You are on page 1of 45

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

นางพัชรี คูณทอง
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสริมได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดบทบาทของครูตาม
แนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตาม
ศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ที่ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการคิ ด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสม
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่ อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้

พัชรี คูณทอง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1
ลาดับความคิดต่อเนื่อง 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 2 เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก 7
บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง แบบจาลองโครงสร้างโลก 25
บัตรกิจกรรมที่ 2.2 ผังมโนทัศน์ เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก 26
บัตรกิจกรรมที่ 2.3 ถอดบทเรียน เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก 27
แบบฝึกหัด เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก 29
แบบทดสอบหลังเรียน 30
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 34

บรรณำนุกรม 35

ประวัติย่อผู้จัดทำ 36

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คำชี้แจงเกี่ยวกับชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 2 เรื่ อ ง กระบวนการ


เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาธรณีวิทยา รหัสวิชา ว30261 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยให้สอดคล้องตาม
หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560)
กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึ กที่เหมาะสมกับระดับและวัย
เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริม
เจตคติที่ดี นั กเรี ยนจะได้พัฒ นากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา
และสามารถนาความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้ เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ
หลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีส ารวจตรวจสอบข้อมูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศึกษาและแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ชุดที่ 3 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 4 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชุดที่ 5 เรื่อง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดที่ 6 เรื่อง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ชุดที่ 7 เรื่อง ภูเขาไฟระเบิด
ชุดที่ 8 เรื่อง แผ่นดินไหว
ชุดที่ 9 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ เป็น ชุดที่ 2 เรื่อง กำรแบ่งชั้นโครงสร้ำ งโลก
ใช้เวลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ควรศึกษาขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอียดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรี ย นและผู้ส นใจที่จ ะน าไปใช้ส อนและฝึ กเด็กในปกครองในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้

เสริมพื้นฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพื้นฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามขั้นตอน

ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชุดกิจกรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผ่ำนกำรทดสอบ

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 2 เรื่อง กำรแบ่งชั้นโครงสร้ำงโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 2 เรื่อง เรื่อง


กำรแบ่งชั้นโครงสร้ำงโลก ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต
และรวบรวม ข้อมู ล มาสรุ ป เป็ น องค์ค วามรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสื บค้นข้อมู ล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แก้ ปั ญ หา ผ่ านทางกระบวนการกลุ่ ม เพื่ อช่ ว ยให้ ก ารดาเนิ นการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ บรรลุ
จุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดังนี้
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูผู้สอนเตรียมสื่อการเรียนการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสื่อการสอนที่ต้องใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนี้
4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏิบัติกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่รบกวนผู้อื่น และไม่ชักชวนเพื่อนให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นักเรียนจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิ้นให้เรียบร้อย
4.5 เมื่อมีการประเมินผลนักเรียนต้องปฏิบัติตนอย่างตั้งใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขั้นตอน ดังนี้
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
5.2 ขั้นที่ 2 ขั้นสร้างความสนใจ
5.3 ขั้นที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

5.4 ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป


5.5 ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ขั้นประเมิน
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรู้ไปใช้
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรียนกลุ่มอื่น
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกให้มากที่สุด
9. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนักเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 2 เรื่อง กำรแบ่ง


ชั้นโครงสร้ำงโลก ซึ่งนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดย
ใช้กระบวนการคิด กระบวนการสื บค้นข้อมูล กระบวนการทางสั งคม ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคาชี้แจง ดังต่อไปนี้
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 เรื่อง กำรแบ่งชั้นโครงสร้ำงโลก
ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ
3. นักเรียนทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศึกษาวิธีดาเนินกิจกรรมให้เข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ



ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

ชุดที่ 2

การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้ า ใจองค์ ป ระกอบและความสั ม พั น ธ์ ข องระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัด
ว 3.2 ม.6/1 อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูล
ที่สนับสนุน

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล องค์ ป ระกอบทางเคมี และอธิ บ ายการแบ่ ง ชั้ น โครงสร้ า งโลก
และองค์ประกอบทางเคมีของโครงสร้างโลกแต่ละชั้น (K)
2. วิเคราะห์ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน และอธิบายการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกและสมบัติเชิงกล
ของโครงสร้างโลกแต่ละชั้น (K)
3. สร้างแบบจา ลองโครงสร้างโลกที่แบ่งตามสมบัติเชิงกล และเปรียบเทียบกับการแบ่ง
โครงสร้างโลก ตามองค์ประกอบทางเคมี (P)
4. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับการแบ่งชั้นโครงสร้างโลก ในการ
ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (A)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


1
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

5. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ


ความคิดเห็นของผู้อื่นได้ (A)

ลาดับความคิดต่อเนื่อง
โครงสร้างโลก
การศึกษาโครงสร้างโลกศึกษาจากข้อมูลหลายด้าน เช่น องค์ประกอบทางเคมีของหิน
และแร่ อุกกาบาตที่พบบนโลก ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก


การศึกษาโครงสร้างโลกจากข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านภายในโลกนั้นใช้
สมบัติของคลื่นในตัวกลางเป็นหลัก ซึ่งแบ่งออกเป็น คลื่นปฐมภูมิที่เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางได้
ทุกสถานะ และคลื่นทุติยภูมิซึ่งไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่มีสถานะเป็นของเหลวได้
โดยคลื่นทั้งสองชนิดจะเปลี่ยนแปลงความเร็วเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน


นักวิทยาศาสตร์ใช้ข้อมูล หาความหนาแน่นเฉลี่ยของโลกซึ่งคานวณได้จากค่าความ
หนาแน่นของแร่เหล็กจากอุกกาบาตเหล็ก หินแข็งที่เคยอยู่ในระดับลึกใต้เปลือกโลก และหิน
ที่พบบนโลก รวมทั้งข้อมูลความหนาของโครงสร้างโลกแต่ละชั้นที่ได้จากการศึกษาคลื่นไหว
สะเทือน จึงมีการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกโดยใช้ทั้งตามองค์ประกอบทางเคมี และสมบัติเชิงกล
เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง


การแบ่งโครงสร้างโลกโดยใช้องค์ประกอบทางเคมีแบ่งได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก
เนื้อ โลก และแก่น โลก โดยเปลื อกโลกมี องค์ ประกอบหลั กเป็น สารประกอบของซิลิ กอน
และออกซิ เ จน เนื้ อ โลกมี อ งค์ ป ระกอบหลั กเป็ น สารประกอบของเหล็ ก และแมกนี เ ซี ย ม
แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นสารประกอบของ เหล็กและนิกเกิล


การแบ่งโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกลแบ่งได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค ฐานธรณี
ภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชั้นนอก และแก่นโลกชั้นใน ซึ่งแต่ละชั้นมีสมบัติเชิงกลแตกต่างกัน
ซึ่ง วิ เ คราะห์ ไ ด้ จ ากความเร็ ว ของคลื่ น ไหวสะเทื อ นที่ เ ปลี่ ยนไปในแต่ ร ะดั บ ความลึ ก เมื่ อ
เคลื่อนที่ผ่านชั้นโครงสร้างโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


2
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

สาระสาคัญ
โลกเป็นเพียงดาวเคราะห์ดวงเล็ก ๆ ดวงหนึ่งในจักรวาล แต่ขนาดรัศมีประมาณ 6,370
กิโลเมตรของโลก ก็ทาให้การขุดเจาะลงไปลึกถึงใจกลางโลกเพื่อศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของโลกนั้นเป็นเรื่องที่ยากยิ่ง อย่างไรก็ตาม มนุษย์ยังไม่ละความพยายามที่จะศึกษาโครงสร้าง
และองค์ประกอบของโลกในชั้นลึก จึงมีการประยุกต์ความรู้ทางฟิสิกส์เพื่อนามาสารวจโลกในระดับที่
ลึกลงไป โดยใช้คลื่นไหวสะเทือนประกอบกับความรู้ในเรื่องคุณสมบัติของคลื่นที่มีการหักเหและ
สะท้อนในตัวกลางคุณสมบัติต่าง ๆ กัน ทาให้เราคาดคะเนได้ว่าโครงสร้างของโลกของเรานั้นแบ่งเป็น
3 ชั้น ได้แก่ แก่นโลก (Core) เนื้อโลก (Mantle) และเปลือกโลก (Crust
นักวิทยาศาสตร์ ศึกษาโครงสร้างภายในโลกโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทฤษฎี
และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้สามารถแบ่งโครงสร้างโลกได้ตามองค์ประกอบทางเคมี ออกเป็น 3
ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก
นักวิทยาศาสตร์ ศึกษาโครงสร้างภายในโลกโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทฤษฎี
และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้สามารถแบ่งโครงสร้างโลกได้ตามสมบัติเชิงกล ออกเป็น 5 ชั้น ได้แก่
ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชั้นนอก และแก่นโลกชั้นใน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


3
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. การเรียงลาดับชั้นเปลือกโลก เข้าสู่ศูนย์กลางที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. เนื้อโลก แก่นโลก
ข. แก่นโลก เนื้อโลก
ค. แมนเทิล เนื้อโลก
ง. เนื้อโลก แมนเทิล

2. อายุทางธรณีวิทยาแบ่งออกได้กี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 1 แบบ คือ อายุสัมบูรณ์
ข. 1 แบบ คือ อายุเทียบสัมพันธ์
ค. 1 แบบ คือ อายุจริงทางธรณีวิทยา
ง. 2 แบบ คือ อายุเทียบสัมพันธ์ และอายุสัมบูรณ์

3. โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ชั้นใหญ่ๆ 3 ชั้น อะไรบ้าง


ก. ชั้นเปลือกโลก ใต้เปลือกโลก แก่นโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค
ค. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด

4. เปลือกโลกที่รองรับประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจากสิ่งใด
ก. น้าท่วม
ข. ปฏิกิริยาเคมีและกระแสน้า
ค. กระแสน้าและกิจกรรมของมนุษย์
ง. ผลกระทบจากแผ่นดินไหวของบริเวณใกล้เคียง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


4
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

5. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
ก. ซิลิคอนและซิลิกา
ข. เหล็กและทองแดง
ค. ซิลิคอนและอะลูมินา
ง. ซิลิคอนและแมกนีเซียม

6. เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ คืออะไร


ก. เปลือกโลกชั้นนอก และ เปลือกโลกชั้นใน
ข. เปลือกโลกภาคพื้นดิน และ เปลือกโลกภาคพื้นน้า
ค. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกภาคพื้นน้า
ง. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกใต้มหาสมุทร

7. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก รวมกันเรียกว่าอะไร
ก. แมนเทิล
ข. ธรณีภาค
ค. ธรณีภาคพื้นทวีป
ง. ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

8. เปลือกโลกใต้มหาสมุทร ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
ก. ซิลิคอนและแมกนีเซีย
ข. ซิลิคอนและอะลูมินา
ค. ซิลิคอนและซิลิกา
ง. ซิลิคอนและเหล็ก

9. ชั้นใดของโลกที่มีความหนามากที่สุด
ก. แมนเทิล
ข. แก่นโลก
ค. เปลือกโลก
ง. ผิวโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


5
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

10. แก่นโลก ประกอบด้วยธาตุหลักใดต่อไปนี้


ก. เหล็กและนิกเกิล
ข. เหล็กและอะลูมิเนียม
ค. แมกนีเซียมและซิลิคอน
ง. แมกนีเซียมและกามะถัน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


6
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

บัตรเนื้อหา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

โลกเป็น เพียงดาวเคราะห์ดวงเล็ ก ๆ ดวงหนึ่งในจักรวาล แต่ขนาดรัศมีประมาณ 6,370


กิโลเมตรของโลก ก็ทาให้การขุดเจาะลงไปลึกถึงใจกลางโลกเพื่อศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของโลกนั้นเป็นเรื่องที่ยากยิ่ง อย่างไรก็ตาม มนุษย์ยังไม่ละความพยายามที่จะศึกษาโครงสร้าง
และองค์ประกอบของโลกในชั้นลึก จึงมีการประยุกต์ความรู้ทางฟิสิกส์เพื่อนามาสารวจโลกในระดับ
ที่ลึ กลงไป โดยใช้ค ลื่ น ไหวสะเทือ นประกอบกั บความรู้ ในเรื่ องคุณ สมบัติ ของคลื่ น ที่มี การหั กเห
และสะท้อนในตัวกลางคุณสมบัติต่าง ๆ กัน ทาให้เราคาดคะเนได้ว่าโครงสร้างของโลกของเรานั้น
แบ่งเป็น 3 ชั้น ได้แก่ แก่นโลก (Core) เนื้อโลก (Mantle) และเปลือกโลก (Crust)

รูปที่ 2.1 โครงสร้างภายในโลก


ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/blog/content/63710/-blo-sciear-sci-

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


7
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

เราสามารถแบ่งโครงสร้างภายในโลกได้เป็น 3 ชั้น และในแต่ละชั้นก็จะมีชั้นความไม่ต่อเนื่อง


กั้นกลางอยู่ ได้แก่

1. แก่นโลก (Core)
เป็นส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,470 กิโลเมตร สามารถแบ่งย่อย
ออกจากกันเป็น 2 ชั้น ด้วยชั้นความไม่ต่อเนื่องเลอห์มานน์ (Lehmann Discontinuity)
1.1 แก่น โลกชั้น ใน (Inner Core) มีความหนาประมาณ 1,370 กิโลเมตร มีความ
หนาแน่นมากและมีลักษณะแข็ง คาดว่า แก่นโลกส่วนนี้จะประกอบด้วยโลหะผสมระหว่างเหล็กและ
นิกเกิล โดยเทียบเคียงจากอุกกาบาตเนื้อเหล็กที่ประกอบไปด้วยโลหะผสมระหว่างเหล็กและนิกเกิล
ซึ่งเคยตกลงมาบนโลก เนื่องจากมันมีความหนาแน่นใกล้เคียงกับแก่นโลกในชั้นนี้
1.2 แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) มีความหนาประมาณ 2,100 กิโลเมตร ในชั้นนี้
ประกอบด้วยโลหะผสมระหว่างเหล็กและนิกเกิลเช่นเดียวกับแก่นโลกชั้นใน แต่คาดว่าจะมีสถานะ
เป็ น ของเหลวที่มีการเคลื่ อนที่ในลั กษณะหมุนวนด้ว ยการพาความร้อน ซึ่งการเคลื่ อนที่เช่นนี้ได้
เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก

2. ชั้นเนื้อโลก (Mantle)
ชั้นเนื้อโลกมีความหนาประมาณ 2,880 กิโลเมตร แบ่งแยกออกจากแก่นโลกชั้นนอก
ด้วยชั้นความไม่ต่อเนื่องวิเชิร์ตกูเทนเบิร์ก (Wiechert-Gutenberg Discontinuity) หรือชั้นความไม่
ต่อเนื่องโอล์แดม (Oldham Discontinuity) มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแร่ซิลิเกต ทั้งนี้ ระหว่าง
เนื้อโลกมีชั้นทรานซิชัน (Transition Zone) แทรกอยู่ ซึ่งทาให้เราแบ่งเนื้อโลกได้เป็นเนื้อโลกชั้นล่าง
และเนื้อโลกชั้นบน
2.1 เนื้ อ โลกชั้ น ล่ า ง (Lower Mantle) มี ค วามหนาประมาณ 2,100 กิ โ ลเมตร มี
สถานะเป็นของแข็ง
2.2 เนื้อโลกชั้นบน (Upper Mantle) มีความหนาประมาณ 700 กิโลเมตร แบ่งเป็น
เนื้อโลกชั้นบนตอนล่างและเนื้อโลกชั้นบนตอนบน
1) เนื้อโลกชั้นบนตอนล่าง เรียกว่า ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) มีลักษณะ
เป็นของแข็งเนื้ออ่อน จึงหยุ่นคล้ายดินน้ามัน ในชั้นนี้มีความร้อนสูง ทาให้แร่บางส่วนหลอมละลาย
เป็นหินหนืด (Magma) ซึ่งจะมีการเคลื่อนที่ในลักษณะของกระแสหมุนวนด้วยการพาความร้อน
2) เนื้อโลกชั้นบนตอนบน มีลักษณะเป็นหินเนื้อแข็ง และเป็นฐานรองรับเปลือก
โลกส่วนทวีป เรียกรวมกันว่า ธรณีภาค (Lithosphere)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


8
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.2 ธรณีภาค


ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/blog/content/63710/-blo-sciear-sci-

3. ชั้นเปลือกโลก (Crust)
เป็นชั้นที่อยู่นอกสุด มีความหนาเฉลี่ย 22 กิโลเมตร แยกจากชั้นเนื้อโลกด้วยชั้นความ
ไม่ต่อเนื่องโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic Discontinuity หรือ M-Discontinuity) ชั้นเปลือกโลกแบ่ง
ออกได้เป็น 2 ส่วนคือ
3.1 เปลื อ กโลกส่ ว นมหาสมุ ท ร (Oceanic crust) มี ค วามหนาเฉลี่ ย ประมาณ 5
กิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลต์ ซึ่งประกอบด้วยเหล็ก แมกนีเซียม ซิลิกอน และออกซิเจน ดังนั้น
เปลือกโลกส่วนนี้จึงถูกเรียกว่า ไซมา (SIMA) โดยมาจากอักษรสองตัวแรกของธาตุซิลิกอน (Silicon)
กับแมกนีเซียม (Magnesium)
3.2 เปลื อ กโลกส่ ว นทวี ป (Continental crust) มี ค วามหนาเฉลี่ ย ประมาณ 30
กิโลเมตร ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิต ซึ่งมีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิกอน อะลูมิเนียม ออกซิเจน โซเดียม
และโพแทสเซียม ดังนั้น จึ งถูกเรียกว่าไซอัล (SIAL) โดยมาจากอักษรสองตัวแรกของธาตุซิลิกอน
(Silicon) กับอะลูมิเนียม (Aluminium)

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


9
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.3 เปลือกโลกส่วนทวีป


ที่มา : https://www.trueplookpanya.com/blog/content/63710/-blo-sciear-sci-

โลกเป็นสมาชิกหนึ่งของระบบสุริยะ ซึ่งมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบ โลกนี้เกิดขึ้น


ได้อย่างไร แม้จะมีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านได้เสนอแนวคิดหรือทฤษฎีไว้ แต่ก็ไม่สามารถสรุปได้
แน่นอน ทั้งนี้เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์จึงยังคงศึกษาต่อไป
โลกแบ่งออกเป็นชั้นได้ 3 ชั้น ได้แก่ เปลือกโลก แมนเทิล และแก่นโลก นอกจากนี้ โลกยัง
ประกอบด้วยสสารต่าง ๆ มากมาย ซึ่งสสารเหล่านี้มีสถานะต่างกัน และสามารถเปลี่ยนสถานะได้เมื่อ
อยู่ในภาวะที่เหมาะสม
เมื่อนักวิทยาศาสตร์นาข้อมูลทั้งองค์ประกอบทางเคมีบนผิวโลก หินแปลกปลอมในระดับลึก
ใต้ผิวโลกที่ลาวานาขึ้นมา และอุกกาบาตเหล็ก ร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือน
ทาให้นักวิทยาศาสตร์แบ่งชั้นโครงสร้างโลกโดยใช้เกณฑ์องค์ประกอบทางเคมีและสมบัติเชิงกล

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


10
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.4 องค์ประกอบทางเคมีของโครงสร้างภายในของโลก


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/chemical-structure

2.1 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี

นักธรณีวิทยาแบ่งโครงสร้างภายในของโลก โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางเคมี
ออกเป็น 3 ส่วน
1. เปลื อ กโลก (Crust) เป็ น ผิ ว โลกชั้ น นอก มีอ งค์ ประกอบส่ ว นใหญ่ เป็ น ซิ ลิ ก าได
ออกไซด์ และอะลูมิเนียมออกไซด์ ประกอบด้วยเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร
- เปลือกโลกทวีป (Continental crust) ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิต มีองค์ประกอบส่วน
ใหญ่เป็น ซิลิกาและอะลูมิเนียม มีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ลูกบาศก์
เซนติเมตร
- เปลือกโลกมหาสมุทร (Oceanic crust) ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลต์ มีองค์ประกอบ
ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น มี เ หล็ ก แมกนี เ ซี ย มและซิ ลิ ก าเป็ น องค์ ป ระกอบส่ ว นใหญ่ ความหนาเฉลี่ ย 5
กิโลเมตร ความหนาแน่น 3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร มากกว่าเปลือกทวีป ดังนั้นเมื่อเปลือกโลก
ทั้งสองชนกัน เปลือกโลกทวีปจะถูกยกตัวขึ้น ส่วนเปลือกโลกมหาสมุทรจะจมลง และหลอมละลาย
เป็นแมกมาอีกครั้ง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


11
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

2. เนื้ อ โลก (Mantle) คือ ส่ ว นซึ่ง อยู่ อ ยู่ใ ต้ เ ปลื อ กโลกลงไปจนถึ งระดั บ ความลึ ก
2,900 กิโลเมตร มีองค์ประกอบหลักเป็นซิลิคอนออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์
แบ่งออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่
- เนื้อโลกตอนบนสุด (Uppermost sphere) มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นฐานรองรับ
เปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮวิชิก เรียกโดยรวมว่า ธรณีภาค
(Lithosphere) มีความหนาโดยรวมประมาณ 30 – 100 กิโลเมตร
- เ นื้ อ โ ล ก ต อ น บ น ( Upper mantle) ห รื อ บ า ง ค รั้ ง เ รี ย ก ว่ า ฐ า น ธ ร ณี ภ า ค
(Asthenosphere) อยู่ที่ระดับลึก 100 – 700 กิโลเมตร ึลั มี กษณะเป็นของแข็งเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่
สูงมากทาให้แร่บางส่วนหลอมละลายเป็นหินหนืด (Magma) เคลื่อนที่หมุนวนด้วยการพาความร้อน
(Convection)
- เนื้อโลกตอนล่าง (Lower mantle) มีสถานะเป็นของแข็งที่ระดับลึก 700 – 2,900
กิโลเมตร มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็ก แมกนีเซียม และซิลิเกท
3. แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แบ่ง
ออกเป็น 2 ชั้น
- แก่นโลกชั้นนอก (Outer core) เป็นเหล็กในสถานะของเหลว เคลื่อนที่หมุนวนด้วย
การพาความร้อน (Convection) ที่ระดับลึก 2,900 – 5150 กิโลเมตร เหล็กร้อนเบื้องล่างบริเวณที่
ติดกับแก่นโลกชั้นในลอยตัวสูงขึ้น เมื่อปะทะกับแมนเทิลตอนล่างที่อุณหภูมิต่ากว่าก็จะจมตัวลง การ
เเคลื่อนที่หมุนวนเช่นนี้เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
- แก่นโลกชั้นนอก (Inner core) ที่ระดับลึก 5,150 กิโลเมตร จนถึงใจกลางโลกที่ระดับ
ลึก 6,370 กิโลเมตร ความดันมหาศาลกดทับทาให้เหล็กมีสถานะเป็นของแข็ง
โลกประกอบด้วยธาตุหลายชนิด โดยประมาณร้อยละ 90 เป็นเหล็ก ออกซิเจน ซิลิกอน
และแมกนีเซียม นอกจากนี้ยังมีธาตุอื่น ๆ อีก ดังรูปที่ 2.5

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


12
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.5 องค์ประกอบทางเคมีของโลก


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 95)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

รูปที่ 2.6 โครงสร้างโลกแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/chemical-structure

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


13
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

ในขณะที่ เ กิ ด การแบ่ ง ชั้ น ของโลก ธาตุ เ หล่ า นี้ เ กิ ด เป็ น สารประกอบแล้ ว แยกตั ว กั น อยู่
เป็นชั้น ๆ ตามความหนาแน่นที่แตกต่างกัน นักวิทยาศาสตร์จึงแบ่งโครงสร้างโลกเป็น 3 ชั้น ได้แก่
เปลือกโลก (crust) เนื้อโลก (mantle) และแก่นโลก (core) ตามองค์ประกอบทางเคมีที่แตกต่างกัน

รูปที่ 2.7 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 96)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีในแต่ละชั้นภายในของโลก ดัง รูปที่ 2.6 แล้วจะพบว่า


ธาตุที่หมายเลขอะตอมมาก หรือมีความถ่วงจาเพาะสูง เช่น เหล็ก (atomic no: 26) จมลงสู่แก่น
กลางของโลก ธาตุ ที่ มี ห มายเลขอะตอมน้ อ ย หรื อ มี ค วามถ่ ว งจ าเพาะต่ ากว่ า เช่ น ออกซิ เ จน
อะลูมิเนียม และซิลิกอน ลอยตัวขึ้นเป็นองค์ประกอบหลักของเปลือกโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


14
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.8 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 97)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

เปลือกโลก (crust) เป็น ชั้นนอกสุ ดที่ห่ อหุ้มโลก มีความหนาระหว่าง 5 – 70 กิโลเมตร


เปลือกโลกประกอบด้วยเปลือกโลกทวีป (continental crust) และเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic
crust) ดังรูป
เปลื อ กโลกทวี ป มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น พื้ น ทวี ป และไหล่ ท วี ป (continental shelf) ประกอบด้ ว ย
หินแกรนิตเป็นส่วนใหญ่ โดยมีองค์ประกอบเป็นสารประกอบของซิลิกอนและอลูมิเนียม
เปลือ กโลกมหาสมุท ร เป็ น ส่ ว นที่ รองรั บทะเลหรื อมหาสมุท ร ส่ ว นใหญ่ป ระกอบด้ว ย
หินบะซอลต์ ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก เป็นสารประกอบของซิลิกอนและแมกนีเซียม เปลือกโลกทวีปมี
ความหนาแน่นน้อยกว่าเปลือกโลกมหาสมุทร แต่เปลือกโลกทวี ปมีความหนามากกว่าเปลือกโลก
มหาสมุทร

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


15
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.9 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 10)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

เนื้อโลก (mantle) เป็นชั้นที่อยู่ถัดจากเปลือกโลก มีของเขตตั้งแต่ใต้เปลือกโลกจนถึงที่


ระดับความลึกประมาณ 2,900 กิโลเมตร ดังรูป 2.5 นักวิทยาศาสตร์ศึกษาหินแข็งใต้เปลือกโลก
(หินแปลกปลอม) ที่ขึ้นมาบนผิวโลกพร้อมกับลาวา พบว่าองค์ประกอบหลักเป็นซิลิกอน แมกนีเซียม
และเหล็กเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงสรุปว่าเนื้อโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นสารประกอบ
ของซิลิกอน แมกนีเซียม และเหล็ก
 เนื้อโลกตอนบนสุด (Uppermost sphere) มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นฐานรองรับ
เปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิชิก เรียกโดยรวมว่า ธรณีภาค
(Lithosphere) มีความหนาโดยรวมประมาณ 30 - 100 กิโลเมตร
 เ นื้ อ โ ล ก ต อ น บ น ( Upper mantle) ห รื อ บ าง ค รั้ ง เ รี ย กว่ า ฐ า นธ ร ณี ภ า ค
(Asthenosphere) อยู่ที่ระดับลึก 100 - 700 กิโลเมตร ึลั
มี กษณะเป็นของแข็งเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่
สูงมากทาให้แร่บางส่วนหลอมละลายเป็นหินหนืด (Magma) เคลื่อนที่หมุนวนด้วยการพาความร้อน
(Convection)
 เนื้ อโลกตอนล่า ง (Lower mantle) มีส ถานะเป็นของแข็งที่ระดับลึ ก 700 - 2,900
กิโลเมตร มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็ก แมกนีเซียม และซิลิเกท

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


16
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.10 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 11)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แบ่งออกเป็น


2 ชั้น
แก่นโลกชั้นนอก (Outer core) เป็นเหล็กในสถานะของเหลว เคลื่อนที่หมุนวนด้วยการ
พาความร้อน (Convection) ที่ระดับลึก 2,900 - 5150 กิโลเมตร เหล็กร้อนเบื้องล่างบริเวณที่ติดกับ
แก่นโลกชั้นในลอยตัวสูงขึ้น เมื่อปะทะกับแมนเทิลตอนล่างที่อุณหภูมิต่ากว่าจึงจมตัวลง การเเคลื่อน
ที่หมุนวนเช่นนี้เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
แก่นโลก (core) เป็นโครงสร้างโลกชั้นในสุดอยู่ที่ระดับความลึกตั้งแต่ 2,900 กิโลเมตรจาก
ผิวโลก จนถึงใจกลางโลก ดังรูป 2.6 ประกอบด้วยธาตุเหล็กเป็นส่วนใหญ่ และธาตุอื่น ๆ ได้แก่
นิกเกิล ออกซิเจน ซิลิกอน และซัลเฟอร์

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


17
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.11 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 12)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

แก่ น โลกชั้ น ใน (Inner core) ที่ ร ะดั บ ลึ ก 5,150 กิ โ ลเมตร จนถึ ง ใจกลางโลกที่ ร ะดั บ
ลึก 6,370 กิโลเมตร ความดันมหาศาลกดทับทาให้เหล็กมีสถานะเป็นของแข็ง
จากการศึกษาตัวอย่างหินบนพื้นโลก อุกกาบาต หินแปลกปลอมที่ลาวาพาขึ้นมา และคลื่น
ไหวสะเทือนทาให้นักวิทยาศาสตร์แบ่งโครงสร้างโลกได้ตามองค์ประกอบทางเคมี นอกจากเกณฑ์
ดังกล่าวแล้วนักวิทยาศาสตร์ยังสามารถแบ่งโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

2. การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

นักวิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาคลื่ นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่จากศูนย์เกิดแผ่ นดินไหว และ


พบว่าบางบริเวณสามารถตรวจวัดได้ทั้งคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ บางบริเวณไม่สามารถตรวจวัด
คลื่นปฐมภูมิได้ บางบริเวณไม่สามารถตรวจวัดคลื่นทุติยภูมิได้ บางบริเวณไม่สามารถตรวจวัดได้ทั้ง
คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ ดังรูป 2.8 เรียกบริเวณเหล่านี้ว่า เขตอับคลื่น (Shadow Zone) ซึ่ง
เป็ น ผลมาจากการสะท้ อ นและ / หรื อ หั ก เหของคลื่ น จากการตรวจพบเขตอั บ คลื่ น ท าให้
นั กวิทยาศาสตร์ คาดว่าภายในโลกไม่ไ ด้เป็น เนื้อเดี ยวกัน นอกจากนี้ การเคลื่ อนที่ ของคลื่ นไหว
สะเทือนมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วที่ระดับลึกต่าง ๆ นักวิทยาศาสตร์จึงนาข้อมูลทั้งหมดข้างต้นมา
ใช้ในการแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


18
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

รูปที่ 2.12 ลักษณะเส้นทางของคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิที่ผ่านโครงสร้างโลก


ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 14)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

จากรูปพบว่ามีบางบริเวณไม่สามารถตรวจวัดคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุ ติยภูมิที่เคลื่อนที่จาก
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวได้ เรียกบริเวณเหล่านี้ว่า เขตอับคลื่น (shadow zone) ซึ่งเป็นผลมาจากการ
สะท้อนและ/หรือหักเหของคลื่น จากการตรวจพบเขตอับคลื่นทาให้นักวิทยาศาสตร์คาดว่าภายใน
โลกไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกัน นอกจากนี้การเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
ที่ระดับลึกต่าง ๆ นักวิทยาศาสตร์จึงนาข้อมูลทั้งหมดข้างตันมาใช้ในการแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
ในปี พ.ศ. 2452 แอนดริ จ า โมโฮโรวิ ซิ ก (Andrija Mohorovicic นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ช าว
โครเอเชียได้ศึกษาข้อมูลการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนเมื่อเกิ ดแผ่นดินไหว พบว่าความเร็วของ
คลื่นเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัว กลางต่างชนิดกัน มีการหักเห สะท้อนและเคลื่ อนที่ผ่านด้วยความเร็ว ที่
แตกต่างกันต่อมาจึงสรุปได้ว่าโครงสร้างภายในโลกมีการแบ่งชั้น
จากการศึกษาความเร็ ว ของคลื่ นไหวสะเทือนที่เปลี่ ยนไปในแต่ล ะระดับความลึก ทาให้
นักวิทยาศาสตร์สรุปว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ภายในโลกไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกัน และได้แบ่งโครงสร้าง
โลกออกเป็ น 5 ชั้ น จากผิ ว โลกสู ใ จกลางโลก คื อ ธรณี ภ าค (ithosphere) ฐานธรณี ภ าค

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


19
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

(asthenosphere) มัชฌิมภาล (mesosphere) แก่นโลกชั้นนอก (outer core) และแก่นโลกชั้นใน


(inner core) ดังรูป 2.13

รูปที่ 2.13 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกลที่ได้จากการศึกษา


การเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนผ่านชั้นต่าง ๆ ของโครงสร้างโลกตามระดับความลึก
ที่มา : หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 19)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

แบ่งจากการศึกษาความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
1. ธรณี ภ าค (lithospherer) เป็ น ชั้ น นอกสุ ด ของโลก พบว่ า คลื่ น P และคลื่ น S
จะเคลื่อนที่ผ่านธรณีภาคด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยทั่วไปชั้นนี้มีความลึกประมาณ 100
กิโลเมตร จากผิวโลก ประกอบด้วยหินที่มีสมบัติเป็นของแข็ง
2. ฐานธรณี ภ าค (asthenosphere) เป็ น บริ เ วณที่ ค ลื่ น ไหวสะเทื อ นมี ค วามเร็ ว ไม่
สม่าเสมอ แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ คือ
(1) เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง (low velocity zone) เป็นบริเวณที่คลื่น
ไหวสะเทือน P และ S มีความเร็วลดลง เนื่องจากบริเวณนี้ประกอบด้วยหินที่มีสมบัติเป็นพลาสติก
(อุณหภูมิและความดันบริเวณนี้ทาให้แร่บางชนิดที่อยู่ในหินเกิดการหลอมตัวเล็กน้อย)
(2) เขตที่มีการเปลี่ยนแปลง (transitionzal zone) เป็นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือน
มีความเร็วเพิ่มขึ้นในอัตราที่ไม่สม่าเสมอ เนื่องจากหินบริเวณส่วนล่างของฐานธรณีภาคเป็นของแข็งที่
แกร่ง และมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแร่

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


20
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) เป็นชั้นที่อยู่ใต้ฐานธรณีภาค และเป็นบริเวณที่คลื่นไหว


สะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ เนื่องจากหิน หรือสาร บริเวณส่วนล่างของมีโซสเฟียร์มีสถานะ
เป็นของแข็ง มีความลึกประมาณ 660 – 2,900 กิโลเมตร จากผิวโลก
4. แก่นโลกชั้นนอก (outer core) เป็นชั้นที่อยู่ใต้มีโซสเฟียร์ มีความลึกประมาณ 2,900 –
5,140 กิโลเมตร คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ในขณะที่คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านชั้น
ดังกล่าวได้
5. แก่นโลกชั้นใน (inter core) อยู่ที่ระดับความลึกประมาณ 5,140 กิโลเมตร จนถึงจุด
ศูนย์กลางของโลก คลื่น P และ S มีอัตราเร็วค่อนข้างคงที่ เนื่องจากแก่นโลกชั้นในเป็นของแข็งที่มี
เนื้อเดียวกัน

รูปที่ 2.14
ที่มา : http://www.chaiyatos.com/geol01.gif

โครงสร้ า งโลกตามองค์ ป ระกอบทางเคมี แ บ่ ง ได้ เ ป็ น 3 ชั้ น คื อ เปลื อ กโลก เนื้ อ โลก


และแก่นโลก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


21
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

- นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างโลกชั้นเปลือกโลกจากการเจาะส ารวจและศึกษาองค์
ประกอบของหินบนเปลือกโลกพบว่า เปลือกโลก (crust) เป็นชั้นนอกสุดที่ห่อหุ้มโลก มีความหนา
ระหว่าง 5 – 70 กิโ ลเมตร เปลื อกโลกประกอบด้ว ยพื้นทวีปและไหล่ ท วีป (continental shelf)
เปลือกโลกทวีป (continental crust) คือ บริเวณพื้นทวีปและ ไหล่ทวีป ประกอบด้วยหินแกรนิต
เป็นส่วนใหญ่ โดยมีองค์ประกอบหลักเป็นสารประกอบ ของซิลิกอนและอะลูมิเนียม มีความหนา
ประมาณ 35-70 กิโลเมตร และมีความหนาแน่น เฉลี่ย 2.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร เปลือกโลก
มหาสมุทร (oceanic crust) เป็นส่วน ที่รองรับทะเลหรือมหาสมุทร เรียกว่า ส่วนใหญ่ประกอบด้วย
หินบะซอลต์มีองค์ประกอบ หลักเป็นสารประกอบของซิลิกอนและแมกนีเซียม มีความหนาประมาณ
5-10 กิโลเมตร และมีความหนาแน่นเฉลี่ย 2.9 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
- นักวิทยาศาสตร์ศึกษาหินแปลกปลอมที่ขึ้นมาพร้อมกับลาวาซึ่งเป็นหินที่อยู่ในระดับลึกใต้
ผิวโลก เมื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของหินแปลกปลอมเปรียบเทียบกับองค์ประกอบ ทางเคมีของ
หิ น บนเปลื อ กโลกพบว่ า มี ค วามแตกต่ า งกั น จึ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า เนื้ อ โลกมี อ งค์ ประกอบหลั ก เป็ น
สารประกอบของเหล็ กและแมกนีเซียมเช่นเดียวกับหิ นแปลกปลอม ประกอบกับ ข้อมูลคลื่ นไหว
สะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านในโลกจึง ทาให้ทราบว่า เนื้อโลกมีขอบเขต ตั้งแต่ใต้เปลือกโลกจนถึงระดับ
ความลึกประมาณ 2,900 กิโลเมตร
- จากทฤษฎี ก าเนิ ด ระบบสุ ริย ะ ที่ก ล่ า วว่ า โลกเกิ ดพร้อ มกั บวั ตถุ อื่ น ๆ ในระบบสุ ริ ย ะ
นักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของอุกกาบาตเหล็กเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมี
ของหินจากเนื้อโลกและเปลือกโลก พบว่าอุกกาบาตเหล็กมี องค์ประกอบทางเคมีที่แตกต่างออกไป
และจากการคานวณหาค่าความหนาแน่นของแก่นโลก พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับสารประกอบเหล็กของ
อุกกาบาตเหล็ก รวมทั้งการพบสนามแม่เหล็กโลก ซึ่งคาดการณ์ว่าเกิดจากการเหนี่ยวนาด้วยธาตุ
เหล็ ก ที่ มี ส ถานเป็ น ของเหลวภายในโลก จากเหตุ ผ ลข้ า งต้ น จึ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า แก่ น โลกน่ า จะมี
องค์ ป ระกอบทางเคมี เ ป็ น เหล็ ก ร่ ว มกั บ ข้ อ มู ล จากคลื่ น ไหวสะเทื อ นที่ เ คลื่ อ นที่ ผ่ า นโลกท าให้
นักวิทยาศาสตร์ สัณนิ ษฐานว่า แก่น โลก ที่เป็นชั้นในสุดของโลกอยู่ที่ระดับความลึ กตั้งแต่ 2,900
กิโลเมตรจากผิวโลก จนถึง ใจกลางโลก ประกอบด้วยธาตุเหล็กเป็นส่วนใหญ่ และธาตุอื่น ๆ ได้แก่
นิกเกิล ออกซิเจน ซิลิกอน และซัลเฟอร์

โครงการเจาะสารวจโครงสร้างโลก
นั กวิทยาศาสตร์ พยายามเจาะส ารวจลงไปภายในโลกทั้งบริเวณที่เป็นพื้นทวีป และพื้ น
มหาสมุ ท ร เช่ น โครงการ Kola Superdeep Borehole ท าการขุ ด เจาะที่ ค าบสมุ ท รโคลา
ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศรัสเซีย สามารถเจาะลงไปในแผ่นทวีปบอลติกได้ความ ลึกมาก
ที่สุ ดประมาณ 12 กิโ ลเมตร โดยใช้เวลาถึง 19 ปี (พ.ศ. 2513-2532) และโครงการ Integrated

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


22
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

Ocean Drilling Program (IODP) ทาการเจาะบริเวณพื้นมหาสมุทรแปซิฟิก ใกล้กับประเทศญี่ปุ่น


โดยใช้เรือชื่อ Chikyu เจาะได้ลึกประมาณ 7 กิโลเมตร

รูปที่ 2.15
ที่มา : คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 25)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


23
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion)

เมื่อคลื่นพีหรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทามุม จะเกิด การ


สะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอส
ตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์
นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทาให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทาไม
จึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอส ดังกล่าวเป็นคลื่น
ที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง
เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทาให้อนุภาคเคลื่อนที่
ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อ
ระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน (ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน)

รูปที่ 2.16
ที่มา : คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 25)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


24
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

บัตรกิจกรรมที่ 2.1
เรื่อง แบบจาลองโครงสร้างโลก

จุดประสงค์กิจกรรม
สร้างแบบจาลอง อธิบายและเปรียบเทียบการแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทาง เคมี
และสมบัติเชิงกล

วัสดุ-อุปกรณ์
1. โฟม
2. ดินน้ามัน
3. กรรไกร
4. คัตเตอร์
5. สี
6. กระดาษ หรือวัสดุและอุปกรณ์อื่นตามความเหมาะสม

สถานการณ์
"โรงเรียนจะจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักเรียนในแต่ล ะ
ระดับชั้น ซึ่งในห้องเรียนของนักเรียนได้รับมอบหมายให้ นาเสนอความรู้เกี่ยวกับ "โครงสร้าง โลก"
โดยมีพื้นที่จัดแสดงขนาด กว้าง 1.5 เมตร ยาว 1.5 เมตร ให้นักเรียนออกแบบและ สร้างแบบจาลอง
โครงสร้างโลกที่แสดงการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี และสมบัติเชิงกลอยู่ใน
แบบจาลองเดียวกัน โดยให้มีความหนาของแต่ละชั้นตามสัดส่วนจริง"

วิธีการทากิจกรรม
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ที่กาหนด
2. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล และอภิ ป รายเกี่ ย วกั บ องค์ ค วามรู้ ก ารแบ่ ง ชั้ น โครงสร้ า งโลกตามองค์
ประกอบทางเคมีและสมบัติเชิงกล
3. ออกแบบโดยวาดรู ป ร่ า งให้ มี สั ด ส่ ว นที่ ถู ก ต้ อ งและระบุ วั ส ดุ ที่ เ ลื อ กใช้ จากนั้ น สร้ า ง
แบบจาลองตามที่ได้ออกแบบไว้
4. นาเสนอแบบจาลองและอภิปรายร่วมกัน
5. ปรับปรุงแบบจาลองให้ถูกต้องและสมบูรณ์

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


25
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

ผลการทากิจกรรม
………............................................................................................................................... ......................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….................................................................................................................................. ...................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................

สรุปผลการทากิจกรรม
………............................................................................................................................... ......................
………............................................................................................................................... ......................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….................................................................................................................................. ...................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


26
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

บัตรกิจกรรมที่ 2.2
แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เกี่ยวกับ “การแบ่งชั้น โครงสร้างโลก” เป็นแผนผังมโนทัศน์


(Concept Mapping) ในกระดาษที่แจกให้แล้วนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


27
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

บัตรกิจกรรมที่ 2.3
ถอดบทเรียน เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก” ตามหลักปรัชญาของ


เศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปติดป้ายนิเทศหน้า
ชั้นเรียน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


28
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

แบบฝึกหัด
เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

1. ให้นักเรียนเติมข้อมูลการแบ่งชั้นโครงสร้างโลกลงในตารางให้ถูกต้อง
ชั้นโครงสร้างโลก
ความลึก (กิโลเมตร)
แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี แบ่งตามสมบัติเชิงกล
0 – 70 เปลือกโลก
ธรณีภาค
70 – 100
100 – 400
400 – 660

660 – 2,900

2,900 – 5,1,50

5,150 – 6,370 แก่นโลกชั้นใน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


29
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

2. จากรูปโครงสร้างโลก บริเวณ ก และ ข ทั้งสองบริเวณ คือส่วนใดของโครงสร้างโลก และ


บริเวณทั้งสองมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร และมีองค์ประกอบทางเคมีเป็น อย่างไร
จงอธิบายและวาดรูปประกอบ (โดยคานึงถึงมาตราส่วนจริง)

……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
………........................................................................................................................................ .............
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
……….....................................................................................................................................................
………............................................................................................................................... ......................
………........................................................................................................................................... ..........

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


30
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที


2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
1. โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ชั้นใหญ่ๆ 3 ชั้น อะไรบ้าง
ก. ชั้นเปลือกโลก ใต้เปลือกโลก แก่นโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค
ค. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
ง. ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด

2. การเรียงลาดับชั้นเปลือกโลก เข้าสู่ศูนย์กลางที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. เนื้อโลก แก่นโลก
ข. แก่นโลก เนื้อโลก
ค. แมนเทิล เนื้อโลก
ง. เนื้อโลก แมนเทิล

3. อายุทางธรณีวิทยาแบ่งออกได้กี่แบบ อะไรบ้าง
ก. 1 แบบ คือ อายุสัมบูรณ์
ข. 1 แบบ คือ อายุเทียบสัมพันธ์
ค. 1 แบบ คือ อายุจริงทางธรณีวิทยา
ง. 2 แบบ คือ อายุเทียบสัมพันธ์ และอายุสัมบูรณ์

4. เปลือกโลกที่รองรับประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจากสิ่งใด
ก. น้าท่วม
ข. ปฏิกิริยาเคมีและกระแสน้า
ค. กระแสน้าและกิจกรรมของมนุษย์
ง. ผลกระทบจากแผ่นดินไหวของบริเวณใกล้เคียง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


31
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

5. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
ก. ซิลิคอนและซิลิกา
ข. เหล็กและทองแดง
ค. ซิลิคอนและอะลูมินา
ง. ซิลิคอนและแมกนีเซียม

6. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก รวมกันเรียกว่าอะไร
ก. แมนเทิล
ข. ธรณีภาค
ค. ธรณีภาคพื้นทวีป
ง. ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก

7. เปลือกโลกใต้มหาสมุทร ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
ก. ซิลิคอนและแมกนีเซีย
ข. ซิลิคอนและอะลูมินา
ค. ซิลิคอนและซิลิกา
ง. ซิลิคอนและเหล็ก

8. ชั้นใดของโลกที่มีความหนามากที่สุด
ก. ผิวโลก
ข. แมนเทิล
ค. แก่นโลก
ง. เปลือกโลก

9. เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ คืออะไร


ก. เปลือกโลกชั้นนอก และ เปลือกโลกชั้นใน
ข. เปลือกโลกภาคพื้นดิน และ เปลือกโลกภาคพื้นน้า
ค. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกภาคพื้นน้า
ง. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกใต้มหาสมุทร

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


32
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

10. แก่นโลก ประกอบด้วยธาตุหลักใดต่อไปนี้


ก. เหล็กและนิกเกิล
ข. เหล็กและอะลูมิเนียม
ค. แมกนีเซียมและซิลิคอน
ง. แมกนีเซียมและกามะถัน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


33
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


34
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม
2542. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.
กรมทรัพยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบี้ย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา A-M. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
http://www.chaiyatos.com/geol01.gif
https://sites.google.com/site/krongsanglok/baeng-cak-kar-suksa-khwamrew-khxng-
khlun-hiw-satheuxn
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/63710/-blo-sciear-sci-

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


35
ชุดที่ 2 การแบ่งชั้นโครงสร้างโลก

ประวัติย่อผู้จัดทา

ชื่อ – สกุล นางพัชรี คูณทอง


วัน เดือน ปี เกิด 4 พฤศจิกายน 2522
สถานที่เกิด อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
ที่อยู่ปัจจุบัน 111 หมู่ 12 บ้านโนนสมบัติ ตาบลโนนกลาง
อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
เริ่มรับราชการ 12 กรกฎาคม 2545 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3
โรงเรียนขมิ้นพิทยาสรรพ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
สถานที่ทางานในปัจจุบัน โรงเรียนโนนกลางวิทยาคม ตาบลโนนกลาง อาเภอพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2535 ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหินสูง ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร
จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบ็ตตี้ดูเมน 2 ช่องเม็ก ตาบลช่องเม็ก
อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2541 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสิรินธรวิทยานุสรณ์ อาเภอสิรินธร
จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2545 ปริญญาครุศาสตร์บัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาฟิสิกส์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2556 ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ


36

You might also like