You are on page 1of 56

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี


ที่เกิดจากการเคลื่อนทีข่ องแผ่นธรณี

นางมงคล จันทราภรณ์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสริมได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรี ย นของผู้ เ รี ย นกลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็น นวั ต กรรมที่ ช่ ว ยลดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซึง่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่ อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้

มงคล จันทราภรณ์

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
แนวความคิดต่อเนื่อง 3
สาระสาคัญ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 8
บัตรกิจกรรมที่ 5.1 เรื่อง ท่องโลกกว้างตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี 27
บัตรกิจกรรมที่ 5.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 30
บัตรกิจกรรมที่ 5.3 ถอดบทเรียน เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 31
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 32
แบบทดสอบหลังเรียน 33
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 36
บรรณำนุกรม 37
ภำคผนวก 38
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.1 เรื่อง ท่องโลกกว้างตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างฯ 39
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 43
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.3 ถอดบทเรียน เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 44
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 45
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 46
ประวัติย่อผู้จัดทำ 47

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คำชี้แจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 2 เรื่ อ ง กระบวนการ


เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการ
จั ดการเรี ย นรู้ รายวิช าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหั ส วิช า ว30104 ชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 6
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับ
และวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ
ส่ งเสริ มเจตคติที่ ดี นั กเรี ย นจะได้ พัฒ นากระบวนการคิ ด กระบวนการตั ดสิ น ใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสารวจตรวจสอบข้อมูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 4 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชุดที่ 7 เรื่อง แผ่นดินไหว
ชุดที่ 8 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ เป็น ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐำนและโครงสร้ำง
ทำงธรณีที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศึกษาขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรี ย นและผู้ส นใจที่จ ะน าไปใช้ส อนและฝึ กเด็กในปกครองในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

เสริมพื้นฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพื้นฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามขั้นตอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดกิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณีที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณี


สัณฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณีที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม
2 ชั่ ว โมง ซึ่ ง นั ก เรี ย นจะได้ ส ารวจ สั ง เกตและรวบรวม ข้ อ มู ล มาสรุ ป เป็น องค์ ค วามรู้ โดยใช้
กระบวนการคิ ด กระบวนการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล กระบวนการทางสั ง คม ทั ก ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้
การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนินการ
ดังนี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนี้
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏิบัติกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่รบกวนผู้อื่น และไม่ชักชวนเพื่อนให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิ้นให้เรียบร้อย
4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัติตนอย่างตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขั้นตอน ดังนี้
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
5.2 ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความสนใจ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

5.3 ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา


5.4 ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
5.5 ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมิน
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม



ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรีย นรู้ วิทยาศาสตร์ ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณี


สัณฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณีที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ
สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ
แก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคาชี้แจง
ดังต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง ธรณีสัณฐำนและโครงสร้ำง
ทำงธรณีที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวิธีดาเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


1
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ชุดที่ 5
ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณี

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและความสั ม พั น ธ์ ข องระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
โดยใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณที่สัมพันธ์กับ
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยา
ที่พบ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


2
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด

1. อธิ บ ายกระบวนการที่ ท าให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นที่ ข องแผ่ น ธรณี ระบุ ผ ลที่ เ กิ ด จากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ (K)
2. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสรุป เกี่ยวกับกระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (P)
3. อธิ บ ายรู ป แบบการเคลื่ อ นที่ ข องแผ่ น ธรณี ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ การเกิ ด ธรณี สั ณ ฐาน
และโครงสร้างทางธรณีวิทยาแบบต่าง ๆ (K)
4. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางที่
เกิดจากการเคลื่ อนที่ของแผ่ น ธรณี ในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ใ น
ชีวิตประจาวัน (A)
5. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่นได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนือ่ ง

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ธรณี ภ าคซึ่งเป็น ชั้น นอกสุดของโครงสร้ า งโลก แบ่งออกเป็น แผ่น ธรณี (plate)
หลายแผ่น ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนฐานธรณีภาคทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีอยู่ตลอดเวลา

ทฤษฎีทวีปเลื่อน คือ แนวความคิดที่กล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวีปต่าง ๆ


ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปัจจุบัน แต่เคยอยู่รวมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพียงแผ่นดินเดียวที่
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


3
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

หลักฐานที่สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซาก


ดึกดา บรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครูดบนหินที่เกิด
จากการเคลื่อนตัวของธารน้า แข็งบรรพกาล

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ได้แ ก่ สัน เขากลางสมุทร อายุของหิน บะซอลต์บนพื้น มหาสมุทร
ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่


ขยายพื้นสมุทร นา มาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่น ธรณี อัน เนื่องมาจากวงจรการพาความร้ อนของแมกมา
ภายในเนื้อโลก

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ


แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน แนวแผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณีต่าง ๆ บนโลก

สาระสาคัญ

นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ ตั้งแต่ทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎี


การแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และแนวคิดการพาวงจรความร้อน มาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่า ทฤษฎีการ
แปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนที่และการเปลี่ยนแปลงลักษณะ เช่น ขนาด ตาแหน่ง
ของแผ่นธรณี โดยมีวงจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนให้แผ่นธรณี
มีการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีจะส่งผลต่อการเกิดและการเปลี่ยนแปลง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


4
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ของทวีปและมหาสมุทร รวมทั้งธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี กระบวนการเคลื่อนที่ของแผ่น


ธรณีทาให้เกิดแรงต่าง ๆ กระทาต่อหินในชั้นเปลือกโลกส่งผลให้เกิดความเค้นในชั้นหินซึ่งความเค้นนี้
จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและ / หรือปริมาตรของหินและทาให้หินอยู่ในภาวะความเครียด
ความเค้นแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
- ความเค้นบีบอัดความเค้นถึงความเค้นเฉือน
- ความเค้นบีบอัดกระทาต่อชั้นหินที่อยู่ใต้ผิวโลกซึ่งมีสมบัติคล้ายดินน้ามันหรือที่มีสรูป
พลาสติกชั้นหินมีการเปลี่ยนลักษณะเป็นชั้นหินคดโค้งความเค้นถึงจะทาให้ชั้นหินบาง
ลงและเกิดรอยแยก
- ความเค้นบีบอัดและความเค้นดึงกระทาต่อชั้นหินบนเปลือกโลกมีสมบัติแข็งเกร็งและ
เปราะคล้ายสมบัติของเวเฟอร์ชั้นหินจะเกิดรอยแตกและรอยเลื่อนส่วนความเค้นเฉือน
จาทาให้เกิดรอยเลื่อนในแนวระดับ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


5
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. การพบหินบะซอลต์ที่บริเวณร่องลึก หรือรอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร หินที่พบ
แสดงถึงสิ่งใด
ก. การเกิดรอยแยกของแผ่นธรณีภาค
ข. ชั้นของหิน
ค. ความลึก
ง. อายุหิน

2. หินที่เกิดจากตะกอนธารน้าแข็ง ควรจะเกิดขึ้นบริเวณใด
ก. ขั้วโลก
ข. ใกล้เทือกเขา
ค. ใกล้มหาสมุทร
ง. ใกล้รอยแยกแผ่นธรณีภาค

3. อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อโลกมีรอยแตกร้าวและมีการเคลื่อนที่
ก. อุทกภัย
ข. แผ่นดินไหว
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. ดินขาดอาหารของพืชใช้เพาะปลูกไม่ได้

4. สถานการณ์ใดที่ไม่ได้ เป็นผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
ก. น้าท่วม
ข. ภูเขาถล่ม
ค. หิมะละลาย
ง. แผ่นดินแยก

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


6
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

5. ภูเขาเกิดขึ้นได้หลายกระบวนการ แต่กระบวนการใดที่ไม่สามารถทาให้เกิดภูเขาได้
ก. การกัดกร่อนของผิวโลก
ข. การยกตัวขึ้นของพื้นทวีป
ค. การดันของหินหนืดที่ใต้ผิวโลก
ง. การปรับตัวระหว่างหินหนืดกับหินชั้นบริเวณข้างเคียง

6. เมื่อแผ่นดินเคลื่อนที่ออกไปขณะเดียวกันนั้นเกิดอะไรขึ้น
ก. แมกมาจากใต้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรจะถูกดันแทรกเสริมขึ้นมาตรงรอยแยก
ข. เกิดรอยต่อระหว่างแผ่นธรณีภาค
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. เกิดการแบ่งชั้นหิน

7. โครงสร้างและอายุหินรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุอ่อนสุดบริเวณใด
ก. บริเวณเทือกเขา
ข. กลางมหาสมุทร
ค. บริเวณรอยต่อแผ่นธรณีภาค
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูกต้อง

8. สาเหตุใดที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ก. มนุษย์และธรรมชาติ
ข. ธรรมชาติและแผ่นดินไหว
ค. มนุษย์และการระเบิดภูเขา
ง. มนุษย์และการตัดไม้ทาลายป่า

9. นอกจากหลักฐานรอยต่อแผ่นธรณีภาค รอยแยกของแผ่นธรณีภาคและการค้นพบซากดึกดา
บรรพ์แล้วยังมีหลักฐานใดอีกที่ยืนยันสมมติฐานของเวเกเนอร์
ก. สนามแม่เหล็กโลกโบราณ
ข. การค้นพบภูเขาไฟที่เกิดขึ้นใหม่ๆ
ค. การเปลี่ยนแปลงของอากาศที่ทาให้เกิดการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


7
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

10. เปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสาเหตุใด


ก. กระบวนการปฏิกิริยาเคมี
ข. ภูเขาไฟระเบิด
ค. ธารน้าแข็ง
ง. กระแสน้า

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


8
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

บัตรเนื้อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

บนผิวโลกมีธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่หลากหลาย เช่น แนวเทือกเขาสูง


สัน เขากลางสมุทร หุ บ เขาทรุด ร่ องลึ กก้นสมุทร ซึ่งเกิดในบริเวณแนวรอยต่อของแผ่ นธรณี ที่มี
ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ในรูปแบบต่าง ๆ ของแผ่นธรณี
ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ เกิดขึ้นในบริเวณแนวรอยต่อของแผ่น
ธรณีที่มีความสั มพัน ธ์กับการเคลื่ อนที่ของแผ่นธรณี จึงทาให้ สรุปได้ว่าแนวรอยต่อของแผ่ นธรณี
มี 3 รูปแบบ คือ แนวแผ่นธรณีแยกตัว (divergent plate boundary) แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน
(convergent plate boundary แนวแผ่ น ธรณี เ คลื่ อ นผ่ า นกั น ในแนวราบ (transform plate
boundary) โดยแนวรอยต่อแต่ละรู ปแบบส่ งผลทาให้เกิดธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีที่
แตกต่างกัน ดังรูป 6.1 และตาราง 6.1

รูปที่ 5.1 แนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 131)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


9
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ตารางที่ 5.1 รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และผลจากการเคลื่อนที่


ธรณีสัณฐาน/
กระบวนการ ตัวอย่าง
รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี โครงสร้าง
ทางธรณี สถานที่
ทางธรณี
การแทรกดันตัว หุ บ เ ข า ท รุ ด - ทะเลแดง
ของแมกมาจาก และสันเขากลาง - หุบเขาทรุด
ฐานธรณีภาคทา สมุทร แอฟริกา
ให้แผ่นธรณีโก่ง ตะวันออก
ตั ว ขึ้ น เป็ น สั น - สั น เขากลาง
เขากลางสมุ ท ร มหาสมุทร
ส่ ว นบนจะยื ด แอตแลนติก
ออกและบางลง
พ ร้ อ ม กั บ เ กิ ด
รอยแตกและ
ทรุ ด ตั ว ลง เกิ ด
ได้ ทั้ ง บน ทวี ป
และกลาง
มหาสมุทร
แ ผ่ น ธ ร ณี หมู่เกาะภูเขาไฟ หมู่เกาะภูเขาไฟ
มหาสมุ ท รที่ มี รู ป โค้ ง (island รูปโค้ง เช่น
ความหนาแน่ น arc) ส่ ว น -หมู่เกาะญี่ปุ่น
มากกว่ า จะมุ ด บริ เ วณเขตมุ ด -หมู่เกาะอินโด
ตั ว ล ง ใ ต้ ตัว เกิ เ ป็น ร่ อ ลึ ก นิเซีย
มหาสมุ ท รที่ มี ก้ น ส มุ ท ร -หมู่เกาะมาเรีย
ความหนาแน่ น (trench) นา
น้ อ ยก ว่ า เกิ ด ร่องลึกก้นสมุทร
การหลอมเหลว เช่น
เป็นแมกมา - ร่ อ ง ลึ ก ก้ น
สมุทรญี่ปุ่น

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


10
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ตารางที่ 5.1 (ต่อ) รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และผลจากการเคลื่อนที่

ธรณีสัณฐาน/
กระบวนการ ตัวอย่าง
รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี โครงสร้าง
ทางธรณี สถานที่
ทางธรณี
และเคลื่อนที่ตัว -ร่องลึกก้น
ขึ้ น สู่ ผิ ว โ ล ก สมุทรซุนดา
บริ เ ว ณที่ แ ผ่ น -ร่องลึกก้น
ธ ร ณี มุ ดตั ว ล ง สมุทรมาเรียนา
เรียกว่า เขตมุด
ตัว
( subduction
zone)
แผ่นธรณี ร่องลึกก้นสมุทร เทือกเขาแอน
มหาสมุทรซึ่งมี แนวภูเขาไฟ ดีส
ความหนาแน่น ชายฝั่งหรือแนว ส่วนบริเวณเขต
มากกว่ามุดตัว ภูเขาไฟรูปโค้ง มุดตัวเกิดเป็น
ลงใต้แผ่นธรณี (volcanic arc) ร่องลึกก้นสมุทร
ทวีป ลงไปใน เช่น ร่องลึกก้น
ฐานธรณี สมุทรเปรู-ชิลี
ภาคเกิดการ
หลอมเหลวเป็น
แมกมาและ
เคลื่อนตัวขึ้นสู่
ผิวโลกบริเวณ
ที่แผ่นธรณีมุด
ตัวลง เรียกว่า
เขตมุดตัว

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


11
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ตารางที่ 5.1 (ต่อ) รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และผลจากการเคลื่อนที่

ธรณีสัณฐาน/
กระบวนการ ตัวอย่าง
รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี โครงสร้าง
ทางธรณี สถานที่
ทางธรณี
เมื่อแผ่นธรณี แนวเทือกเขาสูง เทือกเขา
ทวีปชนกันแผ่น หิมาลัย
ธรณีทวีปที่มี
ความหนาแน่น
มากกว่า
บางส่วนจะมุด
ลงส่วนที่
เหลือจะเกยกัน
และดันให้
แผ่นธรณีทวีปที่
อยู่ด้านบนโก่ง
ตัวขึ้น
แผ่นธรณีสอง แนวรอยเลื่อน -รอยเลื่อนซาน
แผ่นเคลื่อนที่ ขนาดใหญ่ แอนเดรียส
ผ่านกันใน -รอยเลื่อน
แนวราบ เกิดได้ อัลไพน์
ทั้งในมหาสมุทร -รอยเลื่อน
และบนพื้นทวีป บริเวณสันเขา
กลางสมุทร

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในลักษณะต่าง ๆ นอกจากจะเป็นสาเหตุทาให้เกิดธรณีสัณฐาน
และโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ตรงบริเวณแนรอยต่อของแผ่นธรณีแล้ว ยังทาให้เกิดการเปลี่ยน
ลักษณะของชั้นหิน เกิดเป็นโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ อีก เช่น รอยคดโค้งหรือชั้นหินคดโค้ง
(fold) รอยเลื่อน (fault) ซึ่งเกิดขึ้นได้ทั้งที่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และบริเวณภายในแผ่น

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


12
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ธรณีที่ผลกระทบของแรงส่งไปถึง ดังรูป 5.2 – ถ.3 และยังทาให้เข้าใจการเกิดปรากฎการณ์ทางธรณี


ที่สาคัญ เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด

รูปที่ 5.2 รอยคดโค้งบ่อดินขุด อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 134)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

รูปที่ 5.3 รอยเลื่อนเมือมิริ ประเทศมาเลเซีย


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 134)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


13
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

การเคลื่อนที่ของแผ่น ธรณี ทาให้เกิดการเปลี่ ยนแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ขึ้นตรง


บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีดังนี้ แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้ากัน
แผ่นธรณีเคลื่อนที่เฉือนกัน เป็นต้น การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในรูปแบบต่างๆ ส่งผลให้เกิดสถานที่
สาคัญ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น รอยเลื่อน เขตมุดตัว ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะรูปโค้ง แนวภูเขา
ไฟรูปโค้ง เป็นต้น

1. แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน
การเคลื่อนที่แยกออกจากกันของแผ่นธรณี ทาให้เกิดสันเขาใต้สมุทร ส่งผลให้แผ่นธรณีแตก
ออกจากกันอย่างฉับพลัน เป็นสาเหตุทาให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น ตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.4 แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน


ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156

1.1 แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน
รอยต่ อ แผ่ น ธรณี เ คลื่ อ นที่ อ อกจากกั น (Divergent plate boundaries) เกิ ด ขึ้ น
เนื่องจากแรงดันในชั้นฐานธรณีภาค ดันให้แผ่นธรณีโก่งตัวขึ้นจนเกิดรอยแตก แมกมาอยู่ภายในดัน
ตัว ออก ท าให้ แผ่ น ธรณีเ คลื่ อ นที่ แยกจากกั น การเคลื่ อนที่ ของแผ่ นธรณี ใ นลั กษณะนี้ ทาให้ เ กิ ด
แผ่น ดิน ไหวไม่รุ นแรง โดยมีศูนย์กลางอยู่ในระดับตื้น รอยต่อซึ่งเกิดจากแผ่ นธรณีเคลื่อนที่ออก
จากกัน มี 2 ลักษณะ คือ แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน และแผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออก
จากกัน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


14
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

1.2 แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน
ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน ขอบแผ่นธรณีภาคที่แยกจากกันนี้ เนื่องจากการ
ดันตัวของแมกมาในชั้นธรณีภาค ทาให้เกิดรอยแตกในชั้นหินแข็ง แมกมาสามารถถ่ายโอนความร้อน
สู่ ชั้ น เปลื อ กโลก อุ ณ หภู มิ แ ละความดั น ของแมกมาลดลงเป็ น ผลให้ เ ปลื อ กโลกตอนบนทรุ ด ตั ว
กลายเป็นหุบเขาทรุด (rift valley)
แรงดันในชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีทวีปโก่งตัว ส่วนยอดของรอยโ่ก่งยืดตัวออก
และบางลงจนเกิดรอยแตก และทรุดตัวลงกลายเป็น "หุบเขาทรุด" (Rift valley) แมกมาผลักให้
แผ่นธรณีแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริกา และ ทะเลแดง ซึ่งกัน
ระหว่างทวีปแอฟริกากับคาบสมุทรอาหรับ

รูปที่ 5.5 แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


15
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

1.3 แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน
แรงดันในชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีมหาสมุทรยกตัวขึ้นเป็นสันเขาใต้สมุทร (Mid
oceanic ridge) แล้วเกิดรอยแตกที่ส่วนยอด แมกมาผลั กให้แผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออกจากกัน
ตัวอย่างเช่น สันเขาใต้มหาสมุทรแอตแลนติก
ต่อมาน้าทะเลไหลมาสะสมกลายเป็นทะเล และเกิดรอยแตกจนเป็นร่องลึก เมื่อแมกมา
เคลื่อนตัวแทรกขึ้นมาตามรอยแตก เป็นผลให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวแยกออกไปทั้งสอง
ข้าง ทาให้พื้นทะเลขยายกว้างออกไปทั้งสองด้านเรียกว่า กระบวนการขยายตัวของพื้นทะเล (sea
floor spreading) และปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร เช่น บริเวณกลางมหาสมุทรแอตแลนติก
บริเวณทะเลแดง รอยแยก แอฟริกาตะวันออก อ่าวแคลิฟอร์เนีย มีลักษณะเป็นหุบเขาทรุด มีร่องรอย
การแยก เกิดแผ่นดินไหวตื้นๆ มีภูเขาไฟและลาวาไหลอยู่ใต้มหาสมุทร

รูปที่ 5.6 แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

ในขณะที่แผ่นธรณีภาคเกิดรอยแตกและเลื่อนตัว จะมีผลทาให้เกิดคลื่นไหวสะเทือนไปยัง
บริ เ วณต่ า งๆ ใกล้ เ คี ย งกั บ จุ ด ที่ เ กิ ด รอยแตก รอยเลื่ อ นในชั้ น ธรณี ภ าคเกิ ด เป็ น ปรากฏการณ์
แผ่นดินไหว

1.4 อายุหินและสนามแม่เหล็ก
แก่น โลกชั้น ในและแก่น โลกชั้นนอกหมุนไปในทิศทางเดียวกัน แต่ด้ว ยความเร็ว ไม่
เท่ากัน ถ้าแก่นโลกชั้นในหมุนเร็วกว่าแก่นโลกชั้นนอก จะเกิดแรงเหนี่ยวนาให้เส้นแรงแม่เหล็กโลก
เคลื่อนที่จากขั้วใต้ไปยังขั้วเหนือ (Normal magnetism) แต่ในบางครั้งแก่นโลกชั้นในขยายตัวตาม

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


16
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

แนวศูนย์สูตร (มีรูปทรงแป้นขึ้น) เป็นสาเหตุให้แก่นโลกชั้นในหมุนช้ากว่าแก่นโลกชั้นนอก ทาให้ให้


สนามแม่เหล็กกลับขั้ว (Reverse magnetism) เส้นแรงแม่เหล็กเคลื่อนที่จากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้

รูปที่ 5.7 การเคลื่อนที่ของแก่นโลกเหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

เมื่อแมกมาโผล่ ขึ้น จากชั้น ฐานธรณีภ าค กลายเป็นลาวาหิ นบะซอลต์ไหลบนพื้นผิ ว โลก


อะตอมของธาตุเหล็กที่มีอยู่ในแร่แมกนีไทต์ จะถูกเหนี่ยวนาให้เรียงตัวตามทิศทางของสนามแม่เหล็ก
โลก รูปที่ 5.5 แสดงให้เห็นว่า ลาวาชั้นล่างมีอายุเก่ากว่าลาวาชั้นบน เพราะเกิดขึ้นมาก่อน ขณะที่
ลาวาไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ มันจะบันทึกทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กโลกในยุคสมัยนั้น ซึ่งจะ
เห็นได้ว่าเส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลายแสนปี เนื่องจากสนามแม่เหล็กโลกสลับ
ขั้วไปมา

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


17
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.8 เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาภูเขาไฟ


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

ในทานองเดียวกัน เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออกจากกัน ลาวาที่ไหลออกมาก็จะบันทึก


ทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกในยุคนั้นๆ รูปที่ 5.6 แสดงให้เห็นว่า เปลือกโลกเคลื่อนที่ออกจาก
แหล่งกาเนิดในอัตราเฉลี่ย 10 กิโลเมตรต่อล้านปี หรือ 1 เซนติเมตรต่อปี เปลือกโลกบริเวณใกล้รอย
แยกมีอายุน้อยกว่าเปลือกโลกที่อยู่ห่างออกไป เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลาย
แสนปี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


18
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.9 เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาพื้นมหาสมุทร


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2. แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน
การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณี ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ตรง
บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี ดังนี้
- การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีมหาสมุทร เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรจานวน 2 แผ่น
เคลื่ อ นที่ เ ข้ า หากั น แผ่ น ที่ มี ค วามหนาแน่ น มากกว่ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น แผ่ น ที่ มี อ ายุ หิ น มากกว่ า
จะมุดตัวลงข้างใต้อีกแผ่นหนึ่ง บริเวณที่แผ่นธรณีมุดตัวลง เรียกว่า เขตมุดตัว บริเวณเขตมุดตัวจะ
เกิดเป็นร่องลึกก้นมหาสมุทร ส่วนปลายของแผ่นธรณีที่มุดตัวลง จะเคลื่อนที่จมลงสู่ฐานธรณีภาค ทา
ให้ บ างส่ ว นหลอมเหลวกลายเป็ น แมกมา และจะปะทุ แ ทรกขึ้ น มาบนเปลื อ กโลกมหาสมุ ท ร
เกิดเป็นกลุ่มภูเขาไฟลูกเล็กๆ อยู่กลางมหาสมุทร มีลักษณะเรียงต่อกันเป็นรู ปโค้งตามแนวร่องลึกก้น
มหาสมุทร เรียกแนวภูเขาไฟดังกล่าวว่า หมู่เกาะรูปโค้ง
- การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีมหาสมุทร กับแผ่นธรณีทวีป เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทร
กับแผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่เข้าหากัน แผ่นธรณีมหาสมุทรซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่า จะมุดตัวลงข้าง
ใต้แผ่นธรณีทวีป บางส่วนของแผ่นธรณีที่มุดตัวหลอมเหลวกลายเป็นแมกมา ปะทุแทรกขึ้นมาบน
เปลือกโลกทวีป เกิดเป็นกลุ่มภูเขาไฟที่มีการวางตัวเป็นรูปโค้งอยู่เหนือเขตมุดตัว เรียกว่า แนวภูเขา
ไฟรูปโค้ง
- การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีทวีป เมื่อแผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่เข้าหากัน บางส่ วน
ของแผ่ น ธรณีที่มีความหนาแน่ น มากกว่า จะมุดตัว ลงข้างใต้อีกแผ่ นหนึ่ง และบางส่ ว นที่มีความ
หนาแน่นใกล้เคียงกัน จะเกิดการชนกันจนทาให้ชั้นหินบนเปลือกโลกทวีป เกิดเป็นรอยคดโค้งและ
เกิดเป็นเทือกเขาสูงใหญ่ ตรงบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


19
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.10 แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน


ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156

2.1 แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน
รอยต่อของแผ่ น ธรณีเคลื่ อนที่เข้าหากัน (Covergent plate boundary) เกิดขึ้นใน
บริ เ วณที่ แ ผ่ น ธรณี ป ะทะกั น ซึ่ ง เรี ย กว่ า "เขตมุ ด ตั ว " (Subduction zone) ซึ่ ง มั ก จะท าให้ เ กิ ด
แผ่นดินไหวอย่างรุนแรง โดยมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ในระดับลึก เนื่องจากแผ่นธรณีด้านหนึ่ง
มุดตัวลงสู่ชั้น ฐานธรณีแล้ว หลอมละลาย หากแนวปะทะเกิดขึ้นใต้มหาสมุทร น้าทะเลในบริเวณ
โดยรอบจะเคลื่ อ นที่จ มเข้า หากัน แล้ ว สะท้อ นกลั บ ท าให้ เกิ ดคลื่ น สึ น ามิ รอยต่ อของแผ่ นธรณี
เคลื่อนที่เข้าหากันมี 3 รูปแบบคือ แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกัน แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณี
ทวีป และแผ่นธรณีทวีปชนกัน

2.2 แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกัน
แผ่นธรณีมหาสมุทรเกิดขึ้นและเคลื่อนที่ออกจากจุดกาเนิด บริเวณรอยต่อที่แผ่นธรณี
เคลื่อนที่ออกจากกัน แรงขับดันจากเซลล์การพาความร้อน (Convection cell) ในชั้นฐานธรณีภาค
ท าให้ แ ผ่ น ธรณี ม หาสมุ ท รสองแผ่ น เคลื่ อ นที่ ป ะทะกั น ดั ง รู ป ที่ 5.8 แผ่ น ธรณี ที่ มี อ ายุ ม ากกว่ า
มีอุณหภูมิต่ากว่า และมีความหนาแน่นมากกว่า จะจมตัวลงในเขตมุดตัว ทาให้เกิดร่องลึกก้นสมุทร
(Mid oceanic trench) เมื่ อ แผ่ น ธรณี จ มตั ว ลง เปลื อ กมหาสมุ ท รและเนื้ อ โลกชั้ น บนสุ ด ซึ่ ง มี จุ ด
หลอมเหลวต่าจะหลอมละลายเป็นหินหนืด ซึ่งมีความหนาแน่นต่ากว่าเนื้อโลกในชั้นฐานธรณีภาค
จึงลอยตัวขึ้นดันพื้นผิวโลกให้เกิดเป็นหมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง (Volcanic island arc) เรียงตัวขนาน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


20
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

กับแนวร่องลึกก้นสมุทร บรรดาหินปูนซึ่งเกิดจากสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล เช่น ปะการังเป็นตะกอนคาร์บอน


เนตมีจุดเดือดต่า เมื่อถูกความร้อนจะเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ลอยตัว สูงขึ้น
ปลดปล่ อ ยออกทางปล่ อ งภู เ ขาไฟ ท าให้ เ กิ ด การหมุ น เวี ย นของวั ฏ จั ก รคาร์ บ อนแล ะธาตุ
อาหาร ตัวอย่างหมู่เกาะภูเขาไฟที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการนี้ ได้แก่ หมู่เกาะฟิลิปปินส์ และ หมู่เกาะ
ญี่ปุ่น

รูปที่ 5.11 แผ่นธรณีมหาสมุทรปะทะกัน


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2.3 แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป
แผ่นธรณีมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์ มีความหนาแน่นมากกว่าแผ่นธรณีทวีปซึ่งเป็น
หินแกรนิต เมื่อแผ่นธรณีทั้งสองปะทะกัน แผ่นธรณีมหาสมุทรจะจมตัวลงและหลอมละลายเป็นหิน
หนื ด เนื่ องจากหิ นหนืดมีความหนาแน่ นน้อยกว่าเนื้อโลกในชั้นฐานธรณีภาค มันจึงยกตัว ขึ้นดัน
เปลือกโลกทวีปให้กลายเป็นเทือกเขาสูง เกิดแนวภูเขาไฟเรียงรายตามชายฝั่ง ขนานกับร่องลึกก้น
สมุทร ดังรูปที่ 5.9 ตัวอย่างเทือกเขาที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการนี้ ได้แก่ เทือกเขาแอนดีส บริเวณ
ชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


21
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.12 แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2.4 แผ่นธรณีทวีปชนกัน
แผ่นธรณีทวีปมีความหนามากกว่าแผ่นธรณีมหาสมุทร ดังนั้นเมื่อแผ่นธรณีทวีปปะทะ
กันแผ่นหนึ่งจะมุดตัวลงสู่ชั้นฐานธรณีภาค อีกแผ่นหนึ่งจะถูกยกเกยสูงขึ้น กลายเป็นเทือกเขาที่สูง
มาก เป็นแนวยาวขนานกับแนวปะทะ ดังรูปที่ 5.10 ตัวอย่างเทือกเขาสูงที่เกิดขึ้นด้วยกระบวนการนี้
ได้แก่ เทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล เทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป

รูปที่ 5.13 แผ่นธรณีทวีปชนกัน


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


22
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

3. แผ่นธรณีเคลื่อนที่เฉือนกัน
ในธรรมชาติ การเคลื่อนที่เฉือนกันของแผ่นธรณีส่วนใหญ่ เกิดร่วมกับการเคลื่อนที่แยกออก
จากกัน และการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณี เช่น รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส (San Andreas
Fault)

3.1 แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน
สันเขาใต้สมุทร (Mid oceanic ridge) เป็นบริเวณที่แมกมาโผล่ขึ้นมาแล้วดันแผ่นธรณี
ให้แยกออกจากกัน เนื่องจากแผ่นธรณีมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน สันเขาใต้สมุทรจึงไม่สามารถต่อ
ยาวเป็นแนวเดียว ทว่าเยื้องสลับกันคล้ายรอยตะเข็บ ด้วยเหตุนี้แผ่นธรณีที่เพิ่งเกิดขึ้นมาใหม่จึง
เคลื่อนที่สวนทางกัน ในแนวตั้งฉากกับสันเขาใต้สมุทร เกิดเป็นรอยเลื่อนทรานสฟอร์ม (Transform
fault) ดังรูปที่ 5.11 ปรากฏการณ์นี้ทาให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับตื้น มีความรุนแรงปานกลาง ถ้า
เกิดขึ้นบนแผ่นดินจะทาให้ถนนขาด สายน้าเปลี่ยนทิศทางการไหล หรือทาให้เกิดหน้าผาและน้าตก

รูปที่ 5.14 รอยเลื่อนทรานส์ฟอร์ม


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


23
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ตัว อย่ า งแผ่ น ธรณี เ คลื่ อ นที่ ผ่ า นกั น ในมหาสมุ ท ร ได้ แ ก่ บริ เ วณสั น เขากลางมหาสมุ ท ร
แอตเลนติ ก ตั ว อย่ า งแผ่ น ธรณี เ คลื่ อ นที่ ผ่ า นกั น บนแผ่ น ดิ น ได้ แ ก่ รอยเลื่ อ นซานแอนเดรี ย
ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

รูปที่ 5.15 รอยเลื่อนซานแอนเดรียส


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

จากการที่นักวิทยาศาสตร์พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ในบริเวณ
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี จึงทาให้สรุปได้ว่า
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ คือ แนวแผ่นแยกธรณี แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน และแนว
แผ่นธรณีเคลื่อนผ่านกันในแนวราบ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


24
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

รูปที่ 5.16 แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ และธรณีสัณฐาน


โครงสร้างทางธรณีที่สัมพันธ์กับแนวรอยต่อ
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 56)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

4. การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา และแบ่งการเคลื่อนที่ของแผ่นโลกออกเป็น 3
แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน และแบบรอยเลื่อน ซึ่งมีผลทาให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยา
ดังนี้
4.1 การคดโค้งโก่งงอ
การคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่ น เปลื อกโลก 2 แผ่ น เคลื่ อนที่ช นกันด้ว ยแรงดันมหาศาล
ทาให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะ
ใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็น
บริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย เทือกเขาแอลป์
ในทวีปยุโรป เทือกเขาภูพานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น
4.2 การยกตัวและการยุบตัว
การยกตั ว และการยุ บ ตั ว เกิ ด จากพลั ง งานที่ ส ะสมอยู่ ภ ายในเปลื อ กโลก จะเริ่ ม แตก
และแยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทาให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะ ต่าง ๆ เช่น
การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า Block Mountain โดย
ยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย และอีกแบบคือ การยุบตัว
ของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า Rift valleys ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


25
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

4.3 การผุพังอยู่กับที่
การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทาให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลง
ขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว ปัจจัยทาให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้
- ปัจจัยทางกายภาพ เกิดจากน้าที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตก
เมื่ อุ ณ หภู มิ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง เช่ น ในเวลากลางคื น อากาศเย็ น จั ด น้ าจะกลายเป็ น น้ าแข็ ง
มีปริ มาณเพิ่มขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทาให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก และเมื่อถึงตอน
กลางวั น น้ าแข็ ง ละลาย น้ านะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิ ด เป็ น วั ฏ จั ก รอย่ า งนี้ ไ ปเรื่ อ ย ๆ
จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้น
- ปั จ จั ย ทางเคมี เกิ ด จากน้ าฝนที่ เ ป็ น ปัจ จั ย ส าคั ญ โดยการเกิด กระบวนการปฏิ กิ ริ ย า
ไฮโดรไลซิส ปฏิกิริยาออกซิเดชัน และปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน ที่เป็นสาเหตุของการผุพัง
- ปัจจัยชีวภาพ เกิดจากพืชเป็นตัวกลางที่ทาให้ชั้นหินเกิดการผุพัง เช่น รากพืชที่ไปชอนไช
ไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชจะทาให้หินแตกเป็นชั้น ๆ
4.4 การกร่อน
การกร่อน เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้า ลาธาร ธารน้าแข็ง คลื่ น
เป็นต้น
4.5 การพัดพาและทับถม
ดิน หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้าหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ากว่า เกิดการทับถมเป็นลักษณะ
ต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้า เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้า
เป็นต้น

ผลกระทบธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกมี 2 ลักษณะ ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิ ด ท าให้ ผิ ว โลกบางส่ ว นแยกตั ว ออก บางส่ ว นถล่ ม ทลายและยุ บ ตั ว ลง มี ผ ลท าให้ อ าคาร
บ้านเรือน ต้นไม้และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้รับความเสียหาย และยังทาให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตต้องได้รับ
บาดเจ็บ พิการ หรืออาจเสียชีวิตไป
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เช่น การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก การ
กร่อนและการผุพังของหินและดินตามเปลือกโลก ทาให้พื้นที่ที่จะใช้ทางการเกษตรกรรมถูกทาลาย
ไป ส่งผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรที่จะได้รับโดยตรง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


26
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ผลกระทบจากการกระทาของมนุษย์
ในการพัฒนาประเทศมนุษย์ได้ทาลายเปลือกโลกเสมอ มนุษย์ได้ทาลายเปลือกโลกด้วยการ
ขุดเจาะ บางครั้งมีการระเบิดภูเขาเพื่อเอาหินและแร่ธาตุขึ้นมาใช้ หรือ การทดลองระเบิดนิวเคลียร์
มีการตัดไม้ทาลายป่าซึ่งเป็นการทาให้การกร่อนของพื้นดินเกิดเร็วขึ้นอีกด้วย

ผลกระทบต่อประเทศไทย
เนื่ อ งจากประเทศไทยตั้ ง อยู่ ใ นเขตร้ อ นชื้ น ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม เกื อ บตลอดปี
มีแ ม่ น้ าล าคลองอยู่ ทั่ ว ไป ดั ง นั้ น บริ เวณต่ าง ๆ ของประเทศจึ งได้ รั บอิ ท ธิพ ลจากการกร่ อนโดย
กระแสน้ าเป็ น ส่ ว นใหญ่ ถึ ง แม้ ว่ า การเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวในประเทศไทยยั ง มี น้ อ ยและไม่ รุ น แรง
แต่ เ นื่ อ งจากประเทศไทยตั้ ง อยู่ ไ ม่ ห่ า งจากแนว รอยต่ อ ของแผ่ น เปลื อ กโลกมากนั ก
และแผ่นยูเรเซียที่รองรับประเทศไทยได้รับแรงดันเนื่องจากการเคลื่อนที่เข้ามาของแผ่นออสเตรเลีย
อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอาจทาให้เกิดแผ่นไหวได้เสมอ
การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวเรามีปัจจัยที่ทาให้เปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากหลาย
สาเหตุและมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


27
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.1
เรื่อง ท่องโลกกว้างตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี

จุดประสงค์กิจกรรม
1. ระบุลักษณะธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
2. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี กับการเคลื่อนที่ รูปแบบ
ต่าง ๆ ของแผ่นธรณี

วัสดุ-อุปกรณ์
1. แผนที่ภูมิประเทศ
2. รูปแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

สถานการณ์
“นักธรณีวิทยาได้สารวจพบธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ สันเขา
กลางสมุทรแอตแลนติก หมู่เ กาะภูเขาไฟรูป โค้ง ประเทศญี่ปุ่ น หุ บเขาทรุดที่ ทะเลแดง ร่ องลึ ก
ก้นสมุทรมาเรียนา แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และ แนวเทือกเขาแอนดีส
ให้นักเรียนศึกษาและอธิบายลักษณะแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์ กับการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณีและทาให้เกิดธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ”

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับลักษณะของธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และระบุบริเวณที่พบ
ลงพื้นแผนที่ภูมิประเทศ จากนั้นอภิปรายสรุปดังประเด็นต่อไปนี้
- ลักษณะของธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแต่ละแห่งที่กาหนดให้
- บริเวณที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีดังกล่าว
- รอยต่อของแผ่นธรณีที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีข้างต้น
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่ นธรณีในบริเวณที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
แต่ละแห่งปรากฏอยู่
2. สรุปและนาเสนอความสัมพันธ์ระหว่างธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่ กาหนดให้กับ
ทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


28
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

3. ออกแบบและน าเสนอแนวคิ ด เพื่ อ อธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการเกิ ด ธรณี สั ณ ฐาน


และโครงสร้างและโครงสร้างทางธรณีที่กาหนดให้กับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณแนว
รอยต่อของแผ่นธรณี

ผลการทากิจกรรม

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


29
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

สรุปผลการทากิจกรรม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

คาถามหลังกิจกรรม
1. จากกิจกรรมนักเรียนพบว่าถ้าจาแนกตามรูปแบบการเคลื่อนที่แล้ว แนวรอยต่อของ แผ่น
ธรณีมีกี่รูปแบบ อย่างไรบ้าง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. ธรณีสัณฐานแบบใดบ้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในลักษณะเดียวกัน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


30
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจาก


การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้ว
นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


31
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

บัตรกิจกรรมที่ 5.3
ถอดบทเรียน เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจาก


การเคลื่ อ นที่ ข องแผ่ น ธรณี ” ตามหลั กปรั ช ญาของเศรษฐกิจ พอเพี ยงเป็ น ในกระดาษชาร์ ต ที่
กาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


32
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

แบบฝึกหัด
เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

1. แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผ่น


ธรณีมีความเหมือน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... .........................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. จงอธิบายเกี่ยวกับประโยชน์ในการศึกษาโครงสร้างทางธรณี
....................................................................................................................... .......................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


33
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. สถานการณ์ใดที่ไม่ได้ เป็นผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
ก. น้าท่วม
ข. ภูเขาถล่ม
ค. หิมะละลาย
ง. แผ่นดินแยก

2. การพบหินบะซอลต์ที่บริเวณร่องลึก หรือรอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร หินที่พบ


แสดงถึงสิ่งใด
ก. การเกิดรอยแยกของแผ่นธรณีภาค
ข. ชั้นของหิน
ค. ความลึก
ง. อายุหิน

3. อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อโลกมีรอยแตกร้าวและมีการเคลื่อนที่
ก. อุทกภัย
ข. แผ่นดินไหว
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. ดินขาดอาหารของพืชใช้เพาะปลูกไม่ได้

4. หินที่เกิดจากตะกอนธารน้าแข็ง ควรจะเกิดขึ้นบริเวณใด
ก. ขั้วโลก
ข. ใกล้เทือกเขา
ค. ใกล้มหาสมุทร
ง. ใกล้รอยแยกแผ่นธรณีภาค

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


34
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

5. ภูเขาเกิดขึ้นได้หลายกระบวนการ แต่กระบวนการใดที่ไม่สามารถทาให้เกิดภูเขาได้
ก. การกัดกร่อนของผิวโลก
ข. การยกตัวขึ้นของพื้นทวีป
ค. การดันของหินหนืดที่ใต้ผิวโลก
ง. การปรับตัวระหว่างหินหนืดกับหินชั้นบริเวณข้างเคียง

6. เมื่อแผ่นดินเคลื่อนที่ออกไปขณะเดียวกันนั้นเกิดอะไรขึ้น
ก. แมกมาจากใต้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรจะถูกดันแทรกเสริมขึ้นมาตรงรอยแยก
ข. เกิดรอยต่อระหว่างแผ่นธรณีภาค
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. เกิดการแบ่งชั้นหิน

7. เปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสาเหตุใด
ก. กระแสน้า
ข. ธารน้าแข็ง
ค. ภูเขาไฟระเบิด
ง. การเกิดปฏิกิริยาเคมี

8. สาเหตุใดที่ทาให้แผ่นเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ก. ธรรมชาติและแผ่นดินไหว
ข. การกระทาของมนุษย์และธรรมชาติ
ค. มนุษย์และการระเบิดภูเขา
ง. มนุษย์และการตัดไม้ทาลายป่า

9. โครงสร้างและอายุหินรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุอ่อนสุดบริเวณใด
ก. บริเวณเทือกเขา และเทือกเขากลางมหาสมุทร
ข. บริเวณรอยเลื่อนซานแอนเดรียส
ค. แผ่นธรณีภาคกลางมหาสมุทร
ง. บริเวณรอยต่อแผ่นธรณีภาค

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


35
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

10. นอกจากหลักฐานรอยต่อแผ่นธรณีภาค รอยแยกของแผ่นธรณีภาคและการค้นพบซากดึกดา


บรรพ์แล้วยังมีหลักฐานใดอีกที่ยืนยันสมมติฐานของเวเกเนอร์
ก. สนามแม่เหล็กโลกโบราณ
ข. การค้นพบภูเขาไฟที่เกิดขึ้นใหม่ๆ
ค. การเปลี่ยนแปลงของอากาศที่ทาให้เกิดการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


36
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


37
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม
2542. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.
กรมทรัพยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156
http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


38
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


39
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.1
เรื่อง ท่องโลกกว้างตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี

จุดประสงค์กิจกรรม
1. ระบุลักษณะธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
2. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี กับการเคลื่อนที่ รูปแบบ
ต่าง ๆ ของแผ่นธรณี

วัสดุ-อุปกรณ์
1. แผนที่ภูมิประเทศ
2. รูปแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

สถานการณ์
"นักธรณีวิทยาได้สารวจพบธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ สันเขา
กลางสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ประเทศญี่ปุ่น หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง ร่องลึกก้น
สมุทรมาเรียนา แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และ แนวเทือกเขาแอนดีส ให้
นักเรียนศึกษาและอธิบายลักษณะแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์ กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
และทาให้เกิดธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ"

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับลักษณะของธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และระบุบริเวณที่พบ
ลงพื้นแผนที่ภูมิประเทศ จากนั้นอภิปรายสรุปดังประเด็นต่อไปนี้
- ลักษณะของธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแต่ละแห่งที่กาหนดให้
- บริเวณที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีดังกล่าว
- รอยต่อของแผ่นธรณีที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีข้างต้น
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณที่พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแต่
ละแห่งปรากฏอยู่
2. สรุปและนาเสนอความสัมพันธ์ระหว่างธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่ กาหนดให้กับ
ทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


40
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

3. ออกแบบและน าเสนอแนวคิ ด เพื่ อ อธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการเกิ ด ธรณี สั ณ ฐาน


และโครงสร้างและโครงสร้างทางธรณีที่กาหนดให้กับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณแนว
รอยต่อของแผ่นธรณี

ผลการทากิจกรรม

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


41
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

สรุปผลการทากิจกรรม
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ คือ 1. แนวแผ่นธรณีแยกตัว (divergent plate
boundary) 2. แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน (convergent plate boundary) 3. แนวแผ่นธรณี
เคลื่อนผ่านกันในแนวราบ (transform plate boundary) โดยแต่ละรูปแบบส่งผล ให้เกิดธรณี
สัณฐานแตกต่างกัน เช่น เทือกเขากลางสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง หุบเขาทรุด ร่องลึกก้น
สมุทร แนวรอยเลื่อนขนาดใหญ่ แนวเทือกเขาสูง รวมทั้งการเกิดปรากฏการณ์ทาง ธรณีที่สาคัญ
เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


42
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

คาถามหลังกิจกรรม

1. จากกิ จ กรรมนั ก เรี ย นพบว่ า ถ้ า จ าแนกตามรู ป แบบการเคลื่ อนที่ แ ล้ ว แนวรอยต่ อ ของ


แผ่นธรณีมีกี่รูปแบบ อย่างไรบ้าง
แนวคาตอบ
3 แบบ จากแนวลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ โดยมีแนวรอยต่อแผ่นธรณีเคลื่อนที่
แยกจากกัน แนวรอยต่อแผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน และแนวรอยต่อแผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน
ธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันโดยแต่ละรูปแบบส่งผลให้เกิดธรณี สัณฐานแตกต่าง

2. ธรณีสัณฐานแบบใดบ้างที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในลักษณะเดียวกัน
แนวคาตอบ
1. สันเขากลางสมุทรแอตแลนติก หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง เกิดจากการเคลื่อนที่ออก
จากกันของแผ่นธรณี
2. หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ประเทศญี่ปุ่น ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา แนวเทือกเขา
หิมาลัย แนวเทือกเขาแอนดีส เกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณี
3. แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส เกิดจากการเคลื่อนที่ผ่านกันในแนวระดับของแผ่น
แผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


43
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจาก


การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้ว
นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


44
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 5.3
ถอดบทเรียน เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจาก


การเคลื่ อ นที่ ข องแผ่ น ธรณี ” ตามหลั กปรั ช ญาของเศรษฐกิจ พอเพี ยงเป็ น ในกระดาษชาร์ ต ที่
กาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน

ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครูผู้สอน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


45
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

1. แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผ่น


ธรณีมีความเหมือน และแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง
แนวคาตอบ
ทั้งสามทฤษฎีต่างกล่าวถึงการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเหมือนกัน แต่แตกต่างกันที่รายละเอียด
และหลักฐานสนับสนุนทฤษฎีทวีปเลื่อนมีหลักฐานสนับสนุน เช่น หลักฐานซากดึกดาบรรพ์
หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา และหลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล
แต่ยังไม่สามารถอธิบายสาเหตุของการเคลื่อนที่ได้
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทรมีหลักฐานการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร คือ การค้นพบ
สันเขากลางสมุทรอายุของหินบะซอลต์บนพื้นสมุทร และภาวะแม่เหล็กบรรพกาลถึงแม้จะสามารถ
อธิบายว่าทวีปเคลื่อนที่ออกจากกันได้เพราะมหาสมุทรขยายตัวแต่ก็ยังไม่สามารถอธิบายกลไกการ
เคลื่อนที่ได้
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี รวมเอาหลักฐาน แนวคิด ทฤษฎีต่าง ๆ เช่น
ทฤษฎีทวีปเลื่อน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และแนวคิดวงจรการพาความร้อน มาอธิบาย
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีและการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแผ่นธรณี โดยใช้ข้อมูลการพาความร้อน
ของแมกมาภายในฐานธรณีภาค และใช้การเคลื่อนที่ของ แผ่นธรณีในลักษณะต่างๆ มาอธิบาย
ธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ที่มีกระบวนการเกิดอยู่
ภายในโลกและส่งผลกระทบขึ้นมาสู่โลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด

2. จงอธิบายเกี่ยวกับประโยชน์ในการศึกษาโครงสร้างทางธรณี
แนวคาตอบ
โครงสร้างทางธรณีเหล่านี้ นักธรณีวิทยาใช้ในการศึกษาเพื่อตรวจสอบและอธิบายประวัติ
ทางธรณี ขนาด และทิศทางของแรงต่าง ๆ ที่มากระทาต่อตัวหินหรือเปลือก โลกในบริเวณนั้น ๆ
และสามารถนามาแสดงบนแผนที่ธรณีวิทยา ทาให้สามารถเข้าใจสภาพ ธรณีวิทยาของพื้นที่ใน
ลักษณะเป็น 3 มิติ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการใช้พื้นที่ และการสารวจทรัพยากร
ธรณีต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปิโตรเลียม เนื่องจากโครงสร้างทางธรณีบางลักษณะมีความสัมพันธ์
กับแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


46
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1  1 
2  2 
3  3 
4  4 
5  5 
6  6 
7  7 
8  8 
9  9 
10  10 

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


47
ชุดที่ 5 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

ประวัติย่อผู้จัดทา

ชื่อ นางมงคล จันทราภรณ์


วันเกิด วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
สถานที่เกิด อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี
สถานที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 164 หมู่ 9 ตาบลหัวนา
อาเภอเขมราฐ
จังหวัดอุบลราชธานี 34170
ตาแหน่งหน้าที่การงาน ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
สถานที่ทางานปัจจุบัน โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม ตาบลแก้งเหนือ
อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี 34170
สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2535 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพังเคนพิทยา ตาบลพังเคน
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนพังเคนพิทยา
อาเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วิชาเอกฟิสิกส์ สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี
พ.ศ. 2553 ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
(เน้นฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียนแก้งเหนือพิทยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี


องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

You might also like