You are on page 1of 69

คูมือครู

สาระการเรียนรูพื้นฐาน
คณิตศาสตร เลม ๒
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔

จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมาย


จากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระ
การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศ ในกลุมสาระการเรียนรู
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตลอดจนจัดทําสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว
คูมือครูเลมนี้เปนสวนหนึ่งของสื่อการเรียนรูตามหลักสูตรของกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน
คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัด
การเรียนรูคณิตศาสตรใหผูเรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว
ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิ
คณะอาจารยจากโรงเรียนและมหาวิทยาลัย สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทานไว ณ ที่นี้ และ
หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตรใหสามารถ
นําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน
หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท.
ทราบดวย จักขอบคุณยิ่ง

(นายพิศาล สรอยธุหร่ํา)
ผูอํานวยการ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คําชี้แจง

สาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
(สสวท.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร ชวงชั้นที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1–3) และชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4–6) ในหลัก
สูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 นอกจากนั้นยังไดพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
คณิตศาสตร เพื่อใชประกอบหลักสูตรของชวงชั้นที่ 3 และ 4 อีกดวย
หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร ของชวงชั้นที่ 4 จะมีดวย
กันทั้งหมดอยางละ 4 เลม กลาวคือหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร 4
เลม และคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร 4 เลม โดยที่เลมที่ 1 ถึง 4 เรียกวา หนังสือ
เรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 4 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 และเลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ตามลําดับ ทั้งนี้สถาน
ศึกษาสามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรของสถานศึกษาที่อาจจัดรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร ของชวงชั้นที่ 4 เปน 5 หรือ 6 ภาคการศึกษาก็ได
คูมือครูคณิตศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือ
เรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ซึ่งในแตละบทนั้นไดนํา
เสนอ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับเนื้อหาสาระ วิธีสอน กิจกรรมเสนอแนะ ซึ่งจะเปนกิจกรรมการ
เรียนรูและกิจกรรมที่เสริมสรางทักษะกระบวนการ การประเมินผลหรือตัวอยางแบบทดสอบ
ประจําบทพรอมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
คณะผูจัด ทําหวังวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร
อยางไรก็ดีหากทานผูใชคูมือครูเลมนี้มีขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหสาขาคณิตศาสตร
มัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทราบ เพื่อปรับปรุงเอกสาร
ใหสมบูรณยิ่งขึ้นตอไป

(นางสาวจารุวรรณ แสงทอง)
หัวหนาสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ

หนา
บทที่ 1 สถิติและขอมูล 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1
ขอเสนอแนะ 1
กิจกรรมเสนอแนะ 3
การประเมินผล 8
เฉลยแบบฝกหัด 8
เฉลยแบบฝกหัด 1 8
บทที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน 9
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 9
ขอเสนอแนะ 9
กิจกรรมเสนอแนะ 11
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 18
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 20
เฉลยแบบฝกหัด 22
เฉลยแบบฝกหัด 2.1 22
เฉลยแบบฝกหัด 2.2.1 29
เฉลยแบบฝกหัด 2.2.2 32
เฉลยแบบฝกหัด 2.3 35
เฉลยแบบฝกหัด 2.4 36
เฉลยแบบฝกหัด 2.5 41
เฉลยคําถามเพิ่มเติม 48
บทที่ 3 การสํารวจความคิดเห็น 50
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 50
ขอเสนอแนะ 50
กิจกรรมเสนอแนะ 51
การประเมินผล 62
ตารางเลขสุม 63
บทที่ 1
สถิติและขอมูล
( 8 ชั่วโมง )

ในชีวิตประจําวันมีเหตุการณที่เกิดขึ้นมากมายที่มีสวนเกี่ยวของหรือเปนผลสรุป
จากขอมูลหรือสารสนเทศที่อาศัยวิธีการทางสถิติ ซึ่งการใชขอมูลหรือสารสนเทศนี้ ผูใช
ควรจะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลสถิติ และสามารถพิจารณาคุณภาพของขอมูลและ
สารสนเทศเหลานั้น ในบทนี้จะกลาวถึงปญหาที่ตองใชสถิติ รวมถึงขอมูลสถิติและการ
เก็บรวบรวมขอมูล โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรูดังนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เขาใจเกี่ยวกับสถิติ ขอมูล และการเก็บรวบรวมขอมูล

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทาง
ดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือ
คําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียน
ทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบมีวิจารณญาณ และมี
ความเชื่อมั่นในตนเอง

ขอเสนอแนะ
1. ในการเรียนการสอนเรื่องสถิติกับการตัดสินใจและการวางแผน ผูสอนควรยก
ตัวอยางการใชสถิติในชีวิตประจําวันที่ผูเรียนเคยพบเห็นมาบางแลว และใหผูเรียนชวยกัน
ยกตัวอยางเพิ่มเติม เพื่อใหผูเรียนเห็นความสําคัญและประโยชนในการนําสถิติไปใชใน
การตัดสินใจและวางแผน จากนั้นผูสอนจึงสรุปใหเห็นวา ในการตัดสินใจแตละเรื่องนั้น
นอกจากผูตัดสินใจตองอาศัยประสบการณ ความเชื่อ ฯลฯ แลว สิ่งที่สําคัญที่จะตองนํา
2

มาใชในการตัดสินใจก็คือ ขอมูลหรือขาวสาร ซึ่งอาจเปนการใชขอมูลหรือขาวสารเหลา


นั้นโดยตรงหรืออาจตองนําขอมูลเหลานั้นมาวิเคราะหเสียกอนก็ได ดังนั้น เมื่อจําเปน
ตองใชสถิติในการตัดสินใจสิ่งแรกที่ควรทําก็คือ ควรวางแผนเสียกอนวาจะตองใชขอมูล
เรื่องใดบาง และควรใชวิธีการทางสถิติวิธีใดบางในการวิเคราะหขอมูล
2. เนื่องจากการจัดสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 ไดมีการกําหนดมาตรฐานการเรียนรูในชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ไว โดย
กําหนดใหผูเรียนสามารถนําเสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสมได ดังนั้น ในหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 2 จึงมิไดมีเนื้อหา
ที่เกี่ยวกับการนําเสนอขอมูล แตในเรื่องดังกลาวนี้ผูสอนอาจจะทบทวนเรื่องการนําเสนอ
ขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ใหผูเรียนดังนี้
1) ถาตองการเปรียบเทียบรายละเอียดของขอมูลเพียงชนิดเดียว การนําเสนอขอ
มูลนิยมใชแผนภูมิรูปวงกลม โดยเขียนจํานวนเปอรเซ็นตของรายละเอียดแตละรายการ
กํากับไวในแตละสวนของรูปวงกลมที่ไดแบงออกเปนสวนยอยแลว แตถาตองการเปรียบ
เทียบรายละเอียดของขอมูลหลาย ๆ ชุด นิยมใชแผนภูมิแทงในการเปรียบเทียบ
2) การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปภาพ ควรใหผูอานทราบไดทันทีวารูป
ภาพนั้นแทนอะไร มิฉะนั้นจะทําใหผูอานหรือผูใชขอมูลเกิดความเขาใจผิดได
การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปภาพเปนการแสดงขนาดของขอมูลอยาง
คราว ๆ เทานั้น เนื่องจากรูปภาพแตละรูปมักจะแทนขนาดของขอมูลที่มีคามากพอสมควร
ถาขอมูลที่ตองการเปรียบเทียบมีคาตางกันไมมาก การเปรียบเทียบจากรูปภาพจะไม
สามารถเห็นความแตกตางได การนําเสนอขอมูลโดยวิธีนี้จึงอาจมีความจําเปนตองเขียน
ขนาดของขอมูลกํากับไวดวย
3) การนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟ สวนใหญใชกับขอมูลเชิงปริมาณที่แสดง
การเปลี่ยนแปลงตามลําดับกอนหลังของเวลาที่ขอมูลนั้น ๆ เกิดขึ้น เปนจํานวนหลาย ๆ
ชวงเวลา เชน ราคาสินคาในแตละเดือนของป พ.ศ. 2547 ปริมาณขาวโพดที่ประเทศไทย
ผลิ ต ได แ ต ล ะป ใ นช ว งระยะเวลา 10 ป ที่ ผ า นมา อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย ในแต ล ะวั น ของ
กรุงเทพมหานครในเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 ฯลฯ การนําเสนอขอมูลโดยวิธีนี้นิยมใชกัน
มาก เนื่องจากสามารถนําไปใชชวยในการพยากรณขอมูลที่ตองการทราบในอนาคตได
3

ถาขอมูลมีเปนจํานวนมาก เชน ตั้งแต 10 ชวงเวลาขึ้นไป เราอาจใชขอมูลนี้พยากรณ


ราคาสินคาในแตละเดือนของปถัดไป หรือพยากรณปริมาณขาวโพดที่ประเทศไทยผลิตได
ในอีก 5 ปขางหนา เปนตน
4) ถาคาต่ําสุดของขอมูลที่จะนําเสนอโดยใชกราฟมีคามาก การเขียนกราฟโดย
เริ่มตนที่ “0” จะตองใชพื้นที่มากและกราฟที่ไดไมสวยงาม ในกรณีนี้มีความจําเปนตอง
ใชวิธีการตัดบางสวนออกจากแกน (scale break) เพื่อทําใหกราฟสวยงาม และใชพื้นที่ใน
การนําเสนอนอยลง ตัวอยางเชน

กราฟแสดงจํานวนนักทองเที่ยวของจังหวัดในภาคเหนือ
จํานวนคน (พันคน)

140
120
100
80
60
40

0 เดือน
ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

5) กราฟของขอมูลตั้งแตสองชุดขึ้นไป จะนํามาเปรียบเทียบกันได ถาใช


มาตราสวนเดียวกันทั้งแกนตั้งและแกนนอนเทานั้น

กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
ในการเรียนการสอนบทนี้เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับสถิติและขอมูล ผูสอนควรแบง
กลุมใหผูเรียนไปศึกษาและวางแผนเก็บขอมูลในเรื่องที่ผูเรียนสนใจ หรือเกี่ยวของกับตัวผู
เรียน โดยใหผูเรียนแตละกลุมไปหาหัวขอที่สนใจและศึกษาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
4

ตัวอยางขอมูลที่เกี่ยวของกับผูเรียน
1. คะแนนสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาในคณะที่ผูเรียนสนใจ
2. คาใชจายในการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
3. การกูยืมเงินจากกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ)
4. การดูแลสุขภาพใหปลอดภัยจากโรคติดตอ
5. การปองกันและรักษาตัวเองจากความเครียด โดยศึกษาสาเหตุของความเครียด
6. วิธีการปองกันตนเองจากโรคเบาหวาน
เมื่อผูเรียนเลือกหัวขอที่สนใจไดแลว ผูสอนจึงใหผูเรียนแตละกลุมนําหัวขอที่สน
ใจพรอมทั้งวิธีเก็บรวบรวมขอมูลและวิธีนําเสนอขอมูลมานําเสนอในชั้นเรียนเพื่อหาขอ
สรุปในการทํางานที่เหมาะสม เมื่อผูเรียนเก็บรวบรวมขอมูลที่ตองการไดแลว ใหผูเรียน
นําขอมูลที่เก็บรวบรวมมาไดนั้น มานําเสนอพรอมทั้งแสดงความคิดเห็นในแงที่จะเปน
ประโยชนแกสวนรวม ขอมูลที่ไปรวบรวมมาอาจจะนํามาจากสื่อสิ่งพิมพ อินเทอรเน็ต
หรือสื่ออื่น ๆ โดยควรจะเปนเรื่องที่ทันสมัย และควรบอกที่มาของแหลงขอมูลดวย

กิจกรรมที่ 2
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 5 เลม 2 ไดกลาวถึงการเลือกตัวอยางโดยการสุม แตไมไดกลาวถึงการใชตารางเลขสุม
ผูสอนอาจจะใชกิจกรรมที่จะกลาวถึงตอไปนี้เพื่อชวยใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับการสุม
โดยใชตารางเลขสุม พรอมทั้งฝกปฏิบัติไปพรอมกันไดดังนี้
กอนที่จะเริ่มกิจกรรม ผูสอนควรยกตัวอยางเพื่อใหผูเรียนเห็นความจําเปนในการ
รวบรวมขอมูลโดยการสํารวจจากกลุมตัวอยาง ในกรณีที่ไมสะดวกหรือไมสามารถเก็บขอ
มูลจากทุกหนวยของประชากรที่สนใจศึกษาได เชน
1) บริษัทผูผลิตหลอดไฟฟาแหงหนึ่ง ตองการทราบวาหลอดไฟรุนใหมที่ผลิต
ขึ้นนั้นมีอายุการใชงานถึง 1,000 ชั่วโมงหรือไม
ในทางปฏิบัติ ฝายตรวจสอบคุณภาพของบริษัทไมสามารถจะนําหลอดไฟฟา
ทุกดวงมาทําการทดสอบได จึงจําเปนตองสุมตัวอยางมาเพื่อทําการทดสอบคุณภาพของ
หลอดไฟ
5

2) บริษัทผูผลิตยาตองการทราบวา ตัวยาที่ผลิตขึ้นใหมสามารถลดอาการไอของผู
ปวยไดโดยไมมีผลขางเคียงหรือไม
การยกตัวอยางในทํานองเดียวกันนี้ จะชวยใหผูเรียนเขาใจถึงความจําเปนในการ
เลือกตัวอยางโดยการสุมได และการเลือกตัวอยางโดยใชตารางเลขสุมก็เปนวิธีการเลือก
ตัวอยางวิธีหนึ่งดวย ผูสอนอาจจะยกตัวอยางตารางเลขสุมเพียงบางสวนมาอธิบายใหผู
เรียนเขาใจความหมายและวิธีการใชไดดังนี้

ตัวอยางตารางเลขสุม

02553 02462 91241 84863 32640 21097 47725 73359 50205


08310 03698 03164 52132 91175 51989 19008 25397 10093
01419 89118 61698 27769 21330 50393 52284 42579 60566
29867 19019 17771 26029 87898 41735 36039 55235 36199

ตัวอยางที่ 1 ใชวิธีการสุมตัวอยางเพื่อเลือกนักเรียน 10 คนเปนตัวแทนของนักเรียนใน


หองเรียนซึ่งมีทั้งหมด 55 คน โดยการใชเลขโดดที่สุมจากตารางสามารถทําไดดัง
นี้

1) กําหนดหมายเลข 01 - 55 แทนนักเรียนแตละคน
2) กําหนดแถวและหลักของตารางเลขสุมเพื่อใชเลขโดด เชน ถากําหนดใหเลือก
เลขโดดจากแถวที่ 2 และเริ่มจากหลักที่ 2 จะไดชุดตัวเลขสุมดังนี้
03698 03164 52132 91175 51989 19008 25397 10093
3) นําชุดตัวเลขที่ไดมาแยกเปนชุดของตัวเลขที่แตละชุดมีเลขโดดสองตัวดังนี้
03 , 69 , 80 , 31 , 64 , 52 , 13 , 29 , 11 , 75 , 51 , 98 , 91 , 90 , 08 , 25 ,
39 , 71 , 00 , 93
6

จะเห็นวา จากจํานวนที่ได จะมีจํานวนบางจํานวนที่ไมไดอยูระหวาง 01


และ 55 เชน 69 , 80 และ 00 ซึ่งเราจะไมนําจํานวนเหลานี้มาใช

ดังนั้นจากการสุมตัวอยางโดยใชตารางเลขสุม จะไดตัวแทนนักเรียนที่มีหมายเลข
03 , 31, 52 , 13 , 29 , 11 , 51 , 08 , 25 และ 39 รวม 10 คน

นอกจากการใชตารางเลขสุมในการทํากิจกรรมในวิชาสถิติแลวยังสามารถใชในกิจกรรม
ที่เกี่ยวกับความนาจะเปนไดดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 2 จงใชการสุมตัวเลขจากตารางเลขสุมแทนการทดลองโยนเหรียญ 1 อัน 10


ครั้ง โดยกําหนดเงื่อนไขดังนี้
1) ใหเหรียญขึ้นหัว (H) แทนดวยจํานวนคู ซึ่งไดแก 0 , 2 , 4 , 6 และ 8
และเหรียญขึ้นกอย (T) แทนดวยจํานวนคี่ ซึ่งไดแก 1 , 3 , 5 , 7 และ 9
2) กําหนดแถวและหลักที่จะใชตารางเลขสุม เชน ใหเริ่มจากแถวที่ 4 หลักที่ 3
ซึ่งจะไดเลขโดด 10 ตัวไดแก 17771 26029 แทนผลลัพธของการโยน
เหรียญ 1 อัน 10 ครั้ง
7

ตารางสรุปผลการทดลองโยนเหรียญ 1 อัน 10 ครั้ง


โดยใชตารางเลขสุม
ครั้งที่ เลขโดด แทน ครั้งที่ เลขโดด แทน
1 1 T 6 2 H
2 7 T 7 6 H
3 7 T 8 0 H
4 7 T 9 2 H
5 1 T 10 9 T

จากตารางจะพบวาเมื่อใชเลขโดดที่สุมได 10 ตัว แทนการโยนเหรียญ 1 อัน 10 ครั้ง


ผลที่ไดคือ จํานวนคี่ 6 จํานวน และจํานวนคู 4 จํานวน ซึ่งหมายถึง เหรียญขึ้นกอย 6
ครั้ง และขึ้นหัว 4 ครั้ง จากการโยนเหรียญ 1 อัน 10 ครั้ง

กิจกรรมเพิ่มเติม
1. จงหาความสูงเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ถึง 6 โดยการสุมเลือกตัว
แทนนักเรียน 100 คน จากนักเรียนทั้งหมด
2. ใชวิธีการสุมเลือกตัวแทนนักเรียน 100 คนจากนักเรียนทั้งหมด เพื่อหาวานักเรียน
สนใจกีฬาใดมากที่สุด
ในกิจกรรมทั้งสองขอ ผูสอนและผูเรียนรวมกันอภิปรายถึงวิธีการสุมตัวอยางที่ใช
วา นักเรียนที่สุมเลือกมาได เปนตัวแทนที่ดีของนักเรียนทั้งหมดหรือไม ขอสรุปที่ไดจาก
ตัวแทนสามารถนําไปอางอิงเปนขอสรุปของนักเรียนทั้งหมดไดหรือไม
ผูสอนอาจใหผูเรียนศึกษาบทที่ 3 ตอจากบทที่ 1 เพื่อเปนแนวทางใหผูเรียนนํามา
อภิปรายเกี่ยวกับวิธกี ารสุมตัวอยาง แลวจึงศึกษาบทที่ 2 เปนบทสุดทายก็ได
8

การประเมินผล
เนื่องจากในการเรียนการสอนเรื่อง สถิติและขอมูลใหความสําคัญเกี่ยวกับความ
เขาใจพื้นฐานและการนําไปใช ดังนั้น ในการประเมินผลผูสอนอาจจะประเมินจากผล
งานที่ผูเรียนแตละกลุมไปทํากิจกรรมมาโดยพิจารณาจากความถูกตอง ความนาสนใจ
ของผลงาน การนําเสนอ การสื่อความหมาย ใหผูอื่นไดรับรูเรื่องราวที่นําเสนอไดอยาง
ถูกตองชัดเจน แทนการใชขอสอบ

เฉลยแบบฝกหัด
เฉลยแบบฝกหัด 1

1. 1) เชิงปริมาณ 2) เชิงปริมาณ
3) เชิงคุณภาพ 4) เชิงคุณภาพ
5) เชิงปริมาณ 6) เชิงคุณภาพ
7) เชิงคุณภาพ 8) เชิงปริมาณ

2. 1) 2) 3) 4)
5) 6) 7)

3. 1) ก 2) ข

4. ข

5. ค
บทที่ 2
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
( 20 ชั่วโมง )

สถิติเปนวิชาที่มีบทบาทในชีวิตประจําวัน และเปนวิชาที่มีบทบาทในแทบทุกวง
การ การใหผูเรียนไดมีความรูพื้นฐานทางสถิติอยางเพียงพอ และสามารถวิเคราะหขอมูล
อยางงายไดจึงเปนสิ่งที่จําเปนตอการเรียนรูของผูเรียน

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนดใหและวัตถุประสงคที่ตองการ
2. วิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชคากลาง (คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม) การ
วัดการกระจายโดยใชสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาตําแหนงที่ของขอมูลโดยใช
เปอรเซ็นไทลได
3. ใชขอมูลขาวสารและคาสถิติชวยในการตัดสินใจบางอยางได

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทาง
ดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือ
คําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียน
ทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมี
ความเชื่อมั่นในตนเอง

ขอเสนอแนะ
1. สถิติเปนวิชาที่วาดวยการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาขอสรุปจากขอมูลเพื่ออธิบาย
หรือตอบปญหาที่สนใจ การวิเคราะหขอมูลที่ผูเรียนจะตองศึกษาในชั้นนี้เปนศาสตรที่
กลาวถึงการสรุปสาระสําคัญที่มีอยูในขอมูลและนําเสนอขอมูลดวยคาสถิติ เชน คากลาง
10

คาการวัดการกระจาย แผนภาพ ฯลฯ เพื่ออธิบายลักษณะของขอมูลชุดนั้น ซึ่งในปจจุบัน


ไดมีการพัฒนาโปรแกรมสําเร็จรูป เครื่องคํานวณ เชน เครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติได
ทําใหสามารถหาคาที่ตองการไดอยางรวดเร็ว ในปจจุบันการเรียนการสอนวิชาสถิติ จึงไม
จําเปนตองมุงฝกทักษะการหาคาสถิติตาง ๆ ใหถูกตองแมนยํา เนื่องจากในชีวิตจริงของผู
เรียนจะตองใชเครื่องคํานวณมาชวยในการหาคาสถิติที่ตองการอยูแลว สิ่งที่ผูสอนควรคํานึง
คือการสอนใหผูเรียนมีความรูพื้นฐาน มีความเขาใจ และสามารถนําความรู ความเขาใจใน
วิชาสถิติไปใชในการแกปญหาและชวยในการตัดสินใจบางอยางได
2. เนื่องจากในชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ผูเรียนมีพื้นฐานในเรื่องการหาคากลางมา
แลว ดังนั้น การกลาวถึงการหาคากลางในชวงชั้นนี้จึงกลาวถึงในลักษณะของการทบทวน
และในสวนที่เพิ่มเติมจากวิธีการที่กลาวไวตอจากชวงชั้นที่ 3 เชน การหาคากลางของขอ
มูลที่แจกแจงความถี่ในรูปอันตรภาคชั้น
สําหรับวิธีการหาคากลางโดยการทอนคาของขอมูลใหนอยลง ดังวิธีการในตัว
อยางที่ 12 หัวขอการหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่แจกแจงความถี่แลว มีไวเพื่อใหผูเรียน
ไดเขาใจวิธีการหาคากลางแบบตาง ๆ และอาจหาคากลางของขอมูลที่มีจํานวนไมมากนัก
โดยใชวิธีการขางตนไดเมื่อไมมีเครื่องคํานวณชวย แตไมมีวัตถุประสงคใหผูเรียนฝก
ทักษะในสวนนี้แตอยางใด
3. การสรางตารางแจกแจงความถี่นั้นเปนการจัดระบบขอมูลเบื้องตน แตมีขอเสีย
คือ ทําใหเราไมทราบคาที่แทจริงของขอมูล ทราบแตเพียงคราว ๆ วา คาของขอมูลอยูใน
ชวงที่กลาวถึง ดังนั้นยิ่งอันตรภาคชั้นมีความกวางมากขึ้นก็ยิ่งทําใหเราทราบลักษณะของขอ
มูลนอยลง รวมทั้งการนําตารางที่ไดไปหาคากลางของขอมูล เมื่อแตละตารางที่สรางขึ้นมี
อันตรภาคชั้นไมเทากันจะทําใหไดคากลางที่แตกตางกันดวย ในปจจุบันนี้การหาคาสถิติ
ของขอมูลที่มีจํานวนมากมักจะใชเครื่องคิดเลขหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรทางสถิติมาชวย
ในการคํานวณซึ่งจะทําใหตัดปญหาเรื่องการแบงอันตรภาคชั้นออกไป ดังนั้น ผูสอนจึงควร
ชี้แจงใหผูเรียนมีความเขาใจในเรื่องนี้ดวย
4. การแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการจัดระบบขอมูลที่เรา
สามารถทราบคาที่แทจริงของขอมูลได และสามารถวิเคราะหขอมูลอยางคราว ๆ จากแผน
ภาพดังกลาวได การใชแผนภาพตน-ใบ เปนวิธีการสรุปขอมูลโดยแผนภาพและจัดกลุม
11

หรือจัดเรียงขอมูลไวดวยกัน นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สามารถสรางแผนภาพ
ดังกลาวไดดวย การนําวิธีการแจกแจงความถี่โดยใชแผนภาพ ตน-ใบ ซึ่งเปนวิธีการที่ไดมี
การพัฒนาขึ้นเมื่อไมนานมากนัก ทําใหผูเรียนไดเรียนรูวิธีการใชแผนภาพและสามารถนํา
แผนภาพ ตน -ใบ ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนได เชน ดูลักษณะการกระจายของ
ขอมูล ในกรณีที่มีขอมูลเบื้องตนไมมากนัก

กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนไดเห็นวา การเลือกตัวอยางโดยการสุมจะทําใหไดตัวอยาง
ซึ่งเปนตัวแทนของประชากรที่มีคาสถิติ เชน คากลาง คาที่ใชวัดการ
กระจาย มีคาใกลเคียงกับคาที่ไดจากประชากร

ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่เปนคะแนน ซึ่งมีจํานวนขอมูลทั้งหมด 500 รายการ


และถือวาขอมูลชุดนี้คือขอมูลที่ไดจากประชากร (ขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 50 และ
มีสวนเบี่ยงมาตรฐาน 10 ผูสอนไมตองบอกรายละเอียดสวนนี้ใหผูเรียนทราบ)

ขอมูลทั้งหมดของประชากรนํามาแจกแจงความถี่ไดดังนี้

คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่


20 1 28 2
21 0 29 2
22 0 30 3
23 1 31 3
24 1 32 4
25 1 33 5
26 1 34 6
27 1 35 6
12

คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่


36 7 59 13
37 9 60 12
38 10 61 11
39 11 62 10
40 12 63 9
41 13 64 7
42 14 65 6
43 16 66 6
44 17 67 5
45 18 68 4
46 18 69 3
47 19 70 3
48 19 71 2
49 20 72 2
50 20 73 1
51 20 74 1
52 19 75 1
53 19 76 1
54 18 77 1
55 18 78 0
56 17 79 0
57 16 80 1
58 14

ผูสอนใหผูเรียนสุมตัวอยางโดยมีขั้นตอนดังนี้
13

1. ใหผูเรียนชวยกันเขียนสลากของขอมูลที่เปนคะแนนทั้งหมด 500 รายการใส


กลองไว (นั่นคือ เขียนคะแนนบนสลาก ใหจํานวนสลากของแตละคะแนนเทากับความถี่
ของคะแนนนั้น เชน เขียนคะแนน 20 จํานวน 1 ใบ ไมตองเขียนคะแนน 21 เพราะมี
ความถี่เปน 0 และเขียนคะแนน 50 จํานวน 20 ใบ)
2. ผูสอนแบงผูเรียนในชั้นเปนกลุม กลุมละ 3 ถึง 4 คน ใหผูเรียนในแตละกลุม
ชวยกันหยิบสลากขอมูลกลุมละ 20 ชิ้น โดยกลุมแรกหยิบสลาก 20 ชิ้น จดขอมูลที่ไดไว
แลวคืนสลากที่หยิบมาไวในกลองอยางเดิม เขยากลองแลวใหกลุมตอไปทําเหมือนกันจน
ครบทุกกลุม
3. เมื่อผูเรียนทํากิจกรรมในขอ 2 แลว ใหเขียนขอมูลที่ไดเรียงจากขอมูลที่มีคา
นอยไปหาคามาก แลวใหหา คาเฉลี่ยเลขคณิต ( X ) มัธยฐาน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(s)
ตัวอยางขอมูล 10 ชุด ชุดละ 20 ตัวอยาง ที่นักเรียนสุมขึ้นมาอาจเปนดังนี้
ชุดที่ ขอมูล
1. 55 48 55 50 51 64 48 39* 49 48 54 59 66* 42 53 51 44 58 57 45
2. 44 47 43 63 60 69 47 56 46 36 53 52 49 72* 47 34 66 49 26* 63
3. 79 58 72 80* 56 46 64 44* 59 55 60 60 47 44 47 62 50 47 45 58
4. 52 51 38 58 42 53 47 50 43 55 42 59 63* 46 57 53 54 34* 48 50

5. 53 53 64 51 52 48 42 58 40 58 51 42 60 57 47 40* 68* 51 55 46

6. 33* 49 50 37 40 51 38 55 62 58 46 68* 43 35 63 41 42 36 45 48

7. 45 55 54 46 49 62 47 49 50 48 48 53 25* 52 44 48 39 63* 57 51

8. 59 47 36 43 53 37 66* 52 48 39 56 63 65 35* 58 37 62 55 58 52

9. 61* 20* 46 53 30 39 44 57 61 48 59 34 59 43 55 41 35 26 48 31

10. 54 52 41* 60* 53 51 53 49 47 50 48 52 45 42 55 49 58 43 57 50

* คาที่มากหรือนอยที่สุดของขอมูลแตละชุด
14

หมายเหตุ ในทางปฏิบัติ ผูสอนใหผูเรียนเปนผูสุมขอมูลแตละชุดดวยตนเองตามวิธีการที่ได


กลาวมาขางตน ตัวอยางที่ใหไวนี้ มีไวเพื่อใชยกตัวอยางในการอภิปรายในตอนตอ
ไปเทานั้น

จากขอมูลที่ได ผูสอนใหผูเรียนแตละกลุมสรางแผนภาพตน -ใบ แลวหาคาเฉลี่ย


เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยของขอมูลที่ได โดยอาจดําเนินการดังนี้
1. ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาแผนภาพตน -ใบ ที่เขียนไว แลวประมาณคาเฉลี่ยเลข
คณิตวาควรมีคาเทาใด เชน

ขอมูลจากชุดที่ 1
3 9
4 2 4 5 8 8 8 9
5 0 1 1 3 4 5 5 7 8 9
6 4 6

จากขอมูลในแผนภาพตน -ใบ ของชุดที่ 1 ผูเรียนควรประมาณวา คา X ควร


มีคาใกลเคียงกับ 50 โดยอาจมีคามากกวา 50 เล็กนอย เนื่องจากขอมูลสวนใหญอยูในชวง
50 – 59 และขอมูลที่มีคามากกวา 50 มี 11 จํานวน ซึ่งมากกวาขอมูลที่มีคานอยกวา 50
ที่มี 8 จํานวน จากนั้นผูสอนใหผูเรียนหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
พิสัยจากคาจริง ซึ่งจะได
X = 51.8 มัธยฐาน เทากับ 51
s = 6.77, และ พิสัย เทากับ 66 – 39 = 27

ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่นประมาณคา X โดยใชวิธีการเชนเดียวกับที่กลาวมา
แลว เชน จากขอมูลของชุดที่ 3
15

ขอมูลจากชุดที่ 3
4 4 4 5 6 7 7 7
5 0 5 6 8 8 9
6 0 0 2 4
7 2 9
8 0

จะเห็นวา ขอมูลที่มีคานอยกวา 60 มีทั้งหมด 13 คา ซึ่งนาจะมีคาประมาณ


50 × 13 หรือ 650 และคาที่มากกวาหรือเทากับ 60 คะแนน มี 7 คา ซึ่งนาจะมีคา
ประมาณ 65 × 7 หรือ 455 และเมื่อนําผลรวมจากคาประมาณซึ่งเทากับ 650 + 455
หรือ 1105 มาหาคาเฉลี่ย จะไดคา X ซึ่งเปนคาประมาณเทากับ 1105 ÷ 20 หรือ
55.25
เมื่อหาคา X , มัธยฐาน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และพิสัยโดยการคํานวณ
จากคาจริง จะได
X = 56.65 มัธยฐาน เทากับ 56 + 58 = 57
2
s = 10.7 และ พิสัย เทากับ 80 – 44 หรือ 36

ผูสอนใหผูเรียนกลุมอื่น ๆ ทํากิจกรรมเชนเดียวกันจนครบทุกกลุม เพื่อใหผู


เรียนฝกวิธีการประมาณคา X โดยพิจารณาจากแผนภาพตน -ใบ และใชทักษะกระบวน
การทางคณิตศาสตรที่เหมาะสม กิจกรรมที่กลาวมานี้ไมไดเนนความถูกตองเรื่องการ
ประมาณคาแตตองการใหผูเรียนมองภาพความสัมพันธของขอมูลโดยใชแผนภาพตน -ใบ
และฝกทักษะการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
2. เมื่อผูเรียนหาคา X ของขอมูลไดแลว ใหผูเรียนแตละกลุมพิจารณาวา ขอมูล
แตละตัวในขอมูลตัวอยางของกลุมตางจากคา X มากหรือนอยเพียงใด จากนั้นจึงให
สองกลุมใด ๆ จับคูกันแลวพิจารณาโดยใชการประมาณคาและอธิบายเหตุผลวา ขอมูล
ของกลุมใดควรจะมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกวากัน เมื่อไดขอสรุปแลวใหผูเรียนหา
16

ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานโดยการคํานวณจากสู ตรเพื่ อพิจ ารณาว า ข อสรุ ป ที่ ได จากการ


ประมาณใกลความจริงมากหรือนอยเพียงใด
3. ในกรณีที่มีเครื่องคิดเลขที่สามารถหาคาสถิติเบื้องตนได ผูสอนใหผู
เรียนหาคา X และ s ของกลุมประชากรที่กําหนดให (ในกรณีที่ไมมีใหผูสอนบอกคาดัง
กลาวแกผูเรียน) แลวใหผูเรียนชวยกันพิจารณาวา ขอมูลของผูเรียนแตละกลุมมีคาเฉลี่ย
เลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานแตกตางจากขอมูลของประชากรทั้งหมดมากนอย
เพียงใด
การสุมตัวอยางที่กลาวมา ผูสอนอาจจะใหผูเรียนทํากิจกรรมซ้ํา โดยใหสุมตัวอยาง
เพิ่มเติมจาก 20 ตัวอยาง เปน 50 หรือ 100 ตัวอยาง เพื่อใหไดจํานวนตัวอยางเพิ่มมากขึ้น
แลวพิจารณาใหมวา ขอสรุปจากจํานวนตัวอยางที่มากขึ้นจะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิต และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ไดจากตัวอยางใกลเคียงกับคาที่ไดจากกลุมประชากรมากขึ้นหรือ
ไม
แมวาขอสรุปที่ไดจากการทํากิจกรรมที่กลาวมาในตัวอยาง จะไมไดใชวิธีการสถิติ
ขั้นสูงและไมสามารถใหขอสรุปในกรณีทั่วไปไดก็ตาม แตการใชกิจกรรมนี้มีจุดประสงค
ที่จะแสดงใหนักเรียนไดมองเห็นความสัมพันธระหวางคาสถิติของขอมูลตัวอยางที่เลือก
ขึ้นมาโดยการสุม กับคาสถิติของประชากร โดยผูสอนควรบอกใหนักเรียนไดทราบวาใน
ทางปฏิบัติ การที่จะเลือกตัวอยางขึ้นมาจากประชากรใดนั้นจะตองอาศัยความรูทางดาน
คณิตศาสตร และสถิติอีกมากซึ่งนักเรียนจะไดเรียนเมื่อเลือกเรียนวิชาสถิติในระดับอุดม
ศึกษา

กิจกรรมที่ 2
จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนเขาใจความหมายของคากลางและการกระจายของขอมูล
ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
1. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนดังนี้
ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเทากันแลว จะบอกไดหรือไมวาขอมูลที่มีคาเฉลี่ย
เลขคณิตเทากันจะตองมีขอมูลที่มีการกระจายใกลเคียงกัน โดยใหผูเรียนตอบโดยยกตัว
อยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบ
17

ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางเพื่อแสดงเหตุผลประกอบคําตอบได ให
ผูสอนยกตัวอยางขอมูลที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากันหลาย ๆ ตัวอยางเพื่อใหผูเรียนสรุปคํา
ตอบ เชน ผูสอนยกตัวอยางขอมูล 4 ชุด ซึ่งแตละชุดประกอบดวยขอมูล 5 จํานวน และ
มี X = 5 ดังนี้

ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4


1 1 1
4 4 4
5 5 5 55555
6 6 6
9 9 9

2. ผูสอนแนะนําใหผูเรียนหาพิสัยของขอมูลแตละชุด เพื่อแสดงวาคาดังกลาว
สามารถบอกลักษณะของขอมูลไดอยางคราว ๆ วามีการกระจายมากนอยเพียงใด
จากนั้นผูสอนจึงสรุปใหผูเรียนทราบวา การใชคากลางซึ่งในที่นี้ใชคาเฉลี่ยเลข
คณิต ไมสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลที่กําหนดใหได แตเราอาจใชพิสัย
เพื่อบอกลักษณะการกระจายของขอมูลอยางคราว ๆ ได
3. ผูสอนตั้งคําถามกับผูเรียนตอวา ถามีขอมูลสองชุดที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและพิสัย
เทากันแลว ขอมูลทั้งสองชุดจะตองเหมือนกันหรือมีลักษณะใกลเคียงกันหรือไม โดยใหผู
เรียนยกตัวอยางประกอบเหตุผลในการตอบ
ในกรณีที่ผูเรียนไมสามารถยกตัวอยางได ผูสอนอาจแสดงตัวอยางตอไปนี้
เพื่อใหผูเรียนเขาใจวา พิสัยสามารถบอกลักษณะการกระจายของขอมูลไดอยางคราว ๆ
เทานั้น
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
1 1 1 1
4 2
5 5 5
6 8
9 9 9 9
18

4. ผูสอนแนะนําวิธีการวัดการกระจายของขอมูล โดยใชการเฉลี่ยความแตกตาง
ของขอมูลแตละคาจากคาเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งวิธีที่นิยมใชกันทั่วไปคือการใชสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานตามวิธีการในหนังสือเรียน

ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียน 100 คน ตอไปนี้
1) จงสรางตารางความถี่สะสมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้
2) จากตารางความถี่สะสมในขอ 1) จงหาวามัธยฐานของขอมูลชุดนี้อยูในชวง
คะแนนใด
3) จงหารอยละของจํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน
คะแนน จํานวนนักเรียน
21 – 30 2
31 – 40 3
41 – 50 5
51 – 60 11
61 – 70 15
71 – 80 23
81 – 90 26
91 – 100 15
รวม 100

2. ขอมูลในลักษณะใดตอไปนี้ที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง
1) ความเร็วของรถยนต (กิโลเมตร / ชั่วโมง)
2) เพศ (ชาย หญิง)
3) อายุ (ป)
4) ระดับคะแนน (1, 2, 3, 4, 5)
5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน อยูในเกณฑมาตรฐาน
เกินมาตรฐาน)
19

3. จากขอมูลที่กําหนดให
3 15 21 30 9
11 4 18 21 30
30 14 5 11 22
23 13 12 5 13
12 21 4 13 8

1) จงสรางแผนภาพตน-ใบ
2) จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของขอมูลชุดนี้

4. ขอมูลที่เปนเวลาที่คนไขใชในการรอพบแพทยในโรงพยาบาลแหงหนึ่งเปนดังนี้
เวลา (นาที)
0 3 9 4 5 5 4 8
1 5 1 8 4 1 3 2 3 2 3
2 1 1 2 3 1
3 0 0 0

1) จงหา เวลาที่นานที่สุดที่คนไขตองรอพบแพทย
2) เวลาที่คนไขตองรอพบแพทยต่ํากวา 10 นาที มีกี่เปอรเซ็นตของขอมูลทั้งหมด
3) จงหามัธยฐานของขอมูลชุดนี้

5. จากตารางแผนภาพตน-ใบ ที่แสดงอายุของนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวเกาะชาง
ตอไปนี้
0 6 7
3 9 3 4 6 6
4 0 0 1 2 2 2 4 7
5 3 5 8 1 3 21
6 1 1 2
20

จงหา
1) จํานวนนักทองเที่ยวกลุมนี้
2) จงหาอายุที่นอยที่สุด และอายุที่มากที่สุดของนักทองเที่ยวกลุมนี้
3) จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของอายุของนักทองเที่ยวกลุมนี้

6. จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร นัทไดคะแนนเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 65 ขอความใด


ตอไปนี้ถูกตอง
1) นัทสอบไดคะแนน 65%
2) 35% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนเทากับหรือนอยกวาคะแนนที่นัทได
3) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนมากกวาคะแนนของนัท
4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท

7. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผูเขาสอบทั้งหมด 24 คน ถาเปอรเซ็นไทลที่ 75 ของคะแนน


สอบครั้งนี้คือ 84 จงหาวา มีนักเรียนกี่คนที่สอบไดคะแนนมากกวา 84 คะแนน

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. 1)
คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม
21 – 30 2 2
31 – 40 3 5
41 – 50 5 10
51 – 60 11 21
61 – 70 15 36
71 – 80 23 59
81 – 90 26 85
91 – 100 15 100
21

2) มัธยฐานอยูในชวงคะแนน 71 – 80
3) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 51 คะแนน มี 10
× 100 = 10%
100

2. ขอมูลที่ไมควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตในการหาคากลาง ไดแก
2) เพศ (ชาย, หญิง)
5) น้ําหนัก (ต่ํากวามาตรฐาน, อยูในเกณฑมาตรฐาน, เกินมาตรฐาน)

3. 1) 0 3 4 4 5 5 8 9
1 1 1 2 2 3 3 3 4 5 8
2 1 1 1 2 3
3 0 0 0

2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 14.72


มัธยฐาน คือ 13
ฐานนิยม สําหรับขอมูลชุดนี้อาจกลาวไดวาไมมีฐานนิยมเพราะมีคาที่มีความถี่เทา
กันมากกวาสองคา ไดแก 13, 21 และ 30

4. 1) 30 นาที
2) 28%
3) 13 นาที

5. 1) 25 คน
2) อายุนอยที่สุด คือ 6 ป
อายุมากที่สุด คือ 62 ป
3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 43.44
มัธยฐาน คือ 42
ฐานนิยม คือ 42
22

6. ขอ 4) 65% ของนักเรียนที่เขาสอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนนของนัท

24 × 75
7. มีนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวาหรือเทากับ P75 อยู = 18 คน
100
เนื่องจาก P75 = 84 คะแนน
ดังนั้น จะมีนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 84 คะแนน อยู 24 – 18 หรือ 6 คน

เฉลยแบบฝกหัด
เฉลยแบบฝกหัด 2.1

1. 1)
ยอดเงินที่จาย (บาท) จํานวนลูกคา
ต่ํากวา 100 2
100 – 199 4
200 – 299 11
300 – 399 13
400 – 499 14
500 – 599 5
600 – 699 1

2) 400 – 499 บาท


3) มากกวา 1 คน
4) ประมาณจํานวนเงินในชวงต่ํากวา 100 ใหเทากับ 50 บาท หาคากึ่งกลางของ
แตละอันตรภาคชั้นและประมาณจํานวนเงินที่ลูกคาจายโดยใชจุดกึ่งกลาง
23

จุดกึ่งกลาง จํานวนลูกคา จํานวนเงิน


50 2 50 × 2
149.5 4 149.5 × 4
249.5 11 249.5 × 11
349.5 13 349.5 × 13
449.5 14 449.5 × 14
549.5 5 549.5 × 5
649.5 1 649.5 × 1
รวม 17,676

ลูกคาทั้ง 50 คนใชเงินในการซื้อสินคาประมาณ 17,676 บาท

2. จากตารางแจกแจงความถี่สะสมที่กําหนดให จะไดตารางแจกแจงความถี่ดังนี้

อายุ (ป) ความถี่ (คน)


10 – 19 2
20 – 29 15
30 – 39 10
40 – 49 5
50 – 59 0
60 – 69 3
รวม 35
1) จากตารางแจกแจงความถี่ที่ได คนที่มีอายุอยูในชวง 10 - 19 ป มี 2 คน ชวง
20 – 29 ป มี 15 คน ชวง 30 – 39 ป มี 10 คน ชวง 40 – 49 ป มี 5 คน ไมมีคน
ที่มีอายุอยูในชวง 50 – 59 ป และคนที่มีอายุอยูในชวง 60 – 69 ป มี 3 คน
2) 20 – 29 ป
24

3. 1) 80 – 89 คะแนน มี 8 คน
60 – 89 คะแนน มี 49 คน
2) 3 คน
3) 70 – 79 คะแนน
4) 31 คน

4. 1) เนื่องจากคาต่ําสุดของขอมูลคือ 345 คน และสูงสุดคือ 730 คน


สรางตารางแจกแจงความถี่ใหมี 10 อันตรภาคชั้นไดดังนี้

จํานวนประชากร รอยขีด จํานวนหมูบาน


341 – 380 // 2
381 – 420 //// // 7
421 – 460 //// 5
461 – 500 //// //// //// 14
501 – 540 //// //// / 11
541 – 580 //// //// / 11
581 – 620 //// //// / 11
621 – 660 /// 3
661 – 700 / 1
701 – 740 / 1
25

2)
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม
341 – 380 2 2
381 – 420 7 9
421 – 460 5 14
461 – 500 14 28
501 – 540 11 39
541 – 580 11 50
581 – 620 11 61
621 – 660 3 64
661 – 700 1 65
701 – 740 1 66

(1) 28 หมูบาน
(2) 48 หมูบาน
(3) จํานวนหมูบ านที่มีประชากรอาศัยอยูเกิน 660 คน เทากับ 66 – 64 หรือ
2 หมูบาน ซึ่งคิดเปนรอยละ 2 ×100 หรือประมาณรอยละ 3
66

5. 1)
เวลา (t นาที) รอยขีด ความถี่
0<t ≤5 / 1
5<t ≤ 10 //// 5
10 < t ≤ 15 //// //// 9
15 < t ≤ 20 //// //// 10
20 < t ≤ 25 //// / 6
25 < t ≤ 30 / 1
รวม 32
26

2) จากตารางนักเรียนจํานวนมากที่สุดใชเวลาเดินทางมากกวา 15 นาที แตไมเกิน 20


นาที
3 ) จากขอมูลขางตนนาจะสรุปไดวา ที่พักของนักเรียนเหลานี้ไมไกลจากโรงเรียน
มากนัก (ครูกับผูเรียนอาจอภิปรายเพิ่มเติมจากขอมูลก็ได โดยคําตอบและคํา
อธิบายที่ใหควรสมเหตุสมผล และอาจเปนประเด็นใหทําการสํารวจขอมูลตอไป)
6. 1)
จํานวนเด็ก (คน) รอยขีด ความถี่ (ครอบ
ครัว)
1 //// 5
2 //// / 6
3 //// //// //// //// 19
4 //// // 7
5 //// // 7
6 // 2
7 /// 3
8 0
9 / 1
รวม 50

2) (1) 19 ครอบครัว (2) 25 ครอบครัว (6 + 19)


(3) 11 ครอบครัว (5 + 6) (4) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5)
(5) 20 ครอบครัว (50 – 30) (6) 30 ครอบครัว (19 + 6 + 5)

3) (1) 20
× 100 หรือ รอยละ 40 (2) 30
×100 หรือ รอยละ 60
50 50
(3) 20
× 100 หรือ รอยละ 40 (4) 13
×100 หรือ รอยละ 26
50 50
7. 1)
27

คะแนน ความถี่ ความถี่สัมพัทธ ความถี่สะสม


30 – 39 2 4.44 2
40 – 49 0 0 2
50 – 59 6 13.33 8
60 – 69 6 13.33 14
70 – 79 10 22.22 24
80 – 89 13 28.89 37
90 – 99 8 17.78 45

2) ชวงคะแนน 80 – 89 คะแนน
3) 13.3%
4) 37 คน
5) 17.8%

8. 1) (1) 2,467,839 คน (2) 38,074 คน


(3) 4,954,109 คน (4) 3,794,796 คน

2) (1) 16.53% (2) 1.73%


(3) 24.32% (4) 33.24%
(5) 31.75%

9. 1) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 80 ถึง 89 คะแนน มี 8 คน


นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 60 ถึง 89 คะแนน มี 58 – 9 = 49 คน
2) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรต่ํากวา 50 คะแนน มี 3 คน
3) ชวงคะแนนที่มีจํานวนนักเรียนไดมากที่สุด คือ ชวง 70 – 79 คะแนน
4) นักเรียนที่ไดคะแนนวิชาคณิตศาสตรตั้งแต 70 คะแนนขึ้นไป มี 60 – 29 = 31 คน
10. 1)
28

ระดับคะแนน จํานวนนักเรียน
4 8
3 13
2 10
1 12
ไมผาน 2
รวม 45

2) ระดับคะแนน 3

11. 1)
คะแนนสอบ ความถี่ ความถี่สะสม
701 – 800 4 60
601 – 700 10 56
501 – 600 15 46
401 – 500 18 31
301 – 400 11 13
201 – 300 2 2

2) จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 700 คะแนน มี 4 คน


จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 301 คะแนน มี 2 คน
จํานวนนักเรียนทั้งสองกลุมเทากับ 6 คน คิดเปนรอยละ 6 × 100 หรือ 10%
60
ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด

กิจกรรม
29

กิจกรรมนี้ผูสอนใหผูเรียนแบงกลุมกันกําหนดระดับคะแนนและใหแตละกลุม
มานําเสนอความคิดเห็นของตน เพื่อฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร โดยใชความรู
สถิติในเรื่องที่เรียนมา ทั้งนี้อาจใชคะแนนในโจทยขอ 11 หรือนักเรียนกําหนดคะแนนขึ้น
เองก็ได

เฉลยแบบฝกหัด 2.2.1

1. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน

จํานวนบุหรี่ (มวน) รอยขีด จํานวนผูปวย


7–9 / 1
10 – 12 //// 5
13 – 15 //// 4
16 – 18 //// 4
19 – 21 // 2

2) ฮิสโทแกรมแสดงจํานวนบุหรี่ที่ผูปวยสูบในแตละวัน
จํานวนผูปวย (คน)

5
4
3
2
1
0 จํานวนบุหรี่ (มวน)
8 11 14 17 20

2. 1) ตารางแจกแจงความถี่ของน้ําหนักนักเรียน 50 คน
30

น้ําหนัก รอยขีด ความถี่


40 – 44 /// 3
45 – 49 //// //// 9
50 – 54 //// //// //// //// / 21
55 – 59 //// //// /// 13
60 – 64 //// 4
2) ฮิสโทแกรมแสดงน้ําหนักนักเรียน
จํานวนนักเรียน (คน)

21
18
15
12
9
6
3
0 น้ําหนัก (กิโลกรัม)
42 47 52 57 62

3. 1) นักเรียนที่สูงที่สุด สูง 175 เซนติเมตร นักเรียนที่เตี้ยที่สุด สูง 151 เซนติเมตร


ทั้งสองคนมีความสูงแตกตางกัน 24 เซนติเมตร
2) ตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของนักเรียน
ความสูง รอยขีด จํานวนนักเรียน
150 – 156 //// // 7
155 – 159 //// //// //// /// 18
160 – 164 //// //// 10
165 – 169 //// / 6
170 – 174 //// /// 8
175 – 179 / 1
3) ฮิสโทแกรมแสดงความสูงของนักเรียน
31

จํานวนนักเรียน (คน)

21
18
15
12
9
6
3
0
152 157 162 167 172
ความสูง (ซม.)
177

4. 1) 50 ผล
2) 36 ผล คิดเปน 72% ของจํานวนผลสมทั้งหมด
3)
จํานวนผลสม (ผล)

12
10
8
6
4
2
0
64.5 74.5 84.5 94.5 104.5 114.5 124.5 134.5 น้ําหนัก (กรัม) / ผล
32

เฉลยแบบฝกหัด 2.2.2

1. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหนํามาจัดเรียงใหมไดดังนี้
19
24 24 24 23
31 35 36 38 34 38 33 36
44 43 47 44 42 49 48

จากขอมูลที่จัดเรียงขางตนนํามาเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้
1 9
2 3 4 4 4
3 1 3 4 5 6 6 8 8
4 2 3 4 4 7 8 9

2) จากแผนภาพตน-ใบ พบวา ในชวง 30 – 39 คะแนนมีจํานวนนักเรียนมากที่สุด

2. 1) จากขอมูลที่กําหนดใหเขียนแผนภาพตน-ใบ ไดดังนี้
0 7 8 9
1 1 2 3 4 6 7 8 8 9
2 2 2 4 5
3 0 2 2 3 4 5
4 1 3 5 6
5 1 6 6
6 1
2) อายุต่ําสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 7 ป
อายุสูงสุดของผูเขาชมนิทรรศการ คือ 61 ป
3) ผูเขาชมนิทรรศการมีอายุอยูในชวง 10 – 19 ป มากที่สุด
33

3. 1) 12 3 9 9
13 1 2 5 7
14 4 8
15 0 1 1 3 4 4 8 9
16 0 0 1 6
17 0 5 6
18 0 3 5 9
19 8
20 6

2) คนไขมีความดันโลหิตในชวง 150 – 159 มากที่สุด

4. 1) 9 20 20 60 80 90
10 00 40
11 20 40 50 70
12 40 40 60 60 70
13 00 30 50 60 60
14 00 30 60 80
15 20 50 60 70
16 10 80
17 20
9 20 แทน 920
18 10 00 แทน 1000
19 40
20 00 90
34

2) พนักงานไดรับเงินสมทบในชวง 900 – 990 บาท 1200 – 1290 บาท และ


1300 – 1390 บาท ชวงละ 5 คนเทากัน จึงอาจกลาวไดวาไมมีชวงจํานวนเงินใดที่
มีพนักงานจํานวนมากที่สุดไดรับเงินในชวงนั้น
3) พนักงานที่ไดรับเงินสมทบในชวงต่ําสุด มี 5 คน ซึ่งมากกวาพนักงานที่ไดรับเงิน
สมทบในชวงสูงสุด 3 คน

5. 1) 25 คน
2) เวลาทีน่ อยที่สุด 41 นาที
เวลาที่มากที่สุด 90 นาที

6. มี 11 คน หรือคิดเปน 11
×100 หรือ 44%
25

7. 1) 0 5 5
1 0 0 5 5
2 0 0 0 0 0 0 0 0 5 5 5 5 5 5 5 5
3 0 0 0 0 5
4 0 5 5

2) 20 – 29 นาที

8. 1) 9 0 5 8
10 4 4 5 6
11 1 2 3 7
12 2 2 3 4 5 8 8
13 1 2 3 4 5 9 9

2) มี 14
×100 หรือ 56%
25
35

9. 1) คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงมากที่สุด คือ 6.6 เมตร


คาประมาณของความสูงของตนไมที่ประมาณไวสูงนอยที่สุด คือ 2.4 เมตร
2) จํานวนนักเรียนที่ประมาณความสูงของตนไมต่ํากวา 4 เมตร มี 12 ×100 = 40%
30

เฉลยแบบฝกหัด 2.3

1. เนื่องจากมีนักเรียน 9 คน ที่ไดคะแนนสอบนอยกวาหรือเทากับ 25 คะแนน


และ P25 เทากับ 25 คะแนน
ดังนั้น 25 × N = 9
100
จะได N = 36
นั่นคือ มีนักเรียนเขาสอบครั้งนี้ทั้งหมด 36 คน

2. คะแนนในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 40 เทากับ 78 คะแนน และมีนักเรียน 8 คนที่


ไดคะแนนเทากับหรือนอยกวา 78 คะแนน
จาก 40 × N = 8
100
จะได N = 20
ดังนั้น จะมีนักเรียนที่ไดคะแนนมากกวา 78 คะแนน อยู 20 – 8 หรือ 12 คน

3. เนื่องจาก 20
× 100 = 80%
25
ดังนั้น คะแนน 92 คะแนนอยูในเปอรเซ็นไทลที่ 80

4. 80% ของคนที่สอบวิชาภาษาไทยเหมือนเตาไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนน
ที่เตาได

5. 6 คน
36

6. เนื่องจากรอยละ 68 ของนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด 25 คน เทากับ 68


× 25 หรือ 17
100
คน ดังนั้น คะแนนที่อยูในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 68 คือ 88 คะแนน

7. จากขอมูลที่กําหนดให สรางแผนภาพตน-ใบไดดังนี้
3 0 4 9
4 0 7 9
5 0 0 1 2 2 3 4 4 4 4 5 6 7 8 8 9
6 0 1 3 4 4 9 9 9
7 0 1
จากแผนภาพตน-ใบ
1) นักเรียนตองสอบได 52 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณรอยละ 30 หรือประมาณ 10 คน จาก 32 คน
นักเรียนตองสอบได 56 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณรอยละ 55 หรือประมาณ 18 คน จาก 32 คน
2) นักเรียนตองสอบได 54 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณ 4 ใน 10 หรือประมาณ 13 คน จาก 32 คน
นักเรียนตองสอบได 69 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้
ประมาณ 9 ใน 10 หรือประมาณ 29 คน จาก 32 คน
3) นักเรียนตองสอบได 63 คะแนน จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาอยู 3 ใน 4
หรือประมาณ 24 คน จาก 32 คน

เฉลยแบบฝกหัด 2.4

1. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8
มัธยฐาน คือ 8
ฐานนิยม คือ 8
ขอความที่เปนจริงสําหรับขอมูลชุดนี้คือ ขอความ 2) และขอความ 4)
37

2. คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 40
มัธยฐาน คือ 40
ดังนั้น ขอความ 2) ถูกตอง

3. ขอมูลทั้งหมด 7 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 81


จะได ผลรวมของขอมูลทั้ง 7 จํานวน คือ 81 × 7 = 567
ตัดขอมูลออกไป 1 จํานวน คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 78
จะไดผลรวมของขอมูล 6 จํานวน คือ 78 × 6 = 468
นั่นคือ ขอมูลที่ถูกตัดออกไปมีคา 567 – 468 = 99

4. 1) X = 3 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 3
2) X = 3 มัธยฐาน = 2 ฐานนิยม = 1
3) X = 2 มัธยฐาน = 1 ฐานนิยม = 1
4) X = 4 มัธยฐาน = 3 ฐานนิยม = 1
จะได ขอมูลชุด 1) ที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมเทากัน

5. คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักนักเรียนสามคน คือ 38 กิโลกรัม


จะไดผลรวมของน้ําหนักของนักเรียนสามคน เทากับ 38 × 3 = 114 กิโลกรัม
มีนักเรียนหนึ่งคนในกลุมนี้หนัก 46 กิโลกรัม
ดังนั้น อีกสองคนที่เหลือมีน้ําหนักรวมกัน 114 – 46 = 68 กิโลกรัม
แตสองคนที่เหลือมีน้ําหนักเทากัน
จะไดวา แตละคนมีน้ําหนัก 68 = 34 กิโลกรัม
2

6. ตองการคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 ครั้งเปน 85 คะแนน


จะไดผลรวมของคะแนนสอบ 4 ครั้ง เทากับ 85 × 4 = 340 คะแนน
สอบ 3 ครั้ง เจี๊ยบไดคะแนน 78, 89 และ 82 คะแนน
ดังนั้น สอบครั้งที่ 4 เจี๊ยบตองไดคะแนน 340 – (78 + 89 + 82) = 91 คะแนน
38

7. มัธยฐาน คือ 87 ซึ่งตองอยูเปนอันดับที่ 3 ของขอมูลที่เรียงคะแนนจากนอยไปมาก


ฐานนิยมคือ 80 ซึ่งนอยกวามัธยฐาน ดังนั้นขอมูลมี 80 อยู 2 จํานวน
คาเฉลี่ยเลขคณิตเปน 86 จะไดผลรวมของขอมูลทั้ง 5 จํานวนเปน 86 × 5 = 430 คะแนน
นั่นคือ ขอมูลอีก 2 จํานวน ตองมีผลรวมเปน 430 – (87 + 80 + 80) = 183 คะแนน
ขอมูลที่อยูถัดจากมัธยฐานไปจะมีคานอยที่สุดที่เปนไปไดคือ 88 คะแนน
ดังนั้น คะแนนสอบสูงสุดที่เปนไปไดคือ 183 – 88 = 95 คะแนน

8. คาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน คือ 360


จะได ผลรวมของจํานวนเต็มบวกหาจํานวน เทากับ 360 × 5 = 1800
สองจํานวนสุดทาย คือ 102 และ 99
นั่นคือ ผลรวมของจํานวนเต็มบวกอีกสามจํานวน ที่เหลือจะเปน
1800 – (102 + 99) = 1599
และมีการเรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย นั่นคือ สองจํานวนกอนหนา คะแนนสูงสุด
จะมีคานอยสุดที่เปนไปไดคือ 102 กับ 102
ดังนั้น จํานวนมากที่สดุ ที่เปนไปไดคือ 1599 – (102 + 102) = 1395

9. คาเฉลี่ยเลขคณิตของหาวิชา ตองได 90 เปนอยางนอย


จะไดผลรวมของคะแนนหาวิชา อยางนอยตองเทากับ 90 × 5 = 450 คะแนน
ผลการสอบ 4 ครั้ง เกงสอบได 85, 89, 87 และ 96 คะแนน
ดังนั้น ครั้งที่ 5 เกงตองไดคะแนนอยางนอย 450 – (85 + 89 + 87 + 96) = 93 คะแนน

10. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 8


จะได ตัวเลขที่สุมไดที่มากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 10 กับ 13
ดังนั้น ความนาจะเปน เทากับ 2 = 1
6 3
7+8
2) มัธยฐานเทากับ = 7.5
2
จะไมมีตัวเลขที่สุมไดที่มีคาเทากับมัธยฐาน
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมไดตัวเลขที่เทากับ มัธยฐานจึงเปน 0
39

17 + 14 + 11 + 6 + x 48 + x
11. คาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ =
5 5
แยกกรณีพิจารณาคา x
กรณีที่ 1 ถา x ≤ 11
มัธยฐานคือ 11
จะได 48 + x = 11
5
x = 55 – 48 = 7

กรณีที่ 2 ถา 11 < x < 14


มัธยฐานคือ x
จะได 48 + x = x
5
48 + x = 5x
x = 12

กรณีที่ 3 ถา x ≥ 14
มัธยฐานคือ 14
จะได 48 + x = 14
5
x = 70 – 48 = 22
นั่นคือ x มีคาเทากับ 7, 12 และ 22 จะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของ
ขอมูลมีคาเทากัน

12. 1) ควรใชมัธยฐานเปนตัวแทนของขอมูลชุดนี้ เพราะจากแผนภาพขอมูลสวนใหญ


อยูในชวง 3 – 29 และขอมูลมีการกระจายมาก
2) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 28
มัธยฐาน คือ 22
40

13. 1) แผนภาพตน-ใบ

12 3 9 9
13 1 2 5 7
14 4 8
15 0 1 1 3 4 4 8 9
16 0 0 1 6
17 0 5 6
18 0 3 5 9
19 8
20 6

2) จากแผนภาพควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางแทนขอมูลชุดนี้ เพราะขอมูล
ไมกระจายมาก
3) คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ 158.23
มัธยฐาน คือ 154 + 158 = 156
2
ขอสังเกต ขอมูลชุดนี้ไมกระจายมาก ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิต และมัธยฐาน
จึงไมแตกตางกันมาก

14. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดควรจะสูงกวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของ
คะแนนจริง เนื่องจากคะแนนสวนใหญ (16 จาก 21 จํานวน) มีคาอยูระหวาง
30 – 48 คะแนน ในขณะนี้คะแนนจริงที่มีคาระหวาง 30 – 50 คะแนน
มี 13 จํานวน จาก 21 จํานวน
2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะได คือ 36.43 คะแนน
คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่นักเรียนไดจริง คือ 33.05 คะแนน
ซึ่งคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนที่คาดวาจะไดมีคาสูงกวาคะแนนที่นักเรียนไดจริง
41

15. 1) จํานวนนักเรียนทั้งหมดที่ทําแบบทดสอบ มี 25 คน
2) เวลาที่มากที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 90 นาที
เวลานอยที่สุดที่ใชทําแบบทดสอบ 41 นาที
3) มัธยฐาน คือ 65 นาที
ฐานนิยม คือ 71 นาที

16. 1) นักเรียนที่สูงที่สุดสูง 172 เซนติเมตร


2) คาเฉลี่ยเลขคณิตของความสูง คือ 157.6 เซนติเมตร
มัธยฐาน คือ 159 เซนติเมตร
3) นักเรียนที่สูงมากกวา 169 เซนติเมตร มี 20% ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด

17. X = 25.04กิโลกรัม
มัธยฐาน = 22 กิโลกรัม
ฐานนิยม = 22 กิโลกรัม

เฉลยแบบฝกหักหัด 2.5

1. 1) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย

จะได s ≈ พิสัย ≈
7−2
= 1.25
4 4

X = 20
= 4
5
k

∑ (X i − X) 2
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = i =1

N
4 +1+1+ 9 +1
จะได s = = 3.2 ≈ 1.79
5
42

2) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย

จะได s ≈
พิสัย ≈
37 − 20
= 4.25
4 4

X = 150
= 30
5
k

∑ (X i − X) 2
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s = i =1

N
100 + 25 + 9 + 1 + 49
s = = 36.8
5
≈ 6.07

6 −1
3) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈
4
= 1.25
X = 33
= 3
11

4 + 0 +1+ 4 +1+ 9 +1+ 4 +1+ 0 +1


หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
11
≈ 2.36 ≈ 1.54

4) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 12 − 2 = 2.5


4
X = 60
= 5
12

4 + 49 + 0 + 1 + 4 + 9 + 1 + 0 + 1 + 0 + 0 + 1
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
12
≈ 5.83 ≈ 2.41
43

5) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 15 − 5 = 2.5


4

X = 60
= 10
6
25 + 9 + 1 + 1 + 9 + 25
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
6
≈ 11.67 ≈ 3.41

95 − 74
6) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ = 5.25
4

X = 588
= 84
7

16 + 25 + 121 + 4 + 16 + 64 + 100
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
7
≈ 49.43 ≈ 7.03

75 − 42
7) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ = 8.25
4
X = 580
= 58
10
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
256 + 169 + 100 + 100 + 16 + 4 + 36 + 144 + 256 + 289
s=
10
= 137 ≈ 11.70

21 − 3
8) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ = 4.5
4
X = 110
= 11
10
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
9 + 100 + 4 + 16 + 25 + 16 + 64 + 9 + 36 + 1
s=
10
= 28 ≈ 5.29
44

9) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 116 − 99 = 4.25


4
X = 763
= 109
7
64 + 36 + 25 + 100 + 9 + 9 + 49
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร s =
7
≈ 41.7 ≈ 6.46

10) หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชการประมาณจากพิสัย จะได s ≈ 2.5 − 1.6 = 0.225


4
X = 14.7
= 2.1
7
หาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตร
0 + 0.01 + 0.04 + 0.25 + 0.16 + 0.01 + 0.09
s=
7
= 0.08 ≈ 0.283
2. 1) a
2) c
3) d
4) g
5) b
6) e
7) f

3. พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้
1) ขอมูล 0, 10, 20, 30, 40 มี X = 20

× × × × ×
5
= 20 + 10 + 0 + 10 + 20
∑X i −X
0 10 20 30 40 i =1

= 60
45

2) ขอมูล 0, 0, 20, 40, 40 มี X = 20


× ×
× × × 5

∑X −X = 20 + 20 + 0 + 20 + 20
0 10 20 30 40 i =1
i

= 80

3) ขอมูล 0, 19, 20, 21, 40 มี X = 20

× ××× × 5

0 10 20 30 40 ∑X i −X = 20 + 1 + 0 + 1 + 20
i =1

= 42
5
พิจารณาจากคา ∑ X i −X ของขอมูลแตละชุด พบวา ขอมูลในขอ 2) ควรมี
i =1

การกระจายมากที่สุด และขอมูลในขอ 3) ควรมีการกระจายนอยที่สุด


และเมื่อหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากสูตรพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอ
มูลในแตละขอมีดังนี้
1) s = 15.81 2) s = 20 3) s = 14.16

4. 1) ขอมูล 5, 5, 5, 5, 5, 5 มี X = 5
จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวไมแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต
ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้จะเทากับ 0

2) ขอมูล 10, 10, 10, 20, 20, 20 มี X = 15


จะเห็นวา ขอมูลแตละตัวตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต เทากับ 5 และ Xi − X =5
6

∑X i −X
6×5
พิจารณาคา i =1
ของขอมูลชุดนี้ซึ่งเทากับ หรือ 5
6 6
แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47
46

3) ขอมูล 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22 มี X = 14


9

∑X i −X
พิจารณาคา i =1
ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ
9
8+6+4+ 2+0+ 2+ 4+6+8
หรือ 4.4
9
แสดงวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้ควรมีคาใกลเคียง 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 5.47

4) ขอมูล 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45 มี X = 25


9

∑X i −X
พิจารณาคา i =1
ของขอมูลชุดนี้ ซึ่งเทากับ
9
20 + 15 + 10 + 5 + 0 + 5 + 10 + 15 + 20
= 100
= 11.11
9 9
แสดงวา ขอมูลชุดนี้ไมควรมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานใกลเคียงกับ 5
จากการหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสูตรพบวา s = 13.69

5. ขอมูลชุดแรก 16, 23, 34, 56, 78, 92, 93 มี X = 56


ขอมูลชุดที่สอง 20, 27, 38, 60, 82, 96, 97 มี X = 60
พิจารณาความแตกตางคาจากการสังเกตกับคา X ของขอมูลแตละชุดดังนี้
X = 56
ชุดแรก
× × × × × ××
15 25 35 45 55 65 75 85 95 105

X = 60

× × × × × ××
ชุดที่สอง
19 29 39 49 59 69 79 89 99 109
47

จากแผนภาพจะเห็นวา ขอมูลทั้ง 2 ชุด มีการกระจายจากคาเฉลี่ยเลขคณิต ( X )


ในลักษณะที่ใกลเคียงกัน ดังนั้น ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดแรกมีคา 30
(โดยประมาณ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดที่สองควรจะมีคา 30 (โดยประมาณ)
ดวย หาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลทั้งสองชุด โดยใชสูตรไดดังนี้

∑ (X i − X) 2
ขอมูลชุดแรก s = i =1

N
1600 + 1089 + 484 + 0 + 484 + 1296 + 1369
s =
7

= 6322
≈ 30.05
7

∑ (X i − X) 2
ขอมูลชุดที่สอง s = i =1

N
1600 + 1089 + 484 + 0 + 484 + 1296 + 1369
s =
7

= 6322
≈ 30.05
7

จากการคํานวณคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพบวา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ขอมูลทั้งสองชุดนี้เทากัน

6. 1) X = 201
= 20.1
10

∑ (X i − X) 2
2) s = i =1

N
0.01 + 0.01 + 1.21 + 0.81 + 0.81 + 4.41 + 0.01 + 3.61 + 8.41 + 9.61
=
10

= 28.9
≈ 1.7
10
48

3) ถาขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานเทากัน ขอมูลชุดนี้ควรจะมีการ
กระจายแบบสมมาตร

7. 1) X = 51 และ s = 2.19
2) เนื่องจากการสุมชั่งน้ําหนักมันสําปะหลัง 15 กระสอบ พบวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม
ดังนั้น ถาใหน้ําหนักของมันสําปะหลังหนึ่งกระสอบ คือ 51 กิโลกรัม
รถบรรทุกซึ่งบรรทุกน้ําหนักไดไมเกิน 5 ตัน (5,000 กิโลกรัม) จึงควรบรรทุก
มันสําปะหลัง ไดไมเกินคันละ 5000 หรือ 98 กระสอบ
51

เฉลยคําถามเพิ่มเติม

1. 1) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/1

60 100
67 75 88

คาต่ําสุด คือ 60 คาสูงสุดคือ 100


และ Q1 = 67, Q2 = 75 และ Q3 = 88
ดังนั้น 25% ของนักเรียนหอง 5/1 ที่ไดคะแนนอยูในกลุมต่ําสุด อยูในชวง
คะแนน 60 – 67 โดยมีคะแนนต่ําสุด 60 และคะแนนสูงสุด 67 คะแนน

2) จากแผนภาพกลองของนักเรียนหอง ม.5/2

64 98
77 85 91
49

คาต่ําสุดคือ 64 คาสูงสุดคือ 98
และ Q1 = 77, Q2 = 85 และ Q3 = 91
ดั ง นั้ น นั ก เรี ย นห อ ง ม. 5/2 ที่ ไ ด ค ะแนนมากกว า หรื อ เท า กั บ 91 คะแนน
มีประมาณ 25%
3) มีนักเรียนหอง ม. 5/1 อยู 50% ที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 75 คะแนน
4) มีนักเรียนหอง ม. 5/2 อยู 75% ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 77 คะแนน
5) ถาผูสอนใหระดับคะแนน 4 แกผูสอบที่ไดคะแนนตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป
จากแผนภาพกลองพบวา นักเรียนหอง ม.5/2 มีผูที่สอบไดคะแนน 80 คะแนน
ซึ่งไดระดับคะแนน 4 เกิน 50% ในขณะที่หอง ม.5/1 มีนักเรียนที่ไดคะแนน
ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป ไมถึง 50% (เนื่องจาก Q2 เทากับ 75 คะแนน)
ดังนั้น หอง ม.5/2 ควรจะมีผูที่ไดระดับคะแนน 4 มากกวาหอง ม.5/1

2. เปนไปไมไดที่แผนภาพที่สามจะแทนคะแนนเฉลี่ยจากการสอบทั้งสองครั้งของนัก
เรียนแตละคนในกลุมนี้ เพราะคะแนนสูงสุดของแผนภาพที่สาม ไมใชคะแนนเฉลี่ย
สูงสุดของนักเรียนกลุมนี้ ถึงแมวานักเรียนที่ไดคะแนนสูงสุดจากการสอบทั้งสองครั้ง
เปนคนเดียวกันก็ตาม
หมายเหตุ ผูสอนอาจใหผูเรียนอภิปรายรวมกันวาถาคะแนนเต็มของการสอบแตละ
ครั้งไมเทากัน เหตุผลขางตนยังเปนไปไดหรือไม
บทที่ 3
การสํารวจความคิดเห็น
( 12 ชั่วโมง )

การสํารวจความคิดเห็นเปนการเก็บรวบรวมขอมูลแบบหนึ่งเปนเรื่องที่ใกลตัว ผู
เรียน ซึ่งผูเรียนควรมีความรูพอที่จะสามารถนําผลที่ไดจากการสํารวจไปชวยในการตัดสิน
ใจบางอยางได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. รูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย
2. นําผลที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชในการคาดการณบางอยางได

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวง
ชั้นทางดานความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรู
ทางดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน และสอดแทรกกิจกรรม ปญหา
หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะกระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผู
เรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ขอเสนอแนะ
ในการสอนเรื่องการสํารวจความคิดเห็น ซึ่งผลการเรียนรูตองการใหผูเรียนรูจัก
วิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย พรอมทั้งสามารถนําไปใชได ดังนั้นในการเรียนการ
สอนจึงควรใหมีภาคปฏิบัติโดยการใชกิจกรรมที่เสริมใหผูเรียนมีความเขาใจในวิธีการและ
ขั้นตอนการสํารวจความคิดเห็นดวยตนเอง และเมื่อผูเรียนไดขอสรุปจากการสํารวจความ
คิดเห็นแลว ผูสอนควรใหผูเรียนทํารายงานเพื่อนําเสนอขอสรุปที่ไดจากการทํางานพรอม
51

ทั้งขอเสนอแนะที่อาจเปนความคิดเห็นสวนตัว ทั้งนี้เพื่อฝกใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรตามมาตรฐานการเรียนรูที่ไดกําหนดไว

กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1
เพื่อใหผูเรียนเกิดความเขาใจในสาระเรื่องการสํารวจขอมูล ผูสอนอาจใชกิจกรรม
ในการสํารวจขอมูลอยางงาย ๆ โดยใชหัวขอที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของผูเรียนใน
การทํากิจกรรมดังกลาว ผูเรียนควรมีความรูเพิ่มเติมในเรื่องตอไปนี้
1. แบบสอบถาม
2. วิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
3. การเก็บรวบรวมขอมูลและการสรุปผล

1. แบบสอบถามและการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
ในการใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการสํารวจขอมูล จําเปนตองออกแบบ
สอบถามใหเหมาะสมโดยพิจารณาจาก
1) เนื้อหาของแบบสอบถาม กอนที่จะลงมือเขียนแบบสอบถาม สิ่งที่ควรตอง
ทราบคือ จุดประสงคของการสํารวจขอมูล โดยจะตองกําหนดสิ่งที่ตองการสํารวจพรอม
ทั้งเหตุผล และกําหนดรายละเอียดเปนหัวขอ ซึ่งควรจะเรียงตามลําดับของความสําคัญ
โดยตองไมกําหนดหัวขอหรือเนื้อหามากเกินไป เพื่อไมทําใหแบบสอบถามยาวเกินไป
และไดคําถามที่ถามตรงประเด็นที่ตองการ ตัวอยางเชน
จุดประสงคของการสํารวจขอมูล ตองการปรับปรุงคุณภาพของอาหารและ
บริการของโรงอาหาร
หัวขอที่ตองการสํารวจ
1. คุณภาพของอาหาร ไดแก รสชาติ ความสะอาด
2. ความหลากหลายของอาหาร ไดแก ประเภทหรือชนิดของอาหารที่มีผูนิยมรับ
ประทาน หรือตองการใหมีการขายเพิ่มเติม
52

3. การบริการ เชน ตองการใหมีบริการน้ําดื่ม หรือมีบริการขายอาหารวาง ชวง


เวลาเลิกเรียน

ในการสํารวจขอมูลเกี่ยวกับโรงอาหารในโรงเรียน ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกัน
ระดมความคิดในสิ่งที่ควรทําการสํารวจ จากนั้นจึงนําขอมูลที่ไดมาเรียบเรียงและหาขอ
สรุปเพื่อเลือกประเด็นที่สําคัญ ที่จะใชในการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม

ขอแนะนําในการเขียนแบบสอบถาม

1. ใชขอความที่กระชับ ชัดเจน เพื่อใหผูตอบแบบสอบถามเขาใจคําถาม หลีกเลี่ยงการ


ใชขอความที่เกี่ยวของกับความรูสึก เชน มาก / นอย โดยไมจําเปนและใชคําถามที่
ผูตอบสามารถตอบไดอยางชัดเจนไมตองอธิบาย เชน
จงระบุรายชื่ออาหารที่ทานชอบมากที่สุดมา 1 รายการ
2. หลีกเลี่ยงการใชคําถามที่อาจไดคําตอบที่แตกตางกันมากทําใหยากในการสรุปขอมูล
เชน ทานมารับประทานอาหารในโรงอาหารเมื่อใด ซึ่งคําตอบอาจจะเปน
7 โมงเชา และเที่ยง
เฉพาะวันจันทร – วันพฤหัสบดี
พักเที่ยงและพักเชา
3. ในกรณีของคําถามปลายเปด การตีกรอบคําตอบอาจชวยทําใหการสรุปขอมูลทําไดงาย
ขึ้น เชน การถามอายุของผูตอบแบบสอบถาม อาจกําหนดอายุเปนชวง ๆ ไว เชน
11 – 13 ป 17 – 25 ป 36 – 50 ป
14 – 16 ป 26 – 35 ป 51 – 60 ป

4. สรางคําถามที่มีคําตอบตายตัว เชน
1) ทานรับประทานอาหารมังสวิรัติหรือไม
ใช ไมใช บางครั้ง
53

2) ทานรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนหรือไม
ทุกวัน บางวัน นาน ๆ ครั้ง ไมเคยใชบริการ
3) ทานคิดวาอาหารในโรงอาหารของโรงเรียนมีคุณภาพอยางไร (โดยรวม)
ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง
4) โดยเฉลี่ยแลวทานใชเงินในการจายคาอาหารแตละครั้ง เมื่อใชบริการจากโรงอาหาร
10 – 20 บาท 21 – 50 บาท มากกวา 50 บาท
5) เครื่องดื่มที่ทานเลือกจากรานคาในโรงอาหารเปนประจําไดแก
(ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)
น้ําเปลา น้ําอัดลม ชา กาแฟ
น้ําผลไม เครื่องดื่มบํารุงสุขภาพ (นม น้ําเตาหู)

สําหรับคําถามที่เกี่ยวของกับความคิดเห็นอาจกําหนดใหผูตอบแบบสอบถามเรียง
ลําดับความสําคัญของคําตอบ เชน

1. จงลําดับประเภทอาหารที่ทานชอบโดยให 1 เปนอาหารที่ทานชอบมากที่สุด และ 5


เปนอาหารที่ทานชอบนอยที่สุด
กวยเตี๋ยวแหง น้ํา
ขาวและกับขาว
ขาวมันไก
ขาวขาหมู
อาหารตามสั่ง
54

2. จงบอกเหตุผลที่ทานไมชอบใชบริการจากโรงอาหารของโรงเรียน โดยลําดับความ
ไมชอบมากที่สุดเปน 1 และนอยที่สุดเปน 5
แพงเกินไป
คุณภาพไมดี
รสชาติไมดี
มีใหเลือกนอยอยาง
เสียเวลาคอยนาน

นอกจากนั้นควรจะจัดทําแบบสอบถามที่งายตอการทําความเขาใจ และสามารถ
ตอบคําถามไดงายไมสับสน ในแบบสอบถามควรมีคํากลาวนําถึงจุดประสงคของแบบ
สอบถาม ซึ่งไดแกที่มาและสิ่งที่จะดําเนินการเมื่อไดขอสรุปจากแบบสอบถามแลวเพื่อให
ผูตอบแบบสอบถามไดทราบที่มาและประโยชนในการสํารวจขอมูล
กอนที่จะทําการสํารวจจริงผูสอนอาจใหผูเรียนแตละกลุมนําแบบสอบถามที่กลุม
ของตนเขียนมานําเสนอใหเพื่อนและครูผูสอนไดชวยกันพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสม
กอนนําไปใช สําหรับวิธีการสํารวจขอมูลโดยใชแบบสอบถาม
ผูสอนควรใหผูเรียนศึกษาจากหนังสือเรียน แลวนํามาเสนอวิธีการของแตละกลุม
กับผูสอนและเพื่อน เพื่ออภิปรายหาขอสรุปและคําแนะนํากอนดําเนินการ

ขอเสนอแนะในการเก็บรวบรวมขอมูล และการสรุปผล

1. ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูสอนแนะนําใหผูเรียนนําวิธีการในหนังสือเรียนมาใชโดย
อาจสรุปขอมูลที่ไดใหอยูในรูปรอยละ เชน ตัวอยางจากขอมูลสมมติตอไปนี้
55

ผลการสํารวจเรื่องการรับประทานอาหารในโรงอาหารของโรงเรียน มีดังนี้

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม
รอยละ
(คน)
ทุกวัน 57 47.5
บางวัน 38 31.7
นาน ๆ ครั้ง 16 13.3
ไมเคยใชบริการ 9 7.5
รวม 120

จากการสํารวจขอมูลพบวา คนสวนมาก (92.5%) มารับประทานอาหารในโรง


อาหารของโรงเรียน และสวนใหญของผูที่มารับประทาน จะมารับประทานทุกวัน มีเพียง
สวนนอย (7.5%) ที่ไมเคยใชบริการ

2. สําหรับการสรุปความคิดเห็นที่ใหกําหนดลําดับตามความสําคัญ อาจสรุปไดดัง
ตัวอยางตอไปนี้

ประเภทอาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุด สรุปจากคําตอบของผูตอบแบบ
สอบถามที่เลือกเปนอันดับ 1 มีดังนี้

รายการอาหาร จํานวนผูที่เลือกใหเปนอันดับ 1 รอยละ


กวยเตี๋ยวแหง น้ํา 34 28.3
อาหารตามสั่ง 15 12.5
ขาวมันไก 29 24.2
ขาวขาหมู 19 15.8
ขาวและกับขาว 23 19.2
56

จากขอสรุปขางตนพบวา อาหารที่มีผูนิยมรับประทานมากที่สุดโดยเลือกใหเปน
อันดับ 1 คือ กวยเตี๋ยวแหง น้ํา
นอกจากการสรุป โดยใชวิธีที่แสดงขางตนอาจสรุปโดยกําหนดน้ําหนักของ
คะแนนของแตละรายการเปน 1, 2, 3, 4 และ 5 สําหรับการเลือกลําดับที่ 1, 2, 3, 4
และ 5 ตามลําดับ
ใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา มีผูเลือกใหคะแนนเปนลําดับที่ 1 – 5 ดังนี้
ลําดับที่ (n) คะแนน (x) ความถี่ (f)
1 1 34
2 2 31
3 3 22
4 4 24
5 5 9
รวม 120

การหาคะแนนรวมซึ่งเปนคะแนนนิยมของอาหารชนิดนี้ทําไดโดยหาผลรวมของ
คะแนนนิยมที่ไดจากการหาผลคูณคะแนน (x) ของลําดับที่กับจํานวนความถี่ (f) ของผูตอบ
แบบสอบถาม จากตารางขางตน ดังนี้
เนื่องจากจํานวนผูที่เลือกใหกวยเตี๋ยวแหง น้ํา เปนอาหารที่นิยมมากที่สุดเปน
อันดับ 1 มี 34 คน จะไดคะแนนเทากับ 1 × 34 หรือ 34 คะแนน สําหรับคะแนนที่ได
จากลําดับความนิยม 2 – 5 หาไดดังนี้

ลําดับ คะแนน จํานวนผูที่เลือก คะแนนนิยม


(n) (x) (f) (xf)
2 2 31 2 × 31 หรือ 62
3 3 22 3 × 22 หรือ 66
4 4 24 4 × 24 หรือ 96
5 5 9 5 × 9 หรือ 45
57

จากคะแนนที่ไดทั้งหมดนํามาสรุปผลคะแนนนิยมของผูที่เลือกกวยเตี๋ยวแหง น้ํา
ซึ่งเทากับ 303 ไดดังนี้

ลําดับที่ (n) ความถี่ (f) คะแนนนิยม (xf)


1 34 1 × 34 = 34
2 31 2 × 31 = 62
3 22 3 × 22 = 66
4 24 4 × 24 = 96
5 9 5 × 9 = 45
รวม 303

โดยใชวิธีการเดียวกันหาคะแนนนิยมของอาหารแตละชนิดจากผลสรุปของแบบ
สอบถาม โดยใชเกณฑการใหคะแนนตามที่กลาวมาดังนี้
คะแนน
1) กวยเตี๋ยวแหง น้ํา 303
2) อาหารตามสั่ง 432
3) ขาวมันไก 302
4) ขาวขาหมู 377
5) ขาวและกับขาว 386
รวม 1,800 คะแนน

จากขอสรุปโดยใชเกณฑการใหคะแนนนิยมขางตนจะพบวา อาหารที่มีผูนิยมรับ
ประทานมากที่สุดจะเปนอาหารที่มีคะแนนนอยที่สุดไดแก ขาวมันไก (302 คะแนน) รอง
ลงมาไดแก กวยเตี๋ยวแหง น้ํา (303 คะแนน) ขาวขาหมู (377 คะแนน) และขาวและ
กับขาว (386 คะแนน) สวนอาหารซึ่งมีคะแนนมากที่สุด คือ อาหารตามสั่งมีคะแนน 432
คะแนน จะเปนอาหารที่มีผูนิยมรับประทานนอยที่สุด
58

ผูสอนควรจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดทําการสํารวจความคิดเห็น โดยผูเรียนจะตองนํา
ความรูที่ไดจากหนังสือเรียนไปทดลองปฏิบัติ เพื่อใหรูจักวิธีการสํารวจความคิดเห็น และ
สามารถนําไปใชประโยชนได

กิจกรรมที่ 2

ในการสํารวจความคิดเห็นจากกลุมบุคคล ในเรื่องตาง ๆ เชน จากคอลัมนใน


หนังสือพิมพรายสัปดาหฉบับหนึ่ง กลาวถึงการสํารวจความเห็นของหญิงไทยตอการทํา
ศัลยกรรมตกแตงวา “ผูหญิงในกรุงเทพฯ สวนใหญ (21.5%) มีความเห็นวา การทําศัลย
กรรมตกแตงทําใหสวยขึ้น และเกิดความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น ในการสํารวจความเห็น
ขางตน เปนการสํารวจความคิดเห็นของผูหญิงไทยที่อยูในวัยทํางาน (ประชากร) โดยสุม
ตัวอยางจากผูหญิงที่อยูในวัยทํางานในกรุงเทพฯ 200 คน”
จากที่กลาวมาอาจมีขอสงสัยวา ขอสรุปนาเชื่อถือไดหรือไมเพียงใด ในวิชาสถิติมี
วิธีการที่จะบอกไดวา ขอสรุปที่ไดจากการใชตัวอยางเพียงไมกี่ตัวอยาง สามารถที่จะ
บอกลักษณะบางอยางของกลุมประชากรที่สนใจไดอยางถูกตอง หรือนาเชื่อถือไดเพียงใด
โดยการทดสอบสมมติฐาน (testing hypothesis) ซึ่งเปนการวิเคราะหผลที่ไดจากการสุมตัว
อยางอยางมีหลักเกณฑตามหลักวิธีการทางสถิติที่ถูกตอง อันจะทําใหผลหรือขอสรุปที่ได
นาเชื่อถือ
การที่จะทดสอบสมมติฐานไดนั้น จําเปนตองมีความรูทางสถิติชั้นสูงนอกเหนือ
จากการเรียนรูเนื้อหาสถิติในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแสดงใหเห็นวาขอสรุปที่ได
นาเชื่อถือเพียงใด โดยใชแนวความคิดทางสถิติ และพื้นฐานความรูในเรื่อง ความนาจะ
เปน เปนเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหผล ในการทํากิจกรรมที่จะกลาวถึงตอไปนี้ ผูสอน
ควรอธิบายตัวอยางใหผูเรียนเขาใจกอนจากนั้นจึงใหผูเรียนสํารวจความคิดเห็นในเรื่องใด
เรื่องหนึ่งจากกลุมนักเรียนในหองจํานวน 25 คน เมื่อไดขอสรุปแลวจึงคอยดําเนินการเพื่อ
ทดสอบวาขอสรุปที่ไดนาเชื่อถือเพียงใดโดยใชวิธีการดังตัวอยางตอไปนี้
59

ในการสํารวจความคิดเห็นของผูปกครองกลุมหนึ่งที่มีบุตรหลานเปนวัยรุนและมี
อายุต่ํากวา 18 ป มีความเห็นดวยหรือไมวา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรไดควรมีอายุตั้งแต 20 ป บริบูรณขึ้นไป
การสํารวจความคิดเห็นกระทําโดยการสอบถามผูที่มีบุตร จํานวน 25 คน ดวยการ
สุมตัวอยางจากสมุดรายนามผูใชโทรศัพทในเขตกรุงเทพมหานครไดผลสรุปวา
มีผูเห็นดวย 15 คน
มีผูไมเห็นดวย 10 คน
รวมจํานวนผูแสดงความคิดเห็น 25 คน

จากการสุมตัวอยาง สรุปไดวามี คนในเขตกรุงเทพมหานคร เห็นดวยกับ


ความคิดที่วา ผูมีสิทธิ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรได ควรมีอายุ 20 ป
บริบูรณ ขึ้นไป มีจํานวน 15 คน จาก 25 คน หรือคิดเปน 60% ของผูถูกสํารวจ
ขอสรุปดังกลาว เชื่อถือไดหรือไม

เพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นวา คนสวนใหญ (หรือประมาณ 60% ขึ้นไป)


เห็นดวยจริงหรือไม ในทางปฏิบัติอาจจะใชวิธีการสุมซ้ําซึ่งหมายถึงการสํารวจความคิด
เห็นจากคนที่ถูกสุมมา 25 คน อีกหลาย ๆ กลุมตัวอยาง แลวสํารวจดูวา มีกี่กลุมตัวอยางที่
มีผูเห็นดวยตั้งแต 15 คน ขึ้นไป
60

พิจารณาผลการสํารวจขอมูลเพิ่มอีก 100 กลุมตัวอยาง ดังนี้

จํานวนผูตอบวาเห็นดวย ความถี่ (จํานวนกลุมตัวอยาง)


0 0
1 0
2 0
3 0
4 0
5 0
6 0
7 1
8 2
9 7
10 9
11 14
12 18
13 15
14 11

15 9
16 7
17 5
18 2
19 0
20 0 23 ตัวอยาง
21 0
22 0
23 0
24 0
25 0
61

จากผลการสํารวจขางตน สรุปไดวา
1. จากการสอบถามจากกลุมตัวอยาง 100 กลุม ไมพบกลุมตัวอยางที่มีผูเห็นดวย 0 ถึง 6 คน
และ 19 ถึง 25 คน จากกลุมตัวอยางละ 25 คน
2. จํานวนกลุมตัวอยางที่มีผูตอบวา เห็นดวย ตั้งแต 15 คน ถึง 18 คน มีทั้งหมด 23 กลุม
ตัวอยาง จาก 100 กลุมตัวอยางดังนี้
15 คน มี 9 กลุมตัวอยาง
16 คน มี 7 กลุมตัวอยาง
17 คน มี 5 กลุมตัวอยาง
18 คน มี 2 กลุมตัวอยาง
รวม 23 กลุมตัวอยาง
สรุปไดวา มี 23 กลุมจาก 100 กลุม ที่มีความเห็นเชนเดียวกับขอสรุปขางตน
จึงกลาวไดวา จากการสอบถามจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 100 กลุมตัวอยาง ซึ่งแต
ละกลุมตัวอยางแทนผลการสํารวจความคิดเห็นของคน 25 คน พบวามีเพียง 23 กลุมตัว
อยาง จาก 100 กลุมตัวอยาง หรือเพียง 23% ที่เห็นดวย แสดงวาขอสรุปนี้มีไมถึง
50% ที่เห็นดวย จึงไมนาที่จะใชแทนความคิดเห็นของคนสวนใหญ (ประชากร) ได หรือ
กลาวไดวา ขอสรุปจากผลจากการสํารวจความคิดเห็นครั้งแรกยังไมนาเชื่อถือ
กิจกรรมดังกลาวนี้เปนแนวคิดหนึ่งที่สามารถทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องของการ
ทดลองสุมและการตีความจากการสํารวจความคิดเห็นวา สมควรที่จะเชื่อถือไดหรือไม
แตอยางไรก็ดี ผลการสํารวจแตละครั้งจะนาเชื่อถือหรือไมนั้น จะตองอาศัยความรูทาง
สถิติ ในเรื่องการเลือกตัวอยางและการวิเคราะหและสรุปผลการสํารวจอีกมาก กิจกรรมนี้
จึงเปนเพียงการเสนอแนวความคิดใหกับผูเรียนซึ่งยังไมมีความรูทางสถิติลึกซึ้งไดเขาใจ
ความหมายของการตีความจากการสํารวจไดงายขึ้นเทานั้น
62

กิจกรรมเพิ่มเติม
1. ใหผูเรียนกําหนดหัวขอที่สนใจเพื่อสอบถามความคิดเห็นจากเพื่อนนักเรียนใน
ชั้น เชน การใหผูเรียนชวยกันสํารวจวา มีกิจกรรมใดที่ผูเรียนตองการใหโรงเรียน
สนับสนุน ตัวอยางเชน
1) ดานกีฬา
2) ดานดนตรี
3) การเพิ่มความรูทางวิชาการ
4) พื้นฐานการงานอาชีพที่สามารถนําไปใชได
5) การออม
หรือการใหผูเรียนสอบถามจากผูเรียนที่ใชหองสมุดของโรงเรียนวา ตองการใหมี
หนังสือวารสาร ฯลฯ ประเภทใดเพิ่มเติมในหองสมุด หรือตองการใหหองสมุดของโรง
เรียนมีบริการใดเพิ่มเติมบาง

2. เมื่อผูเรียนไดหัวขอที่สนใจแลว จึงใชวิธีการสุมเพื่อสอบถามความคิดเห็นจาก
เพื่อนที่อยูในหองเรียนเดียวกันจํานวน 10 คน และเมื่อไดขอสรุปจากการสอบถามความ
คิดเห็นครั้งนี้แลว จึงทําการสอบถามเพิ่มเติมจากผูเรียนในหองเรียนอื่น หรือชั้นเรียนอื่น
โดยสอบถามใหครบ 10 คน แลวสรุปและใหทําซ้ําจนครบ 50 กลุม หรือ 100 กลุม เพื่อ
หาขอสรุปวา ผูเรียนสวนใหญมีความคิดเห็นสอดคลองกับผูเรียน 10 คนแรกที่อยูในหอง
เรียนเดียวกันหรือไม

การประเมินผล
เนื่องจากการเรียนการสอนในบทนี้ตองการใหผูเรียนมีความเขาใจวิธีการและนําผล
ที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใชได ผูสอนจึงควรประเมินผลการเรียนรูโดยประเมิน
จากกิจกรรมที่มอบหมายใหแตละกลุมไปปฏิบัติโดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การ
สังเกตการทํางานรวมกันเปนกลุม การวางแผนการทํางาน การคนควาขอมูล เพิ่มเติม
ความคิดสรางสรรคในการทํางาน ความสามารถในการสื่อสารขอมูลไดอยางถูกตอง และ
ชัดเจนรวมทั้งผลงานที่นําเสนอในรูปรายงานดวย
63
ตารางเลขสุม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
1 03 47 43 73 89 36 96 47 36 61 46 98 63 71 62 33 26 16 80 45
2 97 74 24 67 62 42 81 14 54 20 42 53 32 37 32 27 07 36 07 51
3 16 76 62 27 66 56 50 26 71 07 32 90 79 78 83 13 55 38 58 89
4 12 56 85 99 26 96 96 68 27 31 05 03 72 93 15 57 12 10 14 21
5 55 59 56 35 64 38 54 82 46 22 31 62 43 09 90 06 18 44 32 53

6 60 11 14 10 95 06 22 77 94 39 49 54 43 54 81 17 37 93 23 78
7 24 51 79 89 73 84 42 17 53 31 57 24 55 06 88 77 04 74 47 67
8 88 97 54 14 10 63 01 63 78 59 16 95 55 67 19 98 10 50 71 75
9 88 26 49 81 76 33 21 12 34 29 78 64 56 07 82 52 42 07 44 38
10 23 83 01 30 30 53 60 86 32 44 06 47 27 96 54 49 17 46 09 62

11 87 35 20 96 43 84 26 34 91 64 18 18 07 92 46 44 17 16 53 09
12 21 76 33 50 25 83 92 12 06 76 26 62 38 97 75 84 16 07 44 99
13 12 86 73 58 07 44 36 52 38 79 23 42 40 64 74 82 92 77 77 81
14 15 51 11 13 42 99 66 02 79 54 52 36 28 19 95 50 92 26 11 79
15 90 52 84 77 27 08 02 73 43 28 37 85 94 35 12 83 39 50 08 30

16 39 83 86 19 62 06 76 50 30 10 55 23 64 05 05 70 29 14 12 13
17 83 11 46 32 24 20 14 85 88 45 10 93 72 88 70 56 62 18 37 35
18 07 45 32 14 08 32 98 94 07 72 93 85 79 10 75 19 49 57 22 77
19 00 56 76 31 38 80 22 02 53 35 86 60 42 04 53 16 08 15 04 72
20 42 34 03 96 88 54 42 06 87 78 36 35 25 48 39 31 16 93 32 43

21 40 33 20 38 26 13 89 51 03 74 17 76 37 13 04 07 74 21 19 30
22 96 83 50 87 75 97 12 25 93 47 70 33 24 03 54 97 77 46 44 80
23 88 42 94 45 72 16 64 36 16 00 04 43 18 66 79 94 77 24 21 90
24 33 27 14 37 09 45 89 34 68 40 12 72 07 33 45 99 27 72 90 14
25 50 27 89 87 10 20 15 37 00 47 52 85 66 60 44 38 68 88 11 80
64

คณะกรรมการดําเนินการจัดทําคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เลม 2
นายประสาท สอานวงศ ขาราชการบํานาญ
นางสาวสิริพร ทิพยคง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
นายปรีชา เนาวเย็นผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นางสาวจําเริญ เจียวหวาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
นางสาวจารุวรรณ แสงทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางยุดา กีรติรักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายสุรัชน อินทสังข สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ
นายประสาท สอานวงศ นางสาวสิริพร ทิพยคง
นายปรีชา เนาวเย็นผล นางสาวจารุวรรณ แสงทอง
นางยุดา กีรติรักษ

ผูจัดพิมพตนฉบับ
นางสาวปยาภรณ ทองมาก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

You might also like