You are on page 1of 65

การใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องการคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

นางสาววันนิสา คลังคนเก่า
ครูผู้ช่วย

โรงเรียนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล)
อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
คานา
วิ จ ัย เรื่ อ ง การใช้ชุ ด ฝึ กทัก ษะเรื่ อ งการคู ณ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนั ก เรี ย นชั้ น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล) เป็ นสื่ อนวัตกรรมที่จดั ทาขึ้นเพื่อใช้
ประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ โดยกาหนดกิ จกรรมที่หลากหลาย และ
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ โดยลักษณะของชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณคณิ ตศาสตร์ จะมีใบความรู ้ให้
นักเรี ยนได้ศึกษาก่อน เมื่อเข้าใจแล้วจึงทาชุดฝึ กทักษะและมีแบบทดสอบก่อนเรี ยน - หลังเรี ยน ซึ่ งได้จดั ทา
แผนการจัดการเรี ยนรู ้เพือ่ ใช้รวมกับแบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์เล่มนี้ ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณผูเ้ ชี่ยวชาญทุก
ท่านที่ไ ด้ใ ห้ความอนุ เคราะห์ต รวจรายงานการวิจยั ชุ ดฝึ กทักษะเรื่ อ งการคู ณเล่ มนี้ โดยได้ให้คาปรึ กษา
คาแนะนาและข้อเสนอแนะเพื่อ นามาปรับปรุ งแก้ไขจนสาเร็ จสมบูรณ์และหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานการ
วิจยั ชุดฝึ ก ทักษะเรื่ องการคูณเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการแก้ปัญหานักเรี ยนที่ไม่เข้าใจ พัฒนาการ
เรี ยนการสอนในเรื่ องการคูณและทาให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการคูณที่ดียงิ่ ขึ้น

วันนิสา คลังคนเก่า

ชื่องานวิจัย : เรื่ อง การใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของ


นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล)
ผู้รายงาน : นางสาววันนิสา คลังคนเก่า
ปี การศึกษา : 2563

บทคัดย่ อ
การวิจยั ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ การพัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ
ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัช
ประชานุกูล) และนาผลการเรี ยนเพือ่ หาคุณภาพของชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ อง
การคูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยน บ้านปากถัก ประชากรที่
ใช้ในการวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนโรงเรี ยนวัดมณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัช
ประชานุ กูล) จานวน 11 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือ แบบทดสอบการคูณ และชุ ดฝึ กทัก ษะการคู ณ
จานวน 1 ชุด โดยใช้คะแนนที่ได้จากการทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดฝึ ก
ทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณคานวณค่า ( T – test ) เพือ่ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนก่อนและหลัง
เรี ยน ผลการวิจยั พบว่าการใช้ชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณทาให้นัก เรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรี ยน
สู งขึ้น ดู จากผลการทดสอบก่อ นเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ ย 12 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 6.89 คิดเป็ นร้อยละ 60 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย
14.09 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.81 เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 14.09 ซึ่ งพบว่า ผลการเรี ยนรู ้หลัง
เรี ยนสูงกว่า ผลการเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยน เมื่อนาไปคานวณหาค่า T ใน ตารางนั้นคะแนนทดสอบหลังเรี ยนมีค่า
มากกว่า ทดสอบก่อนเรี ยน มีค่าสถิติที่ได้เท่ากับ 1.147

กิตติกรรมประกาศ
รายงานวิจยั ในชั้นเรี ยน เรื่ องการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ อ งการคู ณที่มี ต่อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล ) นี้ ได้จดั ทาขั้นเพื่อพัฒนา
ความสามารถด้านคณิ ตศาสตร์เพื่อแก้โจทย์ปัญหาการคูณของนักเรี ยน ซึ่ งรายงานการวิจยั นั้นสาเร็ จลงได้
ด้วยการสนับสนุนส่งเสริ มจากบุคคลต่าง ๆ หลายด้าน และขอขอบพระคุณ ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนวัดมณฑล
ประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล) ว่าที่ร้อยตรี เบญจวรรณ ภู่ดา้ ย ที่ให้คาแนะนาและให้คาปรึ กษา ตลอดจน
ให้การสนับสนุนในการทางานวิจยั ในครั้งนี้และได้รับความอนุเคราะห์อย่างดียงิ่ จาก ว่าที่ ร.ต.พอเจตร์ คาสัก
ดี ที่ช่วยในการสร้างเครื่ องมือและหาคุณภาพของชุดฝึ กทักษะ เรื่ องการคูณ ขอขอบคุณ คุณครู โรงเรี ยนวัด
มณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล) ทุก ๆ ท่านที่ให้การช่วยเหลือในการหาคุณภาพของเครื่ องมือที่ใช้ใน
การทา วิจยั ขอบใจนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่เป็ นตัวอย่างในการวัยในครั้งนี้
ท้ายสุดนี้คุณค่าประโยชน์อนั พึงมีจากการรายงานวิจยั ในชั้นเรี ยน เรื่ องการใช้ชุดฝึ กทักษะ เรื่ องการ
คูณที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนฉบับนี้ ผูว้ จิ ยั ขออุทิศแด่ผมู ้ ีพระคุณทุก ๆ ท่าน

วันนิสา คลังคนเก่า

สารบัญ
หน้า
คานา
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1
วัตถุประสงค์การวิจยั 2
สมมติฐานของการศึกษา 3
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า 3
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 5
หลักสูตร 5
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับคณิ ตศาสตร์ 9
ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ 13
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 15
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 23
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั 26
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 26
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 26
ขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือ 26
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 26
การวิเคราะห์ขอ้ มูล 27
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 27

สารบัญ (ต่ อ)

หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินการวิจยั 28
บทที่ 5 สรุ ปผลอภิปรายผล 29
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
แบบทดสอบก่อนเรี ยน
แบบทดสอบหลังเรี ยน
แบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การคูณ
บทที1่
บทนา

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา


คณิ ตศาสตร์มีความสาคัญต่อ การพัฒนาความคิดของมนุ ษย์เป็ นอย่างมากทาให้มนุ ษย์มีความคิด
สร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุมีผลเป็ นระบบ มีระเบียบ มีแบบแผน สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์
ได้อย่างถี่ ถว้ นรอบคอบทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผนตัดสิ นใจและแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
คณิ ตศาสตร์ เป็ นเครื่ อ งมื อ ในการศึ กษาวิทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีต ลอดจนศาสตร์ อื่ น ๆ ที่เ กี่ ย วข้อ ง
คณิ ตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดารงชีวติ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ (กลุ่มส่งเสริ มการเรี ยนการสอนและ
ประเมินผล สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.2548:1) นอกจากนักคณิ ตศาสตร์ยงั ช่วยพัฒนาคนให้
เป็ นมนุ ษย์ที่สมบูรณ์มีความสมดุลทั้งทางร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็ นทาเป็ น
แก้ปัญหาเป็ น และสามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่ นได้อ ย่างมี ความสุ ข (สานักทดสอบทางการศึกษา. 2546 : 2)
นาไปสู่การเรี ยนรู ้สาระอื่น ๆ และการเรี ยนในระดับสูง คณิ ตศาสตร์เป็ นวิชาที่ช่วยพัฒนาคน ให้คิดเป็ นอย่าง
มีเหตุผล มีระเบียบขั้นตอนในการคิด และยังช่วยเสริ มคุณลักษณะที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตอื่น ๆ เช่น การ
สังเกตความละเอียดถี่ถว้ นแม่นยามีสมาธิและรู ้จกั แก้ปัญหาโดยมีจุประสงค์และความเข้าใจกระบวนการและ
การคิด จนสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวันและการดาเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข โดยธรรมชาติ
ของวิชาคณิ ตศาสตร์เป็ นวิชาที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอด และทักษะอีกทั้งต้องอาศัยวิธีสอนที่เหมาะสม ซึ่ ง
จะทาได้โดยเรี ยนจากอุปกรณ์จริ ง จากประสบการณ์การสอนคณิ ตศาสตร์ ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
พบว่านักเรี ยนเขียนเฉพาะคาตอบมาส่งครู แต่นกั เรี ยนไม่สามารถอธิบายวิธีการหรื อขบวนการในการทา ได้
ทั้งนี้เพราะนักเรี ยนทุกคนไม่ชอบคิดเอง และไม่ชอบแสดงวิธีทาไม่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ชอบแต่ลอก
เพือ่ นเมื่อกาหนดโจทย์ให้ก็ไม่สามารถหาคาตอบได้ถึงการสอนคณิ ตศาสตร์ ยังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร
คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ยงั ไม่บรรลุผลและอยูใ่ นระดับ ที่ไม่พอใจ และนักเรี ยนจานวน
มากไม่ ชอบวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยคิดว่าวิชาคณิ ตศาสตร์เป็ นวิชาที่ยาก และทา แบบฝึ กหัดมาก นักเรี ยนจึง
รู ้สึกท้อแท้ขาดความมัน่ ใจในการเรี ยนซึ่งเป็ นผลกระทบโดยตรงต่อการเรี ยน และเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนา
ทักษะคณิ ตศาสตร์ดว้ ย ( วรสุ ดา บุญยไวโรจน์. 2542 : 36 ) ควรเน้นถึงทักษะกระบวนการคิดของนักเรี ยน
แต่ล ะคน ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญไม่ แพ้คาตอบของปั ญหาต่าง ๆ นักเรี ยนจะมีความสามารถในการคิด และเกิ ด
ทักษะกระบวนการคิดมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยูก่ บั พื้นฐาน ในสิ่ งที่คิดและคิดได้หรื อคิดเป็ นกระบวนการ
คิดจนทา ให้เกิดทักษะสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เสมอ
จากสภาพปั ญหาดังกล่าวเพื่อให้ประสบผลสาเร็ จในการสอนเรื่ องการคูณระดับชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 3 และการสอนคณิ ตศาสตร์เพือ่ พัฒนาการแก้ปัญหานั้นเนื่องจากการคูณต้องอาศัยความรู ้ความเข้าใจ
2

ตลอดจนทักษะเข้าด้วยกันเพื่อ นาไปใช้ในการหาคาตอบครู ควรจัดกิ จกรรมให้สนุ กๆ เพื่อ ให้นักเรี ยนมี


โอกาสประสบความสาเร็จในการเรี ยน และเกิดเจตคติที่ดีและเพือ่ ให้ผเู ้ รี ยนบรรลุผลตามมาตรฐานกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ผูส้ อนจะต้อ งศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานหลักสู ตรมาตรฐานกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์รวมทั้งเอกสารประกอบกับหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความยืดหยุน่ สามารถจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ตามความเหมาะสมของผูเ้ รี ยนจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี / หลักการ สภาพปั ญหา และความจา
เป็ นดังกล่าวนั้นครู ควรใช้เทคนิคหลายๆประการเพือ่ ไม่ให้เด็กเกิดความคับข้องใจ หรื อขาดแรงจูงใจในการ
แก้ปัญหาการสอนให้นกั เรี ยนคิดทาให้นกั เรี ยนมีความเห็นชอบ และรู ้จริ ง การสอนให้นักเรี ยนเห็นชอบทา
ให้นกั เรี ยนแก้ปัญหาได้และทาให้นกั เรี ยนเติบโตขึ้นอย่างมีอิสรภาพ และหากนักเรี ยนมีโอกาสฝึ ก
ทักษะหลาย ๆ ข้อแล้วนักเรี ยนจะมีความชานาญและเฉลียวฉลาดขึ้น ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของ
นักเรี ยนดีข้ ึนการใช้ชุดฝึ กทักษะเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ฝึ กทักษะในการคูณ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเนื้ อหาดียงิ่ ขึ้น
และสามารถหาคาตอบได้ถูกต้องชุดฝึ กทักษะที่สร้างสามารถช่วยในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนโดยใช้ชุดฝึ ก
ทักษะคณิ ตศาสตร์เรื่ องการคูณ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนหลังเรี ยนด้วยชุดฝึ กเสริ มทักษะสู งกว่าก่อน
เรี ยนด้วยชุดฝึ กทักษะเสริ มทักษะอย่างมีนยั ทางสถิติที่ดีข้ ึน
จากเหตุ ผ ลดัง กล่ าว ท าให้ผูว้ ิจ ัย ได้ศึ ก ษาค้น คว้า สนใจที่ จ ะพัฒ นาชุ ด ฝึ กทัก ษะการคู ณ ในวิช า
คณิ ตศาสตร์ สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เพื่อ ให้นักเรี ยนมีทกั ษะ ในการแก้โจทย์ปัญหาอย่าง
จริ งจังอันเป็ นแนวทางหนึ่ งที่จะช่วยพัฒนาความรู ้ ทักษะ และเจตคติ ต่อการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ รวมทั้ง
เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้าที่ของครู ผูส้ อนในการปรับปรุ งส่งเสริ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชา
คณิ ตศาสตร์

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
1.2.1 เพือ่ ศึกษาผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะ เรื่ องการคูณที่มีต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนบ้านปากถัก
1.2.2 เพือ่ เปรี ยบเทียบผลการเรี ยนก่อนและหลังเรี ยน เรื่ องการคูณของนักเรี ยนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล)

1.3 สมมติฐานของการศึกษา
นักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้ชุดฝึ กทักษะการคูณหลังเรี ยนมีผลการเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน
3
1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้ า
1. 4.1. ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ได้แก่นกั เรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 1
ปี การศึกษา 2563 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิ ท ธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล ) สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
ประถมศึกษาพระนครศรี อยุธยาเขต 1 จานวนนักเรี ยน 13 คน
1.4.2. ตัวแปร
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ ที่ผศู ้ ึกษาได้สร้างขึ้น
ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลการเรี ยนเรื่ องการคูณของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล)
1. 4.3. เนื้อหาในการศึกษา
เนื้อหาที่ใช้สอน คือ เนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์ช้ นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ องการคูณ
1. 4.4. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง
ดาเนินการในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง เดือน
กันยายน พ.ศ. 2563 จานวน 10 ชัว่ โมง ทาการทดลองโดยการสอนซ่อมเสริ มไม่รวมการทดสอบก่อน
เรี ยนและหลังเรี ยน

1.5 นิยามศัพท์ เฉพาะ


1. ชุดฝึ กทักษะ หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู สร้างขึ้นโดยมีรูปแบบกิจกรรมหลากหลาย
มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึ กให้นักเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น และช่วยฝึ กทักษะต่าง ๆ ให้ผเู ้ รี ยน
เกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ งอาจให้นกเรี ยนทาชุดฝึ กทักษะขณะเรี ยนหรื อหลังจากจบบทเรี ยนไปแล้วก็ได้
2. ชุดฝึ กทักษะการคูณ หมายถึง ชุดฝึ กทักษะที่ผศู ้ ึกษาค้นคว้าได้สร้างขึ้นเพือ่ นาไปใช้
ประกอบการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 เรื่ องการคูณโดยมีจุดมุ่งหมาย
เพือ่ ฝึ กให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจบทเรี ยนได้ดียงิ่ ขึ้น และมีผลสัมฤทธิ์หลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน
3. ผลการเรี ยน หมายถึง ความสามารถของนักเรี ยนในด้านการคูณซึ่งเกิดจากนักเรี ยน
ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรี ยนการสอนของครู โดยที่ครู ได้ศึกษาและสร้างเครื่ องมือวัด
และประเมินผล

1.6 ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


1. ทาให้ครู มีการศึกษาค้นคว้าเกิดความเคลื่อนไหวทางวิชาการอยูเ่ สมอ
2. นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีและมีผลการเรี ยนเพิม่ ขึ้น
3. สามารถตอบสนองนโยบายโดยนักเรี ยนสามารถอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็ น
4

1.7 กรอบแนวคิดกาวิจยั

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ชุดฝึ กทักษะเรื่องการคูณ ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการคูณ


บทที่ 2
เอกสารงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง

การวิจยั ครั้งนี้เป็ นงานวิจยั เชิงทดลองผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะ เรื่ องการคูณที่มีต่อ


ผลการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล) ผูว้ ิจยั
ได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยั เกี่ยวข้องเพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. หลักสู ตร
1.1 หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2561 )
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับคณิตศาสตร์
2.1 ความหมายของคณิ ตศาสตร์
2.2 ความสาคัญของคณิ ตศาสตร์
2.3 แนวคิดและทฤษฎีทางคณิ ตศาสตร์
2.4 ประโยชน์และคุณค่าของคณิ ตศาสตร์
3. ชุดฝึ กทักษะเรื่องการคูณ
3.1 ความหมายของชุดฝึ กทักษะ
3.2 หลักการสร้างชุดฝึ กทักษะ
3.3 ประโยชน์ของชุดฝึ กทักษะ
4. ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
4.2 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
4.3 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
4.4 หลักการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
5.1 ผลการใช้แ บบฝึ กคณิ ต ศาสตร์ เ รื่ อ งการคู ณ ที่ มี ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนั ก เรี ย น
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนเทศบาลวัดราษฎร์นิยมธรรม สังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองศรี ราชา
5.2 การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้วชิ าคณิ ตศาสตร์เรื่ องเงิน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
โดยใช้แบบฝึ กทักษะ
6
5.3 ผลการใช้แบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และเจตคติทางการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ของ
นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนเคหะประชาสามัคคี จังหวัดนครราชสี มา
5.4 การพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู ้วิชาคณิ ตศาสตร์โดยใช้แบบฝึ กเสริ มทักษะการคิดคานวณ เรื่ อง
การหาร ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
5.5 การพัฒนาชุดฝึ กทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิ ตศาสตร์เรื่ อง การบวก
การลบ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2

1. หลักสู ตร
1.1 หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2561 )
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
1. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐาน
ของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชนที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สงั คมมีส่วนร่ วมในการจัด
การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและ
การจัดการเรี ยนรู ้
5. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
6. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์

วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนา มุ่งฝึ กฝนให้ผเู ้ รี ยนมีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน
สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา และสถานการณ์ได้อย่างถี่ถว้ นรอบคอบ และเป็ นเครื่ องมือในการศึกษาศาสตร์
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็ นประโยชน์ในการดารงชีวติ ทาให้เป็ นคนที่สมบูรณ์ คิดเป็ น แก้ปัญหาเป็ น สามารถอยู่
กับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุข
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
7

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมใน


การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพือ่
ขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพือ่ นาไปสู่การสร้างองค์ความรู ้หรื อ
สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ใน
การป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง
สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไป
ใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยูร่ ่ วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกั หลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรี ยนรู ้ การ
สื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คณิ ตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิง่ ต่อความสาเร็จในการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก คณิ ตศาสตร์
ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบมีแบบแผน สามารถ วิเคราะห์ ปั ญหา
หรื อสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถว้ น ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวติ จริ งได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิ ตศาสตร์ยงั เป็ นเครื่ องมือ
ในการศึกษาด้วยคณิ ตศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่นๆ อันเป็ นรากฐาน ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทดั เทียม กับนานาชาติ การศึกษาคณิ ตศาสตร์จึง
จาเป็ นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้ทนั สมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความรู ้
ทางคณิ ตศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริ ญก้าวหน้า อย่างรวดเร็ วในยุคโลกาภิวตั น์
8

ตัวชี้วดั และสาระการเรี ยนรู ้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ.
๒๕๖๑) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับนี้ จัดทาขึ้น โดยคานึงถึง
การส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะที่จาเป็ นสาหรับการเรี ยนรู ้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็ นสาคัญ นัน่ คือ การเตรี ยม
ผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้
เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่ วมมือ ซึ่งจะส่งผลให้ผเู ้ รี ยนรู ้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและ อยูร่ ่ วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้การจัดการ
เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ที่ประสบความสาเร็ จนั้นจะต้อง เตรี ยมผูเ้ รี ยนให้มีความพร้อมที่จะเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ พร้อม
ที่จะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรื อ สามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นดังนั้นสถานศึกษาควรจัดการ
เรี ยนรู ้ให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์จดั เป็ น ๓ สาระ ได้แก่ จานวนและพีชคณิ ตการวัดและ เรขาคณิ ต และสถิติ
และความน่าจะเป็ น

✧ จานวนและพีชคณิ ต เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ ระบบจานวนจริ ง สมบัติเกี่ยวกับจานวนจริ งอัตราส่วน ร้อย


ละ การประมาณค่า การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวน การใช้จานวนในชีวติ จริ ง แบบรู ปความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั
เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ย และมูลค่า ของเงิน
ลาดับและอนุกรม และการนาความรู ้เกี่ยวกับจานวนและพีชคณิ ตไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

✧ การวัดและเรขาคณิ ต เรี ยนรู ้เกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ าหนัก พื้นที่ ปริ มาตรและความจุ


เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรี โกณมิติ รู ปเรขาคณิ ต และ
สมบัติของรู ปเรขาคณิ ต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิ ต ทฤษฎีบททางเรขาคณิ ต การแปลงทาง
เรขาคณิ ตในเรื่ องการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุ น และการนาความรู ้เกี่ยวกับการวัด และเรขาคณิ ตไป
ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

✧ สถิติและความน่าจะเป็ น เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ การตั้งคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูลการ


คานวณค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ หลักการนับ เบื้องต้น
ความน่าเป็ น การใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นในการอธิบายเหตุการณต่าง ๆ และช่วยในการ
ตัดสินใจ

✧แคลคูลสั ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนั อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิ ต ปริ พนั ธ์ของฟังก์ชนั


พีชคณิ ต และนาความรู ้เกี่ยวกับแคลคูลสั ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษาค้ นคว้ า

วิธีดาเนินการวิจัย
การวิจยั เรื่ องผลของการใช้ชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณที่มีต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล) มีวธิ ีการดาเนินการดังนี้
1. ประชากร
2. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3. การสร้างเครื่ องมือและหาคุณภาพเครื่ องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. ประชากรกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากรในการวิจยั ครั้งนี้คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2563 โรงเรี ยนวัดมณฑล
ประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล) อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา
2. เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
เครื่ องมือที่ใช้ในในการวิจยั ครั้งนี้คือ
1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้
2. ชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์เรื่ องการคูณ
3. ใบงานเรื่ องการคูณ
3. การสร้ างเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือ
ในการสร้างเครื่ องมือชุดฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เรื่ องการคูณ ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้ดาเนินการดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลเนื้อหาวิชาคณิ ตศาสตร์จากหลักสูตร และแผนการจัดการเรี ยนรู ้เรื่ องการคูณ
2. ดาเนินการสร้างชุดฝึ กทักษะเรื่ องการคูณ
3. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือโดยให้ผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นผูช้ ่วยตรวจสอบให้
4. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. สอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้
2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ทดสอบก่อนเรี ยน
27

4. ใช้ชุดฝึ กทักษะในการเรี ยนการสอน


5. ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน (ทดสอบหลังเรี ยน)
6. เก็บรวบรวมข้อมูลและประเมินผล
5. การวิเคราะห์ ข้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ของแบบทดสอบก่อนเรี ยน และหลังเรี ยน เรื่ องการคูณ
6. สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. ค่าร้อยละ ( Percentage)
2. ค่าเฉลี่ย ( )
3. ค่าส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน ( S.D. )
บทที่ 4
ผลการดาเนินการวิจัย

ในการศึกษาครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้สร้างชุดฝึ กเพือ่ พัฒนาทักษะเรื่ องการคูณ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี


ที่ 3 โรงเรี ย นวัด มณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัชประชานุ กูล ) สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา
พระนครศรี อยุธยา เขต 1 ได้ทดลองจัดกิจกรรมหลังจากได้ดาเนิ นการทดสอบ และทาการบันทึกคะแนนไว้
เพือ่ หาค่าความแตกต่างโดยเทียบคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนได้ผลดังปรากฏในตารางดังต่อไปนี้

ตารางวิเคราะห์ ที่ 1 แสดงจานวนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2563


โรงเรียนวัดมณฑลประสิ ทธิ์ (อาจธวัชประชานุกลู )

นักเรียน จานวน คิดเป็ นร้ อยละ


ชาย 6 52.38
หญิง 5 47.62

จากตารางที่ 1 จะเห็นว่านักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2563


โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล) มีท้งั สิ้น 11 คน เป็ นนักเรี ยนชาย 6 คน คิดเป็ นร้อยละ
52.38 และนักเรี ยนหญิง 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 47.62

ตารางวิเคราะห์ ที่ 2 แสดงผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เรื่ องการคูณของนักเรี ยนชั้น


ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนวัดมณฑลประสิทธิ์ (อาจธวัชประชานุกูล) จานวน 11 คน โดยเก็บคะแนน 2
ครั้งคือก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน คะแนนสอบที่ได้เป็ นดังตาราง

คะแนนทดสอบเรื่ องการคูณ ผลต่าง


เลขที่ ชื่อ – สกุล
หลังเรี ยน ก่อนเรี ยน
1 ด.ญ. ศศิกานต์ พอบเณร 15 12 3 9
2 ด.ญ. พชรพัณช์ งามวงค์ 17 14 3 9
3 ด.ญ. จิฬาภรณ์ จารัสศรี 19 15 4 16
29

คะแนนทดสอบเรื่ องการคูณ ผลต่าง


เลขที่ ชื่อ – สกุล
หลังเรี ยน ก่อนเรี ยน
4 ด.ญ. กมลชนก นนท์น้อย 18 15 3 9
5 ด.ช. จีรพงษ์ พันธ์กระวี 14 13 1 1
6 ด.ช. จิรภัทร์ ตรีนิมิต 11 9 2 4
7 ด.ช. วันชนะ ประกอบสุข 11 8 3 9
8 ด.ช. ธนดล แสงทอง 15 11 4 16
9 ด.ช. รชานนท์ เสือพิทักษ์ 9 7 2 4
10 ด.ช. ชนานันท์ ทองจันทร์ 14 12 2 4
11 ด.ญ. ณัฐชา แวดสา 20 16 4 16
รวม 163 132 31 97
เฉลี่ย 14.81 12 t = 1.147
ร้ อยละ 74.09 60
S.D. 9.49 6.89

จากตาราง พบว่าผลการทดสอบก่อนเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 12


ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.89 คิดเป็ นร้อยละ 60 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20
คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 14.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.09 เพิม่ ขึ้นร้อยละ
14.09 ซึ่งพบว่าผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู ้หลังเรี ยนสู งกว่าผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญ
ทางการเรี ยนรู ้หลังเรี ยนทางสถิติที่ระดับ .05
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

จากการดาเนินการวิจยั ผูว้ ิจยั สามารถสรุ ปผลการดาเนินการวิจยั ได้ดงั นี้


สรุปผลการวิจัย
ผลการวิจยั ในครั้งนี้ ปรากฏว่าเมื่อนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่เรี ยนโดยใช้ชุดฝึ กทักษะ เรื่ อ ง
การคู ณ ผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนหลังการใช้ชุดฝึ กสู งกว่าผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนก่ อ นการใช้ชุดฝึ ก
เป็ นไปตามสมมุติฐานที่ต้งั ไว้จากการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการทดสอบก่อนเรี ยนจากคะแนนเต็ม 20
คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.89 คิดเป็ นร้อยละ 60 ผลการทดสอบหลังเรี ยนจาก
คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 14.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.49 คิดเป็ นร้อยละ 74.09 เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 14.09 ซึ่งพบว่าผลการเรี ยนรู ้หลังเรี ยนสูงกว่าผลการเรี ยนรู ้ก่อนเรี ยน
อภิปรายผล
จากผลการวิ จยั ทา ให้ท ราบว่าเมื่ อ นัก เรี ยนได้เรี ย นโดยใช้ชุด ฝึ กทัก ษะเรื่ อ งการคู ณจากการจัด
กิ จกรรมการเรี ยนรู ้ในครั้งนี้ นัก เรี ย นมี พฒั นาการด้นการคู ณ สู งขึ้น ดัง จะเห็ นได้จากผลการเรี ยนรู ้ของ
นักเรี ยนหลังการใช้ชุดฝึ กสูงกว่าการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนก่อนการใช้ชุดฝึ กเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.09 เป็ นไปตาม
สมมุ ติฐานที่ต้ งั แต่การทดลองนี้ ไม่ สามารถบอกไดว่าผลหลังการทดลองนั้นเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงในตัว
นักเรี ยนเนื่องจากระยะเวลาระหว่างการจัดกิจกรรมทาให้นกั เรี ยนมีความรับผิดชอบ และมีความขยันมากขึ้น
อย่างไรก็ตามผูว้ จิ ยั ได้สงั เกตนักเรี ยนพบว่านักเรี ยนบางคนนั้นมีความขยันใส่ ใจต่อการเรี ยน เพื่อที่จะพัฒนา
ตนเองให้มากขึ้น แต่มีบางคนที่มีปัญหาเรื่ องการคูณ คือเป็ นเด็กที่ยงั ท่องสู ตรคูณไม่ได้และค่อนข้างเรี ยนรู ้
ช้าเมื่อเทียบกับเด็กคนอื่น ๆ
ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัย
1. ครู ผสู ้ อนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 สามารถนาชุดฝึ กทักษะการคูณที่ผศู ้ กึ ษาค้นคว้าสร้างขั้นไปใช้
สอนนักเรี ยนได้เนื่องจากมีประสิทธิภาพพอที่ใช้ในการแก้ไขปั ญหานักเรี ยนที่มีผลทางการเรี ยนต่าและ
สามารถใช้สอนซ่อมเสริ มในวิชาคณิ ตศาสตร์ได้
2. ในการวิจยั ครั้งต่อไปควรมีการสร้างชุดฝึ กเสริ มทักษะในเรื่ องอื่น ๆ เพิม่ เติม เช่น การบวก
ลบ คูณ หารระคน เป็ นต้น
3. ควรมีการจัดฝึ กอบรม สัมมนา เผยแพร่ ความรู ้แก่ครู ในการสร้างสื่อการเรี ยน
ประโยชน์ ต่อนักเรียน
1. นักเรี ยนได้พฒั นาทักษะด้านการคูณ
2. นักเรี ยนมีความภาคภูมีใจที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนสูงขึ้นทาให้เกิดความมัน่ ใจใน
การเรี ยนมากขึ้น
31

3. นักเรี ยนมีผลทางการเรี ยนสูงขึ้น


4. นักเรี ยนสามารถนากระบวนการเรี ยนรู ้ที่ได้รับจากการเรี ยนการสอนไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

You might also like