้ อ ย 40,000 ปี ก่ อ นที่ จ ะตั้ ง ถิ่ น ฐานครั้ ง แรกของอั ง กฤษในศตวรรษที่
18 ประเทศออสเตรเลียเป็นที่อยู่อาศัยของชาวออสเตรเลียพื้นเมือง ที่พูดภาษาที่แบ่งออกได้เป็นกลุ่ม
ประมาณ 250 ภาษา หลังจากการค้นพบของทวีปโดยนักสารวจชาวดัตช์ในปี ค.ศ. 1606, ครึ่งหนึ่ง
ของฝั่งตะวันออกของออสเตรเลียถูกอ้างว่าเป็นของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1770 และตั้งรกราก
ในขั้นต้นโดยการขนส่งนักโทษมายังอาณานิคมของนิวเซาธ์เวลส์จากวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1788
จานวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทศวรรษที่ผ่านมา ทวีปถูกสารวจ และอีกห้าอาณานิคม
ปกครองตนเองของพระมหากษัตริย์ถูกจัดตั้งขึ้น

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


14
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1901 หกอาณานิคมถูกตั้งขึ้นเป็นสหพันธ์, รวมตัวกันเป็นเครือรัฐ


ออสเตรเลีย. ตั้งแต่นั้นมา ออสเตรเลียยังคงรักษาระบบการเมืองเสรีนิยมประชาธิปไตยที่มั่นคง ที่ทา
หน้ าที่เป็ น รั ฐ สภาประชาธิป ไตยของรัฐ บาลกลางและพระมหากษัตริย์ตามรัฐ ธรรมนูญ สหพันธ์
ประกอบด้วยหกรัฐ และอีกหลายพื้นที่ ประชากร 23.1 ล้านคน อยู่ในเมืองเป็นส่วนใหญ่และมีความ
หนาแน่นอย่างมากในรัฐทางตะวันออก
ออสเตรเลี ย เป็ น ประเทศที่ พัฒ นาแล้ ว และเป็นหนึ่ง ในประเทศที่ ร่ารวยที่สุ ดในโลกที่ มี
เศรษฐกิจ ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก ในปี ค.ศ. 2012 ออสเตรเลียมีรายได้ต่อหัวที่สูงที่สุด
อันดับห้าของโลก[14] ค่าใช้จ่ายทางทหารของออสเตรเลียมากที่สุดเป็นอันดับที่ 13 ของโลก ด้วยดัชนี
การพัฒ นามนุ ษย์ ที่สู งที่สุดอัน ดับ ที่สองทั่วโลก, ออสเตรเลี ยถูกจัดอันดับที่สู งในการเปรียบเทียบ
ระหว่างประเทศจานวนมากของประสิทธิภาพการทางานในระดับชาติ เช่น คุณภาพชีวิต , สุขภาพ,
การศึ ก ษา, เสรี ภ าพทางเศรษฐกิ จ , และการปกป้ อ งเสรี ภ าพของพลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการ
เมือง ออสเตรเลียเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ, G20, เครือจักรภพแห่งชาติ, ANZUS, องค์การเพื่อ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD), องค์การการค้าโลก, ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
เอเชียแปซิฟิกและหมู่เกาะแปซิฟิกฟอรั่ม

รูปที่ 5.8 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปออสเตรเลีย


ที่มา : https://sites.google.com/site/tor42273/thwip-xxsterleiy

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


15
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

4. แผ่นยูเรเชีย ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เป็นแผ่นทวีป


แผ่น ยูเ รเชีย (Euresian Plate) คือแผ่ นเปลื อ กโลกที่ร องรับพื้ นที่เกือบทั้งหมดของทวี ป
ยูเรเชีย แต่ไม่ได้ร องรั บ ประเทศอิน เดีย อนุภูมิภ าคอาหรับ และพื้นที่ทางตะวันออกของเทือกเขา
เชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากนี้ยังมีส่วนที่รองรับมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือ
ไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติก และเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ
67,800,000 ตารางกิโลเมตร
การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อย่างเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973
การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ.2553 ล้วนเกิดจาก
การแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย
ธรณีพลศาสตร์ ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่น
อินเดีย
ทวีปเอเชีย เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือ
และตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชีย รวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย
ร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น
30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่ อยู่อาศัยของมนุษย์
มานานและเป็นแหล่งกาเนิดอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนาดใหญ่
และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ และที่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมี
บริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น
60% ของประชากรโลก

รูปที่ 5.9 ทวีปเอเชีย


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


16
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

โดยทั่ ว ไปทางตะวั น ออกของทวีป ติ ด กั บ มหาสมุ ท รแปซิ ฟิ ก ทางใต้ ติ ด มหาสมุ ท รอิ น เดี ย


และทางเหนือติดกับ มหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์
และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการ
โยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทาให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม
ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีด
เส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ แม่น้ายูรัล, เทือกเขายูรัล
ช่องแคบตุรกี ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส ทะเลดาและทะเลแคสเปียน

รูปที่ 5.10 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800


จีน เป็ น ประเทศที่มีอานาจทางเศรษฐกิจที่ส าคัญและดึงดูดผู้ คนจานวนมากให้ ไ ปทางตะวันออก
และตานาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของ
เอเชียสิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสารวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทาง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


17
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กาลังค้นหาเส้นทาง
ไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่ง
ตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สาคัญ ช่วงศตวรรษที่
20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่าง
มากแต่การเติบโตของ ประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกาเนิดของศาสนาหลักบนโลก
หลายศาสนา อาทิ ศ าสนาคริ ส ต์ , ศาสนาอิ ส ลาม, ศาสนายู ด าห์ ศาสนาฮิ น ดู พ ระพุ ท ธศาสนา
ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า ศาสนาเชน ศาสนาซิกข์ ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย
เนื่องจากเอเชียมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมี
ตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความ
แตกต่างกัน อย่ างมากทั้ง ด้านภูมิภ าค กลุ่ มชาติพันธุ์ วัฒ นธรรม สภาพแวดล้ อม เศรษฐศาสตร์
ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมาก เช่น พื้นเขตร้อน
หรื อ ทะเลทรายในตะวั น ออกกลาง ภู มิ อ ากาศแบบอบอุ่ น ทางตะวั น ออก ภู มิ อ ากาศแบบกึ่ ง
อารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั้วโลกในไซบีเรีย
ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่ตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและส่วนมากอยู่ในซีกโลกตะวันออก ทางทิศเหนือ
ติดกับ มหาสมุทรอาร์ กติก ทางทิศใต้ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทางทิศตะวันออกติดกับ ทวีป
เอเชีย ทางทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของทวีปยูเรเชีย

รูปที่ 5.11 ทวีปยุโรป


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


18
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ตั้ ง แต่ ป ระมาณ 1850 การแบ่ ง ยุ โ รปกั บ เอเชี ย มั ก ยึ ด ตามสั น ปั น น้ าของเทื อ กเขายู รั ล
และเทือกเขาคอเคซัส แม่น้ ายู รั ล ทะเลแคสเปียน ทะเลดาและช่องแคบตุรกี แม้ค าว่า "ทวี ป "
จะหมายถึงภูมิศาสตร์กายภาพของผืนดินขนาดใหญ่ที่ไม่มีการแบ่งอย่างแน่นอนและชัดเจน จึงมีการ
โยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทาให้บริเวณชายแดนยุโรปกับเอเชียของยูเรเชียนั้นแสดงให้
เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตก
และแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่งเขตแดน เส้นแบ่งเขตแดนของทวีปไม่ได้แบ่งตามเส้น
แบ่งเขตแดนทางการเมืองทาให้ตุรกี รัสเซียและคาซัคสถานเป็นประเทศข้ามทวีป

รูปที่ 5.12 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

ยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8%


ของผืนดิน) ในทางการเมืองยุโรปมีรัฐอธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ ซึ่งมีรัสเซียเป็นประเทศที่
ใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพื้นที่ทวีปยุโรป 39% และมีประชากรทั้งหมด 15% ของทวีป
ใน พ.ศ. 2560 ยุโรปมีประชากรประมาณ 741 ล้านคน (หรือ 11% ของประชากรโลก) ภูมิอากาศ
ยุโรปส่วนใหญ่ได้รั บผลกระทบจากกระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกทาให้ภ ายในทวีปจะมี
อากาศหนาวจัดในฤดูหนาวและร้อนในฤดูร้อนแม้ในละติจูดเดียวกันในเอเชียกับอเมริกาเหนือจะมี
สภาพอากาศที่รุนแรง ยุโรปภาคพื้นทวีปจะเห็นความแตกต่างตามฤดูกาลได้ชัดเจนกว่าบริเวณชายฝั่ง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


19
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ทวีป ยุ โ รปโดยเฉพาะกรี ซโบราณเป็น แหล่ งก าเนิ ด วัฒ นธรรมตะวั นตก การล่ มสลายของ
จักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ 476 และสมัยการย้ายถิ่นช่วงต่อมา เป็นจุดจบของสมัยโบราณและ
เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของสมั ย กลาง มนุ ษ ยนิ ย มสมั ย ฟื้ น ฟู ศิ ล ปวิ ท ยา ยุ ค แห่ ง การส ารวจ ศิ ล ปะและ
วิทยาศาสตร์ อัน เป็ น เป็ น รากฐานน าไปสู่ ส มัยใหม่ ตั้งแต่ ยุค แห่ งการส ารวจเป็นต้น มานั้นยุโ รปมี
บทบาทสาคัญระดับโลกในด้านเศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรปมีอานาจ
ปกครองหลาย ๆ ครั้งในทวีปอเมริกา เกือบทั้งหมดของแอฟริกาและโอเชียเนียร่วมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่
ของเอเชีย
ยุ คเรื องปั ญญาหลั ง จากการปฏิวัติ ฝ รั่ง เศสและสงครามนโปเลี ยนส่ งผลให้ เกิด การปฏิรู ป
วัฒนธรรม การเมืองและเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 การ
ปฏิวัติอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักรช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิ จ วั ฒ นธรรมและสั ง คมเป็ น อย่ า งมากในยุ โ รปตะวั น ตกและขยายไปทั่ ว ทั้ ง โลกในเวลา
ต่อ มา สงครามโลกทั้ง 2 ครั้ งมี ส มรภู มิ ส่ ว นใหญ่ อยู่ ใ นทวีป ยุ โ รปนั้ น ทาให้ ช่ว งกลางศตวรรษที่
20 สหภาพโซเวียตและสหรัฐขึ้นมามีอานาจในขณะที่ประเทศยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่มีอานาจลดลง
[7] ระหว่างสงครามเย็นยุโรปถูกแบ่งด้วยม่านเหล็กระหว่างเนโททางตะวันตกกับกติกาสัญญาวอร์ซอ

ในตะวันออก จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลังการปฏิวัติ ค.ศ. 1989และการล่มสลายของกาแพงเบอร์ลิน


ใน ค.ศ. 1949 สภายุโรปก่อตั้งขึ้นตามคาปราศรัยของ เซอร์ วินสตัน เชอร์ชิล ซึ่งมีแนวคิดใน
การรวมยุ โ รปเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายร่ ว มกั น ทุ ก ประเทศในยุ โ รปเป็ น สมาชิ ก ยกเว้ น
เบลารุส คาซัคสถานและนครรัฐวาติกัน การบูรณาการยุโรปอื่น ๆ อย่างการรวมกลุ่มโดยบางประเทศ
น าไปสู่ ก ารก่ อ ตั้ ง สหภาพยุ โ รป (อี ยู ) ซึ่ ง เป็ น สหภาพทางเศรษฐกิ จ และการเมื อ งซึ่ ง มี รู ป แบบ
สมาพัน ธรั ฐ และสหพัน ธรั ฐ [8] สหภาพยุโ รปก่อตั้งขึ้นในยุโรปตะวันตกแต่ เริ่มเพิ่มสมาชิกในยุโ รป
ตะวันออกตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 ประเทศที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป
ส่วนใหญ่ใช้สกุลเงินยูโรซึ่งชาวยุโรปนิยมใช้กันทั่วไป; และในเขตเชงเก้นของอียูจะยกเลิกการควบคุม
ชายแดนและการอพยพระหว่างประเทศสมาชิก เพลงประจาสหภาพยุโรปคือ "ปีติศังสกานท์"และมี
วันยุโรปเพื่อการเฉลิมฉลองสันติภาพและเอกภาพประจาปีในทวีปยุโรป
5. แผ่ น อเมริ ก าเหนื อ ครอบคลุ ม ทวี ปอเมริ ก าเหนือ และทางตะวั นออกเฉีย งเหนื อของ
ไซบีเรีย เป็นแผ่นทวีป
แผ่ น อเมริ ก าเหนื อ (อั งกฤษ: North American Plate) คือ แผ่ น เปลื อ กโลกที่ รองรับ ทวี ป
อเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ คิวบา บาฮามาส เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ไอร์แลนด์ และบางส่วนของ
ไอซ์แลนด์ แผ่นเปลือกโลกนี้รองรับทั้งทวีปและมหาสมุทร
ทวีปอเมริกาเหนือ เป็นทวีปที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่ในซีกโลกเหนือและเกือบทั้งหมดในซีกโลก
ตะวันตก เป็นอนุทวีปทางเหนือของทวีปอเมริกา ทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันออก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


20
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ติดมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันตกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดกับทวีปอเมริกาใต้และทะเล


แคริบเบียน

รูปที่ 5.13 ทวีปอเมริกาเหนือ


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

ทวีปอเมริกาเหนือมีประชากรมนุษย์เป็นครั้งแรกในช่วงยุคน้าแข็งครั้งล่าสุดโดยเดินทางผ่าน
สะพานแผ่นดินเบริงเจียเมื่อประมาณ 40,000 ถึง 17,000 ปีก่อน ประชากรมนุษย์กลุ่มนี้รู้จักกันใน
ชื่ อ พาลี โ อ-อิ น เดี ย นซึ่ ง อยู่ ใ นช่ ว ง 10,000 ปี ก่ อ น (จุ ด เริ่ ม ต้ น ของยุ ค อาร์ เ คอิ ก หรื อ เมสโซ-
อินเดียน) คลาสสิกสเตจมีช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษ 6 ถึง 13 ศตวรรษ ยุคก่อนโคลัมเบีย น
สิ้นสุดใน ค.ศ. 1492 และเริ่มมีการอพยพและการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรปในช่วงยุคแห่งการ
สารวจและช่วงต้นของยุคกลางทาให้รูปแบบวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ในปัจจุบันสะท้อนให้เห็นถึง
ปฏิสัมพันธ์ของการตั้งอาณานิคมของยุโรปในอเมริกาเหนือ เช่น ชาวผิวขาว ชาวพื้นเมือง ทาสชาว
แอฟริกาและกลุ่มชนรุ่นหลัง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


21
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.14 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

6. แผ่นอเมริกาใต้ ครอบคลุมทวีปอเมริกาใต้ เป็นแผ่นทวีป


ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบ
ข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะ
เคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทาให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่
มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขา
แอนดีส คือ แอ่งแม่น้าแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น
ทวีป อเมริกาใต้มี พื้นที่กว้างใหญ่เป็นอัน ดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือ
ตามลาดับ ส่วนจานวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


22
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.15 ทวีปอเมริกาใต้


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

ทวีปอเมริกาใต้ตั้งอยู่ บ นซีกโลกใต้เป็นส่ว นมากโดยอยู่ระหว่างละติจูดที่ 12 องศาเหนือ


ถึง 56 องศาใต้ และลองจิจูด 35 องศาตะวันออก ถึง 117 องศาตะวันตก มีเนื้อที่ประมาณ 17.8
ล้านตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยล่ะ 14 ของแผ่นดินโลก ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก และมีเนื้อที่
แผ่ นดิน ติดต่อกัน ทาให้ช ายฝั่ งของทะเลมีน้อยเมื่อเทียบกับขนาดของทวีป โดยทวีปอเมริกาใต้มี
แผ่นดินใหญ่รูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


23
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.16 แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

7. แผ่นแปซิฟิก ครอบคลุมมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นแผ่นมหาสมุทร


แผ่นแปซิฟิก คือแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่ครอบคลุมพื้นที่ส่วนของมหาสมุทรแปซิฟิก
มีพื้นที่ประมาณ 103 ล้านตารางกิโลเมตรจึงถือว่าเป็นแผ่นเปลือกโลกที่ใหญ่ที่สุด
แผ่นแปซิฟิกมีจุดร้อนภายในที่ทาให้เกิดหมู่เกาะฮาวาย
แผ่นแปซิฟิกกาลังเคลื่อนตัวเพื่อปรับสมดุลทางธรรมชาติ เพราะน้าแข็งขั้วโลกละลายและ
ได้ไหลเข้าสู่มหาสมุทรแปซิฟิก จึงทาให้น้าในมหาสมุทรแปซิฟิกมีมากเกินไปจนเสียสมดุล ซึ่งการ
เคลื่อนตัวของแผ่นแปซิฟิกอาจทาให้พื้นที่ที่ติดกับทะเลหายไปได้

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


24
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.17 แผ่นแปซิฟิก


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

นอกจากนี้ ยั ง มี แ ผ่ น เปลื อ กโลกที่ มี ข นาดเล็ ก กว่ า ได้ แ ก่ แผ่ น อิ น เดี ย แผ่ น อาระเบี ย
แผ่นแคริบเบียน แผ่นฮวนเดฟูกา แผ่นนาสกา แผ่นทะเลฟิลิปปินส์ และแผ่นสโกเชีย
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกนั้นมีสาเหตุมาจากการรวมตัวและแตกออกของทวีปเมื่อผ่าน
ช่วงเวลาหนึ่ง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งได้รวมทุกทวีปเข้าด้วยกัน มหาทวีป
โรดิเนีย (Rodinia) นั้นคาดว่าก่อตัวขึ้นเมื่อหนึ่งพันล้านปีที่ผ่านมา และได้ครอบคลุมผืนดินส่วนใหญ่
บนโลก จากนั้นจึงเกิดการแตกตัวไปเป็นแปดทวีปเมื่อ 600 ล้านปีที่แล้ว ทวีปทั้งแปดนี้ต่อมาเข้า
มาร่ วมตัว กันเป็น มหาทวีปอีกครั้ง โดยมีชื่อว่า แพงเจีย (Pangaea) และในที่สุ ด แพงเจีย ก็แตก
ออกไปเป็ น ทวี ป ลอเรเชี ย (Laurasia) ซึ่ ง กลายมาเป็ น ทวี ป อเมริ ก าเหนื อ และยู เ รเชี ย และทวี ป

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


25
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

กอนด์วานา (Gondwana) ซึ่งกลายมาเป็นทวีปอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ได้กล่าวข้างต้น ดังที่เห็นกันอยู่


ทุกวันนี้

รูปที่ 5.18 แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกนั้นมีสาเหตุมาจากการรวมตัวและแตกออกของทวีปเมื่อผ่าน
ช่วงเวลาหนึ่ง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งได้รวมทุกทวีปเข้าด้วยกัน มหาทวีป
โรดิเนีย (Rodinia) นั้นคาดว่าก่อตัวขึ้นเมื่อหนึ่งพันล้านปีที่ผ่านมา และได้ครอบคลุมผืนดินส่วนใหญ่
บนโลก จากนั้นจึงเกิดการแตกตัวไปเป็นแปดทวีปเมื่อ 600 ล้านปีที่แล้ว ทวีปทั้งแปดนี้ต่อมาเข้า
มาร่ ว มตัว กัน เป็ น มหาทวีป อีกครั้ ง โดยมีชื่อว่า แพงเจีย (Pangaea) และในที่สุ ด แพงเจีย ก็แตก
ออกไปเป็ น ทวีป ลอเรเชีย (Laurasia) ซึ่งกลายมาเป็นทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเชีย และทวี ป
กอนด์วานา (Gondwana) ซึ่งกลายมาเป็นทวีปอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ได้กล่าวข้างต้น ดังที่เห็นกัน
อยู่ทุกวันนี้
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (plate motion) คือลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือก
โลก 2 แผ่นที่อยู่ติดกัน สามารถจาแนกได้ออกเป็น 3 รูปแบบ ตามลักษณะการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน
ระหว่างแผ่นเปลือกโลกทั้งสอง ได้ดังต่อไปนี้

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


26
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

 การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแบบเคลื่อนผ่านกัน
 การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแบบเคลื่อนแยกจากกัน
 การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแบบชนเข้าหากัน

รูปที่ 5.19 แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก


ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ธรณีแปรสัณฐาน เป็นการศึกษาด้านธรณีแปรสัณฐาน ที่ นักธรณีวิทยาตั้งข้อสงสัยไว้หลาย


ร้อยปีมาแล้วถึงลักษณะของพื้นผิวโลกที่มีลักษณะธรณีสัณฐานที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ บ้างก็
เป็นลักษณะเทือกเขาสูงชัน บ้างก็เป็นที่ราบกินอาณาบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล หรือ ที่ราบในบางแห่ง
ก็เป็นที่ราบไหล่ทวีปใกล้ชายฝั่งทะเล บ้างก็พบเกาะกลางมหาสมุทร รวมถึงร่องลึกกลางมหาสมุทร
โดยในช่ ว งประมาณ ค.ศ. 1960 เมื่อ B.C. Heezen, H.H. Hess และ R.S. Dietz ได้เ สนอทฤษฎี
เกี่ยวกับการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร (Seafloor Spreading) กล่าวถึงการแยกตัวที่พื้นมหาสมุทร
ออกจากกันเป็นแนวยาวโดยมีแมกมาจากใต้ชั้นเปลือกโลกแทรกขึ้นมาเย็นตัวและแข็งตัว เกิดเป็นพื้น
มหาสมุทรใหม่แล้วก็แยกจากกันออกไปอีกเรื่อยๆ นอกจากนั้นยังมีการพูดถึงการหดตัวของโลกอัน
เนื่องมาจากการสูญเสียพลังงานความร้อนทาให้การหดตัวเกิดขึ้นไม่เท่ากันในแต่ละบริเวณ บริเวณที่
มีการหดตัวมากอาจเป็นเป็นร่องลึก อยู่ต่าลงไป แต่บริเวณที่มีการหดตัวน้อยก็อาจเห็นเป็นเทือกเขา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


27
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

สูงได้เนื่องจากบริเวณโดยรอบมีการหดตัวที่มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถอธิบายถึงแนว
ร่องหุบเขาที่เกิดขึ้นได้ นักธรณีวิทยายังคงศึกษาถึงเหตุการณ์ต่างๆอย่างต่อเนื่อง เช่น สนามแม่เหล็ก
โลกโบราณ ซากดึกดาบรรพ์ต่างๆที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก ทาให้ปัจจุ บันได้มีการกล่าวถึง
ทฤษฎีอยู่ 2 ทฤษฎี ที่จะมาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ได้แก่
1. ทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift)
2. ทฤษฎีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ (Plate Tectonics)
ในค.ศ. 1620 ฟรานซิส เบคอน ได้ตั้งข้อสังเกต ถึงการที่สองฟากมหาสมุทรแอตแลนติก มี
ลักษณะสัณฐานวิทยาที่สอดคล้องกันต่อมา P.Placet 1668 พยายามอธิบายว่าสองฟากมหาสมุทร
แอตแลนติกน่าจะเชื่อมกันมาก่อน แต่ยังไม่มีหลักฐานหรือข้อมูลใดสนับสนุน นอกจากอาศัยลักษณะ
คล้ายคลึงสอดคล้องกันของชายฝั่งมหาสมุทรเท่านั้น จากนั้นในปี 1858 Antonio Sniderได้อาศัย
ข้อมูลชั้นหินในยุค Carboniferous ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือมาเชื่อมโยงกันซึ่งสามารถสรุปได้
ว่า ก่อนหน้านี้ทวีปทั้งหมดเคยเป็นทวีปผืนเดียวกันมาก่อน แล้วจึงค่อยๆ แยกออกจากกันในภายหลัง
ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้อธิบายถึงของการที่มหาทวีป 2 ทวีปซึ่งเคยวางตัว อยู่ใกล้ขั้วโลก
เหนือและใต้แยกออกเป็นทวีปเล็กๆ และเคลื่อนที่มาในทิศเข้าหาเส้นศูนย์สูตร นั่นคือมหาทวีปลอเร
เซีย (Laurasia) ซึ่งอยู่ทางเหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซึ่งอยู่ทางใต้ โดยเป็น
การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกไซอัลเท่านั้น ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegene ได้สร้างแผนที่มหาทวีป
ใหม่ โดยอาศัยรูปร่างแผนที่ของ Snider และตั้งชื่อว่ามหาทวีปพันเจีย ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยมหาสมุทร
พัน ธาลาสซา (Panthalassa) แล้ ว เกิ ดการแยกออกและเคลื่ อ นที่ไ ปอยู่ ณ ตาแหน่ งที่ เห็ นอยู่ใ น
ปัจ จุบั น โดยขณะเคลื่ อนที่ก็เกิดเทือกเขาขึ้น ต่อมา Taylor ได้อธิบายว่ารอยชิ้นทวีปที่ขาดหล่ น
ปรากฏเป็นเกาะแก่ง หรือรอยฉีกที่พบเป็นร่องลึกยังปรากฏอยู่บนพื้นมหาสมุทร

รูปที่ 5.20 แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลก


ที่มา : https://sites.google.com/site/maneeprapayotakaree10219/6

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


28
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เมื่อกว่าหลายทศวรรษที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่าแผ่นทวีปต่างๆ บนโลกนั้น


น่าจะสามารถนามาต่อกันได้เพราะแผ่นทวีปเหล่านี้เคยเป็นแผ่นเดียวกันมาก่อน จากการสังเกตครั้ง
นั้นร่วมกับการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ชนิดเดียวกันบนชายฝั่งอเมริกาเหนือและแอฟริกาในเวลาต่อมา
ในช่ ว ง 1950s ถึ ง 1960s นั ก ธรณี วิ ท ยาได้ มี ก ารศึ ก ษาทางสุ ม ทรศาสตร์ อ ย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ หา
ข้ อ สนั บ สนุ น แนวความคิ ด ต่ า งๆ ในอดี ต และได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด ทฤษฎี ข องเพลตเทคโทนิ ก (Plate
Tectonics) ขึ้นในเวลาต่อมา ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (Plates)
นั้ น สอดคล้ องกับ การเปลี่ ย นแปลงพื้น ผิ ว โลกตลอดช่ว งธรณีกาล แผ่ นเปลื อกโลก Lithosphere
(ซึ่งประกอบด้วยเปลือกโลกและแมนเทิลส่วนบน) ลอยตัวและไหลอยู่บนชั้นหินหนื ด (ชั้นแมนเทิล
ที่ ส ามารถไหลได้ ค ล้ า ยของเหลวเรี ย กว่ า Asthenosphere) สามารถเคลื่ อ นไปได้ ป ระมาณ
หนึ่งนิ้วต่อปี และก็ได้เป็นคาตอบของสาเหตุที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่นั่นเอง โดยนักธรณีได้ให้
ข้อสรุปไว้ว่าแผ่นเปลือกโลกสามารถเคลื่อนที่ได้สามแบบได้แก่
1. เคลื่อนที่แยกออกจากกัน (Divergent)
2. เคลื่อนที่เข้าชนกัน (Convergent)
3. เคลื่อนผ่าน (Transform)

เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
เมื่อ แผ่ น เปลื อ กโลกเคลื่ อนที่แ ยกออกจากกัน ที่ บริ เวณแนวแผ่ นเปลื อกโลกแยกตั ว
(Divergent Boundaries) หิ น หนื ด ร้ อ น (Hot Magma) จากชั้ น แมนเทิ ล จะแทรกตั ว ขึ้ น มาตาม
ช่องว่างตามแนวรอยแตก เมื่อหินหนืดเย็นตัวก็จะกลายเป็นแผ่นเปลือกโลกใหม่ การแทรกตัวขึ้นมา
ของหิน หนื ดจะทาให้แนวแยกตัวนั้ นสู งขึ้นกลายเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid-Ocean
Ridges) แสดงถึงขอบของแผ่นเปลือกโลกในมหาสมุทร เปลือกโลกใหม่ ที่ถูกสร้างขึ้นอย่างต่อเนื่องมี
อัตราเร็วในการเกิดประมาณ 20 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อปี

แนวเทือกเขากลางสมุทร
มีลักษณะเป็นแนวเทือกเขาเตี้ยวางตัวทอดยาวไปบนพื้นมหาสมุทรคล้ายกับเทือกเขาบน
ทวีป เทือกเขากลางสมุทรที่สาคัญได้แก่ Mid-Atlantic Ridge และ East Pacific Rise เป็นต้น กลาง
เทือกเขามีลักษณะพิเศษคือมีร่องลึกอันเกิดจากรอยเลื่อนทอดตัวตลอดความยาวของเทือกเขา โดยมี
ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั บ ร่ อ งหุ บ เขาที่ ป รากฏอยู่ บ นแผ่ น ดิ น หลายแห่ ง เช่ น ร่ อ งหุ บ เขาทางด้ า น
ตะวันออกของทวีปแอฟริกา หรือร่องหุบเขาบริเวณแม่น้าไรน์ในยุโรป เป็นต้น บนเทือกเขากลาง
สมุทรมีการยกตัวขึ้นมาของหินหลอมละลายที่ลึกลงไปในชั้นเนื้อโลกทาให้เกิดเป็นหินอัคนีพุจาพวก
Basalt และ Ultramafic หินอัคนีพุเหล่านี้แสดงหลักฐานเป็นแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกซึ่งเกิดขึ้น

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


29
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ขณะที่หินหลอมละลายกาลังเย็นตัว แถบบันทึกนี้แสดงให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กโลกได้เกิดการกลับขั้ว
ไปมาตลอดเวลา นอกจากนี้ยังพบว่าแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกนี้ปรากฏอยู่บนหินที่ประกอบเป็น
พื้นมหาสมุทรทั้งสองฟากของเทือกเขากลางสมุทรด้วย และพบว่ายิ่งห่างออกไปจากแนวกลางของ
เทือกเขาชุดหินจะมีอายุแก่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นจึงอธิบายได้ว่าหินเหล่านี้ เกิดขึ้นก่อนที่กลางเทือกเขา
แล้ ว ค่อยเคลื่ อนที่ออกจากกัน เรื่อย ๆ ตามกาลเวลา จากการคานวณการเคลื่อนที่ทาให้ กาหนด
ความเร็วของการแยกตัวได้ว่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 15 เซนติเมตรต่อปี ดังนั้นเราสามารถระบุขอบของ
แผ่นเปลือกโลกในส่วนที่กาลังแยกตัวออกจากกันจากบริเวณเทือกเขากลางสมุทรได้

เคลื่อนที่เข้าชนกัน
เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่มีการเย็นตัวเป็นเวลากว่าสิบล้านปี ความหนาแน่นก็จะ
ค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นจนมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นหินหนืดที่อยู่ด้านล่าง จากนั้นจึงมุดตัวลงไปใต้โลก
เรียกว่า Subduction การมุดตัวนี้จะเกิดขึ้นในบริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (Convergent
Plate Boundaries) ซึ่งแผ่นเปลือกโลกทั้งสองแผ่นมีการเคลื่อนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกมหา
สมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะเข้าชนและมุดตัวใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปที่ความหนาแน่น
น้อยกว่า เมื่อแผ่นเปลือกโลกมุดตัวลงไปในโลก จะเกิดการบีบอัดและหลอมเป็นบางส่วน (Partially
Melting) เนื่องจากอุณหภูมิและความดันที่สูงขึ้น ทาให้เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟ ขึ้นเหนือบริเวณ
ที่มีการมุดตัว โดยการเคลื่อนที่แบบ Convergence จะทาให้เกิดลักษณะธรณีสัณฐาน 3 แบบ ได้แก่
1. การสร้างเทือกเขา
แรงดันจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรทาให้แผ่นเปลือกภาคพื้นทวีปที่มี
ความหนาแน่นน้อยกว่าที่เคลื่อนที่ต้านแรงดังกล่าวเกิดการโก่งตัวเกิดเป็นแนวเทือกเขาขนาดใหญ่
(Mountain Ranges) เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาร๊อกกี้
2. ร่องลึกมหาสมุทรและหมู่เกาะ
เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรสองแผ่นเคลื่อนที่ชนกันและการมุดตัว บริเวณที่มีการมุด
ตั ว จะเกิ ด ร่ อ งลึ ก มหาสมุ ท ร (Oceanic Trenches) และแนวหมู่ เ กาะภู เ ขาไฟ (Volcanic Island
Chains)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


30
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

3. ร่องลึกก้นสมุทร
ร่องลึกนี้ถูกพบที่ใต้มหาสมุทรใกล้ขอบของทวีป และมักพบว่ามีแนวเกาะภูเขาไฟรูปโค้ง
อยู่ ด้ านอยู่ ใกล้ ขอบทวี ป หิ น ภู เขาไฟที่ เกิด ขึ้น ตามแนวเกาะภูเ ขาไฟนี้ เป็น จาพวกหิ น Andesite
ซึ่งแตกต่างไปจากหินอัคนีที่เกิดบริเวณเทือกเขากลางสมุทรที่ส่วนใหญ่เป็นหิน Basalt นอกจากนั้น
บริเวณนี้ยังพบว่าเป็นบริเวณที่มีความร้อนสูงและมีการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง พบว่าตาแหน่ง
จุดกาเนิดแผ่นดินไหว มีลักษณะเอียงเทลงไปจากแนวร่องลึกลงไปถึงชั้นฐานธรณีภาค ที่ประมาณ
ความลึ ก ถึ ง 700 กิ โ ลเมตร เรี ย กแนวแผ่ น ดิ น ไหวเอี ย งเทนี้ ว่ า เขตเบนนิ อ อฟ (Benioff Zones)
จากการศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวที่พบในที่ลึกพบว่ามีแผ่นดินไหวจานวนหนึ่งน่าจะเกิดจาก
รอยเลื่อนที่มีลักษณะสอดคล้องกับการเอียงของ Benioff Zone โดยแสดงเป็นลักษณะของรอยเลื่อน
ย้อน ดังนั้นจึงเกิดเป็นสมมติฐานว่าบริเวณนี้แผ่นเปลือกโลกกาลังมุด ตัวเอียงลง และถูกกลืนหายไป
ในชั้นฐานธรณีภาค ขณะเดียวกันแนวเกาะภูเขาไฟและเขตความร้อนพิภพสูงก็อธิบายว่าได้เกิดการ
หลอมตัวของแผ่นเปลือกโลกในที่ลึกจนกลายเป็นมวลหินหลอมเหลว ซึ่งมวลหินหลอมเหลวค่อยๆ
หาทางเคลื่อนที่ขึ้นข้างบนมาเย็นตัวเป็นมวลหินอัคนีทั้งหินอัคนีพุและหินอัคนีแทรกดัน นอกจากนี้ใน
บริเวณใกล้เคียงที่ขอบของแผ่นเปลือกโลกด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านน่าจะเกิดการเข้าชนกันทา
ให้เกิดการคดโค้งโก่งงอพร้อมกับรอยเลื่อนย้อนมากมายจนทาให้วัสดุถูกยกตัวขึ้นเป็นแนวแคบยาว
ขนานไปตามแนวชนกันของขอบแผ่นเปลือกโลกนั่นคือการเกิดเป็นแนวเทือกเขานั่นเอง

เคลื่อนผ่าน
แผ่ น เปลื อ กโลกมี ก ารเคลื่ อ นที่ ผ่ า นซึ่ ง กั น และกั น ในบริ เ วณแนวรอยเลื่ อ นแปรสภาพ
(Transform Boundaries) มักพบในแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร ซึ่งเป็นสาเหตุทาให้แนวเทือกเขา
กลางมหาสมุทรเลื่อนเหลื่อมออกจากกัน บางบริเวณก็พบว่าตัดผ่านแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปด้วย
ในมหาสมุทรแนวดังกล่าวนี้มักจะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวกาลังไม่มากอยู่เป็นประจา ส่วนในภาคพื้น
ทวีปแนวดังกล่าวมักถูกจากัดทาให้เกิดการสะสมพลังงานและก่อให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในเวลา
ต่อมาเมื่อเกิดการเลื่อนอย่างฉับพลัน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายได้ ดังเช่น รอยเลื่อนซานแอนเดียส

รอยเลื่อนระนาบด้านข้าง
เป็ น ลั ก ษณะของรอยเลื่ อ นแนวระดับ (Strike-Slip Fault) ซึ่งพบตั ดแนวเทือ กเขากลาง
สมุทรและทาให้แนวเทือกเขาเหลื่อมกันและจากข้อมูลแผ่ นดินไหวพบว่า แนวรอยเลื่อนนี้อยู่ลึ ก
ประมาณ 300 กิโ ลเมตร รอยเลื่ อ นชนิด นี้ยั ง ไม่ ทราบถึ งสาเหตุ ข องการเกิ ด แต่ ส ามารถใช้ร ะบุ
ขอบเขตของแผ่นโลกที่เกิดได้รวมทั้งบอกถึงการเคลื่อนตัวเฉียดผ่านกันของแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ชิด
กันด้วย

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


31
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.1
ถอดบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

จุดประสงค์กิจกรรม
อธิบายสาเหตุที่ทาให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่โดยใช้แบบจาลอง

วัสดุ-อุปกรณ์
1. น้ามันพืช 1 ลิตร
2. แผ่นวัสดุเบา ลอยบนน้ามันได้ และทนความร้อน เช่น แผ่นโฟมบาง ไม้บัลซา
ขนาด กว้าง 4 เซนติเมตร ยาว 8 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
3. บีกเกอร์ขนาด 2,000 มิลลิลิตร จานวน 1 ใบ
4. ผงวัสดุที่แขวนลอยอยู่ได้ในน้ามัน เช่น ผงพริกป่น ขี้เลื่อย
5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด
6. แท่งแก้วคนสาร 1 แท่ง

วิธีการทากิจกรรม
1. เทน้ามันพืชลงในบีกเกอร์ และน้าบีกเกอร์ตั้งบนชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
2. ใส่ผงวัสดุลงตรงกลางบีกเกอร์ใช้แท่งแก้วกดให้ผงวัสดุแขวนลอยอยู่ในชั้นน้ามันพืช
3. วางแผ่นโฟมที่ตัดเป็นรูปร่างของแผ่นธรณี 2 แผ่น โดยวางให้ชิดกันและ อยู่ตรงกลางของ
บีกเกอร์
4. สังเกตการเคลื่อนที่ของผงวัสดุและแผ่นโฟมก่อนจุดไฟ
5. จุดไฟที่ตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. สังเกตการเคลื่อนที่ของผงวัสดุ และแผ่นโฟม และบันทึก
ผลการสังเกต โดยวาดภาพ และเขียนบรรยาย

ผลการทากิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


32
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาถามท้ายกิจกรรม
1. เมื่อให้ความร้อนกับ น้ามัน น้ามันและแผ่นโฟมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร สังเกตได้จาก
สิ่งใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. น าน้ ามั น มัน พืช แผ่ น โฟม และความร้อนที่ใ ห้ ในกิจ กรรมเปรีย บเทียบได้ กับอะไรใน
ธรรมชาติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. กิจกรรมนี้เปรียบกับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


33
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี” เป็นแผนผังมโนทัศน์


(Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


34
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.3
ถอดบทเรียน เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ” ตามหลักปรัชญา


ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศ
หน้าชั้นเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


35
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบฝึกหัด
เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

1. แผ่นทวีปใดที่ดูเหมือนว่าเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชตระกูลเฟินที่ชื่อ กลอสซอพเทอริส ในแผ่นดินของทวีปแอฟริกา


เอเชียและออสเตรเลีย สามารถบอกอะไรเกี่ยวกับความเป็นมาของแผ่นทวีปได้บ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 60 จงอธิบายเกี่ยวกับเปลือกใต้มหาสมุทรตามความเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เพราะเหตุใด ปรากฏการณ์ภูเขาไฟระเบิดและแผ่นดินไหว มักเกิดตามแนวการมุดตัวของแผ่น


ธรณีภาค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


36
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

6. นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. รอยคดโค้ง รอยแตก รอยเลื่อนในหิน มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ เกิดขึ้นได้อย่างไร


……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. จากการศึกษาแผนที่โลก ภูมิประเทศของโลกมีลักษณะอย่างไรบ้าง และลักษณะเหล่านั้นเกิดขึ้น


ได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


37
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. แผ่นดินของทวีปอเมริกากับทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา แยกห่างกันมากขึ้นตลอดเวลา
เพราะสาเหตุใด
ก. เกิดการแทรกตัวของภูเขาไฟและแผ่นดินในบริเวณชั้นนี้บ่อยครั้ง
ข. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เนื่องจากการไหลของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
ค. หินหนืดในชั้นเนื้อโลกดันแทรกขึ้นมาตามรอยแตกระหว่างเปลือกโลก
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

2. ทฤษฎีที่ใช้อธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตที่ตายทับถม อยู่ในหินบน


เปลือกโลก คือข้อใด
ก. ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป
ข. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นทวีป
ค. ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ง. ทฤษฎีการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร

3. จากการพบหินบะซอลต์ที่รอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก อายุของ


หินอยู่บริเวณดังกล่าวเป็นอย่างไร
ก. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ข. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ใกล้รอยแยก
ค. หินบะซอลต์ที่อยู่ไกลจากรอยแยกมีอายุน้อยกว่าหินบะซอลต์ ที่อยู่ในรอยแยก
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


38
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

4. เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เกิดจากแผ่นธรณีภาคใด
ก. แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ข. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีใต้มหาสมุทร
ค. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร

5. สนามแม่เหล็กโลกโบราณใช้เป็นหลักฐานเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีอะไร
ก. การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ข. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค
ค. แม่เหล็กโลกในปัจจุบัน
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

6. ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่


อย่างไร
ก. เคลื่อนที่เข้าหากัน
ข. เคลื่อนที่แยกออกจากกัน
ค. เคลื่อนที่ในทิศที่แตกต่างกัน
ง. ยังไม่มีการเคลื่อนที่แต่อย่างไร

7. สาเหตุที่ทาให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ คือข้อใด
ก. การไหลของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก
ข. การประทุของหินแข็งในชั้นเปลือกโลก
ค. การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุในแก่นโลกชั้นใน
ง. การแทรกตัวขึ้นมาของแร่ธาตุจากแก่นโลกชั้นนอก

8. ผืนแผ่นดินแผ่นเดียวกันบนโลกต่อมาแยกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือข้อใด


ก. เอเชียและยุโรป
ข. ยุโรปและอเมริกา
ค. ออสเตรเลียและอัฟริกา
ง. ลอเรเซียและกอนด์วานา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


39
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

9. การที่แ ผ่ น ธรณี ภ าคในแต่ ล ะส่วนมีอั ตราการเคลื่อนที่ ไ ม่เ ท่า กั น นักเรี ยนคิดว่า เกิดจาก
สาเหตุใด
ก. ความร้อนจากชั้นเนื้อโลกถ่ายเทอุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกเท่ากัน
ค. อัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
ง. ความหนาแน่นของชั้นธรณีภาคและเนื้อโลกไม่เท่ากัน

10. สาเหตุสาคัญที่ทาให้ธารน้าแข็งเคลื่อนที่ลงสู่ที่ต่าจนทาให้เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงคืออะไร
ก. แรงดึงดูดของโลก
ข. ความลาดเอียงของภูมิประเทศ
ค. ความกดดันของธารน้าแข็งด้านบน
ง. การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิรอบๆ ธารน้าแข็ง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


40
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


41
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม
2542. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.
กรมทรัพยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
https://sites.google.com/site/maneeprapayotakaree10219/6
https://th.wikipedia.org/wiki/
https://www.google.com/search?sxsrf=ALiCzsZ8eHAM1GG_t_

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


42
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


43
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.1
ถอดบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

จุดประสงค์กิจกรรม
อธิบายสาเหตุที่ทาให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่โดยใช้แบบจาลอง

วัสดุ-อุปกรณ์
1. น้ามันพืช 1 ลิตร
2. แผ่นวัสดุเบา ลอยบนน้ามันได้ และทนความร้อน เช่น แผ่นโฟมบาง ไม้บัลซา
ขนาด กว้าง 4 เซนติเมตร ยาว 8 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
3. บีกเกอร์ขนาด 2,000 มิลลิลิตร จานวน 1 ใบ
4. ผงวัสดุที่แขวนลอยอยู่ได้ในน้ามัน เช่น ผงพริกป่น ขี้เลื่อย
5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด
6. แท่งแก้วคนสาร 1 แท่ง

การเตรียมตัวล่วงหน้า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
1. ตัดแผ่นวัสดุเบาจานวน 2 แผ่น ตามขนาดที่กาหนด โดยอาจตัดเป็นรูปร่างทวีปต่าง ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ข้อเสนอแนะสาหรับครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
1. หากไม่มีบีกเกอร์ขนาดใหญ่สามารถใช้ชามแก้วทนไฟสาหรับทาอาหารแทนได้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
2. ควรก าชั บ ให้ นั ก เรี ย นระมั ด ระวั ง ในการจุ ด ไฟ ไม่ สั ม ผั ส หรื อ เข้ า ใกล้ แ หล่ ง ก าเนิ ด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ความร้อน และภาชนะที่ยังมีความร้อนอยู่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
3. เพื่อประหยัดทรัพยากรอาจทดลองโดยใช้ชุดสาธิตเพียง 1-2 ชุด และให้นักเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
แต่ละ กลุ่มผลัดกันออกมาสังเกตผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
4. ครูอภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับเหตุผลในการใช้วัสดุต่าง ๆ เช่น การใช้ น้ามันพืช
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ซึ่ง เป็ น ของเหลวแทนเนื้ อ โลกที่ เป็ น ของแข็ง ที่ มีส ภาพพลาสติ กเนื่ องจากเมื่ อ น้ ามัน พื ช ได้ รั บ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ความร้อนจะเปลี่ยนแปลงได้เร็วและอันตรายน้อยกว่าการใช้พาราฟิน แผ่นวัสดุ เบาแทนแผ่นธรณี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
และตะเกียงแอลกอฮอล์แทนแหล่งกาเนิดความร้อนภายในโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


44
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

วิธีการทากิจกรรม
1. เทน้ามันพืชลงในบีกเกอร์ และน้าบีกเกอร์ตั้งบนชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
2. ใส่ผงวัสดุลงตรงกลางบีกเกอร์ใช้แท่งแก้วกดให้ผงวัสดุแขวนลอยอยู่ในชั้นน้ามันพืช
3. วางแผ่นโฟมที่ตัดเป็นรูปร่างของแผ่นธรณี 2 แผ่น โดยวางให้ชิดกันและ อยู่ตรงกลางของ
บีกเกอร์
4. สังเกตการเคลื่อนที่ของผงวัสดุและแผ่นโฟมก่อนจุดไฟ
5. จุดไฟที่ตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. สังเกตการเคลื่อนที่ของผงวัสดุและแผ่นโฟม และบันทึก
ผลการสังเกต โดยวาดภาพ และเขียนบรรยาย

ผลการทากิจกรรม

สรุปผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
จากกิจกรรมเมื่อ น้ามันได้รับความร้อน น้ามันด้านล่างที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจะเกิดการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ขยายตัวทาให้ความหนาแน่นลดลงจึงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ด้านบน เมื่อเคลื่อนที่ใกล้ผิวหน้าของน้ามัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
จะถ่ายโอนความร้อนให้กับอากาศทาให้มีอุณหภูมิต่าลงและมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นจึงจมลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
สู่ด้านล่ าง และเมื่อได้รับ ความร้อนอีกครั้งก็จะเคลื่อนที่เช่นเดิมหมุนวนเป็นวงจร ซึ่งสังเกต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
การเคลื่ อนที่ได้จ ากการเคลื่ อนที่ของผงวัส ดุ ลั กษณะการถ่ายเทความร้อนดังกล่ าวเรียกว่ า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
การพาความร้อน และผลจากการเคลื่อนที่ของน้ามันทาให้แผ่นโฟมที่วางอยู่ด้านบนเคลื่อนที่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
ตามกระแสของน้ ามั น ที่อ ยู่ ด้า นล่ า ง เช่น เดีย วกับ การเคลื่ อนที่ของแผ่ นธรณีที่ ว างตัว อยู่บ น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....
เนื้อโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………....

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


45
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาถามท้ายกิจกรรม
1. เมื่อให้ ค วามร้ อ นกับ น้ ามั น น้ามั นและแผ่ นโฟมมี การเปลี่ ยนแปลงอย่างไร สั ง เกตได้
จากสิ่งใด
แนวคาตอบ
น้ามันมีการเคลื่อนที่จากด้านล่างขึ้นสู่ด้านบนและจมกลับลงมาด้านล่างหมุนวนเป็นวงจร
สังเกตได้จากวัสดุที่ลอยอยู่ในน้ามัน ส่วนแผ่นโฟมจะมีการเคลื่อนที่ แยกออกจากกัน

2. น าน้ ามั น มัน พืช แผ่ น โฟม และความร้อนที่ใ ห้ ในกิจ กรรมเปรีย บเทียบได้ กับอะไรใน
ธรรมชาติ
แนวคาตอบ
น้ามันพืชเทียบได้กับเนื้อโลก แผ่นโฟมเทียบได้กับแผ่นธรณี ความร้อนจากตะเกียง
แอลกอฮอล์เทียบกับความร้อนจากภายในโลก

3. กิจกรรมนี้เปรียบกับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้อย่างไร
แนวคาตอบ
แผ่นโฟมด้านบนเคลื่อนที่ออกจากกันเนื่องจากการหมุนวนของน้ามันด้านล่าง
เช่นเดียวกับแผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ได้เนื่องจากการหมุนวนของเนื้อโลกที่เกิดจากการพาความร้อน
เช่นเดียวกับแบบจาลอง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


46
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี” เป็นแผนผังมโนทัศน์


(Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


47
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.3
ถอดบทเรียน เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ” ตามหลักปรัชญา


ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศ
หน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


48
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

1. แผ่นทวีปใดที่ดูเหมือนว่าเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน เพราะเหตุใด
แนวคาตอบ
ทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกาเคยเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน เพราะมีลักษณะรูปร่าง
ของแผ่นดินที่ต่อกันได้สนิท และมีหลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์รวมทั้งหินบนภูเขาที่อยู่ในแต่ละ
ทวีปมีลักษณะและอายุการกาเนิดเหมือนกัน

3. การค้นพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชตระกูลเฟินที่ชื่อ กลอสซอพเทอริส ในแผ่นดินของทวีปแอฟริกา


เอเชียและออสเตรเลีย สามารถบอกอะไรเกี่ยวกับความเป็นมาของแผ่นทวีปได้บ้าง
แนวคาตอบ แสดงว่าทวีปทั้งสามเคยอยู่รวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน มีสภาพแวดล้อมเหมือนกัน

4. จากภาพในหนังสือเรียนหน้า 60 จงอธิบายเกี่ยวกับเปลือกใต้มหาสมุทรตามความเข้าใจ
แนวคาตอบ
เปลือกโลกใต้มหาสมุทรเป็นเปลือกโลกส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้า วางตัวอยู่ตอนบนของ
ชั้นเนื้อโลกส่วนมากประกอบด้วยธาตุซิลิกาและแมกนีเซียมบางครั้งเรียกว่า ชั้นไซมา
มีความหนาแน่นมากกว่าเปลือกโลกภาคพื้นทวีป เพราะท้องมหาสมุทรมีการสะสมพอกพูนพื้นที่
อยู่เสมอจากลาวาที่ไหลขึ้นมาตามรอยแตกของเปลือกโลกใต้มหาสมุทร จนในที่สุดเกิดเป็นร่อง
กลางมหาสมุทร

5. เพราะเหตุใด ปรากฏการณ์ภูเขาไฟระเบิดและแผ่นดินไหว มักเกิดตามแนวการมุดตัวของแผ่น


ธรณีภาค
แนวคาตอบ
การมุดตัวของแผ่นธรณีภาคเกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีภาคโดยแผ่น
ธรณีภาคที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะมุดตัวลงข้างใต้และดันแผ่นธรณีภาคอีกแผ่นหนึ่งที่อยู่
ตอนบน ส่วนปลายของแผ่นธรณีภาคที่มุดตัวลงข้างใต้จะถูกหลอมรวมกันเป็นแมกมาทาให้มีแก๊ส
และของไหลข้นปนอยู่กับแมกมาที่ไหลวนบนแผ่นธรณีภาคมุดตัว เมื่อแก๊สและของไหลเหล่านี้
ถูกดันขึ้นมาสู่ผิวโลกตามรอยต่อและรอยแยกของแผ่นธรณีภาคที่ปิดทับอยู่และตามมาด้วยแมกมา
ก็จะเกิดเป็นภูเขาไฟ และก่อนการระเบิดมักจะมีแผ่นดินไหวเกิดนามาก่อน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


49
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

6. นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคอย่างไรบ้าง จงอธิบาย
แนวคาตอบ
1) ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค อธิบายการเกิดภูเขาไฟและแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น
บนโลก การเกิดภูเขา แผ่นดินและมหาสมุทร
2) อธิบายถึงวิวัฒนาการและความสัมพันธ์ของพื้นที่ต่างๆบนโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลาจุดประกายให้เห็นถึงความเป็นพลวัตรของโลก

7. รอยคดโค้ง รอยแตก รอยเลื่อนในหิน มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ เกิดขึ้นได้อย่างไร


แนวคาตอบ
รอยคดโค้ง รอยแตก รอยเลื่อน เป็นโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน
รอยคดโค้งเกิดจากความดันภายใต้เปลือกโลกที่ทาให้ชั้นหินมีลักษณะคดโค้งขึ้นลงเหมือนลูกคลื่น
ส่วนมากมักจะเกิดกับหินตะกอนและหินแปร ส่วนรอยแยกและรอยเลื่อนเกิดจากความดันภายใต้
โลกที่ทาให้หินบนเปลือกโลกแตกออก แนวที่หินแตกแยกออกจากกัน เรียกว่า รอยแตก
ถ้ารอยแตกมีการเคลื่อนที่ทาให้หินเคลื่อนออกจากกันในหลายรูปแบบเรียกว่า รอยเลื่อน

8. จากการศึกษาแผนที่โลก ภูมิประเทศของโลกมีลักษณะอย่างไรบ้าง และลักษณะเหล่านั้นเกิดขึ้น


ได้อย่างไร
แนวคาตอบ
ภูมิประเทศต่างๆ บนโลกมีหลากหลายลักษณะ เพราะเกิดขึ้นจากสาเหตุที่แตกต่าง ดังนี้
1) เกิดจากกระบวนการภายในโลก เช่น การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ภูเขาไฟระเบิด
และแผ่นดินไหว ปรากฏการณ์เหล่านี้ จะทาให้เกิดภูเขา ที่ราบสูง หุบเขาชัน แนวภูเขาไฟ
2) เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาบนผิวโลก โดยมีน้า ลม คลื่น ธารน้าแข็ง เป็นตัวการหลัก
ได้แก่ การผุพัง การสึกกร่อน การพัดพา การสะสมตัว และเกิดเป็นภูมิลักษณ์ต่างๆ บนพื้นผิวโลก
เช่น ที่ราบน้าท่วม หาดทรายชายฝั่ง ทะเลทรายและเนินทราย ถ้า โกรกธาร เป็นต้น

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


50
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1  1 
2  2 
3  3 
4  4 
5  5 
6  6 
7  7 
8  8 
9  9 
10  10 

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


51
ชุดที่ 5 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ประวัติย่อผู้จัดทา

ชื่อ – สกุล นางพัชรี คูณทอง


วัน เดือน ปี เกิด 4 พฤศจิกายน 2522
สถานที่เกิด อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
ที่อยู่ปัจจุบัน 111 หมู่ 12 บ้านโนนสมบัติ ตาบลโนนกลาง
อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
เริ่มรับราชการ 12 กรกฎาคม 2545 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3
โรงเรียนขมิ้นพิทยาสรรพ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
สถานที่ทางานในปัจจุบัน โรงเรียนโนนกลางวิทยาคม ตาบลโนนกลาง อาเภอพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2535 ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหินสูง ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร
จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบ็ตตี้ดูเมน 2 ช่องเม็ก ตาบลช่องเม็ก
อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2541 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสิรินธรวิทยานุสรณ์ อาเภอสิรินธร
จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตร์บัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาฟิสิกส์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2556 ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


52

You might also like