You are on page 1of 219

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ

สาหรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

นูรีมาน สือรี

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
2563
3

บทคัดย่อ

ชื่อวิทยานิพนธ์ : การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง


โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้ทาวิทยานิพนธ์ : นางนูรีมาน สือรี
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ ดร. เกษม เปรมประยูร และ
อาจารย์ ดร. สุวรรณี เปลีย่ นรัมย์
ปริญญาและสาขาวิชา : ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
ปีการศึกษาที่สาเร็จ : 2562

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับระดับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์เท่ากับ 80/80 2)
เปรี ย บเทีย บผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนก่ อนและหลั งเรียนโดยใช้แบบฝึ กทักษะ เรื่องเลขยกกาลั ง
สาหรับระดับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช้
แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับระดับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยประชากร
ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอ
เมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 11 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 337 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 /11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง
จังหวัดนราธิวาส จานวน 31 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดย
ใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียนผู้วิจัยดาเนินการกับรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
1) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ 1.1) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 5 แผน เวลา 16
ชั่วโมง 1.2) แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบ่งเป็น 5 ชุด
2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 2.1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
2.2) แบบทดสอบก่อนเรีย นหลั งเรียนของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แบ่งเป็น 5 ชุด 2.3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มีคาถามรวม 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การวิเคราะห์
ความแตกต่างคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
4

ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) ผลการศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพแบบฝึ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร์


ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 เรื่ อ งเลขยกก าลั ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว่ า เกณฑ์
80.84/80.11 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อน
เรี ย น อย่ างมีนั ย ส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ความพึงพอใจสู งสุ ดของนักเรียนที่มีต่อการเรียน
วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ งเลขยกก าลั ง ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 โดยใช้ แ บบฝึ ก
ทักษะ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
5

Abstract

Thesis Title: The Development of Learning Achievement in Power Number


Subject by Using Exercises for 7th Grade Students.
Student ’s Name: Miss. Nuriman Sueari
Advisory Committee: Dr. Kasem Premprayoon and
Dr. Suvarnnee Plianram
Degree and Program: Master of Education in Teaching Sciences ,
Mathematics and Computers
Academic Year: 2019

The purposes of this research were 1) to investigate the efficiency of


exercises for Power Number Subject in order to attain the criteria of 80/80; 2)
to compare the learning achievement of 7th grade students before and after
using exercises for Number Power Subject, and 3) to study satisfaction of 7th
grade students in using exercises for Power Number Subject. The population of
the study was 337 7th grade students of Narathiwat School in the first semester
of the academic year 2018. The sample consisted of 31 grade 7 students, they
were selected by cluster random sampling. The research instruments were: 1)
16 hours lesson plans 2) 5 exercises for Power Number Subject 3) 30 items pre-
test and post-test used to examine the students’ learning achievement 4)
satisfaction test. The statistics used for analyzing the collected data were:
mean, standard deviation, and t-test dependent sample.
The results of the study were as follows: 1) The efficiency of exercises
for power number subject was obtained at 80.84/80.11, higher than a predetermined
threshold. 2) The mathematic learning achievement of 7th grade students was
significantly higher than before the experiment using exercises for Power Number
Subject at .01 level. 3) The satisfaction of 7th grade students using exercises for Power
Number Subject was at a high level.
6

ประกาศคุณูปการ

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณา ช่วยเหลือ แนะนา และให้คาปรึกษา


อย่างดียิ่งยิ่ง จาก อาจารย์ ดร. เกษม เปรมประยูร ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์
ดร. สุว รรณี เปลี่ยนรัมย์ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ได้กรุณาถ่ายทอดความรู้ แนวคิด
วิธีการ คาแนะนา และตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ยิ่ง ผู้วิจัยขอขอบคุณ
เป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชียวชาญทุกท่าน ที่กรุณาตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย และได้กรุณาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง และให้คาแนะนา ในการสร้างเครื่องมือให้
ถูกต้อง สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวมทั้งบุคคลที่ผู้วิจัยได้อ้างอิงทางวิชาการตามที่ปรากฏในบรรณานุกรม
ขอขอบคุ ณผู้ บ ริ ห ารโรงเรีย นนราธิว าส คณะครู สั ง กัด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ก ารศึ ก ษา
มัธยมศึกษา เขต 15 ที่ให้ความอนุเคราะห์และความสะดวกในการเก็บข้อมูลเพื่อการวิจัย ตลอดจน
ผู้ปกครองของนักเรียนทุกท่านที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างดี
ขอขอบพระคุณเพื่อนนิสิตสาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
ทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาและส่งเสริมกาลังใจตลอดมา นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลืออีก
หลายท่าน ซึ่งผู้วิจัยไม่สามารถกล่าวนามในที่นี้ได้หมด จึงขอขอบพระคุณทุกท่านเหล่านั้นไว้ ณ
โอกาสนี้ด้วย
คุณค่าทั้งหลายที่ได้รับจากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอขอบเป็นกตัญญูกตเวทีแด่ บิดา
มารดา และบูรพาจารย์ที่เคยสั่งสอน ตลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่าน

นูรีมาน สือรี
7

สารบัญ

บทที่ หน้า
1 บทนา ..………………………………………………………………………….…...............................……. 1
ภูมิหลัง .......................................................................................................................... 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ............................................................................................... 2
สมมติฐานของการวิจัย .................................................................................................. 3
ประโยชน์ของการวิจัย ................................................................................................... 3
ขอบเขตของการวิจัย ...................................................................................................... 3
นิยามศัพท์เฉพาะ .......................................................................................................... 4
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ...................................................................................... 6
หลักสูตรคณิตศาสตร์ .....................................................………............………………….….... 6
แบบฝึกทักษะ .............................................................................………..........…….….…… 9
กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา ................................................................................... 12
ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์……….......………................…………………….……. 14
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ………………………………………………........................…...……………..….. 23
กรอบแนวคิดในการวิจัย …………………………………………………………….............................. 26
3 วิธีดาเนินการวิจัย ……………………………………………........................……………………………. 27
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ……………………………….........................……………………………. 27
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ……………………………………..........................…………………..……. 27
การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ……………...............…………………..….. 27
วิธีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ………………..................………………….................……….. 34
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล …………………………………….......................……………..….. 34
8

สารบัญ(ต่อ)

บทที่ หน้า
4 ผลการวิจัย ..……………………………………………………………………...................…..........…. 36
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล……………………………………......................................… 36
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................................36
5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ......................................................................... 41
สรุปผล ........................................................................................................................ 41
อภิปรายผล ................................................................................................................. 41
ข้อเสนอแนะ................................................................................................................... 43
บรรณานุกรม.................................................................................................................... 44
ภาคผนวก......................................................................................................................... 49
ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ........……………………………………….............………….…...... 50
ภาคผนวก ข หนังสือขอความอนุเคราะห์...............................................….……………........ 52
ภาคผนวก ค การหาคุณภาพแบบทดสอบ.....................................................…………...... 58
ภาคผนวก ง การหาประสิทธิภาพคุณภาพแบบทดสอบ.....……………………....……..…..... 74
ภาคผนวก จ การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ.............………………….....………...... 80
ภาคผนวก ฉ การหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้……………...…………….........…...... 86
ภาคผนวก ช การหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจ…….………………….............. 88
ภาคผนวก ซ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.……………………..………................. 97
ภาคผนวก ฌ ตัวอย่างผลงานนักเรียน............…………………….……………….................... 103
ภาคผนวก ญ แผนการจัดการเรียนรู้....................……...……………….…………...................107
ภาคผนวก ฎ แบบฝึกทักษะ....................……...…………………………………….....................130
ประวัติย่อ ................................................……...………………………………………..................208
9

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 แสดงกาหนดการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.......................................................................................................... 8
2 เกณฑ์การประเมินผลแบบย่อยของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์....................................18
3 แสดงกาหนดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ.....................................................................32
4 แสดงประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1...........................................................................................................36
5 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1..................................................39
6 ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1............................................................................40
7 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยผู้เชี่ยวชาญ. ...............................................................................................................66
8 แสดงค่าความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 ......................68
9 แสดงค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยใช้วธิ ีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน สูตร KR-20.................................................................70
10 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ............................................................................75
11 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ..........................................................................76
12 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ.........................................................................77
13 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 4
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ.........................................................................78
10

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
14 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ของแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 5
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ.............................................................................79
15 แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ.......................... ..................................................81
16 แสดงผลการประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โดยทดลองรายบุคคล...................................................................82
17 แสดงผลการประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โดยทดลองขนาดเล็ก....................................................................83
18 แสดงผลการประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 โดยทดลองภาคสนาม.................................................................84
19 แสดงผลการประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ................87
20 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ.............................................................................91
21 แสดงค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดย
ใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.....................92
22 แสดงผลความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มตัวอย่าง.........................................95
23 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มตัวอย่าง..........................................................................98
24 คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง.........................100
11

สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
1 แสดงกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย......................................................................................26
2 ตัวอย่างแบบฝึกทักษะที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา.............................................37
3 ตัวอย่างแบบฝึกทักษะที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา............................................38
1

บทที่ 1
บทนา

ภูมิหลัง
คณิตศาสตร์เป็นวิชาว่าด้วยเหตุผล กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา ดังนั้นคณิตศาสตร์
จึงเป็น วิช าที่ช่ว ยสร้างเสริมให้นักเรียนเป็นคนมีเหตุผ ล มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ
ตลอดจนมีทัก ษะการแก้ป ัญ หา ท าให้ส ามารถวิเ คราะห์ปัญ หาและสถานการณ์ไ ด้อ ย่า งถี ่ถ ้ว น
รอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นประโยชน์
ต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน ทักษะการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการที่นักเรียนควรจะเรียนรู้ ฝึกฝน
และพัฒ นาให้เกิดขึ้น ในตัว ผู้เรีย น ด้ว ยเหตุนี้การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
แนวคิดที่หลากหลาย มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อและมีความมั่นใจในการแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ทั้ง
ภายในและภายนอกห้องเรียน ตลอดจนเป็นทักษะพื้นฐานที่ผู้เรียนสามารถนาติดตัวไปใช้ได้นาน
ตลอดชีวิต (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2550)
จากรายงานประจาปีของโรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนนราธิวาส ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 นักเรียนมีผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยร้อย
ละ 50.23 (โรงเรียนนราธิวาส. 2559 ) และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 พบว่า นักเรียนมีผลคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยร้อยละ 50.96 (โรงเรียนนราธิวาส. 2560 )โดยเฉพาะในเรื่องเลขยกกาลัง ซึ่ง
เนื้อหาเรื่องนี้จะนาไปใช้ในการเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งจะส่งผลต่อการสอบ
O-NET ด้วยผลจากการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนนราธิ วาสวิ ชาคณิ ตศาสตร์ได้ คะแนนเฉลี่ ยร้อยละ 31.17 และมาตรฐาน
การเรียนรู้ที่โรงเรียนควรพัฒนา คือ มาตรฐาน ค1.1 เฉลี่ยร้อยละ 20.73 ซึ่งต่ากว่าครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม
ปีการศึกษา 2560 วิชาคณิตศาสตร์ เฉลี่ยร้อยละ 26.61 และมาตรฐานการเรียนรู้ที่โรงเรียนควรพัฒนา คือ
มาตรฐาน ค1.1 เฉลี่ยร้อยละ 27.43 ซึ่งต่ากว่าครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม เมื่อได้พิจารณาในรายละเอียด
พบว่า นักเรียนยั งมีปั ญหาด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องเลขยกกาลัง ซึ่งเป็นเนื้ อหาพื้นฐานใน
การเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และสาหรับการเรียนต่อในชั้นที่สูงขึ้น ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา
คณิตศาสตร์ในเนื้อหาเรื่องนี้จะต้องได้รับการพัฒนาเป็นอย่างยิ่ง
เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เป็นเนื้อหาที่ยากและเป็นนามธรรม
ทาให้นักเรียนเบื่อหน่าย เมื่อผู้สอนถ่ายทอด หรืออธิบายให้นักเรียนเข้าใจ เป็นเรื่องที่ยากตามมา
จีร ะศักดิ์ นุ่นปาน (2553) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ครูผู้ส อนควรรู้จักเลือกใช้
วิธ ีก ารสอนให้เ หมาะสมกับ เนื ้อ หา เพื ่อ ให้ก ารจัด กิจ กรรมการเรีย นรู ้ป ระสบความส าเร็จ
ตามเป้าหมายมากที่สุด และนอกจากวิธีการสอนแล้ว สื่อการเรียนรู้ ก็มีความสาคัญในการส่งเสริม
2

ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเช่นกัน กล่าวคือ ทาให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถและ


ความต้องการ ดังนั้นแบบฝึกทักษะจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้สอนดาเนินการสอนโดยให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนได้รู้จักวางแผนในการแก้ปัญหา รู้จักช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน และทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ ถวัลย์ มาศจรัส , สมปอง
แว่น ไธสง และบังอร สงวนหมู่ (2550 ) ที่ไ ด้ก ล่า วไว้ว่า แบบฝึก เป็น สื่อ การเรียนรู้ เพื่อพัฒ นา
การเรีย นรู้ให้แก่ผู้เ รีย น เป็น สื่อการเรียนรู้สาหรับการแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู ้เรียนและ
พัฒนาความรู้ ทักษะและเจตคติด้านต่างๆ ของผู้ เรียน จากงานวิจัยของปฐมาภรณ์ สิทธิ์เสือ (2546 )
ซึ่งพัฒ นาแผนการจัดการเรีย นรู้โ ดยใช้แบบฝึกทักษะวิช าคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่ว นและทศนิยม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนคณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วนและ
ทศนิยม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนระหว่างหลังเรียนกับเมื่อระยะเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ไม่แตกต่าง
กัน กล่าวคือ การใช้แบบฝึกเสริมทักษะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้
นอกจากนี้การเรียนคณิตศาสตร์ ในการจัดกิจกรรมการซึ่งมีหลายขั้นตอน จึงเลือกขั้นตอน
ของโพลยา อัมพร ม้าคนอง (2553 : อ้างอิงจาก Polya 1957) กล่าวถึง ขั้นตอนหรือกระบวนการ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไว้ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 การวางแผน
การแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 การดาเนินการตามแผน ขั้นที่ 4 การตรวจสอบผล เป็นขั้นตอนการสอนที่ช่วย
ทาให้ ผู้ เรี ย นได้ทาการแก้โ จทย์ ปั ญหาอย่ างเป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่ว ยให้ ผู้ เรียนเกิ ด ความเข้าใจและ
แก้โจทย์ปัญหาอย่างเป็นระบบ
จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว ท าให้ ผู้ วิ จั ย สนใจการพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นโดยใช้
แบบฝึกทักษะ ประกอบแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สาหรับนักเรียนชั้ น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลการวิจัยจะเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชา
คณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการพัฒนาการทางการเรียน
คณิตศาสตร์ตามศักยภาพของตนและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์สูงสุด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพของแบบฝึ กทักษะ เรื่องเลขยกกาลั ง ส าหรับนักเรียนระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์เท่ากับ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยโดยใช้แบบฝึกทักษะ
เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3

สมมติฐานของการวิจัย
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรีย นระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์เท่ากับ 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนเรียน
3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมาก

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
1. แบบฝึกทักษะเป็นสิ่งที่จาเป็นในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ซึ่งส่งผลให้นักเรียน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
2. เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน และบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
3. นั ก เรี ย นมี ค วามสนใจ ตั้ ง ใจ และมี เ จตคติ ที่ ดี ต่ อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ส่ ง ผลให้ นั ก เรี ย น
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 11 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 337 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 /11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2561 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 31 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบ
กลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียน
2. เนื้อหา
เนื้อหาที่ใช้ในการสร้างแบบฝึกทักษะ คือ เนื้อ หารายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค21101
หน่วยการเรียนรู้ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
2.1 ความหมายของเลขยกกาลัง
2.2 การคูณของเลขยกกาลัง
2.3 การหารของเลขยกกาลัง
2.4 สมบัติของเลขยกกาลัง
2.5 การนาไปใช้
3. ระยะเวลาในการศึกษา
เวลาในการดาเนินการศึกษาการใช้แบบฝึกทักษะ คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โดยใช้คาบสอนปกติตามตารางสอน ใช้เวลาสอน 16 ชั่วโมง
4. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
ตัวแปรต้น คือ แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4

ตัวแปรตาม คือ
1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ
เรื่องเลขยกกาลัง

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. แบบฝึ ก ทั ก ษะ หมายถึ ง สื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ค รู ส ร้ า งขึ้ น มาในรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์
เรื่ อ งเลขยกก าลั ง ที่ ป ระกอบด้ ว ย 5 ชุ ด ในแต่ ล ะชุ ด จะมี ก ารแก้ โ จทย์ ปั ญ หา โดยใช้ ก ระบวน
การแก้ปัญหาของโพลยา โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา เป็นการมองไปที่ตัวปัญหาโดยพิจารณาว่าโจทย์ถาม
อะไร โจทย์กาหนดอะไรมาให้บ้าง มีสาระความรู้ใดที่เกี่ยวข้อง มีความเพียงพอสาหรับการแก้ปัญหา
นั้นหรือไม่ คาตอบของปัญหาอยู่ในรูปแบบใดจนกระทั่งสามารถสรุปปัญหาออกมาเป็นภาษาของ
ตนเอง
ขั้นที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา (Devising a plan) เป็นขั้นตอนสาคัญที่จะต้องพิจารณา
ว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้ปัญหาอย่างไร นักเรียนต้องมองเห็นความสาคัญของข้อมูลต่างๆ ใน
โจทย์ปัญหาอย่างชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นขั้นที่ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์ถามกับข้อมูลหรือ
สิ่งที่โ จทย์ กาหนดให้ ถ้าหากไม่ส ามารถหาความสั มพันธ์ได้ก็ควรอาศัยหลั กการของการวางแผน
แก้ปัญหา ดังนี้ 1. โจทย์ปัญหาลักษณะนี้เคยพบมาก่อนหรือไม่และมีลั กษณะคล้ ายคลึงกับโจทย์
ปัญหาที่เคยทามาแล้วอย่างไร 2. ถ้าอ่านในโจทย์ปัญหาครั้งแรกแล้วไม่เข้าใจควรอ่านโจทย์ปัญหาอีก
ครั้ ง แล้ ว วิ เ คราะห์ ค วามแตกต่ า งของปั ญ หานี้ กั บ ปั ญ หาที่ เ คยท ามาก่ อ น ดั ง นั้ น การวางแผน
การแก้ ปั ญหาเป็ น ขั้น ตอนที่ ผู้ แ ก้ ปั ญ หาน ามาก าหนดแนวทางในการแก้ ปั ญ หาและเลื อ กยุ ท ธวิ ธี
แก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 การดาเนินการตามแผน เป็นขั้นตอนที่ลงมือปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้
ได้คาตอบของปัญหาด้วยการรู้จักเลือกวิธีการคิดคานวณ กฎ หรือสูตร ที่เหมาะสมมาใช้โดยเริ่มจาก
การตรวจสอบความเป็นไปได้ของแผนเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆ ของแผนให้ชัดเจนแล้วลงมือปฏิ บัติ
จนกระทั่งสามารถหาคาตอบได้หรือค้นพบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขั้นที่ 4 การตรวจสอบ เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามองย้อนกลับไปที่ขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่าน
มาเป็นการตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่าผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องสมบูรณ์ โดยพิจารณาและตรวจดูว่าผลลัพธ์
ถูกต้องและมีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่ ตลอดจนกระบวนการในการแก้ปัญหา
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลคะแนนของนักเรียน ที่ได้จากการทาแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เรื่องเลขยกกาลัง
นั ก เรี ย น หมายถึ ง นั ก เรี ยนทั้ ง หมดที่ เ รี ยนโดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะ เรื่ องเลขยกก าลั ง
โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
80/80 หมายถึง 80 ตัวแรก คือ นักเรียนทั้งหมดทาแบบทดสอบย่อยขณะเรียน
ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80
5

80 ตัวหลัง คือ นักเรียนทั้งหมดทาแบบทดสอบหลังเรียนจบบทเรียน ได้คะแนนเฉลี่ย


ร้อยละ 80
6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียน


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.หลั ก สู ตรแกนกลางโรงเรี ยนนราธิ ว าส พุ ท ธศั ก ราช 2551 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
คณิตศาสตร์ โรงเรียนนราธิวาส
2. แบบฝึกทักษะ
3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
4. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
7. กรอบแนวคิดในการวิจัย

1. หลักสูตรคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส
1.1 หลั กสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่ มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ได้กาหนดสาระหลัก ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียนไว้ 6 สาระ ดังนี้
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
จากสาระหลักที่กล่าวมาข้างต้นทาให้ทราบว่าคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ ให้
ความส าคั ญ กั บ ทั ก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ ไ ม่ น้ อ ยไปกว่ า ด้ า นเนื้ อ หาสาระทาง
คณิตศาสตร์ ซึ่งจะช่วยพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลเป็น
ระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้ คาดการณ์
วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.2 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ใช้ทาการวิจัย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลัง
สาระที่ 1จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนใน
ชีวิตจริง
7

ม.1/2. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และเขียนแสดง


จานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (Scientific Notation)
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์
ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ม.1/3 อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลังของจานวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม
ม.1/4 คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
ข้อ 1 ใช้วิธีการที่หลากหลาย
ข้ อ 2 ใช้ ค วามรู้ ทั ก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใ น
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และ
การนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ข้อ 5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
ข้อ 6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
1.3 โครงสร้างรายวิชา ค 21101 คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์/ภาคเรียนจานวน 1.5 หน่วยกิต รายละเอียดดังตารางที่ 1
8

ตารางที่ 1 โครงสร้างรายวิชา ค 21101 คณิตศาสตร์

ลาดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


สาระสาคัญ
ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 ระบบจานวน ค 1.1 ม.1/1 จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ 25 25
เต็ม ค 1.2 ม.1/1 เป็ น การใช้ ตั ว เลขแสดงจ านวนในชี วิ ต
ม.1/2ประจาวัน และเปรียบเทียบกันโดยใช้เส้ น
ค 1.4 ม.1/1 จ านวน การบวก การลบ การคู ณ
ค 6.1 ม.1/1 การหารจานวนเต็ม เป็นการดาเนินการทาง
ม.1/3คณิตศาสตร์โดยมีความสัมพันธ์กันระหว่าง
ม.1/4การบวกกั บ การลบ การคู ณ กั บ การหาร
ม.1/5และใช้สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
ของจานวนเต็ม สมบัติของหนึ่งและศูนย์ใน
การหาคาตอบได้
การหา ห.ร.ม ของจานวนนับตั้งแต่สอง
จานวนขึ้นไปเป็นการหาตัวหารร่วมหรือตัว
ประกอบร่ ว มที่ ม ากที่ สุ ด ของจ านวนนั บ
เหล่ านั้น ส่ วนการหา ค.ร.น ของจานวน
นั บ ตั้ ง แต่ ส องจ านวนขึ้ น ไปเป็ น การหา
พหุ คู ณ ร่ ว มน้ อ ยที่ สุ ด ของจ านว นนั บ
เหล่านั้น
สอบวัดผลกลางภาค 3 20
2 เลขยกกาลัง ค 1.1 ม.1/2 เลขยกก าลั ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ใ ช้ แ สดง 16 10
ค 6.1 ม.1/3 จ านวนที่ เ กิ ด จากการคู ณ ตั ว เลขซ้ ากั น
ม.1/4 หลายๆตัว ส าหรับสั ญกรณ์วิทยาศาสตร์
ม.1/5 เป็ น การเขี ย นจ านวนในรู ป การคู ณ ของ
จานวนที่มากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งแต่น้อย
กว่าสิบกับเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นสิบและชี้
กาลังเป็นจานวนเต็ม นิยมใช้กับจานวนที่มี
ค่ า มากๆ ส าหรั บ เลขยกก าลั ง ที่ มี ฐ าน
เดียวกันและเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
9

ตารางที่ 1 (ต่อ)

ลาดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เวลา น้าหนัก


สาระสาคัญ
ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
สามารถนามาคูณและหารได้ โดยใช้สมบัติ
การคูณและสมบัติการหารของเลขยกกาลัง
3 3.1 พื้นฐาน ค 3.1 ม.1/1 การสร้างรูปเรขาคณิตโดยการใช้วงเวียน 7 10
ทางเรขาคณิต ม.1/2 และสันตรงต้องอาศัยความรู้เรื่องการสร้าง
ม.1/3 พื้นฐาน รวมทั้งการสืบเสาะ สังเกตและ
ม.1/4 คาดการณ์เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม
ม.1/5 ให้ ส ร้ า งองค์ ค วามรู้ ด้ ว ยตนเอง โดยใช้
ม.1/6 สมบัติทางเรขาคณิตเป็นสื่อการเรียนรู้
ค 6.1 ม.1/2
ม.1/4
ม.1/5
ม.1/6
4 ความสัมพันธ์ ค 3.1 ม.1/4 รูปเรขาคณิตสามมิติหรือทรงสาม 6 5
ระหว่างรูป ม.1/5 มิติมีส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ
เรขาคณิตสอง ม.1/6 และรูปเรขาคณิตสองมิติ ซึ่งสามารถมอง
มิติ และสาม ค 6.1 ม.1/2 จากด้านหน้า ด้านข้าง หรือด้านบนได้
มิติ ม.1/4
ม.1/6
รวมระหว่างภาค 57 70
สอบวัดผลปลายภาค 3 30
รวมตลอดภาคเรียน 60 100

2. แบบฝึกทักษะ
2.1 ความหมายของแบบฝึก
สุคนธ์ สินธพานนท์ (2552) กล่าวว่า เป็นสื่ออย่างหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจใน
บทเรียนหรือเรื่องที่กาลังเรียน ซึ่งครูผู้สอนได้ออกแบบ ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามศักยภาพของ
ตน ทาให้ผู้เรียนมีความแม่นยาในเรื่องที่ต้องการฝึก นอกจากนี้เป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะของ
ผู้เรียนให้คิดเป็น มีความรับผิดชอบ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ถึงแม้ชุดฝึกทักษะจะแตกแต่งกัน
ไป แต่เป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน คือ ต้องการให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
ที่หลากหลาย และบรรลุวัตถุประสงค์
10

นงลักษณ์ ฉายา (2558) กล่าว่า แบบฝึก ชุดฝึก หรือสื่อการเรียนการสอนที่ครูจัดทา


ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนเพิ่มมากขึ้น ให้เกิดความรู้ความชานาญ สามารถนาไปปฎิบัติและใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
พจนา เบญจมาศ (2558) กล่าว่า แบบฝึกที่สร้างขึ้น เพื่อให้นักเรียนฝึ กปฏิบัติให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเพิ่มขึ้น ทาให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้และ
จดจาสิ่งที่เรียนได้ดี และสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) กล่าวว่า เอกสารหรือแบบฝึกทักษะที่ใช้ เป็นสื่อ
ประกอบการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจนเกิดทักษะความรู้เพิ่มมากขึ้น จนเกิดความชานาญ
เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
สรุป แบบฝึก หมายถึง สื่อการเรียนรู้อันประกอบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อใช้ใน
การส่งเสริมการเรียนรู้และเปิดโอกาสให้ผู้เรีย นได้ ฝึกทักษะด้านต่างๆ หลังจากที่นักเรียนได้เรียน
เนื้อหาในเรื่องต่างๆ ไปแล้ว
2.2 องค์ประกอบของแบบฝึก
สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544) กล่าวว่า แบบฝึกควรมีส่วนประกอบ ดังนี้
1. คู่มือการใช้แบบฝึก เป็นเอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝึกว่า ใช้เพื่อ อะไรและ
มีวิธีการใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน ใช้ซ่อมเสริม ควรประกอบด้วย
1.1 ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบุว่าในแบบฝึกนี้มีทั้งหมดกี่ชุด อะไรบ้างและมี
ส่วนประกอบอื่นๆ หรือไม่ เช่น แบบทดสอบ หรือแบบบันทึกผลการประเมิน
1.2 สิ่งที่ครูและนักเรียนต้องเตรียม จะเป็นการบอกให้ครูหรือนักเรียนเตรียมตัวให้
พร้อมล่วงหน้า
1.3 จุดประสงค์ในการฝึก
1.4 ขั้น ตอนในการใช้บอกเป็นข้อๆ ตามล าดับการใช้ และอาจเขียนในรูปแนว
การสอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยิ่งขึ้น
1.5 เฉลยแบบฝึกในแต่ละชุด
2. แบบฝึ ก เป็ น สื่ อ ที่ ส ร้ า งขึ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นฝึ ก ทั ก ษะเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ที่ ถ าวร
มีส่วนประกอบ ดังนี้
2.1 ชื่อชุดฝึกในแต่ละชุดย่อย
2.2 จุดประสงค์
2.3 ตัวอย่าง
2.4 ชุดฝึก
2.5 ภาพประกอบ
2.6 ข้อทดสอบก่อนและหลังเรียน
2.7 แบบประเมินบันทึกผลการใช้
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) กล่าวว่า ส่วนประกอบในการจัดทาแบบฝึกหัดหรือ
แบบฝึกทักษะ มีความสาคัญทุกส่วน ควรจัดทาให้ครบสมบูรณ์ตามหลักการที่กล่าวมาข้างต้นเพื่อ
11

ทาให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถพัฒนา


ตนเองได้
สรุป แบบฝึก ประกอบด้วย คู่มือการใช้แบบฝึก ชื่อชุดฝึกในแต่ละชุดย่อย จุดประสงค์
ตัวอย่าง ชุดฝึก ภาพประกอบ ข้อทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบประเมินบันทึกผลการใช้ เพื่อให้
ผู้เรียนพัฒนาตนเอง
2.3 หลักการสร้างแบบฝึกทักษะ
ซ่อนกลิ่น เรืองยังมี (2552 : อ้างอิงจาก สุจริต เพียรชอบและสายใจ อินทรัมพรรย์.
2552) กล่าวว่า หลักการสร้างแบบฝึกทักษะต้องยึดหลักทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยา ดังนี้
1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ เกี่ยวกับการฝึกหัด กล่าวว่า สิ่งใดก็ตามที่มีการฝึกหัด
หรือกระทาบ่อย ๆ ยิ่งทาให้ผู้ฝึกมีความคล่องแคล่ว และสามารถทาได้ดี ในทางตรงข้าม สิ่งใดก็
ตามที่ไม่ได้รับการฝึกหัดหรือทอดทิ้งไปนานแล้ว ย่อมจะทาให้ทาได้ไม่ดี
2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรคานึงถึงว่านักเรียนแต่ละคนมีความรู้ ความถนัด
ความสามารถ และความสนใจต่ า งกั น ฉะนั้ น ในการสร้ า งแบบฝึ ก หั ด ควรจะพิ จ ารณาถึ ง
ความเหมาะสม คือ ไม่ยากและไม่ง่ายจนเกินไป และควรมีหลายๆ แบบ
3. การจูงใจผู้เรียน โดยการจัดแบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจ
ของผู้เรียน ซึ่งจะทาให้เกิดความสาเร็จในการฝึก และช่วยยั่วยุให้ติดตามต่อไป
4. ใช้แบบฝึกสั้น ๆ เพื่อไม่ให้เกิดความเบื่อหน่าย
พจนา เบญจมาศ (2558) กล่ า ว่ า การสร้ า งแบบฝึ ก ทั ก ษะจะต้ อ งให้ ส อดคล้ อ งกั บ
บทเรียนจิตวิทยาพัฒนาการของผู้ฝึก เริ่มจากง่ายไปหายาก โดยมุ่งส่งเสริมความสามารถที่แตกต่าง
กันของนักเรียน แบบฝึกทักษะแต่ละชุดควรมีหลากหลายกิจกรรม มีคาอธิบายที่ชัดเจน ครอบคลุม
ใช้เวลาพอเหมาะไม่ซับซ้อน
อาภรณ์ แข็งฤทธิ์ (2558 ) กล่าวว่า ครูต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดย
ใช้หลักจิตวิทยา ทฤษฎีการเรียนของผู้เรียน และความหลากหลายรูปแบบ มีองค์ประกอบที่ดี มี
ลักษณะที่เร้าใจ ตรงตามเนื้อหา เหมาะสมกับวัย ความสามารถ ความสนใจและสภาพปัญหาของ
นักเรียน และท้าทายความสามารถของนักเรียน ควรเรียงจากง่ายไปหายาก มีการประเมินผล
เหมาะสมกับระดับชั้น และสนองความสนใจ ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพดี
ยิ่งขึ้น
สรุป หลักการสร้างแบบฝึกทักษะควรคานึงถึงหลักจิตวิทยาในการเรียนรู้ โดยเริ่มจาก
ง่ายไปหายาก เพื่อให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพ
2.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี
พจนา เบญจมาศ (2558) กล่าวว่า ควรเป็นแบบฝึกทักษะที่เกี่ยวกับบทเรียนที่นักเรียน
ได้เรียนมาแล้ว เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียน แบบฝึกทักษะควรกาหนดกิจกรรมที่
หลากหลายไม่ยากหรือง่ายจนเกินไป มีคาสั่ง หรือคาอธิบาย มีคาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะที่
ชัดเจนสามารถที่จะศึกษาได้ด้วยตนเองที่ต้องการ
สาลี ดวงบุบผา (2558 ) กล่าวว่า ลักษณะที่ดีของแบบฝึกเสริมทักษะ ดังนี้
1. เกี่ยวข้องกับบทเรียนที่เรียนมาแล้ว
12

2. เหมาะสมกับระดับวัยและความสามารถของผู้เรียน
3. มีคาชี้แจงสั้นๆ ที่ทาให้เข้าใจวิธีทาได้ง่าย
4. ใช้เวลาเหมาะสม คือ ไม่ใช้เวลานาน หรือเร็วเกินไป
5. เป็นสิ่งที่น่าสนใจ และท้าทาย ให้แสดงความสามารถ
สุพรรณ สิงหนุวัฒนะ (2558 ) กล่าวว่า แบบฝึกที่ดีควรมีหลายแบบหลายชนิด เพื่อ
นั ก เรี ย นจะไม่ เ กิ ด ความเบื่ อ หน่ า ย การเลื อ กใช้ คา ภาษาที่ ง่ า ยต่ อ การเข้ า ใจ เหมาะสมกั บ วั ย
การสร้ า งแบบฝึ ก ทั ก ษะให้ มี ลั ก ษณะยั่ ว ยุ ท้ า ทายความสามารถของผู้ เ รี ย น ให้ ผู้ เ รี ย นรู้ จั ก
การแก้ปัญหาและพัฒนาได้ด้วยตนเอง
สรุป แบบฝึกที่ดีควรเป็นแบบฝึกที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ
การฝึก ตอบสนองความแตกต่างและความพร้อมของผู้เรียน มี คาชี้แจงในการใช้ ใช้เวลาในการฝึก
ไม่นานเกินไป ใช้ภาษาสั้นๆ เข้าใจง่ายและต้องมีหลายรูปแบบ
2.5 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ
พจนา เบญจมาศ (2558 ) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะมีความสาคัญยิ่งต่อครูและนักเรีย น
ในด้ านตัว นั ก เรี ย นนั้ น ท าให้ นั กเรี ย นเกิด ทัก ษะ เกิด ความช านาญในการปฏิ บัติ กิจ กรรมต่า ง ๆ
มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเพิ่มขึ้น มองเห็นความก้าวหน้าของตนเอง ส่วนในด้านตัวครูทาให้
มองเห็นปัญหาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มองเห็นจุดเด่นจุดด้อยของนักเรียนเพื่อนามาส่งเสริม
หรือปรับปรุงแก้ไขต่อไป แบบฝึกทักษะที่ดีเปรียบเสมือนผู้ช่วยที่สาคัญของครูที่จะทาให้ผู้เรียนได้
พัฒนาการเรียนรู้ตามศักยภาพของตนเอง มีความมั่นใจที่จะเรียนรู้อย่างมีความสุข และประสบ
ความสาเร็จ
สาลี ดวงบุบผา (2558 ) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะช่วยทาให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนได้ดี
ยิ่งขึ้นเนื่องจากการได้ฝึกทันทีหลังจากเรียนเนื้อหาและฝึกซ้า ๆ ในเรื่องที่เรียน นอกจากนี้ยังทาให้ครู
ทราบความเข้าใจของนักเรียนและใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับกับ
นักเรียนอีกด้วย
สรุป ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ มีประโยชน์ต่อครูเพื่อทราบความเข้าใจเนื้อหาของ
นักเรียน ส่วนนักเรียนทาให้เข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้นในเรื่องที่เรียน

3. กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
การแก้ปัญหาตามกระบวนการของโพลยา นับเป็นสิ่งที่ผู้สอนและนักเรียนคุ้นเคยและถูก
ใช้มานานมากในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ซึ่งในทางปฏิบัติการดาเนินการตามกระบวนนี้ อาจทาบาง
ขั้น ตอนให้ กระชับ ขึ้น เช่น ตรวจสอบเพียงความสมเหตุส มผลในขั้นตรวจย้อนกลั บทั้งนี้ เพื่อให้
การแก้ปัญหามีความกระชับและรวดเร็วขึ้น และเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่าการแก้ปัญหาเป็นสิ่งซับซ้อน
กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์มาก เนื่องจากช่วยให้นักเรียนมีหลัก
คิด ทาให้นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบมีการวางแผนและกากับการทางานอย่างต่อเนื่อง
อัมพร ม้าคนอง (2553 : อ้างอิงจาก Polya 1957 ) กล่าวว่า ขั้นตอนหรือกระบวนการแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ไว้ 4 ขั้นตอน คือ
13

ขั้นที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา (Understanding the problem) เป็นการมองไปที่


ตัวปัญหาโดยพิจารณาว่าโจทย์ถามอะไร โจทย์กาหนดอะไรมาให้บ้าง มีสาระความรู้ใดที่เกี่ยวข้องบ้าง
มีความเพียงพอสาหรับการแก้ปัญหานั้นหรือไม่ และคาตอบของปัญหาจะอยู่ในรูปแบบใดจนกระทั่ง
สามารถสรุปปัญหาออกมาเป็นภาษาของตนเองได้ ถ้าหากยังไม่ชัดเจนในโจทย์อาจใช้วิธีการต่างๆ
ช่วย เช่น การวาดรูป เขียนแผนภูมิ หรือแยกแยะสถานการณ์โดยเขียนสาระของปัญหาด้วยถ้อยคา
ของนักเรียนเอง แล้วแบ่งเงื่อนไขในโจทย์ออกเป็นส่วนๆ ซึ่งจะทาให้เข้าใจโจทย์ปัญหามากขึ้น
ขั้นที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา (Devising a plan) เป็นขั้นตอนสาคัญที่จะต้อง
พิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้ปัญหาอย่างไร นักเรียนต้องมองเห็นความสาคัญของข้อมูล
ต่างๆ ในโจทย์ปัญหาอย่างชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นขั้นที่ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์ถามกับ
ข้ อ มู ล หรื อ สิ่ ง ที่ โ จทย์ ก าหนดให้ ถ้ า หากไม่ ส ามารถหาความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ก็ ค วรอาศั ย หลั ก การขอ ง
การวางแผนแก้ปัญหา ดังนี้ 1.โจทย์ปัญหาลักษณะนี้เคยพบมาก่อนหรือไม่และมีลักษณะคล้ายคลึ งกับ
โจทย์ปัญหาที่เคยทามาแล้วอย่างไร 2. เคยพบโจทย์ปัญหานี้เมื่อไรและใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหา
3. ถ้าอ่านในโจทย์ปัญหาครั้งแรกแล้วไม่เข้าใจควรอ่านโจทย์ปัญหาอีกครั้งแล้ววิเคราะห์ความแตกต่าง
ของปั ญหานี้ กับ ปั ญ หาที่ เคยท ามาก่ อน ดัง นั้น การวางแผนการแก้ปั ญหาที่ เคยทามาก่อ น ดัง นั้ น
การวางแผนการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามีอยู่แล้วนามากาหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
และเลือกยุทธวิธีแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 การดาเนินการตามแผน (Carrying out the plan) เป็นขั้นตอนที่ลงมือ
ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้ได้คาตอบของปัญหาด้วยการรู้จักเลือกวิธีการคิดคานวณ กฎ หรือ
สูตร ที่เหมาะสมมาใช้โดยเริ่มจากการตรวจสอบความเป็นไปได้ของแผนเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆ
ของแผนให้ชัดเจนแล้วลงมือปฏิบัติจนกระทั่งสามารถหาคาตอบได้หรือค้นพบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขั้นที่ 4 การตรวจสอบผล (Looking back) เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามองย้อนกลับไปที่
ขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่านมาเป็นการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าผลลัพธ์ที่ไดถูกต้องสมบูรณ์โดยพิจารณาและ
ตรวจดูว่าผลลัพธ์ถูกต้องและมีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่ตลอดจนกระบวนการในการแก้ปัญหา ซึ่ง
อาจจะใช้วิธีการอีกวิธีหนึ่ งตรวจสอบเพื่อดูผลลัพธ์ที่ได้ตรงกันหรือไม่ หรืออาจใช้การประมาณค่าของ
คาตอบอย่างคร่าวๆ แล้วพิจ ารณาปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาให้ กะทัดรัดชัดเจนเหมาะสมขึ้น
กว่าเดิม ขั้นตอนนี้ครอบคลุมถึงการมองไปข้างหน้าโดยใช้ประโยชน์จากวิธีการแก้ปัญหาที่ผ่านมา
ขยายแนวคิดในการแก้ปัญหาให้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม จากการที่ได้ศึกษากระบวนการแก้ปัญหาของ
โพลยา ผู้วิจัยได้สรุปกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจโจทย์ปัญหา (Understanding the problem) เป็นขั้นที่บอกได้
ว่าโจทย์ปัญหาเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไรบอกสิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสามารถบอกสิ่งที่โจทย์ถาม
ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา (Devising a plan) เป็นขั้นที่บอกได้ว่าหาคาตอบโดยวิธีการ
ใดและเขียนประเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน (Carrying out the plan) ประโยคสัญลักษณ์ที่ถูกต้อง ปฏิบัติ
ตามแผนเป็นขั้นที่แสดงวิธีทาและคานวณหาคาตอบได้
14

ขั้น ที่ 4 ตรวจสอบคาตอบ (Looking back) ตรวจสอบคาตอบเป็นขั้นที่คาตอบ


มีความสมเหตุสมผลหรือไม่ และการตรวจสอบคาตอบถูกต้องหรือไม่
สรุป การแก้ปัญหาตามกระบวนการของโพลยา นั้นคือนักเรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การเรี ย นการสอน โดยมี โ อกาสให้ นั ก เรี ย นมี ก ารคิ ด แก้ ปั ญ หาอย่ า งเป็ น ขั้ น ตอน โดยมี ก ารท า
ความเข้ า ใจปั ญ หา, วางแผนแก้ ปั ญ หา, ปฏิ บั ติ ต ามแผนและตรวจสอบผล นั ก เรี ย นเกิ ด
ความกระตือรือร้นและมีแรงจูงใจ มีการทางานร่วมกับผู้อื่นแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

4. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
4.1 ความหมายของปัญหาทางคณิตศาสตร์
ชมพูนุท วนสันเทียะ (2552 ) กล่าวว่า สถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งเป็น
ประโยคภาษา ปัญหาที่เป็นเรื่ องราว หรื อปัญหาเป็นคาพูดก็ได้ และอาจจะเกี่ยวข้องกับปริมาณ
สมบัติทางกายภาพ หรือการให้เหตุผลทางตรรกศาสตร์โดยไม่สามารถหาคาตอบได้ทันที แต่ต้อง
อาศั ย ความรู้ ประสบการณ์ กฎ นิ ยาม ทฤษฎี บท ที่ไ ด้เ รีย นรู้ มาใช้ ในการแก้ปั ญหาอย่า ง
เหมาะสม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2552 ) กล่าว่า สถานการณ์ที่
เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งนักเรียนเผชิญอยู่และต้องการค้นหาคาตอบ โดยที่ยังไม่รู้วิธีการหรือขั้นตอน
ที่จ ะได้คาตอบของสถานการณ์นั้ น ในทันที ถ้าเป็นสถานการณ์ที่นักเรียนรู้วิธีการหาคาตอบหรือรู้
คาตอบทันทีแล้ว สถานการณ์นั้นก็ไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป ปัญหาทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนคน
หนึ่งอาจไม่ใช่ปัญหาทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนอีกคนหนึ่งก็ได้ ทั้งนี้อยู่กับประสบการณ์และ
พื้นฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนแต่ละคน
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2555 ) กล่าวว่า สถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งต้อง
ใช้ความรู้และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการหาคาตอบ โดยที่ยังไม่รู้ขั้นตอนหรือวิธีการที่จะได้คาตอบ
ของสถานการณ์นั้นในทันที
สรุ ป ความหมายของปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ เป็ น สถานการณ์ ห รื อ ค าถามทาง
คณิตศาสตร์ที่ต้องการคาตอบ ซึ่งจะอยู่ในรูปปริมาณหรือจานวนที่นักเรียนไม่สามารถหาคาตอบได้
ทันที ต้องใช้ ความรู้ ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์และประสบการณ์ เข้าด้วยกันจึงจะสามารถ
หาคาตอบได้
4.2 ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2555 ) กล่าวว่า เป็นกระบวนการในการหาคาตอบของ
ปั ญ หาในทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง ผู้ แ ก้ ปั ญ หาจะต้ อ งประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ขั้ น ตอน/
กระบวนการแก้ปัญหากลยุกต์ในการแก้ปัญหาและประสบการณ์เดิมประมวลเข้ากับสถานการณ์ใหม่ที่
กาหนดให้ในปัญหานั้นๆ
15

สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโ ลยี (2555) กล่ า วว่ า เป็ น
กระบวนการในการประยุ กต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอนหรือกระบวนการแก้ปั ญหายุทธวิ ธี
แก้ปัญหา และประสบการณ์ที่มีอยู่ ไปใช้ในการค้นหาคาตอบของปัญหาทางคณิตศาสตร์กระบวนการ
เหล่านี้อาจนามาใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มากบ้างน้อยบ้าง ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของโจทย์
ปัญหาทางคณิตศาสตร์นั้นๆ จากความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่กล่าวมาข้างต้น
รอฮานี ปูตะ (2560) กล่าวว่า กระบวนการหรือวิธีการในการจัดการกับสถานการณ์
ปั ญ หา เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค าตอบของปั ญ หาคณิ ต ศาสตร์ ที่ ผู้ แ ก้ ปั ญ หาแต่ ล ะคน จะต้ อ งใช้ ทั ก ษะความรู้
ความเข้าใจ และประสบการณ์เดิมประมวลเข้ากับสถานการณ์ใหม่ที่กาหนดในปัญหา
สรุป การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง กระบวนการในการหาคาตอบของปัญหา
ทางคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง จะต้ อ งประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ กระบวนการแก้ ปั ญ หา และ
ประสบการณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในการค้นหาคาตอบ
4.3 ความหมายของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555) กล่าวว่า ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ขั้นตอน หรือกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ กลวิธีและยุทธวิธีแก้ปัญหา และประสบการณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งปัญหา
ทางคณิตศาสตร์มักเป็นปัญหาที่ผู้เรียนไม่คุ้นเคยมาก่อน และต้องใช้ความคิดที่หลากหลาย เพื่อหา
แนวทางหรื อ วิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด จากความหมายของความสามารถใน
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่กล่าวมาข้างต้น
สรุปได้ว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง วิธีการในการหา
คาตอบที่ถูกต้องของปัญหาทางคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นกระบวนการในการนาความรู้และประสบการณ์ที่
มีอยู่มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์นั้นๆ เพื่อค้นหาคาตอบของปัญหา
4.4 ความสาคัญของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2554 ) กล่าวว่า การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่มีความสาคัญที่นักเรียนจะต้องฝึกฝน พัฒนาให้ เกิดขึ้นรวมทั้ง
กลยุทธ์หรื อยุทธวิธีในการแก้ปัญหามี ห ลายวิธีซึ่งการเลื อกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาควรเลื อกให้
เหมาะสมกับปัญหา
ศศิธร แม้นสงวน (2555) กล่าวว่า การแก้ปัญหาเป็นพื้นฐานสาคัญในการแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์ ครูจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกฝนการแก้ปัญหาอย่าง
สม่าเสมอ เพื่อจะช่วยให้นักเรียนเผชิญกับสถานการณ์ของปัญหาที่แตกต่างกันออก
สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (2555) กล่ า วว่ า
การแก้ปัญหาเป็น กระบวนการที่นั กเรียนควรจะเรียนรู้และพัฒ นาให้ เกิดทักษะขึ้นในตัว นักเรียน
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จะช่วยให้นักเรียนมีแนวคิดที่หลากหลาย มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อ
และมั่นใจในการแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ ตลอดจนเป็นทักษะพื้นฐานที่นักเรียนสามารถนาติดตัวไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้ตลอดชีวิต
สรุ ป ความส าคั ญ ของการแก้ ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ไ ด้ ว่ า การแก้ ปั ญ หาทาง
คณิตศาสตร์เป็นทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่สาคัญ ที่นักเรียนควรจะเรียนรู้และพัฒนา
16

ให้เกิดทักษะขึ้นในตัวนักเรียน จะช่วยให้นักเรียนมีระเบียบขั้นตอนในการคิดมีแนวคิดที่หลากหลาย
มีเหตุผล
4.5 กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
อัมพร ม้าคนอง (2553 : อ้างอิงจาก Polya 1957) กล่าวว่า ขั้นตอนหรือกระบวนการ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไว้ 4 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา (Understanding the problem) เป็นการมองไป
ที่ตัวปัญหาโดยพิจารณาว่าโจทย์ถามอะไร โจทย์กาหนดอะไรมาให้บ้ าง มีสาระความรู้ใดที่เกี่ยวข้อง
บ้ าง มีความเพี ย งพอส าหรั บ การแก้ปัญ หานั้น หรือ ไม่ และค าตอบของปัญหาจะอยู่ในรูปแบบใด
จนกระทั่งสามารถสรุปปัญหาออกมาเป็นภาษาของตนเองได้ ถ้าหากยังไม่ชัดเจนในโจทย์อาจใช้วิธีการ
ต่างๆ ช่วย เช่น การวาดรูป เขียนแผนภูมิ หรือแยกแยะสถานการณ์ โดยเขียนสาระของปัญหาด้วย
ถ้อยคาของนักเรียนเอง แล้วแบ่งเงื่อนไขในโจทย์ออกเป็นส่วนๆซึ่งจะทาให้เข้าใจโจทย์ปัญหามากขึ้น
ขั้นที่ 2 การวางแผนการแก้ปัญหา (Devising a plan) เป็นขั้นตอนสาคัญที่จะต้อง
พิจารณาว่าจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด จะแก้ปัญหาอย่างไร นักเรียนต้องมองเห็นความสาคัญของข้อมูล
ต่างๆ ในโจทย์ปัญหาอย่างชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเป็นขั้นที่ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่โจทย์ถามกับ
ข้ อ มู ล หรื อ สิ่ ง ที่ โ จทย์ ก าหนดให้ ถ้ า หากไม่ ส ามารถหาความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ก็ ค วรอาศั ย หลั ก การของ
การวางแผนแก้ปัญหา ดังนี้ 1. โจทย์ปัญหาลักษณะนี้เคยพบมาก่อนหรือไม่และมีลักษณะคล้ายคลึง
กับโจทย์ปัญหาที่เคยทามาแล้วอย่างไร 2. เคยพบโจทย์ปัญหานี้เมื่อไรและใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหา
3. ถ้าอ่านในโจทย์ปัญหาครั้งแรกแล้วไม่เข้าใจควรอ่านโจทย์ปัญหาอีกครั้งแล้ววิเคราะห์ความแตกต่าง
ของปั ญหานี้ กับ ปั ญ หาที่ เคยท ามาก่ อน ดัง นั้น การวางแผนการแก้ปั ญหาที่ เคยทามาก่อ น ดัง นั้ น
การวางแผนการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามีอยู่แล้วนามากาหนดแนวทางในการแก้ปัญหา
และเลือกยุทธวิธีแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 การดาเนินการตามแผน (Carrying out the plan) เป็นขั้นตอนที่ลงมือปฏิบัติการ
ตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้ได้คาตอบของปัญหาด้วยการรู้จักเลือกวิธีการคิดคานวณ กฎ หรือสูตร ที่
เหมาะสมมาใช้โดยเริ่มจากการตรวจสอบความเป็นไปได้ของแผนเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆ ของแผน
ให้ชัดเจนแล้วลงมือปฏิบัติจนกระทั่งสามารถหาคาตอบได้หรือค้นพบวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ขั้นที่ 4 การตรวจสอบผล (Looking back) เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามองย้อนกลับไป
ที่ขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่านมาเป็นการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าผลลัพธ์ที่ได้ ถูกต้องสมบูรณ์ โดยพิจารณา
และตรวจดูว่าผลลัพธ์ถูกต้องและมีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่ ตลอดจนกระบวนการในการแก้ปัญหา
ซึ่งอาจจะใช้วิธีการอีกวิธีหนึ่งตรวจสอบเพื่อดูผลลัพธ์ที่ได้ตรงกันหรือไม่หรืออาจใช้การประมาณค่า
ของคาตอบอย่างคร่าวๆ แล้วพิจารณาปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาให้กะทัดรัดชัดเจนเหมาะสมขึ้น
กว่าเดิม ขั้นตอนนี้ครอบคลุมถึงการมองไปข้างหน้าโดยใช้ประโยชน์จากวิธี การแก้ปัญหาที่ผ่านมา
ขยายแนวคิดในการแก้ปัญหาให้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม จากการที่ได้ศึกษากระบวนการแก้ปัญหาของ
โพลยา ผู้วิจัยได้สรุปกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาได้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ทาความเข้าใจโจทย์ปัญหา (Understanding the problem) เป็นขั้นที่
บอกได้ว่าโจทย์ปัญหาเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไรบอกสิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสามารถบอกสิ่งที่โจทย์
ถาม
17

ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา (Devising a plan) เป็นขั้นที่บอกได้ว่าหาคาตอบโดยวิธีการ


ใดและเขียนประเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้อย่างถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ปฏิบัติตามแผน (Carrying out the plan) ประโยคสัญลักษณ์ที่ถูกต้อง
ปฏิบัติตามแผนเป็นขั้นที่แสดงวิธีทาและคานวณหาคาตอบได้
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคาตอบ (Looking back) ตรวจสอบคาตอบเป็นขั้นที่คาตอบ
มีความสมเหตุสมผลหรือไม่และการตรวจสอบคาตอบถูกต้องหรือไม่
ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี (2542) กล่าวว่า ขั้นตอนในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
ดังนี้
ขั้ น ที่ 1 วิ เ คราะห์ ปั ญ หา ท าความเข้ า ใจปั ญ หา โดยอาศั ย ทั ก ษะการแปล
ความหมาย การวิเคราะห์ข้อมูล โจทย์ ถามอะไรและให้ข้อมูลอะไรมาบ้าง จาแนกสิ่ งที่เกี่ยวกับ
ปัญหาและสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหาให้แยกแยะออกจากกัน
ขั้นที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา จะสมมติสัญลักษณ์อย่างไร จะต้องหาว่าข้อมูล
เกี่ย วกัน สั มพัน ธ์กัน อย่ างไร สิ่ งที่ไม่รู้เกี่ย วข้องกับสิ่ งที่รู้แล้ ว อย่ างไร หาวิธี การแก้ ปัญหาโดยมี
กฎเกณฑ์หลักการ
สรุ ป กระบวนการแก้ปั ญ หาของโพลยา สามารถสรุป กระบวนการและขั้ นตอน
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นทาความเข้าใจปัญหา ในขั้นนี้นักเรียน
สามารถบอกได้ว่าปัญหาถามอะไร กาหนดอะไรให้ บ้าง คาตอบจะอยู่ในรูปแบบใด 2. ขั้นวางแผน
การแก้ปัญหา เป็นขั้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆ ทั้งที่เป็นสิ่งที่กาหนดให้ และตัวไม่รู้ค่า เพื่อ
กาหนดแนวทางหรือแผนในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 3. ขั้นปฏิบัติตามแผน เป็นขั้นลงมือปฏิบัติตาม
แนวทางหรือแผนที่ได้วางไว้ นาวิ ธีการแก้ปัญหาไปใช้ให้เหมาะสมและแสดงการแก้ปัญหาเป็นลาดับ
ขั้นตอน จนกระทั่งสามารถหาคาตอบได้ถูกต้อง 4. ขั้นตรวจสอบผล เป็นขั้นการตรวจสอบเพื่อให้
แน่ใจว่าได้คาตอบที่ถูกต้องสมบูรณ์
4.6 เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555 ) กล่าว่า ได้เสนอเกณฑ์
การประเมินผลการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการตรวจสอบการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของ
ผู้เรียนในแต่ละประเด็นย่อยเป็น 3 ระดับ คือ 1,2 และ 3 ดังตารางที่ 2
18

ตารางที่ 2 เกณฑ์การประเมินผลแบบย่อยของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของสถาบันส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา


1. ความเข้าใจปัญหา 3 (ดี) - เข้าใจปัญหาได้ถูกต้อง
2 (พอใช้) -เข้าใจปัญหาบางส่วนไม่ถูกต้อง
1 (ต้องปรับปรุง) -เข้าใจปัญหาน้อยมากหรือไม่เข้าใจปัญหา
2. การเลือกยุทธวิธีการ 3 (ดี) -เลื อ กวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หา ได้ เ หมาะสมและ
แก้ปัญหา เขียนประโยคคณิตศาสตร์ได้ถูกต้อง
2 ( พอใช้) -เลื อ กวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หา ซึ่ ง อาจน าไปสู่
คาตอบที่ถูกต้อง แต่ยังมีบางส่วนผิดโดยอาจ
เขียนประโยค คณิตศาสตร์ไม่ถูกต้อง
1 (ต้องปรับปรุง) - เลือกวิธีแก้ปัญหาส่วนใหญ่ไม่ถูกต้อง
3. การใช้วิธีการแก้ปัญหา 3 (ดี) -น าวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาไปใช้ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งและ
แสดงการแก้ ปั ญ หาเป็ น ล าดั บ ขั้ น ตอนได้
อย่างชัดเจน
2 ( พอใช้) -น าวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาไปใช้ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งเป็ น
บางครั้ง
1 (ต้องปรับปรุง) -นาวิธีการแก้ปัญหาไปใช้ได้ไม่ถูกต้อง
4. การสรุปคาตอบ 3 (ดี) -สรุปคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์
2 ( พอใช้) -สรุปคาตอบที่ไม่สมบูรณ์หรือใช้สัญลักษณ์
ไม่ถูกต้อง
1 (ต้องปรับปรุง) -ไม่มีการสรุปคาตอบ

5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
5.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2555) กล่ าวว่า เป็นความสามารถทางสติปั ญญาใน
การเรี ย นรู้ วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง จ าแนกตามพฤติ ก รรม ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นที่ พึ ง ประสงค์
ด้านสติปัญญาในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
1. ความรู้ ความจ า และการคิ ด ค านวณ ( Computation) เป็ น ระดั บ ที่ วั ด
ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนผ่านไปแล้ว เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ศัพท์ นิยาม ตลอดจน
การบวก การคิดคานวณอย่างง่ายๆ พฤติกรรมระดับนี้แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ได้แก่
19

1.1 ความรู้ความจาเกี่ยวกับข้อเท็จจริง หมายถึง ความรู้ความจาเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาใน


ลักษณะเดียวกับที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอนมาแล้ว
1.2 ความรู้ความจาเกี่ยวกับศัพท์และนิยาม เป็นการถามเพื่อให้ผู้เรียนบอกความหมาย
ของศัพท์และนิยามที่เคยเรียนมาแล้วโดยไม่ต้องอาศัยการคิดคานวณแต่อย่างไร
1.3 ความรู้ความจาเกี่ยวกับการใช้กระบวนการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถใน
การดาเนินการตามกระบวนการคิดคานวณตามที่เคยเรียนมาแล้ว
2. ความเข้าใจเป็นระดับที่วัดความสามารถในการนาความรู้หรือเรียนมาแล้วมาสัมพันธ์กับ
โจทย์หรือปัญหาใหม่ ตลอดจนสามารถอธิบาย ยกตัวอย่างจาแนก แปลความ ตีความ สรุปความ หรือ
ขยายความได้ พฤติกรรมระดับนี้แบ่งออกเป็น 6 ขั้น ได้แก่
2.1 ความเข้าใจเกี่ยวกับมโนทัศน์ หมายถึง ความสามารถในการสรุปความหมายของสิ่ง
ที่ ได้ เรี ยนมาตามความเข้ าใจของตนเอง รู้ จั กน าของเท็ จจริ งของเนื้ อหาที่ ได้ เรี ยนรู้ ไปแล้ วมา สรุ ป
ความหมายของสิ่งนั้นอีกครั้งหนึ่งด้วยตัวเอง
2.2 ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การ กฎ และการท าให้ เ ป็ น กรณี ทั่ ว ไป หมายถึ ง
ความสามารถในการสรุปหรือบอกความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์กับตัวปัญหา ซึ่งผู้เรียนควรจะรู้หลังจาก
เรียนจบเรื่องนั้นแล้ว
2.3 ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถใน การสรุป
ศัพท์และนิยามทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ หรือการหาค่าสัญลักษณ์โดย
อาศัยโครงสร้างทางคณิตศาสตร์
2.4 ความเข้ าใจในการแปลงส่ วนประกอบของปั ญหาจากแบบหนึ่ งไปอี กแบบหนึ่ ง
หมายถึง ความสามารถในการแปลงข้อความให้เป็นสัญลักษณ์หรือสมการ โดยไม่ได้รวมถึงการคานวณหา
คาตอบของสมการนั้น
2.5 ความเข้ า ใจในการด าเนิ น ตามเหตุ ผ ล หมายถึ ง ความสามารถในการชี้ บ่ ง
ความสมเหตุสมผลของข้อความ บทความ หรือผลงานทางคณิตศาสตร์
2.6 ความเข้าใจในการอ่านและตีความโจทย์ปัญหา หมายถึง ความสามารถในการอ่าน
และตีความจากโจทย์ว่าโจทย์กาหนดอะไรบ้างและต้องการถามเรื่องอะไร รวมทั้งการแปลกความหมายจาก
กราฟหรือข้อมูลทางสถิติ ตลอดจนการแปลสมการหรือตัวเลขให้เป็นรูปภาพ
3. การนาไปใช้ (Application) เป็นระดับที่วัดความสามารถในการนาความรู้ กฎ หลักการ
ข้อเท็จจริง หรือทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาแล้วไปแก้ปัญหาใหม่ให้เป็นผลสาเร็จ ทั้งนี้ โจทย์ปัญหาที่ใช้วัด
ในระดับนี้ต้องไม่ใช่โจทย์เดิมที่ผู้เรียนเคยฝึกทามาแล้วพฤติกรรมระดับนี้แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ได้แก่
3.1 ความสามารถในการแก้ปัญหาธรรมดา หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหา
ที่คล้ายกับปัญหาที่เคยเรียนมาแล้วในห้องเรียน
3.2 ความสามารถในการเปรียบเทียบ หมายถึง ความสามรถของผู้เรียนในการนึกถึง
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกัน เช่น มโนทัศน์ กฎ ของข้อมูล 2 ชุด เพื่อค้นพบความสัมพันธ์เปรียบเทียบ
และนามาสรุปเพื่อตัดสินใจ
20

3.3 ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะ


จาแนกส่วนประกอบย่อยของปัญหาหรือสิ่งที่โจทย์กาหนดว่ามีความจาเป็นหรือไม่ ในการแก้ปัญหา
โจทย์นั้น
3.4 ความสามารถในการมองเห็ น รู ป แบบ ลั ก ษณะโครงสร้ า งที่ เ หมื อ นกั น และ
การสมมาตร หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการหาสิ่งที่คุ้นเคยกับข้อมูลที่กาหนดให้หรือจาก
ปัญหาที่กาหนดให้
4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นระดับที่วัดความสามารถในการแก้ปัญหาที่แปลกกว่า
ธรรมดา มี ลั ก ษณะซั บ ซ้ อ น หรื อ โจทย์ ปั ญ หาที่ ไ ม่ คุ่ น เคยกั บ ที่ รู้ ม าก่ อ น แต่ ต้ อ งอยู่ ใ นขอบข่ า ย
เนื้อหาวิชาที่เคยเรียนมา พฤติกรรมระดับนี้แบ่งออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่
4.1 ความสามารถในการแก้ปัญหาที่แปลกกว่าธรรมดา หมายถึง ความสามารถใน
การถ่ายทอดความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่ได้เรียนรู้มาแล้วไปสู่การแก้ปัญหา ซึ่งการแก้ปัญหาลักษณะนี้
ส่วนมากไม่สามารถคิดคานวณโดยตรงได้
4.2 ความสามารถในการค้นพบความสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการค้นพบ
ความสัมพันธ์ใหม่หรือนาสัญลักษณ์จากสิ่งที่กาหนดให้มาสร้างสูตรใหม่ด้วยตนเองหรือเพื่อนามาใช้
ประโยชน์ในการหาคาตอบ
4.3 ความสามารถในการแสดงการพิสูจน์ หมายถึง ความสามารถในการพิสู จน์ด้วย
ตนเองโดยอาศัยทฤษฎีหรือบทนิยมต่างๆ เข้ามาช่วยในการพิสูจน์
4.4 ความสามารถในการวิ พากษ์วิจ ารณ์ หมายถึง ความสามารถในการใช้เหตุผ ล
เพื่อวิพากษ์วิจารณ์การพิสูจน์นั้นถูกต้องหรือไม่ มีขั้นตอนใดผิดพลาดบ้าง
4.5 ความสามารถในการสร้างและแสดงความสมเหตุสมผลของการทาให้เป็นกรณี
ทั่วไป หมายถึง ความสามารถในการค้นพบความสัมพันธ์และการเขียนพิสูจน์ความสัมพันธ์ที่ค้นพบ
จนสามารถสรุปเป็นกรณีทั่วไปไปได้
สรุป ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ ความสามารถทางสติปัญญา
ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพื่อให้เกิดเป็นผลสาเร็จ
5.2 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ไพศาล วรคา (2558) กล่าวว่า เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ (Knowledge) และ
ทักษะ (Skill)
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) กล่าว่า แบบทดสอบที่นามาใช้วัดปริ มาณความรู้
ความสามารถ ทักษะเกี่ยวกับวิชาการที่นักเรียนได้เรียนรู้มาจากการสั่งสอนของครูว่าได้รับรู้ มามาก
น้อยเพียงไร เป็นเครื่องมือของครูที่ใช้สาหรับวัดความสามารถของนักเรียนเอง
ปาฮามี อาแว (2559) กล่ าวว่า เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ และทักษะของ
นักเรียนในเรื่องที่นักเรียนได้เรียนไปแล้ว
สรุป ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบบทดสอบที่ใช้
วัดความรู้ในเนื้อหานั้นๆ ที่ได้เรียนมา
21

5.3 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ไพศาล วรคา (2558 ) กล่าวว่า ข้อสอบแบบเลือกตอบว่า เป็นข้อสอบที่จัดเตรียม
คาตอบไว้ให้ผู้ตอบเลือก ดังนั้นรูปแบบของแบบทดสอบจึงจึงประกอบด้วยข้อคาถาม (stem) และ
ตัวเลือก (choices) ซึ่งประกอบด้วยตัวถูก ( Correct choices) และตัวลวง (distracters)
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) กล่าว่า แบบวัดผลวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้น
แบ่งได้หลายลั กษณะตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่งแตกต่างกันออกไป แต่หากพิจารณาถึงรูปแบบการสร้าง
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเพื่อใช้เองและแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ
ปาฮามี อาแว (2559) กล่าวว่า ข้อสอบแบบเลื อกตอบเป็นข้อสอบที่มี 2 ส่วนที่
สาคัญ คือ ข้อคาถาม และตัวเลือก ในส่วนของ ตัวเลือกมีสองส่วน คือ ตัวเลือกที่ถูก และตัวเลือกที่
ผิดหรือเรียกว่าตัวลวง
สรุป ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบ่งเป็น 2 ประเภท
คือแบบที่ครูผู้สอนสร้างเอง และแบบมาตรฐานโดยผู้เชี่ยวชาญ
5.4 องค์ประกอบที่ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
Prescott (1961) กล่ า วว่ า ได้ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การเรี ย นของนั ก เรี ย น และสรุ ป ผล
การศึกษาว่าองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนทั้งในและนอกห้องเรียน
ดังนี้
1. องค์ประกอบทางด้านร่างกาย ได้แก่ อัตราการเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพ
ทางด้านทางร่างกาย ข้อบกพร่องทางกาย และบุคลิกท่าทาง
2. องค์ประกอบทางความรัก ได้แก่ ความสัมพันธ์ของบิดามารดากับลูก ความสัมพันธ์
ระหว่างลูกๆ ด้วยกัน และความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกทั้งหมดในครอบครัว
3. องค์ประกอบทางวัฒนธรรมและสังคม ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเป็น
เป็นอยู่ของครอบครัว สภาพแวดล้อมทางบ้าน การอบรมทางบ้าน และฐานะทางบ้าน
4. องค์ประกอบทางความสัมพันธ์ในเพื่อนวัยเดียวกัน ได้แก่ ความสัมพันธ์ของนักเรียน
กับเพื่อนวัยเดียวกันทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
5. องค์ประกอบทางพัฒนาแห่งตน ได้แก่ สติปัญญา ความสนใจ เจตคติของนักเรียน
ต่อการเรียน
6. องค์ประกอบทางการปรับตน ได้แก่ ปัญหาการปรับตน การแสดงออกทางอารมณ์
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) กล่าวว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนนั้ น ประกอบด้ว ย ลักษณะของตัว นักเรียนเอง ได้แก่ ความพร้อมทางด้านสมอง
ความรู้ ความคิด ความพร้อมทางด้านสติปัญญา ความพร้อมทางด้านร่างกาย สุขภาพ ความสนใจ
ทัศนติ การยอมรับความสามารถของตนเอง ลักษณะบุคลิกภาพ แรงจูงใจ ค่านิยม อายุ เพศ
ประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนของครู การได้รับคาแนะนา การเสริมแรงจากครู วิธีการ
ที่ครูนามาสอน การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนระหว่างครูกับนักเรียน ตลอดไปถึงองค์ประกอบ
ทางด้านสั งคม สิ่งแวดล้อมที่มีปฏิสัมพันธ์กับตัว เด็ก เช่น บ้าน ครอบครัว เพื่อน อิทธิพลทาง
ศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น
22

สรุ ป องค์ ป ระกอบที่ ส่ งผลต่ อ สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ มี ห ลายด้ า น ได้ แ ก่
นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ระบบบริหารการจัดการ พื้นฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์ และการสอนของครู
เป็นต้น
5.5 ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ศศิธร แม้นสงวน (2555) กล่าว่า ได้สรุปขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบคณิตศาสตร์ไว้
ดังนี้
1. วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
2. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมเป็นผลการเรียนรู้ที่ครูกาหนดและ
คาดหวังจะให้เกิดขึ้นกับนักเรียน โดยครูจะกาหนดไว้ล่วงหน้าสาหรับเป็นแนวทางในการจัดการเรียน
การสอน และการสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์
3. กาหนดชนิดของข้อสอบ
4. เขียนข้อสอบ
5. ตรวจทาน
6. จัดพิมพ์แบบทดสอบ
7. ทดลองสอบเพื่อนาผลมาวิเคราะห์ข้อสอบ
8. แก้ไขปรับปรุงแล้วได้แบบทดสอบฉบับจริง
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2555) กล่าวว่า ได้สรุปขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบ
คณิตศาสตร์ไว้ ดังนี้
ขั้น ที่ 1 ศึกษาหลั กสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หรื อ
หลักสูตรสถานศึกษา แล้ววิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และเนื้อหาวิชา
คณิตศาสตร์ที่ต้องการวัด
ขั้นที่ 2 จากข้อมูลในขั้นที่ 1 วิเคราะห์จุดประสงค์ การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิ ดแก่
ผู้เรียนในแต่ละเนื้อหา
ขั้น ที่ 3 วิเคราะห์ ระดับ พฤติก รรมที่ ต้อ งการวัด คือพฤติกรรมระดั บความรู้ห รื อ
ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ และการวิเคราะห์ จากนั้นสร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบจาแนกตาม
พฤติกรรมที่ต้องการวัดในแต่ละเนื้อหา
ขั้น ที่ 4 จากข้อมูลในขั้นที่ 2 และ 3 นามาวิเคราะห์พฤติกรรมที่ต้องการวัดและ
จุดประสงค์การเรียนรู้ที่สร้างขึ้นในขั้นที่ 4
สรุ ป ในงานวิ จั ย นี้ มี ขั้ น ตอนการสร้ า งแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น
คณิ ต ศาสตร์ ดั ง นี้ ศึ ก ษาหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 วิ เ คราะห์
มาตรฐานการเรีย นรู้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และเนื้อหา วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ วิเคราะห์
พฤติกรรมในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ สร้างข้อสอบพฤติกรรมและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สร้าง
ขึ้น ผู้วิจัยได้สร้างข้อสอบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง เป็นแบบปรนัย
4 ตัวเลือก จานวน 45 ข้อ คัดเลือกไว้ 30 ข้อ
23

6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
ประโรม กุ่ ย สาคร (2547) ได้ ศึ ก ษาการพั ฒ นาแบบฝึ ก เสริ ม ทั ก ษะ เรื่ อ ง การคู ณ
การหาร โดยการบู ร ณาการภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 พบว่ า
ผลการเรียนรู้ทางการเรียน เรื่อง การคูณ การหาร โดยการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ก่อนและหลัง
ใช้แบบฝึกแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยหลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะนักเรียน
มีค ะแนนสู ง กว่ าก่ อ นใช้ นั ก เรี ย นเห็ น ด้ ว ยต่ อ การใช้ แ บบฝึ ก ในระดั บ มาก โดยมีค วามคิ ด เห็ น ว่ า
การเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องการคูณ การหารโดยการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็น
การเรียนที่น่าสนใจ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนมากยิ่งขึ้น ทาให้นักเรียนเข้าใจเรื่องที่เรียน
อย่างชัดเจน แต่ควรมีปรับในเรื่องระยะเวลาให้มีความยืดหยุ่นโดยจัดกิจกรรมให้มีความเหมาะสมกับ
ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน
สถาพร ศรีสุนทร (2547) ได้ศึกษาการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก
ลบ คูณ หารเศษส่วนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนที่สอนโดยใช้แบบฝึก
เสริมทักษะแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้
แบบฝึกเสริมทักษะของ สสวท. อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ปานจิต วัชระรังสี (2548) ได้ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
ของนักเรียนชั้ นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์
ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา พบว่า 1) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์
ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ทิพ ย์ว รรณ เตมีย กุล (2550) ได้ศึก ษาการพัฒ นาชุด การเรีย นโจทย์ปัญ หาจาก
ชีวิต ประจ าวัน กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ค ณิต ศาสตร์ ชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 5 พบว่า ชุด การเรีย น
โจทย์ปัญหาจากชีวิตประจาวัน มีป ระสิทธิภ าพ 91.18/86.45 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนด
ผลสัมฤทธิ์ท างการเรีย นโดยใช้ชุด การเรีย นสูง กว่า นักเรียนที่เ รีย นโดยวิธีป กติ อย่า งมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ร ะดับ .01 และนัก เรีย นที่เ รีย นโดยใช้ช ุด การเรีย นโจทย์ปัญ หาจากชีวิต ประจาวัน
มีความพึงพอใจในการเรียนทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับดีมาก
นวภัทร ศรีชูทอง (2550) ได้ศึกษาผลของการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และ
การใช้แผนภาพเป็นสื่อที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์และความพึงพอใจต่อ
การเรีย นคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบ าลป่าบอน จังหวัดพัทลุ ง
พบว่า (1) ความสามารถในการแก้ โ จทย์ปั ญ หาคณิต ศาสตร์ ข องนั กเรีย นชั้น ประถมศึ กษาปีที่ 4
หลังการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ศิรินุช รัตนประสบ (2550) ได้ศึกษาการสร้างชุดการสอน เรื่ องการแก้โจทย์ปัญหา
การบวก ลบ คูณ หาร ระคน ตามขั้นตอนของโพลยา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า
ชุดการสอน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร ระคน ตามขั้นตอนของโพลยา สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.33/86.66 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ที่ตั้งไว้
24

อารมณ์ จั นทร์ลาม (2550) ได้ศึกษาผลของการสอนแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วยโดยใช้


กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า
1) ความสามารถของนักเรียนในการแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนโดยใช้ กระบวนการการแก้ปัญหาของโพล
ยา หลังจากเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีนักเรียนที่มีผลการสอบ
หลั ง ผ่ า นเกณฑ์ 60% คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 90.20 2) ความสามารถของนั ก เรี ย นในการแก้ ปั ญ หาใน
สถานการณ์ที่กาหนดหลังการเรียนโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นั ย ส าคัญทางสถิติที่ ร ะดั บ .01 3) ความพึงพอใจของนั กเรียนต่อการเรี ยนโจทย์ ปัญหาส่ ว นหลั ง
การเรียนโดยใช้กระบวนการแก้โจทย์ของโพลยาอยู่ในระดับดีมาก
กันต์กนิษฐ์ พลพิพัฒน์ (2560) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้โจทย์
ปัญหาคณิตสาสตร์ของนักเรียนโดยใช้กลวิธี STAR พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแก้
โจทย์ปัญหาคณิตสาสตร์ โดยใช้กลวิธี STAR สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธี STAR หลัง
การจัดการเรีย นรู้ สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ทักษะ
การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้กลวิธี STAR
หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
6.2 งานวิจัยต่างประเทศ
Siemen (1986) ได้ศึกษาผลของการทาแบบฝึกหัดวิชาเรขาคณิตที่มีการทาแบบฝึกหัด
ในเวลาเรียนกับนอกเวลาเรียน โดยศึกษาจากนัก เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 4 ห้องเรียน
ในรัฐอิลลินอย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 1985 โดยแบ่งเป็น 2 ห้องเรียน ให้ทาแบบฝึกหัด
เรขาคณิต นอกเวลาเรี ย นและกลุ่ มควบคุม 2 ห้ องเรียน ทาแบบฝึ กหั ดเรขาคณิตในเวลาเรีย น
ทาการลอง 9 เดือน พบว่า ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกัน
Loring (2003) ได้ศึกษาปัญหาการแก้ปัญหาพีชคณิตจากโจทย์ที่กาหนดให้ เพื่อส่งเสริม
การเรียนทักษะการแก้ปัญหาต่อไป และลดภาระทางการท่องความรู้ของนักเรียน ที่เรียนวิชาพีชคณิต
การวั ด ทั ก ษะการแก้ ปั ญ หา การวั ด เกี่ ย วกั บ ข้ อ ท าผิ ด ส่ ว นการวั ด การท่ อ งความรู้ ในการวั ด
ความพยายามในการใช้ส ติปั ญญาทาการทดสอบก่อ นการทดสอบกั บนักเรี ยน จ านวน 63 คน
ซึ่ง ได้ รั บ การบ้ า นเกี่ย วกั บ ตั ว อย่ า งที่ ท ามาแล้ ว หรื อ การแก้ ปั ญ หาเป็ น กลุ่ ม แล้ ว ให้ ทาการสอบ
แบบทดสอบหลังการทดสอบ พบว่า 1) นักเรียนที่ศึกษาตัวอย่างการแก้ปัญหามาแล้ว มีข้อที่ทาผิด
น้อยลงและลดการท่องจาความรู้ล ง 2) ข้อที่ทาผิดน้อยลงหรือการท่องความรู้ที่ลดลงยังคงอยู่ ใน
ระดับการมีทักษะต่า และ 3) เฉพาะการลดการท่องความรู้ที่ลดลงบางส่วนอยู่ในระดับสูง ดังนั้น
ควรให้ตัวอย่างโจทย์การแก้ปัญหากับนักศึกษา เพื่อทาให้นักศึกษามีระดับพัฒนาการกับสติปัญญา
ทาให้มีทักษะในการแก้ปัญหา อยู่ในระดับปานกลาง
Curtis (2006) ได้ศึกษาผลการเรียนวิชาคณิ ตศาสตร์โดยใช้นวัตกรรมในการสอนกลุ่ม
ตัว อย่ า งในการศึ กษาครั้ ง นี้ ได้ แก่ นั กเรี ยนในโรงเรียนที่เ รีย นวิ ช าพี ช คณิต เป็ นวิช าพื้ นฐานของ
ครุศาสตร์ จากแบบรายงานในระดับประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอนเป็นรูปแบบ K-12 ใน
ชุมชนที่มีความจาเป็ นก่อน โดยกลุ่ มหนึ่งจะถูกสอนให้ค้นหาความรู้ด้ว ยตนเองในการเรียนวิช า
คณิตศาสตร์ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งให้นักเรียนโดยใช้วิธีสอนแบบปกติ เมื่อสอบถามนักเรียนในเรื่องเจตคติ
25

ที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ พบว่า นักเรียนที่ใช้วิธีการเรียนแบบปกติจะมีความวิตกกังวล ขาดแรงจูงใจใน


การเรี ย นมากกว่านั ก เรี ย นที่ เรี ย นโดยการค้นหาความรู้ ด้ว ยตนเอง และเมื่ อจบภาคเรียนจะแบ่ ง
นักเรียนออกเป็นสองกลุ่ม โดยมีเกณฑ์การแบ่งจากการดูระดับผลการเรียนและพฤติกรรมการเรียน
วิช าคณิตศาสตร์ ปรากฏว่านั กเรี ยนที่เรียนด้ว ยการค้นหาความรู้ด้ว ยตนเองจะมีผ ลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนที่สูงกว่า และมีความสนุกสนานในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์มากกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธี
ปกติ
จากงานวิจัยสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกาลัง รวมถึงการสอนโดยใช้แบบ
ฝึกทักษะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา ประกอบแผน
จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
26

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

แบบฝึกทักษะ เรื่อง เลขยกกาลัง 1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลข
ยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3) ความพึงพอใจของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึก
ทักษะ เรื่อง เลขยกกาลัง

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
27

บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีลาดับขั้นตอน ดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือในการวิจัยและวิธีการสร้างเครื่องมือในการวิจัย
3. วิธีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 11 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 337 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 /11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2561 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส จานวน 31 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบ
กลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้หน่วยการสุ่มเป็นห้องเรียน

2. เครื่องมือในการวิจัยและวิธีการสร้างเครื่องมือในการวิจัย
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
2.1.1 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 5 แผน เวลา 16 ชั่วโมง
2.1.2 แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบ่งเป็น
5 ชุด
2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
2.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
2.2.2 แบบทดสอบก่ อ นเรี ย นหลั ง เรี ย นของแบบฝึ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบ่งเป็น 5 ชุด
2.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนวิช าคณิตศาสตร์โ ดยใช้แบบฝึ ก
ทักษะ เรื่อง เลขยกกาลัง เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มีคาถามรวม 10
ข้อ
วิธีการสร้างเครื่องมือในการวิจัย
2.3 แบบทดสอบวั ดผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนวิช าคณิ ตศาสตร์ เรื่อ ง เลขยกกาลั ง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
28

การสร้ า งและหาคุ ณ ภาพของแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์


เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ซึ่งผู้รายงานได้
ดาเนินการสร้างตามขั้นตอนดังนี้
2.3.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คู่มือการวัดผลและการประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ท ธศั ก ราช2551ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.)
2.3.2 ศึกษาวิธีการสร้างข้อสอบและวิเคราะห์เนื้อหา การพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ย นและศึ ก ษาการสร้ า งแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นแบบอิ ง กลุ่ ม
(บุญชม ศรีสะอาด. 2554)
2.3.3 วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ศึกษาเนื้อหา
ศึกษาคู่มือรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้น พื้น ฐาน พุทธศักราช 2551ของสถาบันส่ งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วิ เ คราะห์ จ านวนข้ อ สอบตามสาระการเรี ย นรู้ แ ละจุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ เรื่ อ งเลขยกก าลั ง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นรายจุดประสงค์การเรียนรู้
2.3.4 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 45 ข้อ เพื่อเลือกไว้ใช้จริง
จานวน 30 ข้อ
2.3.5 นาแบบทดสอบที่สร้างเสร็จเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน เพื่อประเมิน
ความสอดคล้ อ งระหว่ า งข้ อ สอบแต่ ล ะข้ อ กั บ จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ แ ละน าผลการประเมิ น ของ
ผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ดัชนีสอดคล้องโดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์
การเรียนรู้ (IOC : Index of Item-Objective Congruence) (ประภาพรรณ เส็งวงศ์. 2551)
กาหนดเกณฑ์การประเมินที่ใช้ได้ เมื่อข้อสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 - 1.00 โดยกาหนด
เกณฑ์ประเมินดังนี้
ให้คะแนน + 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ให้คะแนน – 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ผลการวิเคราะห์ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อสอบตั้งแต่ 0.60 - 1.00 (ภาคผนวก ค)
2.3.6 นาข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ทั้ง 45 ข้ อ ที่ ผ่ า น
การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญไปทดสอบกับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนนราธิวาส
อาเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จานวน 32 คน ซึ่งผ่านการเรียนเรื่องเลขยกกาลัง แล้วใน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อหาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ
2.3.7 วิเคราะห์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นรายข้อ โดยผู้รายงานนา
กระดาษคาตอบที่ได้จากข้อ 2.3.6 มาตรวจให้คะแนน โดยตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบ
หรือตอบเกิ น 1 คาตอบให้ 0 คะแนน แล้วนาคะแนนมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจ
จาแนกของข้อสอบ ได้ค่า 0.76 (ภาคผนวก ค)
29

2.3.8 หาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนกของข้อสอบแต่ ละข้อ ซึ่ ง เกณฑ์ ของ


ข้อสอบที่ใช้ได้มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.20 - 0.80 และค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป
จากการวิเคราะห์ผลการทดสอบได้คัดเลือกข้อสอบไว้ จานวน 30 ข้อ ซึ่งครอบคลุมทุกเนื้อหาและ
ทุกจุดประสงค์การเรียนรู้แล้วจัดพิมพ์ฉบับใหม่ (ภาคผนวก ค)
2.3.9 นาข้อสอบที่คัดเลือกไว้ในข้อที่ 4.1.8 ไปทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของ
แบบทดสอบทั้งฉบับ โดยทดสอบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมือง
นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จานวน 30 คน ซึ่งผ่านการเรียนเรื่องเลขยกกาลังมาแล้วในชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 และนาคะแนนจากการสอบมาหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับโดยใช้สูตร KR - 20
ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson) (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) และนาแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษาต่อไป
2.4 แบบทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ ง เลขยกก าลั ง
ชั้น มั ธ ยมศึกษาปี ที่ 1 การสร้ า งและหาคุณ ภาพของแบบทดสอบวัด ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิช า
คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ซึ่งผู้รายงานได้
ดาเนินการสร้างตามขั้นตอน ดังนี้
2.4.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คู่มือการวัดผลและการประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ท ธศั ก ราช2551ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.)
2.4.2 ศึกษาวิธีการสร้างข้อสอบและวิเคราะห์เนื้อหา การพัฒนาแบบทดสอบทาง
การเรียนและศึกษาการสร้างแบบทดสอบทางการเรียนแบบอิงกลุ่ม บุญชม ศรีสะอาด (2554 )
2.4.3 วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ศึกษาเนื้อหา
ศึกษาคู่มือรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วิ เ คราะห์ จ านวนข้ อ สอบตามสาระการเรี ย นรู้ แ ละจุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ เรื่ อ งเลขยกก าลั ง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นรายจุดประสงค์การเรียนรู้
2.4.4 สร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบปรนัยชนิดเลือกคาตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
2.4.5 นาแบบทดสอบที่สร้างเสร็จเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 คน เพื่อประเมิน
ความสอดคล้ อ งระหว่ า งข้ อ สอบแต่ ล ะข้ อ กั บ จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ แ ละน าผลการประเมิ น ของ
ผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ดัชนีสอดคล้องโดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์
การเรียนรู้ (IOC : Index of Item-Objective Congruence) (ประภาพรรณ เส็งวงศ์. 2551)
กาหนดเกณฑ์ การประเมินที่ใช้ได้ เมื่อข้อสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 - 1.00 โดย
กาหนดเกณฑ์ประเมินดังนี้
ให้คะแนน + 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้
ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้
ให้คะแนน – 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ระบุไว้
30

ผลการวิเคราะห์ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อสอบตั้งแต่ 0.60 - 1.00 (ภาคผนวก ง)


2.5 แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
การสร้ า งและหาคุ ณ ภาพของแบบฝึ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ งเลขยกก าลั ง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้รายงานได้ดาเนินการสร้างตามขั้นตอน ดังนี้
2.5.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรกลุ่ม
สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ และวิ เ คราะห์ ห ลั ก สู ต ร มาตรฐานการเรี ย นรู้ แ ละตั ว ชี้ วั ด เรื่ อ ง
เลขยกกาลัง และศึกษาคู่ มือครูรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.) ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ รูปแบบ และขั้นตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง มัธยมศึกษาปีที่ 1
2.5.2 สร้างแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์เรื่อ งเลขยกกาลัง ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1
จานวน 5 ชุดได้แก่ ชุดที่ 1 ความหมายของเลขยกกาลัง, ชุดที่ 2 การคูณของเลขยกกาลัง, ชุดที่ 3
การหารของเลขยกกาลัง, ชุดที่ 4 สมบัติของเลขยกกาลัง, ชุดที่ 5 การนาไปใช้
2.5.3 สร้างแบบประเมินคุณภาพของแบบฝึกทักษะ สาหรับเสนอผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็น
แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) โดยกาหนดเกณฑ์การประเมิน
คุ ณ ภาพด้ า นความเหมาะสมของแบบฝึ ก ทั ก ษะและเกณฑ์ ก ารแปลความหมาย ดั ง นี้
(บุญชม ศรีสะอาด. 2554)
เกณฑ์การให้คะแนน
เหมาะสมมากที่สุด ตรวจให้ 5 คะแนน
เหมาะสมมาก ตรวจให้ 4 คะแนน
เหมาะสมปานกลาง ตรวจให้ 3 คะแนน
เหมาะสมน้อย ตรวจให้ 2 คะแนน
เหมาะสมน้อยที่สุด ตรวจให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การแปลความหมาย
ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 แปลความว่า เหมาะสมมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 แปลความว่า เหมาะสมมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 แปลความว่า เหมาะสมปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 แปลความว่า เหมาะสมน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 แปลความว่า เหมาะสมน้อยที่สุด
2.5.4 นาแบบฝึกทักษะ พร้อมแบบประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ เสนอ
ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ทาการประเมินเพื่อตรวจคุณภาพความเหมาะสม และตรวจสอบความถูกต้อง
โดยรวมแบบฝึกทักษะทั้ง 5 ชุด ด้านเนื้อหาและการนาเสนอ รวมถึงการใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ การคิดคานวณและด้านการพิมพ์ (ภาคผนวก ง)
2.5.5 นาแบบฝึกทักษะ ที่ได้แก้ไขและปรับปรุงเรียบร้อยแล้ว ไปทดลองใช้เพื่อหา
ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะตามแนวคิดของชัยยงค์ พรหมวงศ์ โดยดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
ทดลองครั้งที่ 1 แบบเดี่ยว จานวน 3 คน ที่ยังไม่เคยเรียน เรื่องเลขยกกาลัง
31

ทดลองครั้งที่ 2 แบบกลุ่ม จานวน 9 คน ที่ยังไม่เคยเรียน เรื่องเลขยกกาลัง


ทดลองครั้งที่ 3 แบบสนาม จานวน 32 คน ที่ยังไม่เคยเรียน เรื่องเลขยกกาลัง
2.5.6 จัดพิมพ์แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ทั้ง 5 ชุด เป็นฉบับ
สมบูรณ์ให้เพียงพอ และนาไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา
2561 โรงเรียนนราธิวาส อาเภอเมืองนราธิวาส จานวน 31 คน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างต่อไป
2.6 แผนจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 การสร้างและการหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่ องเลขยกกาลั ง ส าหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้ รายงานได้ดาเนิน
การสร้างและหาคุณภาพตามขั้นตอน ดังนี้
2.6.1 ศึ ก ษาหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช 2551ศึ ก ษา
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาสเกี่ยวกับมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องเลขยกกาลัง
2.6.2 ศึกษาองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ วิธีการและขั้นตอนการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้ จากเอกสาร ตารา คู่มือครู
2.6.3 ศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะจากตารา เอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6.4 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดเรื่องเลขยกกาลังชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 เพื่อกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) และ
ด้านคุณลักษณะ(A) และสาระการเรียนรู้
2.6.5เขียนแผนหาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
ซึ่งมี 4 ขั้นตอน 1) ขั้นทาความเข้าใจปัญหา 2) ขั้นวางแผนแก้ปัญหา 3) ขั้นดาเนินการตามแผน และ
4) ขั้นตรวจสอบ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 5 แผน ใช้เวลา 16 ชั่วโมง
รายละเอียดดังตารางที่ 3
32

ตารางที่ 3 แสดงกาหนดการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ลาดับที่ การดาเนินการ จานวนชั่วโมง


1 ทดสอบก่อนเรียน 1
2 ความหมายของเลขยกกาลัง 2
3 การคูณของเลขยกกาลัง 3
4 การหารของเลขยกกาลัง 3
5 สมบัติของเลขยกกาลัง 3
6 การนาไปใช้ 3
7 ทดสอบหลังเรียน 1
รวม 16
2.6.6 สร้างแบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ สาหรับเสนอผู้เชี่ยวชาญ
โดยสร้างเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคอร์ท (Likert) โดยกาหนดเกณฑ์
การประเมิ น คุ ณ ภาพด้ า นความเหมาะสมของแผนการจัด การเรี ย นรู้ ซึ่ ง มีเ กณฑ์ การแปล
ความหมายดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 )
เกณฑ์การให้คะแนน
เหมาะสมมากที่สุด ตรวจให้ 5 คะแนน
เหมาะสมมาก ตรวจให้ 4 คะแนน
เหมาะสมปานกลาง ตรวจให้ 3 คะแนน
เหมาะสมน้อย ตรวจให้ 2 คะแนน
เหมาะสมน้อยที่สุด ตรวจให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การแปลความหมาย
ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 แปลความว่า เหมาะสมมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 แปลความว่า เหมาะสมมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 แปลความว่า เหมาะสมปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 แปลความว่า เหมาะสมน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 แปลความว่า เหมาะสมน้อยที่สุด
2.6.7 นาแผนการจัดการเรียนรู้พร้อมแบบประเมินที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 5 คน ซึ่งเป็นบุคคลกลุ่มเดียวกันกับผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินแบบฝึกทักษะทาการประเมินเพื่อ
ตรวจสอบความเหมาะสมในด้านต่างๆ โดยรวมของแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 5 แผน (ภาคผนวก ฉ)
2.6.8 นาผลการประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมินมาหาค่าเฉลี่ยปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
33

2.6.9 นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเรียบร้ อยแล้วไปทดลอง


กับนักเรียนแบบเดี่ยวแบบกลุ่มแบบสนาม ร่วมกับแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป
2.7 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส
การสร้างและหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน
นราธิวาส ผู้รายงานได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
2.7.1 ศึกษาการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากหนังสือการวัดผลการศึกษาของ
สมนึก ภัททิยธนี (2549) และการวิจัยเบื้องต้น ของบุญชม ศรีสะอาด (2554) และเอกสารงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
2.7.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการใช้
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ ซึ่งมีเกณฑ์การประเมินความพึงพอใจของ
นักเรียนเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความหมาย ดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน
พึงพอใจมากที่สุด ตรวจให้ 5 คะแนน
พึงพอใจมาก ตรวจให้ 4 คะแนน
พึงพอใจปานกลาง ตรวจให้ 3 คะแนน
พึงพอใจน้อย ตรวจให้ 2 คะแนน
พึงพอใจน้อยที่สุด ตรวจให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การแปลความหมาย
ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 แปลความว่า พึงพอใจมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 แปลความว่า พึงพอใจมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 แปลความว่า พึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 แปลความว่า พึงพอใจน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 แปลความว่า พึงพอใจน้อยที่สุด
2.7.3 นาแบบทดสอบความพึงพอใจเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณาให้คะแนนประเมิน
ความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัด ด้านความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้ค่าดัชนี
ความสอดคล้ อ ง ระหว่ า งข้ อ ค าถามกั บ พฤติ ก รรมชี้ วั ด ด้ า นความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย น
(IOC : Index of Item-Objective Congruence) ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
+ 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียน
0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียน
- 1 เมื่อแน่ใจว่าข้อคาถามนั้นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียน
2.7.4 นาแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว มาวิเคราะห์หาค่าดัชนี
ความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้ค่าดัชนี
ความสอดคล้ องระหว่ า งข้ อค าถามกั บพฤติ ก รรมชี้ วั ดด้ านความพึ งพอใจของนั ก เรี ยน
34

(IOC : Index of Item-Objective Congruence) (สมนึก ภัททิยธนี. 2549) เลือกข้อคาถามที่มีค่า


IOC ตัง้ แต่ 0.50 - 1.00 ซึ่งเป็นข้อคาถามที่อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ (ภาคผนวก ช)
2.7.5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปทดลองใช้กับนักเรียน ที่ผ่านการใช้แบบฝึก
ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่ องเลขยกกาลัง มาแล้ ว จากนั้ นนาคาตอบที่ได้มาหาค่าความเชื่อมั่น โดยวิธี
สัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) จากนั้นพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจ
เป็นฉบับสมบูรณ์ ได้ค่า 0.80 (ภาคผนวก ช)
2.7.6 นาแบบสอบถามความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ ไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างซึ่ง
เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 31 คน เพื่อหา
ระดับความพึงพอใจ

3. วิธีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานเก็บรวบรวมข้อมูลกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 31 คน ได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 60 นาที และเก็บรวบรวมคะแนนผลสอบไว้
2. ดาเนินการโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกาลัง ตามแผนการจัดการเรียนรู้ 5 แผน
จานวน 16 ชั่วโมง ให้นักเรียนได้ทาแบบฝึกทักษะและทาแบบทดสอบย่อยหลังแบบฝึกทักษะในแต่ละ
ชุด โดยผู้รายงานได้เก็บรวบรวมคะแนนไว้
3. ทดสอบหลังเรียนหลังจากใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ครบทุก
แผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันสลับข้อ
กันใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและเก็บรวบรวมคะแนนผลสอบไว้
4. ประเมินความความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง
5. นาผลที่ได้จากข้อ1-4 มาวิเคราะห์ทางสถิติ

4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาครั้งนี้ใช้สถิติ ดังต่อไปนี้
1. คะแนนเฉลี่ย ( )
2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S)
3. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
4. ความยากง่าย (Difficulty) และค่าอานาจจาแนก (Discrimination)
5. การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้สูตร KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder Richardson)
6. หาค่าความเชื่อ มั่น ของแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยใช้การหาค่าสัมประสิท ธิ์
แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ของครอนบัค
7. การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ
35

8. สถิติ (t-test dependent)


36

บทที่ 4
ผลการวิจัย

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียน


ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
วิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึ กทักษะ วิชา
คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้รายงานได้นาเสนอผลที่ได้รับตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทั กษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตารางที่ 4 แสดงประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 31 คน
(ภาคสนาม)

จานวน คะแนนทดสอบระหว่างเรียน คะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ


นักเรียน (5 ชุด/ชุดละ 10 คะแนน) ทางการเรียนหลังเรียน (30 คะแนน) E1/E2
คะแนน คะแนน ค่าเฉลี่ย E1 คะแนน คะแนน ค่าเฉลี่ย E2
เต็ม ที่ได้ เต็ม ที่ได้

31 50 1,253 40.42 80.84 30 745 24.03 80.11 80.84/80.11

จากตารางที่ 4 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของคะแนนจากการทาแบบฝึกทักษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร์


เรื่ อ งเลขยกกาลั ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ80.84 และคะแนนเฉลี่ ย ของคะแนนจากการทาแบบทดสอบ
วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ทา ง ก า รเ รี ย นห ลั ง เ รี ย น คิ ด เป็ น ร้ อ ยล ะ 80.11 แ ส ด ง ว่ า แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ
37

วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ


80.84/80.11 ซึ่งมีประสิ ทธิภาพสู งกว่ าเกณฑ์ 80/80 ดั งตัวอย่ างแบบฝึ กทักษะของนั กเรี ยนที่ ใช้
กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา

ภาพที่ 2 ตัวอย่างแบบฝึกทักษะของนักเรียนที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
(ถ่ายเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561)

ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 8.7  1016 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้าอุกกาบาต


มีมวล 1.55  105 กิโลกรัม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด (5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 8.7  1016 เท่าของ
อุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้าอุกกาบาตมีมวล 1.55  105 กิโลกรัม
2. สิ่งที่โจทย์ถาม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก อุกกาบาตมีมวล 1.55  105 กิโลกรัม
และ ดาวเคราะห์มีมวลเป็น 8.7  1016 เท่าของอุกกาบาต
ดาวเคราะห์มีมวล (1.55  105)  (8.7  1016) กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.55  105)  (8.7  1016) กิโลกรัม
38

= (1.55  8.7)  (106  1015) กิโลกรัม


= 13.485  1021 กิโลกรัม
22
= 1.3485  10 กิโลกรัม
22
ดาวเคราะห์มีมวล 1.3485  10 กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.55  105)  (8.7  1016) = 1.3485  1022 กิโลกรัม
จะได้ (1.55  8.7)  (105  1016) = 1.3485  1022 กิโลกรัม
13.485  1021 = 1.3485  1022 กิโลกรัม
1.3485  1022 = 1.3485  1022 เป็นจริง
กิโลกรัม
ดังนั้น ดาวเคราะห์มีมวล 1.3485  1022 กิโลกรัม
จากตัวอย่างแบบฝึกทักษะของนักเรียนที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา

ภาพที่ 3 ตัวอย่างแบบฝึกทักษะของนักเรียนที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา
(ถ่ายเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561)

ถังทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีปริมาตรภายใน 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความยาวของแต่ละ


ด้านภายในถังเป็นกี่เซนติเมตร
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ถังทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีปริมาตรภายใน 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. สิ่งที่โจทย์ถาม ความยาวของแต่ละด้านภายในถังเป็นกี่เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ลูกบาศก์ คือ ทรงสี่เลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีด้านยาวเท่ากันทุกด้าน
39

ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน


และ 512 = ด้าน  ด้าน  ด้าน
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 512 = 8  8  8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
512 = 8 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ลูกบาศก์นี้มีด้านยาวแต่ละด้านภายในถังเป็น 8 เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 512 = 8  8  8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
512 = 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
ดังนั้น ลูกบาศก์นี้มีด้านยาวแต่ละด้านภายในถังเป็น 8 เซนติเมตร
จากตัวอย่างแบบฝึกทักษะของนักเรียนในภาพที่ 2 และ ภาพที่ 3 แสดงให้เห็นว่านักเรียน
สามารถวิ เ คราะห์ ไ ด้ ว่ า โจทย์ ใ ห้ ม าเป็ น อย่ า งไร นั ก เรี ย นมี ก ารวางแผนการแก้ ปั ญ หา ได้ ผ่ า น
การตรวจสอบความเข้ า ใจโดยใช้ ก ระบวนการแก้ ปั ญ หาของโพลยา ทั้ ง 4 ขั้ น ตอน คื อ
ทาความเข้าใจปัญหา วางแผนการแก้ปัญหา ดาเนินการตามแผน ตรวจสอบ

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตารางที่ 5 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 31 คน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จานวนนักเรียน คะแนนเต็ม S t


ก่อนเรียน 31 30 16.26 1.73
หลังเรียน 31 30 24.10 1.64
** มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตารางที่ 5 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่าค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
40

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตารางที่ 6 ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง เลขยกกาลัง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 31 คน

การวิเคราะห์ทางสถิติ

รายการ S ระดับความ
พึงพอใจ

1. แบบฝึกทักษะมีขั้นตอนชัดเจน 4.61 0.50 มากที่สุด


2. แบบฝึกทักษะเรียงจากง่ายไปหายาก 4.36 0.55 มาก
3. แบบฝึกทักษะมีความน่าสนใจ 4.23 0.62 มาก
4. แบบฝึกทักษะทาให้นักเรียนสนใจการเรียนมากขึ้น 4.52 0.63 มากที่สุด
5. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทาให้เข้าใจเนื้อหาง่ายขึ้น 4.42 0.62 มาก
6. นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง 4.45 0.68 มาก
7. เวลาในการเรียนแต่ละแบบฝึกทักษะมีความเหมาะสม 4.29 0.82 มาก
8. นักเรียนสามารถศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ได้ตลอดโดยไม่จากัด
เวลา 4.03 0.71 มาก
9. นักเรียนสามารถนาความรู้จากการใช้แบบฝึกทักษะไปใช้
ประโยชน์ได้ 4.58 0.56 มากที่สุด
10. นักเรียนประเมินผลด้วยตนเองซึ่งช่วยให้แก้ไขการเรียนได้ดีขึ้น 4.29 0.69 มาก
รวม 4.38 0.64 มาก

จากตารางที่ 6 พบว่า โดยภาพรวม ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก


นักเรียนมีความพึงพอใจสูงสุดในหัวข้อแบบฝึกทักษะมีขั้นตอนชัดเจนซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.61อยู่ใน
ระดับความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาคือหัวข้อ นักเรียนสามารถนาความรู้จากการใช้ แบบฝึกทักษะ
ไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และหัวข้อแบบฝึก
ทักษะทาให้นักเรียนสนใจการเรียนมากขึ้น ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก
ที่สุด ตามลาดับ
41

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

สรุปผล
จากการวิ จั ย ศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง เลขยกก าลั ง โดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะ
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส สามารถสรุปผลจากการศึกษาค้นคว้า
ดังนี้
1. ผลการศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพแบบฝึ ก ทั ก ษะวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง เลขยกกาลัง มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80.84/80.11
2. ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิช าคณิ ตศาสตร์ เรื่ อ ง เลขยกกาลั ง ส าหรั บนั กเรี ยนระดั บ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.01
3. ความพึงพอใจสู งสุ ด ของนัก เรียนที่ มีต่อการเรียนวิช าคณิ ตศาสตร์ เรื่อ ง เลขยกกาลั ง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก

อภิปรายผล
จากการวิจัยศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง โดยใช้แบบฝึกทักษะ สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส สามารถอภิปรายผลจากการศึกษาค้นคว้า
ดังนี้
1. ผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามเกณฑ์ 80.84/80.11 ที่เป็นเช่นนี้
เพราะแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ ตั้งแต่ชุดที่ 1 - ชุดที่ 5 ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันและ
เน้น ทักษะกระบวนการคิด อธิบ ายแนวคิดอย่างละเอียด ชัดเจน ได้ดาเนินการจัดการเรียนรู้ตาม
ขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา เป็น
การแก้ปัญหาที่เป็นระบบแยกเป็นขั้นตอนชัดเจน ถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน สอดคล้อง
กับผลงานวิจัยของศิรินุช รัตนประสบ (2550) ที่ศึกษาการสร้างชุดการสอน เรื่องการแก้โจทย์ปัญหา
การบวก ลบ คูณ หาร ระคน ตามขั้นตอนของโพลยา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า
มีประสิทธิภาพประสิทธิภาพเท่ากับ 88.33/86.66 ผลงานวิจัยของอาภรณ์ แข็งฤทธิ์ (2558) ที่ศึกษา
ผลการใช้แบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบร่ว มมือเทคนิค TAI ส าหรับนักเรียนชั้ น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า มีประสิทธิภาพประสิทธิภาพเท่ากับ 82.35/82.78 และผลงานวิจัยของ
พจนา เบญจมาศ (2558) ที่ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือเทคนิค TAI กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า
มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.26/86.17
2. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ เรื่ อ ง เลขยกก าลั ง ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส พบว่า หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
42

ที่ระดับ .01 โดยก่อนเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ย 16.26 หลังเรียน


ผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ย นของนั กเรี ยนมีค่าคะแนนเฉลี่ ย 24.10 การที่นักเรียนมีผ ลสั มฤทธิ์ทาง
การเรียนเพิ่มขึ้น เนื่องจากการจัดการเรียนรู้มีการใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ที่ผ่านการหา
ประสิทธิภาพมาแล้ว และเป็นแบบฝึกทักษะที่ส่งเสริมให้นักเรี ยนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เน้นทักษะ
กระบวนการคิดได้นามาใช้ร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทาขึ้นอย่างมีคุณภาพ โดยใช้เทคนิค
การแก้ปัญหาแบบโพลยา ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา เป็นการมองไปที่ตัว
ปั ญหาโดยพิจ ารณาว่ าโจทย์ ถามอะไร โจทย์กาหนดอะไรมาให้ บ้าง มีส าระความรู้ใดที่ เกี่ยวข้อ ง
สาหรับการแก้ปัญหาหรือไม่ คาตอบของปัญหาอยู่ในรูปแบบใด จนสามารถสรุปปัญหาออกมาเป็น
ภาษาของตนเอง ขั้นที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา เป็นขั้นตอนสาคัญที่จะต้องพิจารณาว่าจะแก้ปัญหา
ด้วยวิธีใด จะแก้ปัญหาอย่างไร นักเรียนต้องมองเห็นความสาคัญของข้อมูลต่างๆ ในโจทย์ปัญหาอย่าง
ชั ด เจนมากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ขั้ น ที่ ค้ น หาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ่ ง ที่ โ จทย์ ถ ามกั บ ข้ อ มู ล หรื อ สิ่ ง ที่ โ จทย์
กาหนดให้ ถ้าหากไม่สามารถหาความสัมพันธ์ได้ก็ควรอาศัยหลักการของการวางแผนแก้ปัญหา ดังนี้
1. โจทย์ปัญหาลักษณะนี้เคยพบมาก่อนหรือไม่และมีลักษณะคล้ายคลึงกับโจทย์ปัญหาที่เคยทา 2. ถ้า
อ่านในโจทย์ปัญหาครั้งแรกแล้วไม่เข้าใจควรอ่านโจทย์ปัญหาอีกครั้งแล้ววิเคราะห์ความแตกต่างของ
ปัญหานี้กับปัญหาที่เคยทามาก่อน ดังนั้นการวางแผนการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหานามา
กาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาและเลื อกยุทธวิธีแก้ปัญหา ขั้นที่ 3. การดาเนินการตามแผน เป็น
ขั้นตอนที่ ลงมือปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้ได้คาตอบของปัญหาด้วยการรู้จักเลือกวิธีการคิด
คานวณ กฎ หรือสูตร ที่เหมาะสมมาใช้แล้วลงมือปฏิบัติจนกระทั่งสามารถหาคาตอบได้หรือค้นพบ
วิธีการแก้ปัญหาใหม่ ขั้นที่ 4. การตรวจสอบ เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหามองย้อนกลับไปที่ขั้นตอนต่างๆ
ที่ผ่านมาเป็นการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องสมบูรณ์มีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้หรือไม่
ตลอดจนกระบวนการในการแก้ปัญหา เป็นการแก้ปัญหาที่เป็นระบบแยกเป็นขั้นตอนชัดเจนสามารถ
ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ไ ด้รับการหาคุณภาพอย่างเป็นระบบ ทาให้เมื่อ
นาไปใช้แล้วนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูได้วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการของโพลยา ซึ่งได้รับการยอมรับว่า เป็นกระบวนการที่ทาให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ คิด
แก้ปัญหาได้เป็ นอย่ างดี คิดอย่ างเป็นระบบ ทาให้ ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนสู งขึ้น สอดคล้ องกับ
ผลงานวิจัยของพจนา เบญจมาศ (2558) ที่ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ โดย
การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ
ผลงานวิจัยของนงลักษณ์ ฉายา (2558) ที่ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.01
3. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึ กทักษะวิช าคณิตศาสตร์ เรื่อง
เลขยกกาลัง โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก ซึ่งมีค่าระดับความพึงพอใจ 4.38
การที่นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้
เนื่ อ งจาก แบบฝึ ก ทัก ษะที่ จั ดท าขึ้ นเหมาะสมกับนั กเรียน มี เนื้ อหาที่ไม่ ยากและง่า ยจนเกิ นไป
นักเรียนสามารถใช้ในการคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์สามารถนาไปใช้ใน
43

ชีวิตประจาวันได้ โดยมีเทคนิคการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้เป็นขั้นตอน นักเรียนเกิด


ความสนุก จากการจัดการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน เพราะนักเรียนจะต้องคิด
วางแผน อภิปราย ถกเถียงแสดงแนวคิดร่วมกันเป็นการเน้นทักษะทางสังคมช่วยให้นั กเรียนอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับผลงานวิจัย ของศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์ (2558) ที่ศึกษาผล
การใช้แ บบฝึ กทัก ษะคณิต ศาสตร์ เรื่อ ง จ านวนเชิงซ้ อน โดยการเรีย นรู้ แบบร่ว มมือเทคนิ ค TAI
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่าโดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดั บมาก ผลงานวิจัยของ
อาภรณ์ แข็งฤทธิ์ (2558) ที่ศึกษาผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิค TAI สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่าโดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
และผลงานวิจัยของ พจนา เบญจมาศ (2558) ที่ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ โดย
การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ
1.ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
1.1 แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่จาเป็นในกระบวนการจัดการเรียนการสอนซึ่งส่งผล
ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ดังนั้นครูผู้สอนในควรนาเอาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ไป
ใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มากขึ้น
1.2 การดาเนินการควรทาตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในคาชี้แจง แต่ครูผู้สอนสามารถปรับ
เปลี่ยนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ได้
1.3 ครูควรกระตุ้นให้กาลังใจและเสริมแรงให้นักเรียนกระตือรือร้นในการกิจกรรมตามแบบ
ฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
2.1 ควรศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการเรียน
การสอนที่มีเทคนิคการสอนเข้ามาใช้ในการจัดทาแผนการสอนเพื่อให้นักเรียนสามารถมีผลการเรียนรู้
ที่ดีขึ้น เช่น เทคนิคการสอนแบบ STAD เทคนิคการสอนแบบการคิดวิเคราะห์ขั้นสูง เป็นต้น
2.2 ควรมีการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะกับสื่อหรือนวัตกรรม
อื่นๆ
44

บรรณานุกรม
45

บรรณานุกรม

กันต์กนิษฐ์ พลพิพัฒน์. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้โจทย์ปัญหา


คณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้กลวิธี STAR. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต.
จันทบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี.
จีระศักดิ์ นุ่นปาน. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการใช้แบบฝึก
เสริมทักษะที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชมพูนุท วนสันเทียะ. (2552). การศึกษาความคิดรวบยอดและความสามารถในการแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชวินิตบางเขนโดยใช้วิธีสอน
แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้แผงผังมโนทัศน์. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี.(2542). การสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1),7-19.
ซ่อนกลิ่น เรืองยังมี. (2552). ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ทักษะการปฏิบัติตามแนวคิด
ของเดวี่ส์ที่มีต่อความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ การศึกษา
มหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ถวัลย์ มาศจรัส, สมปอง แว่นไธสง และบังอร สงวนหมู่. (2550). นวัตกรรมการศึกษาชุด
แบบฝึกหัด แบบฝึกเสริมทักษะ เพื่อพัฒนาผู้เรียนและการจัดทาผลงานวิชาการของ
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ครูชานาญการ ครูชานาญการพิเศษ
ครูเชี่ยวชาญ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ธารอักษร.
ทิพย์วรรณ เตมียกุล. (2550). การพัฒนาชุดการเรียนโจทย์ปัญหาจากชีวิตประจาวันกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต.
ลพบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
นงลักษณ์ ฉายา. (2558). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บุรีรัมย์ :
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นวภัทร ศรีชูทอง. (2550). ผลของการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และการใช้แผนภาพเป็นสื่อที่มี
ต่อความสามารถในการแก้โจทย์คณิตศาสตร์และความพึงพอใจต่อการเรียน
คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลป่าบอน จังหวัด
พัทลุง. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร : สุวีริยายนส์น.
46

ปฐมาภรณ์ สิทธิ์เสือ. (2546). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ


คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วนและทศนิยม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประภาพรรณ เส็งวงค์. (2551). การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยการวิจัยในชั้นเรียน.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อี.เค.บุ๊คส์.
ประโรม กุ่ยสาคร. (2547). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะ เรื่องการคูณการหารโดยการบูรณาการภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปานจิตร วัชระรังสี. (2548). การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์
ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปาฮามี อาแว. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสอนมโนทัศน์และผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พจนา เบญจมาศ. (2558). การพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิค TAI กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ไพศาล วรคา. (2558). การวัดทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : ตักสิลาการพิมพ์.
รอฮานี ปูตะ. (2560). ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับการศึกษาชั้น
เรียนที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
โรงเรียนนราธิวาส. (2559). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2559.
นราธิวาส : ฝ่ายวิชาการโรงเรียนนราธิวาส.
โรงเรียนนราธิวาส. (2560). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2560.
นราธิวาส : ฝ่ายวิชาการโรงเรียนนราธิวาส.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2554). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. ในเอกสารคาสอนวิชา
410541. ชลบุรี : ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2555). ครบเครื่องเรื่องควรรู้สาหรับครูคณิตศาสตร์ :หลักสูตรการสอน
และการวิจัย. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
ศศิธร แม้นสงวน. (2555). พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคาแหง.
47

ศิรินุช รัตนประสบ. (2555). การแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร ระคน ตามขั้นตอนของ


โพลยา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต.
ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศิรีกานต์ งามพิพัฒนพงษ์. (2558). ผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนเชิงซ้อน โดย
การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.). (2559). ประกาศผลสอบและรายงานผลสอบ
โอเน็ต. กรุงเทพฯ : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน
2559, จาก www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.). (2560). ประกาศผลสอบและรายงานผลสอบ
โอเน็ต. กรุงเทพฯ : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน
2560, จาก www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). ทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2552). เอกสารพัฒนาวิชาชีพครูคณิตศาสตร์
มืออาชีพ. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สามคิวมีเดีย.
สถาพร ศรีสุนทร. (2547). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร
เศษส่วน วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมนึก ภัททิยธนี. (2549). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.
สาลี ดวงบุบผา. (2558). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามรูปแบบซิปปา เรื่อง ระบบจานวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2552). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน.
(พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ : 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2544). การผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน “การสร้างแบบฝึก”. ชัยนาท
: ชมรมพัฒนาความรู้ด้านระเบียบกฎหมาย.
สุพรรณ สิงหนุวัฒนะ. (2558). ผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ทศนิยม โดยการใช้เทคนิค
การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
อัมพร ม้าคนอง. (2553). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ : การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
48

อาภรณ์ แข็งฤทธิ์. (2558). ผลการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ


เทคนิค TAI สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต.
บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
อารมณ์ จันทร์ลาม. (2550). ผลของการสอนแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา
ของโพลยาที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.
วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
Prescott, D.A. (1961). The child in the educative process. NewYork : Mc Graw-Hall.
Siemens, D.W. (1986). “The Effect of Homework Emphasis on the Time Spent
Doing Homework and Achievement of Plane Geometry
Student.” Dissertation Abstracts Internation. 10 (April) : 2954-A.
Loring, D. H.(2003). “Effects of Worked Examples and Algebra Problem
Problem- solving Skill on Error and Cognitive Load”. Dissertation
Abstracts International, 64(5) : 1527-A ; November.
Curtis, K.M.(2006). “Improving Student Attitudes : A Study of Mathematics
Curriculum Innovation.” Dissertation Abstracts International,
67 (4) : unpaged.
49

ภาคผนวก
50

ภาคผนวก ก
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
51

รายนามผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือในการวิจัย

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสริมศักดิ์ สุรวัลลภ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ข้าราชการบานาญ


คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒประสานมิตร
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชิต ดุรงค์แสง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ข้าราชการบานาญ
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
3. อาจารย์ ดร. วัลลยา ธรรมอภิบาล อินทนิน คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการประเมินผลและวิจัย
มหาวิทยาลัยทักษิณ
4. นายธีนภัทร สุวรรณวงศ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 16
5. นางสาวราชชฎาวรรณ ทองรักษา ครูชานาญการพิเศษ สาขาวิชาคณิตศาสตร์
โรงเรียนนราธิวาส สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 15
52

ภาคผนวก ข
หนังสือขอความอนุเคราะห์
53
54
55
56
57
58

ภาคผนวก ค
การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
59

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์(ค21101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่องเลขยกกาลัง จานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน เวลา 60 นาที

คาชี้แจง จงทาเครื่องหมายกากบาทลงในช่องตัวเลือก ก , ข , ค และ ง แต่ละข้อมีคาตอบที่


ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว ลงในกระดาษคาตอบ

1. ตัวเลือกในข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ
ก. เลขยกกาลังที่มี 2 เป็นฐาน และ 2 เป็นเลขชี้กาลัง
ข. เลขยกกาลังที่มี 2 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
ค. เลขยกกาลังที่มี 3 เป็นฐาน และ 2 เป็นเลขชี้กาลัง
ง. เลขยกกาลังที่มี 3 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
2. อ่านว่าอย่างไร
ก. สามทั้งหมดยกกาลังห้า
ข. สามลบทั้งหมดยกกาลังห้า
ค. ลบสามทั้งหมดยกกาลังห้า
ง. ห้าเป็นเลขชี้กาลังของสาม
3. มีความหมายตรงกับตัวเลือกใด
ก.

ข.

ค.

ง.

4. เขียน -4,913 เป็นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1 ตรงกับตัวเลือกใด


ก. =

ข. =
ค. =

ง. 17 =
60

5. ถ้า = 225 แล้ว x คือจานวนใด


ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
6. ถ้าจะขุดบ่อปลาบนพื้นราบ ให้ปากบ่อเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั มีด้านยาวด้านละ
4 เมตร และลึก 4 เมตร บ่อน้าจะมีปริมาตรเท่าใด
ก. ลูกบาศก์เมตร
ข. ลูกบาศก์เมตร
ค. ลูกบาศก์เมตร
ง. ลูกบาศก์เมตร
7. ค่าของ ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
8. ค่าของ (- ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. (-
ข. (-
ค. (-
ง. (-
9. ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
61

10. ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
11. ค่าของ (-64) ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
12. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 9.5  1017 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้า
อุกกาบาตมีมวล 1.37  108 กิโลกรัม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
ก. 1.3015 × 1024 กิโลกรัม
ข. 1.3015 × 1025 กิโลกรัม
ค. 1.3015 × 1026 กิโลกรัม
ง. 1.3015 × 1027 กิโลกรัม
13. ค่าของ ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
14. ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
62

15. ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด

ก.

ข.

ค.
ง.

16. ตรงกับตัวเลือกใด
ก. 6
ข. 9
ค. 12
ง. 21

17. เมื่อ c 0 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก.
ข.
ค.
ง.
18. น้าตกปาโจเป็นน้าตกที่สวย ปริมาณน้าทีไ่ หลประมาณวันละ 2 1012 ลิตร
สามารถรองรับน้าได้มากกว่า 1013 ลิตร จงหาว่าอ่างเก็บน้าเหล่านีต้ ้อง
รองรับน้าจากน้าตกปาโจประมาณกี่วันจึงจะได้น้า 1013 ลิตร
ก. 7
ข. 6
ค. 5
ง. 4
63

19. ตัวเลือกในข้อใดเป็นสมบัติของเลขยกกาลัง เมื่อ แทนจานวนใด ๆ


m และ n แทนจานวนเต็มบวก
ก. =
ข. =
ค. =
ง. =

20. ค่าของ ในรูปเลขยกกาลังได้ตรงกับตัวเลือกใด


ก.
ข.
ค.
ง.
21. ค่าของ ในรูปเลขยกกาลังได้ตรงกับตัวเลือกใด
ก.

ข.
ค.
ง.
22. ค่าของ ตรงกับตัวเลือกใด
ก. -3
ข. -1
ค. 1
ง. 3

23. ในรูปเลขยกกาลังได้ตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
64

24. ประมาณกันว่าในปี ค.ศ. 2060 โลกมีประชากรมากกว่า 10,000,000,000 คน ถ้าพื้น


โลกส่วนที่อยู่อาศัยได้มพี ื้นที่ประมาณ 16  108 ตารางกิโลเมตร จงหาความหนาแน่นของ
ประชากรโลกโดยเฉลีย่ ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร
ก. 3.25
ข. 4.25
ค. 5.25
ง. 6.25
25. เขียน 40,000,000 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ตรงกับตัวเลือกใด
ก.
ข.
ค.
ง.
26. โลกมีรัศมียาวประมาณ 6,390,000 เมตร เขียนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้
ตรงกับตัวเลือกใด
ก. เมตร
ข. เมตร
ค. เมตร
ง. เมตร
27. 7.359 เขียนแทนจานวนใด
ก. 7,359,000
ข. 7,359,000,000
ค. 7,359,000,000,000
ง. 7,359,000,000,000,000
28. 8.2 เขียนแทนจานวนใด
ก. 0.00000082
ข. 0.0000082
ค. 0.000082
ง. 0.00082
29. เส้นลวดในสายไฟชนิดหนึ่งมีหน้าตัดรูปวงกลมมีรัศมียาวประมาณ 0.0068 เมตร
เขียนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ตรงกับตัวเลือกใด
ก. 6.8 × 10-5 เมตร
ข. 6.8 × 10-4 เมตร
ค. 6.8 × 10-3 เมตร
ง. 6.8 × 10-2 เมตร
65

30. นุชรีหนัก 60 กิโลกรัม จงหาว่าสมองของนุชรีหนักประมาณเท่าใด


(โดยเฉลีย่ แล้วน้าหนักสมองของคนเป็น 1.9 เท่าของน้าหนักตัว )
ก. 1.14 กิโลกรัม
ข. 14.4 กิโลกรัม
ค. 58.1 กิโลกรัม
ง. 61.19 กิโลกรัม
66

ตารางที่ 7 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ข้อ คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ IOC หมายเหตุ
ที่ 1 2 3 4 5
-บอกความหมายของกาลังเลขยกกาลังได้ 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-เขียนจานวนทีก่ าหนดให้ใน 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-รูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวน 3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
เต็มบวกได้ 4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 0 +1 +1 +1 4 0.80 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
11 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
หาผลคูณของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็น 12 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
จานวนเต็มได้ 13 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
14 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
15 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
16 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
17 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
18 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
19 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
20 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
21 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
หาผลหารของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็น 22 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
จานวนเต็มได้ 23 +1 +1 +1 0 +1 5 0.80 ใช้ได้
67

ตารางที่ 7 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ต่อ)

คะแนนความเห็นของ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อที่ ผู้เชี่ยวชาญ IOC หมายเหตุ
1 2 3 4 5
24 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
25 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
26 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
27 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
28 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
29 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
30 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
31 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
นาคุณสมบัติของเลขยกกาลังไปใช้ใน 32 +1 +1 +1 +1 0 5 0.80 ใช้ได้
การคานวณและแก้ปัญหาได้ 33 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
34 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
35 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
36 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
37 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
38 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-เขียนจานวนที่มีค่ามาก ๆ หรือมีค่าน้อย ๆให้ 39 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ 40 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-หาจานวนที่เท่ากับจานวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์ 41 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
วิทยาศาสตร์ได้ 42 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-คูณหรือหารจานวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์ 43 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
วิทยาศาสตร์ได้อย่างง่ายได้ 44 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ 45 +1 +1 +1 0 +1 4 1.00 ใช้ได้
68

ตารางที่ 8 แสดงความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง


การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข้อที่ P ความหมาย D ความหมาย สรุป หมายเหตุ
1 0.75 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 1
2 0.94 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
3 0.56 ค่อนข้างง่าย 0.23 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 2
4 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
5 0.94 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
6 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
7 0.50 ง่ายพอเหมาะ 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 3
8 0.94 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
9 0.69 ง่าย 0.38 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 4
10 0.50 ง่ายพอเหมาะ 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 5
11 0.69 ง่าย 0.23 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 6
12 0.63 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 7
13 0.81 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
14 0.69 ง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 8
15 0.69 ง่าย 0.23 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 9
16 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
17 0.63 ง่าย 0.75 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่10
18 0.81 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
19 0.94 ง่ายมาก 0.13 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
20 0.75 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 11
21 0.75 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 12
22 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
23 0.44 ค่อนข้างยาก 0.88 อานาจจาแนกได้ดีมาก คัดเลือก ข้อที่ 13
24 0.69 ง่าย 0.38 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 14
25 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
69

ตารางที่ 8 แสดงความยากง่าย (P) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง


การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(ต่อ)
ข้อที่ P ความหมาย D ความหมาย สรุป หมายเหตุ
26 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
27 0.63 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 15
28 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
29 0.69 ง่าย 0.38 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 16
30 0.56 ค่อนข้างง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 17
31 0.69 ง่าย 0.38 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 18
32 0.63 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 19
33 0.63 ง่าย 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 20
34 0.69 ง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 21
35 1.00 ง่ายมาก 0.00 อานาจจาแนกได้น้อยมาก คัดออก
36 0.63 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 22
37 0.63 ง่าย 0.75 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 23
38 0.56 ค่อนข้างง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 24
39 0.88 ง่ายมาก 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดออก
40 0.63 ง่าย 0.25 อานาจจาแนกได้น้อย คัดเลือก ข้อที่ 25
41 0.69 ง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 26
42 0.69 ง่าย 0.63 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 27
43 0.44 ค่อนข้างยาก 0.88 อานาจจาแนกได้ดีมาก คัดเลือก ข้อที่ 28
44 0.63 ง่าย 0.50 อานาจจาแนกได้ปานกลาง คัดเลือก ข้อที่ 29
45 0.63 ง่าย 0.75 อานาจจาแนกได้ดี คัดเลือก ข้อที่ 30
หมายเหตุ ข้อสอบที่คัดเลือกไว้ใช้ 0.20 p 0.80 และ 0 .20 D 1.00
70

70
71

71
72

72
73

วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยใช้วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน สูตร KR-20 (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 : 104) ได้ดังนี้

= 5.43

= 672

= 15646

N = 30
K = 30

N X 2   X 
2

S 
2
จากสูตร NN  1
2
30(15646) - (672)
S2 
30(29)
469380 - 451584
S 
2

870
17796

2
S
870
= 20.45

จากสูตร

ดังนั้น ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เท่ากับ 0.76

นูรีมาน สือรี
74

ภาคผนวก ง
การหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

นูรีมาน สือรี
75

ตารางที่ 10 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 1
เรื่องความหมายของเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ข้อ คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ IOC หมายเหตุ
ที่
1 2 3 4 5
-บอกความหมายของกาลังเลขยกกาลังได้ 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-เขียนจานวนที่กาหนดให้ใน 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-รูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวน 3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
เต็มบวกได้ 4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
76

ตารางที่ 11 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 2
เรื่องการคูณของเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ข้อ คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ IOC หมายเหตุ
ที่
1 2 3 4 5
หาผลคูณของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็น 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
จานวนเต็มได้ 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
77

ตารางที่ 12 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 3
เรื่องการหารของเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อที่ IOC หมายเหตุ
1 2 3 4 5
หาผลหารของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็น 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
จานวนเต็มได้ 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
78

ตารางที่ 13 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 4
เรื่องสมบัติของเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อที่ IOC หมายเหตุ
1 2 3 4 5
นาคุณสมบัติของเลขยกกาลังไปใช้ใน 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
การคานวณและแก้ปัญหาได้ 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
79

ตารางที่ 14 ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ชุดที่ 5
เรื่องการนาไปใช้ สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คะแนนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้อที่ IOC หมายเหตุ
1 2 3 4 5
-เขียนจานวนที่มีค่ามาก ๆ หรือมีค่าน้อย ๆให้ 1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ 2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-หาจานวนที่เท่ากับจานวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์ 3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
วิทยาศาสตร์ได้ 4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-คูณหรือหารจานวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์ 5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
วิทยาศาสตร์ได้อย่างง่ายได้ 6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
-ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ 7 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
80

ภาคผนวก จ
การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ

นูรีมาน สือรี
81

ตารางที่ 15 แสดงผลการประเมินความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ
ระดับความคิดเห็น
ระดับความ
รายการ ของผู้เชี่ยวชาญคนที่ s
เหมาะสม
1 2 3 4 5
1. เนื้อหา
1.1 นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับ 5 5 4 5 5 4.80 0.45 มากที่สุด
จุดประสงค์และเนื้อหา
1.2 เนื้อหาครอบคลุมหลักสูตร 5 4 4 5 5 4.60 0.55 มากที่สุด
1.3 การนาเสนอเนื้อหาเรียงลาดับจาก 4 5 5 4 4 4.40 0.55 มาก
ง่ายไปยาก
1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับผู้เรียน 5 4 5 4 4 4.40 0.55 มาก
2. ภาษา สัญลักษณ์ และการคิดคานวณ
2.1 ภาษาที่ใช้สื่อความได้ชัดเจน 4 5 4 5 4 4.40 0.55 มาก
2.2 ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ 5 4 5 4 5 4.60 0.55 มากที่สุด
ถูกต้องเหมาะสม
2.3 แสดงวิธีทาตามลาดับขั้นตอนได้ 4 4 5 4 4 4.20 0.45 มาก
ชัดเจน
2.4 การคิดคานวณ 4 5 4 4 4 4.20 0.45 มาก
3. การพิมพ์
3.1 ตัวอักษรชัดเจน 4 5 4 5 5 4.60 0.55 มากที่สุด
3.2 เว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง 5 4 4 4 5 4.40 0.55 มาก
3.3 รูปเล่มและขนาดพอเหมาะต่อ 5 4 5 5 4 4.60 0.55 มากที่สุด
การนาไปใช้
รวม 4.47 0.52 มาก

นูรีมาน สือรี
82

ตารางที่ 16 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มทดลองรายบุคคล

ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ


นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
1 8 7 7 7 7 36 15 21
2 6 7 7 7 8 35 12 19
3 6 7 6 6 7 32 14 20
รวม 103 41 60
เฉลี่ย 34.33 13.67 20
ร้อยละ 68.67 45.56 66.67

ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2
เกณฑ์มาตรฐาน 80 80
ผลการวิเคราะห์ 68.67 66.67
การแปลผล ต่ากว่าเกณฑ์ ต่ากว่าเกณฑ์

นูรีมาน สือรี
83

ตารางที่ 17 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มทดลองขนาดเล็ก
ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ
นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
1 9 8 8 8 7 40 15 25
2 8 8 7 7 7 37 14 23
3 9 8 7 8 7 39 14 22
4 8 9 8 7 7 39 16 23
5 8 8 7 8 7 38 13 24
6 9 8 7 7 7 38 11 21
7 8 9 8 7 8 40 13 19
8 8 9 7 8 6 38 12 25
9 7 8 7 7 6 35 14 23
รวม 344 122 205
เฉลี่ย 38.22 13.56 22.78
ร้อยละ 76.44 45.19 75.93

ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2
เกณฑ์มาตรฐาน 80 80
ผลการวิเคราะห์ 76.44 75.93
การแปลผล ต่ากว่าเกณฑ์ ต่ากว่าเกณฑ์

นูรีมาน สือรี
84

ตารางที่ 18 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มทดลองภาคสนาม
ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ
นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
1 8 9 9 8 6 40 11 23
2 8 9 8 8 9 42 13 26
3 9 8 9 8 8 42 14 25
4 9 8 8 9 8 42 13 25
5 9 8 7 8 7 39 14 24
6 9 8 8 7 8 40 13 24
7 9 7 8 6 8 38 10 19
8 9 8 7 7 8 39 14 25
9 8 8 8 8 7 39 13 24
10 9 9 8 9 8 43 13 25
11 9 8 8 8 9 42 12 26
12 9 9 8 9 7 42 13 25
13 9 8 8 8 7 40 14 21
14 9 8 8 8 7 40 13 21
15 8 9 8 8 9 42 11 20
16 8 8 9 8 8 41 13 25
17 8 8 8 9 8 41 15 26
18 9 8 8 8 7 40 14 25
19 8 8 8 7 8 39 13 23
20 9 8 8 8 7 40 15 26
21 8 9 8 9 8 42 13 25
22 9 8 9 8 7 41 15 27

นูรีมาน สือรี
85

ตารางที่ 18 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มทดลองภาคสนาม (ต่อ)

ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ


นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
23 9 9 8 8 8 42 13 24
24 9 8 8 7 8 40 12 25
25 8 8 7 8 8 39 11 22
26 9 8 8 8 7 40 15 24
27 9 8 7 8 7 39 14 23
28 8 8 8 8 7 39 13 26
29 8 8 7 8 8 39 12 21
30 9 8 7 8 7 39 13 22
31 9 8 8 8 9 42 14 28
รวม 1253 406 745
เฉลี่ย 40.42 13.10 24.03
ร้อยละ 80.84 43.66 80.11

ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2
เกณฑ์มาตรฐาน 80 80
ผลการวิเคราะห์ 80.84 80.11
การแปลผล สูงกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์

นูรีมาน สือรี
86

ภาคผนวก ฉ
การหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้

นูรีมาน สือรี
87

ตารางที่ 19 แสดงผลการประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ


วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญคนที่ ระดับ
รายการประเมิน s
1 2 3 4 5 คุณภาพ
1.ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง/จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 ถูกต้องตามหลักการเขียนแผน 5 4 4 5 5 4.60 0.55 มากที่สุด
1.2 ความสอดคล้องกับเนื้อหาในแผน 4 5 4 4 4 4.20 0.45 มาก
1.3 ระบุพฤติกรรมที่วัดและประเมินผลได้ 5 4 5 4 5 4.60 0.55 มากที่สุด
2. สาระการเรียนรู้
2.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4 5 4 5 4 4.40 0.55 มาก
2.2 กาหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน 5 4 5 4 5 4.60 0.55 มากที่สุด
2.3 มีความถูกต้องชัดเจน 5 4 4 5 4 4.40 0.55 มาก
3.กิจกรรมการเรียนรู้
3.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 4 5 4 4 5 4.40 0.55 มาก
3.2 สร้างและพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด 4 5 4 4 4 4.20 0.45 มาก
3.3 กระตุ้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด 5 4 5 4 5 4.60 0.55 มากที่สุด
3.4 กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบ สร้างองค์ความรู้ 4 5 4 5 5 4.60 0.55 มากทีส่ ุด
ด้วยตนเอง
4.สื่อการเรียนการสอน
4.1 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน 5 4 5 4 4 4.40 0.55 มาก
4.2 เหมาะสมกับระดับชั้น สาระการเรียนรู้และ 5 4 5 4 5 4.60 0.55 มากที่สุด
วัยของผู้เรียน
4.3 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ 4 4 5 4 4 4.20 0.45 มาก
พึงประสงค์
5.การวัดและประเมินผล
5.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 5 5 4 5 5 4.80 0.45 มากที่สุด
5.2 มีวิธีการวัดที่เหมาะสม 4 4 5 4 4 4.20 0.45 มาก
รวม 4.45 0.51 มาก

นูรีมาน สือรี
88

ภาคผนวก ช
การหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจ

นูรีมาน สือรี
89

แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง
1. แบบสอบถามความพึงพอใจมีทั้งหมด 10 ข้อ เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง
2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความพึงพอใจของนักเรียนมากที่สุด
เพียงช่องเดียว
ระดับความพึงพอใจ
รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. แบบฝึกทักษะมีขั้นตอนชัดเจน
2. แบบฝึกทักษะเรียงจากง่ายไปหายาก
3. แบบฝึกทักษะมีความน่าสนใจ
4. แบบฝึกทักษะทาให้นักเรียนสนใจการเรียนมากขึ้น
5. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทาให้เข้าใจเนื้อหา
ง่ายขึ้น
6. นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
7.เวลาในการเรียนแต่ละแบบฝึกทักษะมีความเหมาะสม
8.นักเรียนสามารถศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ได้ตลอดโดย
ไม่จากัดเวลา
9.นักเรียนสามารถนาความรู้จากการใช้แบบฝึกทักษะไป
ใช้ประโยชน์ได้
10.นักเรียนประเมินผลด้วยตนเองซึ่งช่วยให้แก้ไข
การเรียนได้ดีขึ้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................

นูรีมาน สือรี
90

แบบประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ
ของแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
.............................................................................................................................................................
คาชี้แจง
โปรดพิจารณาข้อคาถามในแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ
ของนักเรียนหรือไม่ แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับความคิดเห็น ดังนี้
+ 1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ
ของนักเรียน
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นสอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ
ของนักเรียน
-1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อคาถามนั้นไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจ
ของนักเรียน
ความเหมาะสม หมายเหตุ
รายการ
+ 1 0 -1
1. แบบฝึกทักษะมีขั้นตอนชัดเจน
2. แบบฝึกทักษะเรียงจากง่ายไปหายาก
3. แบบฝึกทักษะมีความน่าสนใจ
4. แบบฝึกทักษะทาให้นักเรียนสนใจการเรียนมากขึ้น
5. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทาให้เข้าใจเนื้อหาง่ายขึ้น
6. นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
7.เวลาในการเรียนแต่ละแบบฝึกทักษะมีความเหมาะสม
8.นักเรียนสามารถศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ได้ตลอดโดยไม่จากัดเวลา
9.นักเรียนสามารถนาความรู้จากการใช้แบบฝึกทักษะไปใช้ประโยชน์ได้
10.นักเรียนประเมินผลด้วยตนเองซึ่งช่วยให้แก้ไขการเรียนได้ดีขึ้น

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
............................................................................................................................................ ....................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
...............................................................................................................................................................

นูรีมาน สือรี
91

ตารางที่ 20 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง
สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้เชี่ยวชาญ
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญคนที่
ข้อที่ ค่า IOC ความหมาย
1 2 3 4 5
1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 .ใช้ได้
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 0 +1 4 0.80 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
7 +1 +1 0 +1 +1 4 0.80 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้
10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใช้ได้

นูรีมาน สือรี
92

ตารางที่ 21 แสดงค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1

นูรีมาน สือรี
93

ตารางที่ 21 แสดงค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน
โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ต่อ)

นูรีมาน สือรี
94

วิเคราะห์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3.03

N = 31
K = 10

จากสูตร =
2
31(65097) - (1417)

31(30)
2018007 - 2007889

930
10118

930
= 10.88
จากสูตร

= 0.80
ดังนั้น ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เท่ากับ 0.80

นูรีมาน สือรี
95

ตารางที่ 22 แสดงความพึงพอใจที่ต่อการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์


เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มตัวอย่าง
เลขที่ ข้อ 1 ข้อ ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
2
1 5 5 4 5 5 5 4 4 5 5
2 5 4 5 4 5 5 5 5 5 4
3 5 4 4 5 4 4 5 3 4 5
4 4 5 4 5 5 5 3 4 5 4
5 5 5 4 4 5 5 4 4 5 5
6 5 4 5 4 5 4 5 5 5 4
7 5 4 4 5 5 4 5 3 4 5
8 4 5 5 5 5 5 3 4 5 4
9 4 5 4 4 5 5 4 4 5 3
10 5 4 5 4 5 5 5 5 5 4
11 5 4 5 5 4 5 5 3 4 5
12 4 5 4 5 4 5 3 4 5 4
13 5 5 4 5 5 3 4 4 4 5
14 5 4 5 4 5 4 5 4 5 4
15 5 4 4 5 4 4 5 3 4 4
16 4 3 4 5 4 5 3 4 5 4
17 5 4 4 4 3 5 4 4 5 5
18 5 5 5 3 5 5 4 5 3 4
19 4 4 4 3 4 4 5 3 4 5
20 4 5 4 5 4 5 3 4 5 4
21 5 4 4 5 5 3 4 4 5 5
22 4 4 5 4 3 5 5 5 5 4
23 5 5 4 5 4 3 5 3 4 5
24 4 5 5 4 5 4 3 4 5 3
25 5 4 4 4 4 4 5 3 4 3

นูรีมาน สือรี
96

ตารางที่ 22 แสดงความพึงพอใจที่ต่อการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์


เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ของกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ)
เลขที่ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
26 5 4 3 5 4 4 5 5 4 5
27 4 5 4 5 4 5 4 5 5 3
28 4 4 5 4 5 5 5 4 5 4
29 5 4 3 5 4 4 5 4 4 5
30 4 4 4 5 4 5 3 5 5 4
31 5 4 3 5 4 4 5 4 4 5
ค่าเฉลี่ย 4.61 4.36 4.23 4.52 4.42 4.45 4.29 4.03 4.58 4.29
S.D. 0.50 0.55 0.62 0.63 0.62 0.68 0.82 0.71 0.56 0.69

นูรีมาน สือรี
97

ภาคผนวก ซ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

นูรีมาน สือรี
98

ตารางที่ 23 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ
นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
1 8 9 9 8 8 42 17 26
2 8 9 8 8 9 42 18 25
3 9 8 9 8 8 42 19 26
4 9 8 8 9 8 42 16 26
5 9 8 7 8 7 39 15 22
6 9 8 8 7 8 40 16 24
7 9 7 8 7 8 39 14 22
8 9 8 7 7 8 39 17 23
9 8 8 8 8 7 39 17 23
10 9 9 8 9 8 43 16 26
11 9 8 8 8 8 41 15 24
12 9 9 8 9 7 42 14 26
13 9 8 8 8 8 41 15 23
14 9 8 8 8 7 40 19 23
15 8 9 8 8 9 42 15 25
16 9 8 8 8 8 41 14 24
17 8 8 8 9 8 41 17 24
18 9 8 8 8 7 40 16 22
19 8 9 8 7 8 40 18 23
20 9 8 8 8 7 40 17 22
21 8 9 8 9 8 42 18 26
22 9 8 9 8 7 41 18 25

นูรีมาน สือรี
99

ตารางที่ 23 แสดงผลประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง


สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนามาใช้กับกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ)

ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ ชุดที่ คะแนน คะแนนสอบ คะแนนสอบ


นักเรียน 1 2 3 4 5 รวม สอบก่อน หลังเรียน
ลาดับที่ เรียน
10 10 10 10 10 50 30 30
23 9 9 8 8 7 41 13 24
24 9 8 8 7 8 40 17 23
25 8 8 7 8 8 39 15 22
26 9 8 8 8 7 40 16 23
27 10 9 8 8 8 43 15 26
28 8 8 8 8 7 39 18 22
29 10 8 8 8 9 43 15 27
30 9 8 7 8 8 40 14 23
31 10 8 8 8 9 43 20 27
รวม 1,266 504 747
เฉลี่ย 40.84 16.26 24.10
ร้อยละ 81.68 54.19 80.32

ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2
เกณฑ์มาตรฐาน 80 80
ผลการวิเคราะห์ 81.68 80.32
การแปลผล สูงกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์

นูรีมาน สือรี
100

ตารางที่ 24 คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์


เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนาไปใช้กับกลุ่ม
ตัวอย่าง

นักเรียน คะแนน ผลต่างของ


ลาดับที่ ก่อนเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน หลังเรียน คะแนน (D)
30 คะแนน กาลังสอง 30 คะแนน กาลังสอง
1 17 289 26 676 9 81
2 18 324 25 625 7 49
3 19 361 26 676 7 49
4 16 256 26 676 10 100
5 15 225 22 484 7 49
6 16 256 24 576 8 64
7 14 196 22 484 8 64
8 17 289 23 529 6 36
9 17 289 23 529 6 36
10 16 256 26 676 10 100
11 15 225 24 576 9 81
12 14 196 26 676 12 144
13 15 225 23 529 8 64
14 19 361 23 529 4 16
15 15 225 25 625 10 100
16 14 196 24 576 10 100
17 17 289 24 576 7 49
18 16 256 22 484 6 36
19 18 324 23 529 5 25
20 17 289 22 484 5 25
21 18 324 26 676 8 64
22 18 324 25 625 7 49
23 13 169 24 576 11 121

นูรีมาน สือรี
101

ตารางที่ 24 คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเมื่อเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อนาไปใช้กับกลุ่ม
ตัวอย่าง (ต่อ)
นักเรียน คะแนน ผลต่างของ
ลาดับที่ ก่อนเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน หลังเรียน คะแนน (D)
30 คะแนน กาลังสอง 30 คะแนน กาลังสอง
24 17 289 23 529 6 36
25 15 225 22 484 7 49
26 16 256 23 529 7 49
27 15 225 26 676 11 121
28 18 324 22 484 4 16
29 15 225 27 729 12 144
30 14 196 23 529 9 81
31 20 400 27 729 7 49
รวม 504 8,284 747 18,081 243 2,047
เฉลี่ย 16.26 267.23 24.10 583.26 7.84 66.03

นูรีมาน สือรี
102

การคานวณค่าการทดสอบที เพื่อเรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลัง โดยใช้


แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดยใช้สูตรการทดสอบทีแบบกลุ่มสัมพันธ์กัน (t-test dependent sample)
จากตารางที่ 17 จะได้ N = 31, = 243 และ = 2047

จาก t = ; df = N-1

t =

t =

t =

t =
t = 20.05

จากการทดสอบที ปรากฏว่าค่า t = 20.05 ที่ได้จากการคานวณ สูงกว่า ค่า t = 2.750


จากการเปิดตาราง สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน
เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

นูรีมาน สือรี
103

ภาคผนวก ฌ
ตัวอย่างผลงานนักเรียน

นูรีมาน สือรี
104

ผลงานนักเรียน

นูรีมาน สือรี
105

นูรีมาน สือรี
106

นูรีมาน สือรี
107

ภาคผนวก ญ
แผนการจัดการเรียนรู้

นูรีมาน สือรี
108

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รหัส ค21101 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลัง เวลา 16 ชั่วโมง
เรื่องย่อย ความหมายของเลขยกกาลัง เวลา 2 ชั่วโมง

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค.1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวิต
จริง
ตัวชี้วัด: ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และ
เขียนแสดงจานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
(scientific notation)
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
2. สาระสาคัญ
ถ้า a แทนจานวนใด ๆ และ n แทนจานวนเต็มบวก “a ยกกาลัง n” หรือ
“a กาลัง n” เขียนแทนด้วย an มีความหมายดังนี้
a × a × a ×… × a
an = n ตัว
n
เรียก a ว่าเลขยกกาลัง ที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กาลัง
3. สาระการเรียนรู้
ความหมายของเลขยกกาลัง
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการคิด
4.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.3 ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ
4.4 นาความรู้เชื่อมโยงเนื้อหาต่างๆ ในคณิตศาสตร์ได้

นูรีมาน สือรี
109

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน
5.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 จานวน 10 ข้อ
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
5.2 แบบฝึกทักษะที่ 1.1 -1.4
6. กิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนการของโพลยา)
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลงเลขยกกาลัง
2. ครูกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจนักเรียน
3. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ
เพื่อทดสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนรายบุคคล
4. นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1
โดยครูใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน
ครูให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 1.1 ชุดที่ 1 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
6. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลย
แบบฝึกทักษะ 1.1 ชุดที่ 1 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
7. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 1.2 ชุดที่ 1 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
8. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลยแบบฝึก
ทักษะ 1.2 ชุดที่ 1 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 1.3 ชุดที่ 1 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
10. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลยแบบฝึกทักษะ 1.3
ชุดที่ 1 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ครูชี้ประเด็นให้
นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
ชั่วโมงที่ 2
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลงเลขยกกาลัง
2. ครูกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจนักเรียน
3. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง โจทย์ปัญหาความหมายของเลขยกกาลัง จากตัวอย่างที่ 1
ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 โดยครูใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม ดังนี้
-ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา
1. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างที่ 1 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1

นูรีมาน สือรี
110

2. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ให้มามีอะไร (ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร
216 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
3. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ถามว่าอะไร (จงหาว่าลูกบาศก์นี้มีสันยาว
เท่าใด)
-ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนจะวางแผนแก้ปัญหาอย่างไร
(จาก ลูกบาศก์ คือ รูปทรงสี่เลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีด้าน (หรือสัน) ยาวเท่ากันทุกด้าน
ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
216 = ด้าน  ด้าน  ด้าน ลูกบาศก์เซนติเมตร)
-ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนทาตามแผนอย่างไร
( จาก ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 216 = 6  6  6 ลูกบาศก์เซนติเมตร
216 = 63 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ลูกบาศก์นี้มีสันยาวเท่ากับ 6 เซนติเมตร)
- ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนตรวจสอบว่าค่าที่ได้ตรงตามที่ต้องการ
(จาก ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 216 = 6  6  6 ลูกบาศก์เซนติเมตร
216 = 216 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
ดังนั้น ลูกบาศก์นี้มีสันยาวเท่ากับ 6 เซนติเมตร
ตอบ)
4. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง โจทย์ปัญหาความหมายของเลขยกกาลัง จากตัวอย่างที่ 2
ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 โดยครูใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม ดังนี้
-ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา
1. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างที่ 2 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1
2. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ให้มามีอะไร (ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัด
กิจกรรมคูปองสะสมแลกของรางวัล ซึ่งวันที่เด็กหญิงโอปอมาซื้อจะได้เก็บสะสมคูปอง เพื่อจะนามา
แลกของรางวัลในทุก ๆ วันที่ 5 เมื่อครบ 5 วัน เด็กหญิงโอปอจะต้องนาคูปองที่สะสมมาแลกของ
รางวัล
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3

นูรีมาน สือรี
111

วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4 )


3. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ถามว่าอะไร (อยากทราบว่าเด็กหญิงโอปอ
เก็บสะสมคูปองภายใน 5 วันได้คูปอง กี่ใบ)
-ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนวางแผนแก้ปัญหาอย่างไร (จากวันที่ 1 สะสม
คูปองได้ 2 ใบ วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของ วันที่ 1 วันที่ 3
สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2 วันที่ 4 สะสม คูปองได้ 2 เท่าของวันที่
3 วันที่ 5 สะสมคูปอง เพราะคูปองเพิ่มขึ้น 2 เท่าของแต่ละวัน)
-ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนทาตามแผนอย่างไร
(จาก วันที่ 1 จานวนคูปอง 2 = 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22 = 4 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23 = 8 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24 = 16 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25 = 32 ใบ
เด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปองภายใน 5 วัน ได้คูปอง 32 ใบ)
-ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนตรวจสอบว่าค่าที่ได้ตรงตามที่ต้องการ
(จาก วันที่ 1จานวนคูปอง 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25 ใบ
จะได้ คูปองวันที่ 1 ถึง วันที่ 5 25 = 32 ใบ
32 = 32 ใบ เป็นจริง
ดังนั้น เด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปองภายใน 5 วัน ได้คูปอง 32 ใบ
ตอบ)
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 1.4 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 โดยครูเดินตรวจสอบและให้
คาแนะนาเมื่อมีข้อสงสัย
6. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลย
แบบฝึกทักษะ 1.4 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือน
หรือต่างกันอย่างไร ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
7. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปได้ว่า
เลขชี้กาลังบ่งบอกว่าฐานคูณกันกี่ตัว แล้วนาฐานที่ได้มาคูณกันคือผลลัพธ์ที่ได้

นูรีมาน สือรี
112

ถ้า a เป็นเลขจานวนจริงใด ๆ ที่ไม่ใช่ 0 และ n เป็นจานวนเต็มบวกแล้ว


a n  a  a  a  ...  a

n ตัว
เรียก a n ว่า เลขยกกาลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กาลัง
8. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ
พร้อมตรวจกับให้นักเรียนตรวจตามเฉลย ถ้านักเรียนทาแบบหลังเรียนได้ถูกต้อง 7 ข้อขึ้นไปถือว่า
ผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนคนใดทาแบบทดสอบหลังเรียนถูกต้องน้อยกว่า 7 ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ ครูเรียก
นักเรียนมาสอนนอกเวลา เป็นรายบุคคลและให้นักเรียนไปศึกษาแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 อีกครั้งหนึ่ง
7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
7.2 แบบฝึกทักษะที่ 1.1 – 1.4
7.3 เพลงเลขยกกาลัง
7.4 ห้องสมุดโรงเรียนนราธิวาส

8. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้

ประเด็นการวัด วิธีการวัดผล เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน


ด้านความรู้ (K)
1. สามารถบอกความหมาย -ตรวจแบบทดสอบ -แบบทดสอบก่อน -ผู้ผ่านการประเมินได้
ของเลขยกกาลังได้ ก่อนเรียนและ เรียนและหลังเรียน คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป
2. เขียนจานวนที่กาหนดให้ใน หลังเรียน ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
รูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง จานวน 10 ข้อ จานวน 10 ข้อ
เป็นจานวนเต็มบวกได้ -ตรวจแบบฝึก -แบบฝึกทักษะที่
3. เขียนจานวนที่แทนเลขยก ทักษะที่ 1.1 – 1.4 1.1 – 1.4
กาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวน
เต็มบวกที่กาหนดให้ได้

นูรีมาน สือรี
113
ประเด็นการวัด วิธีการวัดผล เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ความสามารถในการคิด -สังเกตการทางาน -แบบประเมิน -ผู้ผ่านการประเมินได้
2. ความสามารถในการ การทางาน คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้น
แก้ปัญหา ไป
3. ความสามารถในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และ
นาเสนอ
4. นาความรู้เชื่อมโยงเนื้อหา
ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ได้
ด้านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ (A) -สังเกตคุณลักษณะ -แบบประเมิน -ผู้ผ่านการประเมินได้
อันพึงประสงค์ คุณลักษณะ คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้น
ของนักเรียน อันพึงประสงค์ ไป
ของนักเรียน

8.1 เกณฑ์การประเมิน
8.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
แบบปรนัย จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
9 - 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
7 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
5 - 6 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
0 - 4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.2 แบบฝึกทักษะที่ 1.1 – 1.4 คะแนนเต็ม 50 คะแนน
39 - 50 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
26 - 38 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
13 - 25 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
0 - 12 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.3 แบบประเมินการทางาน คะแนนเต็ม 12 คะแนน
11 - 12 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
8 – 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
5 - 7 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.4 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนเต็ม 12 คะแนน
11 - 12 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
8 - 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)

นูรีมาน สือรี
114

5-7 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)


4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)

เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินการทางาน
รายการประเมิน คะแนน/ระดับคุณภาพ
3 2 1
1.ความสามารถ มีความสามารถในการ มีความสามารถในการ มีความสามารถในการคิด
ในการคิด คิดวิเคราะห์ เพื่อการ คิดวิเคราะห์ เพื่อการ วิเคราะห์ เพื่อการสร้าง
สร้างองค์ความรู้และมี สร้างองค์ความรู้และมี องค์ความรู้และมี
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคิด
เป็นระบบเพื่อการสร้าง เป็นระบบเพื่อการสร้าง เป็นระบบเพื่อการสร้าง
องค์ความรู้ได้ดี องค์ความรู้ได้พอสมควร องค์ความรู้ได้น้อย
2.ความสามารถ ใช้วิธีการดาเนินการ ใช้วิธีการดาเนินการ มีหลักฐานหรือร่องรอย
ในในการ แก้ปัญหาได้อย่างมี แก้ปัญหาได้อย่างมี การดาเนินการแก้ปัญหา
แก้ปัญหา ประสิทธิภาพและ ประสิทธิภาพและ บางส่วนแต่แก้ปัญหาไม่
อธิบายขั้นตอนของ อธิบายขั้นตอนของ สาเร็จ
วิธีการดังกล่าวได้อย่าง วิธีการดังกล่าวได้แต่ไม่
ชัดเจน ชัดเจน
3.ความสามารถ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์
ในการสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์ที่ ทางคณิตศาสตร์ ทางคณิตศาสตร์อย่าง
สื่อความหมาย ถูกต้องในการนาเสนอ นาเสนอ ลาดับขั้นตอน ง่ายๆ และนาเสนอข้อมูล
และนาเสนอ ลาดับขั้นตอนชัดเจน ได้ชัดเจนบางส่วนแต่ ไม่ชัดเจน
และมีรายละเอียดที่ ขาดรายละเอียดที่
สมบูรณ์ สมบูรณ์
4.นาความรู้ นาความรู้ หลักการและ นาความรู้ หลักการและ นาความรู้ หลักการและ
เชื่อมโยงเนื้อหา วิธีการทางคณิตศาสตร์ วิธีการทางคณิตศาสตร์ วิธีการทางคณิตศาสตร์ไป
ต่างๆ ใน ในการเชื่อมโยงกับสาระ ในการเชื่อมโยงกับสาระ เชื่อมโยงไม่เหมาะสม
คณิตศาสตร์ได้ คณิตศาสตร์ หรือสาระ คณิตศาสตร์ได้บางส่วน
อื่นๆ ในชีวิตประจาวัน
เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา
หรือประยุกต์ใช้ได้อย่าง
สอดคล้องและเหมาะสม

นูรีมาน สือรี
115

เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
รายการ คะแนน
ประเมิน 3 2 1
1. ซื่อสัตย์ ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมายด้วย
สุจริต ด้วยตนเอง/ปฏิบัติเป็น ด้วยตนเอง/ปฏิบัติบ้างเป็น ตนเอง/ปฏิบัติบ้างเป็นครั้ง
ประจาสม่าเสมอ ครั้งคราว คราวแต่ต้องมี
การแก้ไข
2. มีวินัย ปฏิบัติตามระเบียบและตรง ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ
ต่อเวลาในการปฏิบัติ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ ตรงต่อเวลาใน
กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย กิจกรรมเท่าที่ได้รับ การปฏิบัติกิจกรรมบ้าง
เป็นประจาสม่าเสมอ/ มอบหมาย/ปฏิบัติได้ด้วย เป็นครั้งคราว/ปฏิบัติได้
ปฏิบัติได้อย่างคล่องแคล่ว ตนเองแต่ไม่คล่องแคล่ว แต่ต้องมีการแก้ไข
3. ใฝ่ กล้าแสดงความคิดเห็นอย่าง ส่วนใหญ่ กล้าแสดงความ ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น
เรียนรู้ มีเหตุผล กล้ายอมรับความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล กล้า ไม่กล้ายอมรับความจริง
จริงซักถามและตอบคาถาม ยอมรับความจริงเป็นส่วน ซักถามและตอบคาถาม
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ใหญ่ ซักถามและตอบ ไม่ชัดเจน
คาถามได้อย่างถูกต้องแต่ไม่
ชัดเจน
4. มุ่งมั่น ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในแบบ
ในการ แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง ฝึกทักษะโดยอาศัยการชี้แนะ
ทางาน ครบทุกกิจกรรม และ เป็นบางครั้ง ปฏิบัติบาง แนะนา ปฏิบัติกิจกรรมโดยถูก
แนะนาผู้อื่นได้ รวมทั้งส่ง กิจกรรม และส่งงานช้ากว่า บังคับ
งานก่อนหรือตรง กาหนดแต่ได้มีการชี้แจง ส่งงานช้ากว่ากาหนด
กาหนดเวลา เหตุผลน่าฟัง
นัดหมาย

นูรีมาน สือรี
116

เพลง เลขยกกาลัง
(ทานอง เพลงช้ าง)

a กาลัง n
ให้ a แทน จานวนใด ๆ
และ n แทน จานวนเต็มบวก
เราเรี ยกว่า a กาลัง n
หรื อเรี ยกว่า a ยกกาลัง n
ความหมายคือ a คูณ n ตัว
a เป็ นฐาน และ n เป็ นเลขชี ้กาลัง
หนู หนู จาไว้ ให้ ดี
เราเรี ยกว่า เลขยกกาลัง (ซ ้า)
หนู หนู จงจาให้ ดี

ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=0tvoxcQZTsE

นูรีมาน สือรี
117

ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(นายชานาญ ฤทธิ์ช่วย)
รองผู้อานวยการโรงเรียนนราธิวาส

นูรีมาน สือรี
118

แบบบันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รหัส ค21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลัง เวลา 16 ชั่วโมง
เรื่องย่อย ความหมายของเลขยกกาลัง เวลา 2 ชั่วโมง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วันที่ …….เดือน ……………. พ.ศ. ………….


1. ผลการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขครั้งต่อไป
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................ผู้สอน
(นางนูรีมาน สือรี)

นูรีมาน สือรี
119

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รหัส ค21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลัง เวลา 16 ชั่วโมง
เรื่องย่อย การคูณของเลขยกกาลัง เวลา 3 ชั่วโมง

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์
ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด: ค 1.2 ม.1/4 .คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็นจานวน
เต็ม
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
2. สาระสาคัญ
เมื่อ a เป็นจานวนใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก
a m × an = a m + n
3. สาระการเรียนรู้
หาผลคูณของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มได้
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการคิด
4.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.3 ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ
4.4 นาความรู้เชื่อมโยงเนื้อหาต่างๆ ในคณิตศาสตร์ได้
5. ชิ้นงาน/ภาระงาน
5.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 จานวน 10 ข้อ
เรื่อง การคูณเลขยกกาลัง
5.2 แบบฝึกทักษะที่ 2.1 – 2.4

นูรีมาน สือรี
120

6. กิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนการโพลยา)
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูและนักเรียนร่วมกันฝึกร้องเพลงการคูณและการหารเลขยกกาลัง
2. ครูกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจนักเรียน
3. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ
เพื่อทดสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนรายบุคคล
4. นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยครู
ใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนา
เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2.1 ชุดที่ 2 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
6. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลย
แบบฝึกทักษะ 2.1 ชุดที่ 2 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกัน
อย่างไร ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
ชัว่ โมงที่ 2
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันฝึกร้องเพลงการคูณและการหารเลขยกกาลัง
2. ครูกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจนักเรียน
3. นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยครู
ใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนา
เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม
4. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2.2 ชุดที่ 2 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
5. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลยแบบฝึกทักษะ 2.2
ชุดที่ 2 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ครูชี้ประเด็นให้
นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
6. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2.3 ชุดที่ 2 โดยครูเดินตรวจสอบและให้คาแนะนาเมื่อมี
ข้อสงสัย
7. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลย
แบบฝึกทักษะ 2.3 ชุดที่ 2 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
ชั่วโมงที่ 3
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันฝึกร้องเพลงการคูณและการหารเลขยกกาลัง
2. ครูกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจนักเรียน
3. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง โจทย์ปัญหาการคูณของเลขยกกาลัง จากตัวอย่างที่ 1 ใน
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยครูใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม ดังนี้

นูรีมาน สือรี
121

-ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา
1. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างที่ 1 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2
2. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ให้มามีอะไร (ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น
7.9  10 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้าอุกกาบาตมีมวล 1.45  106 กิโลกรัม)
13

3. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ถามว่าอะไร (จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวล
เท่าใด)
-ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนจะวางแผนแก้ปัญหาอย่างไร
(จาก อุกกาบาตมีมวล 1.45  106 กิโลกรัม
และ ดาวเคราะห์มีมวลเป็น 7.9  1013 เท่าของอุกกาบาต
ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) กิโลกรัม )
-ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนทาตามแผนอย่างไร
(จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) กิโลกรัม
= (1.45  7.9)  (106  1013) กิโลกรัม
= 11.455  1019 กิโลกรัม
20
= 1.1455  10 กิโลกรัม
20
ดาวเคราะห์มีมวล 1.1455  10 กิโลกรัม )
- ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนตรวจสอบว่าค่าที่ได้ตรงตามที่ต้องการ
(จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) = 1.1455  1020 กิโลกรัม
จะได้ (1.45  7.9)  (106  1013) = 1.1455  1020 กิโลกรัม
11.455  1019 = 1.1455  1020 กิโลกรัม
1. 1455  1020 = 1.1455  1020 กิโลกรัม
เป็นจริง
ดังนัน้ ดาวเคราะห์มีมวล 1.1455  1020 กิโลกรัม
ตอบ)
4. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง โจทย์ปัญหาการคูณของเลขยกกาลัง จากตัวอย่างที่ 2 ใน
แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยครูใช้คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและซักถามเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจที่ตรงกัน ครูให้คาแนะนาเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยและสรุปเพิ่มเติม ดังนี้
-ขั้นตอนที่ 1 การทาความเข้าใจปัญหา
1. ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างที่ 2 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2
2. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ให้มามีอะไร (ไม้แผ่นหนึ่งหนา 3 เซนติเมตร
กว้าง 27 เซนติเมตร และยาว 81 เซนติเมตร)

นูรีมาน สือรี
122

3. ครูถามนักเรียนว่าสิ่งที่โจทย์ถามว่าอะไร (จงหาว่าไม้แผ่นนี้มีปริมาตรกี่
ลูกบาศก์เซนติเมตร)
-ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนวางแผนแก้ปัญหาอย่างไร
( จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
และ = 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
-ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนทาตามแผนอย่างไร
( จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
= 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3 4
= 3 3 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3+4+1
= 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8
'= 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8
ไม้แผ่นนี้มีปริมาตร 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
-ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
ครูถามนักเรียนว่านักเรียนตรวจสอบว่าค่าที่ได้ตรงตามที่ต้องการ
( จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
จะได้ 38 = 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
38 = 33  34  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8 3+4+1
3 = 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8 8
3 = 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
8
ดังนั้น ไม้แผ่นนี้มีปริมาตร 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตอบ)
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2.4 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยครูเดินตรวจสอบและให้
คาแนะนาเมื่อมีข้อสงสัย
6. ครูสุ่มให้นักเรียนนาเสนอคาตอบบนกระดานพร้อมตรวจความถูกต้องจากเฉลย
แบบฝึกทักษะ 2.4 ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 โดยเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนกับเฉลยว่าเหมือน
หรือต่างกันอย่างไร ครูชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นถึงคาตอบที่ถูกต้อง
7. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปได้ว่า
เมื่อ a เป็นจานวนใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก
a m × a n = am + n
(เลขยกกาลังที่มีฐานเหมือนกันคูณกัน ให้นาเลขชี้กาลังมาบวกกัน)
8. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ
พร้อมตรวจกับให้นักเรียนตรวจตามเฉลย ถ้านักเรียนทาแบบหลังเรียนได้ถูกต้อง 7 ข้อขึ้นไปถือว่า

นูรีมาน สือรี
123

ผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนคนใดทาแบบทดสอบหลังเรียนถูกต้องน้อยกว่า 7 ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ ครูเรียก


นักเรียนมาสอนนอกเวลา เป็นรายบุคคลและให้นักเรียนไปศึกษาแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 อีกครั้งหนึ่ง
7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
7.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ในแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2
เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง
7.2 แบบฝึกทักษะที่ 2.1 – 2.4
7.3 เพลงการคูณและการหารเลขยกกาลัง
7.4 ห้องสมุดโรงเรียนนราธิวาส

8. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
ประเด็นการวัด วิธีการวัดผล เครื่องมือในการวัด เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้ (K)
หาผลคูณของเลขยกกาลังเมื่อ -ตรวจแบบทดสอบ -แบบทดสอบก่อน -ผู้ผ่านการประเมินได้
เลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มได้ ก่อนเรียนและหลัง เรียนและหลังเรียน คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป
เรียนชุดที่ 2 ชุดที่ 2
จานวน 10 ข้อ จานวน 10 ข้อ
-ตรวจแบบฝึก -แบบฝึกทักษะที่
ทักษะที่ 2.1 – 2.4 2.1 – 2.4

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ความสามารถในการคิด -สังเกตการทางาน -แบบประเมิน -ผู้ผ่านการประเมินได้
2. ความสามารถในการ การทางาน คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้น
แก้ปัญหา ไป
3. ความสามารถในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และ
นาเสนอ
4. นาความรู้เชื่อมโยงเนื้อหา
ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ได้
ด้านคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ (A) -สังเกตคุณลักษณะ -แบบประเมิน -ผู้ผ่านการประเมินได้
อันพึงประสงค์ของ คุณลักษณะอันพึง คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้น
นักเรียน ประสงค์ของ ไป
นักเรียน

นูรีมาน สือรี
124

8.1 เกณฑ์การประเมิน
8.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง
แบบปรนัย จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
9 - 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
7 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
5 - 6 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
0 - 4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.2 แบบฝึกทักษะที่ 2.1 – 2.4 คะแนนเต็ม 35 คะแนน
27 - 35 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
18 - 26 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
9 - 17 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
0 - 8 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.3 แบบประเมินการทางาน คะแนนเต็ม 12 คะแนน
11 - 12 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
8 – 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
5 - 7 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)
8.1.4 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนเต็ม 12 คะแนน
11 - 12 คะแนน ระดับคุณภาพ 3 (ดีมาก)
8 - 10 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 (ดี)
5 - 7 คะแนน ระดับคุณภาพ 1 (พอใช้)
4 คะแนน ระดับคุณภาพ 0 (ปรับปรุง)

นูรีมาน สือรี
125

เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินการทางาน

รายการประเมิน คะแนน/ระดับคุณภาพ
3 2 1
1.ความสามารถ มีความสามารถในการ มีความสามารถในการ มีความสามารถในการคิด
ในการคิด คิดวิเคราะห์ เพื่อการ คิดวิเคราะห์ เพื่อการ วิเคราะห์ เพื่อการสร้าง
สร้างองค์ความรู้และมี สร้างองค์ความรู้และมี องค์ความรู้และมี
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคิด ความสามารถในการคิด
เป็นระบบเพื่อการสร้าง เป็นระบบเพื่อการสร้าง เป็นระบบเพื่อการสร้าง
องค์ความรู้ได้ดี องค์ความรู้ได้พอสมควร องค์ความรู้ได้น้อย
2.ความสามารถ ใช้วิธีการดาเนินการ ใช้วิธีการดาเนินการ มีหลักฐานหรือร่องรอย
ในในการ แก้ปัญหาได้อย่างมี แก้ปัญหาได้อย่างมี การดาเนินการแก้ปัญหา
แก้ปัญหา ประสิทธิภาพและ ประสิทธิภาพและ บางส่วนแต่แก้ปัญหาไม่
อธิบายขั้นตอนของ อธิบายขั้นตอนของ สาเร็จ
วิธีการดังกล่าวได้อย่าง วิธีการดังกล่าวได้แต่ไม่
ชัดเจน ชัดเจน
3.ความสามารถ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
ในการสื่อสาร ทางคณิตศาสตร์ที่ ทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์อย่างง่ายๆ
สื่อความหมาย ถูกต้องในการนาเสนอ นาเสนอ ลาดับขั้นตอน และนาเสนอข้อมูล
และนาเสนอ ลาดับขั้นตอนชัดเจน ได้ชัดเจนบางส่วนแต่ ไม่ชัดเจน
และมีรายละเอียดที่ ขาดรายละเอียดที่
สมบูรณ์ สมบูรณ์
4.นาความรู้ นาความรู้ หลักการและ นาความรู้ หลักการและ นาความรู้ หลักการและ
เชื่อมโยงเนื้อหา วิธีการทางคณิตศาสตร์ วิธีการทางคณิตศาสตร์ วิธีการทางคณิตศาสตร์ไป
ต่างๆ ใน ในการเชื่อมโยงกับสาระ ในการเชื่อมโยงกับสาระ เชื่อมโยงไม่เหมาะสม
คณิตศาสตร์ได้ คณิตศาสตร์ หรือสาระ คณิตศาสตร์ได้บางส่วน
อื่นๆ ในชีวิตประจาวัน
เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา
หรือประยุกต์ใช้ได้อย่าง
สอดคล้องและเหมาะสม

นูรีมาน สือรี
126

เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน

รายการ คะแนน
ประเมิน 3 2 1
1. ซื่อสัตย์ ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมายด้วย
สุจริต ด้วยตนเอง/ปฏิบัติเป็น ด้วยตนเอง/ปฏิบัติบ้างเป็น ตนเอง/ปฏิบัติบ้างเป็นครั้ง
ประจาสม่าเสมอ ครั้งคราว คราวแต่ต้องมี
การแก้ไข
2. มีวินัย ปฏิบัติตามระเบียบและตรง ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ปฏิบัติตามกฎระเบียบและ
ต่อเวลาในการปฏิบัติ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ ตรงต่อเวลาใน
กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย กิจกรรมเท่าที่ได้รับ การปฏิบัติกิจกรรมบ้าง
เป็นประจาสม่าเสมอ/ มอบหมาย/ปฏิบัติได้ด้วย เป็นครั้งคราว/ปฏิบัติได้
ปฏิบัติได้อย่างคล่องแคล่ว ตนเองแต่ไม่คล่องแคล่ว แต่ต้องมีการแก้ไข
3. ใฝ่ กล้าแสดงความคิดเห็นอย่าง ส่วนใหญ่ กล้าแสดงความ ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น
เรียนรู้ มีเหตุผล กล้ายอมรับความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล กล้า ไม่กล้ายอมรับความจริง
จริงซักถามและตอบคาถาม ยอมรับความจริงเป็นส่วน ซักถามและตอบคาถาม
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ใหญ่ ซักถามและตอบ ไม่ชัดเจน
คาถามได้อย่างถูกต้องแต่ไม่
ชัดเจน
4. มุ่งมั่น ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในแบบ
ในการ แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง ฝึกทักษะโดยอาศัยการชี้แนะ
ทางาน ครบทุกกิจกรรม และ เป็นบางครั้ง ปฏิบัติบาง แนะนา ปฏิบัติกิจกรรมโดยถูก
แนะนาผู้อื่นได้ รวมทั้งส่ง กิจกรรม และส่งงานช้ากว่า บังคับ
งานก่อนหรือตรง กาหนดแต่ได้มีการชี้แจง ส่งงานช้ากว่ากาหนด
กาหนดเวลา เหตุผลน่าฟัง
นัดหมาย

นูรีมาน สือรี
127

เพลงการคูณและการหารเลขยกกาลัง
คาร้ อง ศ. ยุพนิ พิพธิ กุล ทานองและเรี ยบเรี ยง อัศวิน พึง่ คุณพระ
a กาลัง m คูณด้ วย ( หารด้ วย ) a กาลัง n
จะเท่ากับ a กาลัง m + n ( m – n )
a เป็ นจานวน ที่ไม่ใช่ศนู ย์นนหนา
ั้
m และ n กาหนดเป็ นจานวนเต็ม
ขอจงได้ จา ทุกถ้ อยคา ให้ ถกู เอย
ขอจงได้ จา ทุกถ้ อยคา

ที่มา http://www.pathumrat.ptpk.ac.th/webmath/Kanitsat-2/pheng5.htm

นูรีมาน สือรี
128

ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ...............................................
(นายชานาญ ฤทธิ์ช่วย)
รองผู้อานวยการโรงเรียนนราธิวาส

นูรีมาน สือรี
129

แบบบันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รหัส ค21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลัง เวลา 16 ชั่วโมง
เรื่องย่อย การคูณของเลขยกกาลัง เวลา 3 ชั่วโมง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วันที่ …….. เดือน …………………. พ.ศ. ……………


1. ผลการจัดการเรียนรู้
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ข้อเสนอแนะหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขครั้งต่อไป
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................ผู้สอน
(นางนูรีมาน สือรี)

นูรีมาน สือรี
130

ภาคผนวก ฎ
แบบฝึกทักษะ

นูรีมาน สือรี
131

คานา

แบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง จัดทาขึ้นเพื่อใช้ ประกอบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ค21101 ใน
การสร้างแบบฝึกทักษะเล่มนี้ มีทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 3 เรื่อง การหารของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 4 เรื่อง สมบัติของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 5 เรื่อง การนาไปใช้
ในการจัดทาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ให้การอนุเคราะห์ตรวจสอบ
คุณภาพ พร้อมทั้งให้คาแนะนาในการจัดทา ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะเล่มนี้
จะเป็นประโยชน์กับครูผู้ สอน และนักเรียนในการที่จะทาให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา ให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

นูรีมาน สือรี

นูรีมาน สือรี
132

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทบาทครู 1
บทบาทนักเรียน 2
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 5
สาระการเรียนรู้ 8
แบบฝึกทักษะ ที่ 1.1 9
แบบฝึกทักษะ ที่ 1.2 13
แบบฝึกทักษะ ที่ 1.3 18
แบบฝึกทักษะ ที่ 1.4 23
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 26
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 29
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 1.1 30
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 1.2 31
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 1.3 32
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 1.4 34
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 38
แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1 39
บรรณานุกรม 40

นูรีมาน สือรี
133

บทบาทครู

1. ศึกษาและทาความเข้าใจวิธีการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง


ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของ
แบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ให้ชัดเจน
2. ชี้แจงบทบาทของนักเรียน เวลาที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมแต่ละกิจกรรม หรือ
แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน ก่อนเริ่ม
เรียนในแต่ละแบบฝึกทักษะ
4. แจกแบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ให้นักเรียนศึกษาและ
แนะนาวิธีใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง เพื่อนักเรียนจะได้ปฏิบัติได้
อย่างถูกต้อง
5. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
6. ในขณะที่นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้
คาแนะนา
กรณีที่นักเรียนไม่เข้าใจในทาแบบฝึกทักษะ และต้องพยายามกระตุ้นให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมด้วยตนเองมากที่สุด
7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยแบบฝึกทักทักษะ
เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง เสร็จเรียบร้อยในแต่ละแบบฝึกทักษะ

นูรีมาน สือรี
134

บทบาทนักเรียน

1. อ่านคาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง และบทบาท


ของนักเรียนให้เข้าใจ
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 20 นาที เพื่อประเมิน
ความรู้เดิมของนักเรียน
3. ศึกษาแบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ใน
แบบฝึกทักษะ
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 20 นาที เพื่อทราบ
ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนหลังจากทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยในแต่ละชุด
5. ในการทากิจกรรมตามแบบฝึกทักษะ เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลังทุกชุด
ขอให้นักเรียนทาด้วยความตั้งใจให้ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ ต่อตนเองให้มากที่สุด

นูรีมาน สือรี
135

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวน
ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด: ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม และ
เขียนแสดงจานวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
(scientific notation)

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
ตัวชีว้ ัด: ค 6.1 ม.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ

นูรีมาน สือรี
136

จุดประสงค์การเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ
1. บอกความหมายของเลขยกกาลังได้
2. เขียนจานวนที่กาหนดให้ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกได้
3. เขียนจานวนที่แทนเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกที่กาหนดให้ได้
ทักษะกระบวนการ
1. การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2. การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในทางคณิตศาสตร์
3. การให้เหตุผล
4. การนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน

นูรีมาน สือรี
137

แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง

คาสั่ง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ


คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครือ่ งหมาย
กากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่ต้องการ

1. มีความหมายตรงกับตัวเลือกใด
ก. 4  4  4  4
ข. 4  4  4
ค. (-3)  (-3)  (-3)  (-3)
ง. (-3)  (-3)  (-3)  (-3)  (-3)
2. (0.6)  (0.6)  (0.6) เขียนแทนได้ตรงกับตัวเลือกใด
ก. (0.6)3
ข. (0.6)6
ค. 63
ง. 66
3. ตัวเลือกใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ 35
ก. เลขยกกาลังมี 3 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
ข. เลขยกกาลังมี 3 เป็นฐาน และ 5 เป็นเลขชี้กาลัง
ค. เลขยกกาลังมี 5 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
ง. เลขยกกาลังมี 5 เป็นฐาน และ 5 เป็นเลขชี้กาลัง

นูรีมาน สือรี
138

4. ตัวเลือกใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. (-5)3 อ่านว่า ลบห้าทั้งหมดยกกาลังสาม
3
 1
ข.    อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนห้ายกกาลังสาม
 5
6
 
1
ค.   อ่านว่า หกยกกาลังเศษหนึ่งส่วนสี่
4
ง. (0.3)5 อ่านว่า กาลังสามของห้า

5. เขียน เป็นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1 ตรงกับตัวเลือกใด

ก. 53
ข. 54
3
1
ค.  
5
4
1
ง.  
5

6. เขียน -243 เป็นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1 ตรงกับตัวเลือกใด


ก. (-3)5
ข. 34
ค. 3- 5
5
 1
ง.  
 3

นูรีมาน สือรี
139

7. เขียน 16 เป็นรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนเฉพาะตรงกับตัวเลือกใด
ก. 23
ข. 24
ค. 42
ง. 43

8. ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร 1,331 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาว่าลูกบาศก์นี้มีด้านยาว


แต่ละด้านกี่เซนติเมตร
ก. 10 เซนติเมตร
ข. 11 เซนติเมตร
ค. 12 เซนติเมตร
ง. 13 เซนติเมตร

9. ถ้าให้ x = 2, y = -6 และ z = 0.5 จงหาค่าของ 3(y + z)x ตรงกับตัวเลือกใด


ก. 90.15
ข. 90.25
ค. 90.50
ง. 90.75

10. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 12 x = 144 แล้ว x แทนจานวนใด


ก. 0
ข. 1
ค. 2
ง. 3

นูรีมาน สือรี
140

ความหมายของเลขยกกาลัง

บทนิยาม

ถ้า a แทนจานวนใด ๆ และ n แทนจานวนเต็มบวก “a ยกกาลัง n” หรือ


“a กาลัง n” เขียน an มีความหมายดังนี้
แทนด้วย
an = a × a × a ×… × a
n ตัว
n
เรียก a ว่าเลขยกกาลัง ที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กาลัง
ตัวอย่าง
สัญลักษณ์ 32 หมายถึง 3 × 3
32 มี 3 เป็นฐาน และ มี 2 เป็นเลขชี้กาลัง
สัญลักษณ์ (-2)8 หมายถึง (-2) × (-2) × (-2) × (-2) × (-2) × (-2) × (-2) × (-2)
(-2)8 มี (-2) เป็นฐาน และ มี 8 เป็นเลขชี้กาลัง
สัญลักษณ์ - 28 หมายถึง - (2 × 2 × 2 × 2× 2 × 2× 2 × 2)
- 28 มี 2 เป็นฐาน และ มี 8 เป็นเลขชี้กาลัง
3
 1   1   1   1 
สัญลักษณ์   หมายถึง   ×   ×  
 5   5  5  5
3
 1   1 
  มี   เป็นฐาน และ มี 3 เป็นเลขชี้กาลัง
 5   5

สัญลักษณ์ (0.4)2 หมายถึง (0.4) × (0.4)


(0.4)2 มี (0.4) เป็นฐาน และ มี 2 เป็นเลขชี้กาลัง

นูรีมาน สือรี
141

แบบฝึกทักษะที่ 1.1

คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)


ข้อ เลขยกกาลัง ฐาน เลขชี้กาลัง ความหมาย
ตัวอย่าง 82 8 2 8×8
1. 53
2. 25
3. (-3)8
4. (-5)4
5. -86
6. (-0.2)2
7. (0.7)5
8.  4
4

 - 
 7
9.  2
3

 
 5
10.  1
2

 
 3

นูรีมาน สือรี
142

การเขียนเลขยกกาลัง

การเขียนเลขยกกาลังจะเขียนเลขชี้กาลังไว้ด้านบนของฐานเยื้องไปทางขวา เช่น 48
สาหรับเลขชี้กาลังที่เป็น 1 จะไม่นิยมเขียน เพราะหมายถึงตั วมันเอง เช่น จานวน 41 จะ
เขียนเพียง 4 ไม่ใส่เลขชี้กาลัง ส่วนกรณีที่เป็นเศษส่วน จานวนลบ หรือทศนิยม จะนิยม
10
1
เขียนฐานไว้ในวงเล็บและเขียนเลขชี้กาลังไว้บนวงเล็บ เช่น   , (-2)6 , (2.1)3 เป็นต้น
2
การเขียนเลขยกกาลังในรูปการคูณของจานวนที่ซ้ากัน จะนาฐานมาคูณกันให้มี
จานวนที่ซ้ากันเท่ากับเลขชี้กาลัง เช่น 27 นั่นคือ นาฐาน 2 มาเขียนในรูปการคูณโดยคูณ
กันจานวน 7 ตัว จะได้ 2  2  2  2  2  2  2

นูรีมาน สือรี
143

การอ่านเลขยกกาลัง

การอ่านเลขยกกาลังมีหลายแบบ เช่น
1) 64 อ่านว่า หกยกกาลังสี่
หรือ หกกาลังสี่
หรือ กาลังสี่ของหก

2) (-2)5 อ่านว่า ลบสองทั้งหมดยกกาลังห้า


หรือ ลบสองทั้งหมดกาลังห้า
หรือ กาลังห้าของลบสอง

3) - 25 อ่านว่า ลบของสองยกกาลังห้า
หรือ ลบของสองกาลังห้า
หรือ ลบของกาลังห้าของสอง

4) (0.2)7 อ่านว่า ศูนย์จุดสองทั้งหมดยกกาลังเจ็ด


หรือ ศูนย์จุดสองทั้งหมดกาลังเจ็ด
หรือ กาลังเจ็ดของศูนย์จุดสอง

2
1
5)   อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดยกกาลังสอง
4
หรือ เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดกาลังสอง
หรือ กาลังสองของเศษหนึ่งส่วนสี่

นูรีมาน สือรี
144

ตัวอย่าง จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง

1. 777 เขียนแทนด้วยคือ 73
2. - (11  11) เขียนแทนด้วยคือ - (11)2
3. (-6)(-6)(-6) เขียนแทนด้วยคือ (-6)3
4. (-5)  (-5)  (-5)  (-5) เขียนแทนด้วยคือ (-5)4
5. (2.4)  (2.4)  (2.4)  (2.4)  (2.4)  (2.4) เขียนแทนด้วยคือ (2.4)6
5

6.  1  ×  1  ×  1  ×  1  ×  1  เขียนแทนด้วยคือ  1 
 2   2   2   2   2  2
5
7. a  a  a  a  a เขียนแทนด้วยคือ a

นูรีมาน สือรี
145

แบบฝึกทักษะที่ 1.2
คาชี้แจง ตอนที่ 1. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (10 คะแนน)
1. 2 × 2 × 2 × 2 เขียนแทนด้วย
2. 4 × 4 × 4 × 4 × 4 เขียนแทนด้วย
3 3 3
3.   ×   ×   เขียนแทนด้วย
8 8 8
 1  1 
4.  -   -  เขียนแทนด้วย
 3  3 
5. (0.6) × (0.6) × (0.6) × (0.6) × (0.6) เขียนแทนด้วย
6. – (5 × 5 × 5) เขียนแทนด้วย
7. (-0.1) × (-0.1) × (-0.1) × (-0.1) เขียนแทนด้วย
8. (-8) × (-8) × (-8) × (-8) × (-8) × (-8) เขียนแทนด้วย
9. -  5  5  5  5  เขียนแทนด้วย
 9 9 9 9
10. (-a) × (-a) × (-a) × (-a) × (-a) × (-a) เขียนแทนด้วย

คาชี้แจง ตอนที่ 2. จงจับคู่เลขยกกาลังในแต่ละข้อต่อไปนี้กับการอ่านเลขยกกาลังนั้น


(5 คะแนน)

เลขยกกาลัง การอ่านเลขยกกาลัง
4
1) 3 ก. อ่านว่า ลบของสามยกกาลังเจ็ด
2) (-6)5 ข. อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดยกกาลังหก
3) - 37 ฃ. อ่านว่า สามยกกาลังสี่
4) (0.5)2 ค. อ่านว่า สามยกกาลังเจ็ด
6
1
5)   ฅ. อ่านว่า ศูนย์จุดห้าทั้งหมดยกกาลังสอง
4
ฆ. อ่านว่า ลบหกทั้งหมดยกกาลังห้า

นูรีมาน สือรี
146

การหาค่าของเลขยกกาลัง

ทบทวนการคูณจานวนลบสรุปสั้น ๆ ได้ดังนี้

จานวนลบที่นามาคูณ ถ้าตัวคูณมีจานวนเป็นจานวนคู่ ได้ผลคูณเป็นบวก ( + )

ตัวอย่างที่ 1 จงหาเลขยกกาลังต่อไปนี้แทนจานวนใด
2
 1
(1) (-1)4 (2) (-2)2 (3)   (4) (-0.4)4
 4
วิธีทา (1) (-1)4 = (-1)  (-1)  (-1)  (-1) = 1
(2) (-2)2 = (-2) (-2) = 4
2
 1  1  1 1 1 1
(3)   =        =
 4  4  4 4 4 16
(4) (-0.4)4 = (-0.4)(-0.4)(-0.4)(-0.4) = 0.0256

จานวนลบที่นามาคูณ ถ้าตัวคูณมีจานวนเป็นจานวนคี่ ได้ผลคูณเป็นลบ ( - )

ตัวอย่างที่ 2 จงหาเลขยกกาลังต่อไปนี้แทนจานวนใด
3
 1
(1) (-1)5 (2) (-2)3 (3)   (4) (-0.3)3
 3
วิธีทา (1) (-1)5 = (-1)  (-1)  (-1)  (-1)  (-1) = -1
(2) (-2)3 = (-2)  (-2)  (-2) = -8
3
 1  1  1  1 1 1 1 1
(3)   =                 =-
 3  3  3  3  3 3 3 27
3
(4) (-0.3) = (-0.3)  (-0.3)  (-0.3) = - (0.3  0.3  0.3)
= -0.027

นูรีมาน สือรี
147

ตัวอย่างที่ 3 จงหาว่าเลขยกกาลังต่อไปนี้แทนจานวนใด
2
1
(1) 52 (2) 65 (3)  
4
(4) (0.4)4 (5) (0.02)3
วิธีทา
(1) 52 = 5  5 = 25
(2) 65 = 6  6  6 6  6 = 7,776
2
1
(3)   =  1    1  = 1
4 4 4 16
(4) (0.4)4 = (0.4)  (0.4)  (0.4)  (0.4) = 0.0256
(5) (0.02)3 = (0.02)  (0.02)  (0.02) = 0.000008

นูรีมาน สือรี
148

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 8 ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนเฉพาะ


วิธีคิด พิจารณาเลือกจานวนเฉพาะ คือ 2, 3, 5, 7, ... ที่นาไปหาร 8 ได้ลงตัว
วิธีทา 8 = 42
= 222
= 23
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน 729 ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1
วิธีทา 729 = 243  3
= 81  3  3
= 993 3
= 333 333
= 36
ตัวอย่างที่ 3 จงเขียน 36 ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1
วิธีทา 36 = 4  9
= 2233
= (2  3)  (2  3)
= 66
= 62
ตัวอย่างที่ 4 ถ้าให้ x = 4, y =- 5 และ z = 1.2 จงหาค่าของจานวนต่อไปนี้
4

(1) x3 (2) -  y  (3) (y +z)x


z
3 3
วิธีทา (1) x = 4 = 4  4  4 = 64
 - 5   5   5   5 
4 4

(2) -  y  =   - 5        
z  1.2   1.2  1.2  1.2  1.2 
 55 55   625 
=     
 1.2  1.2 4 1.2  1.2   2.0736 
(3) (y + z)x = [(- 5) +1.2] = (- 3.8) 4

= (- 3.8)  (- 3.8) (- 3.8)  (- 3.8) = 208.5136

นูรีมาน สือรี
149

ตัวอย่างที่ 5 ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 7x = 343 แล้ว x แทนจานวนใด


วิธีคิด เปลี่ยน 343 เป็นฐาน 7
วิธีทา จาก 7x = 343
343 = 7  7  7 = 73
หรือ 7x = 73
= 1
7 x–3 = 1
X–3 = 0
X = 3

นูรีมาน สือรี
150

แบบฝึกทักษะที่ 1.3
คาชี้แจง ตอนที่ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนเฉพาะ
(5 คะแนน)
1. 32 = =
2. 289 = =
3. 361 = =
4. 529 = =
5. 841 = =

คาชี้แจง ตอนที่ 2 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1


แทนจานวนต่อไปนี้ (5 คะแนน)
1. 100 = =
2. 1,024 = =
3. 2,401 = =
4. 0.027 = =
1
5. = =
49

คาชี้แจง ตอนที่ 3 ถ้าให้ x = 1, y = -3 และ z = 0.2 จงหาค่าของจานวนต่อไปนี้


(3 คะแนน)
1. x3 = =
2
 y
2.   = =
z
3. 2(y + z)x = =

นูรีมาน สือรี
151

คาชี้แจง ตอนที่ 4
1. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 5 x = 125 แล้ว x แทนจานวนใด
(1 คะแนน)

2. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 3 x = 243 แล้ว x แทนจานวนใด


(1 คะแนน)

นูรีมาน สือรี
152

โจทย์ปัญหา

ตัวอย่าง1 ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร 216 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาว่าลูกบาศก์


นี้มีสันยาวเท่าใด

วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา


1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร 216 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. สิ่งที่โจทย์ถาม จงหาว่าลูกบาศก์นี้มีสันยาวเท่าใด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ลูกบาศก์ คือ รูปทรงสี่เลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีด้าน (หรือสัน) ยาวเท่ากันทุก
ด้าน ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
216 = ด้าน  ด้าน  ด้าน
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 216 = 6  6  6 ลูกบาศก์เซนติเมตร
216 = 63 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ลูกบาศก์นี้มีสันยาวเท่ากับ 6 เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ปริมาตรของลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 216 = 6  6  6 ลูกบาศก์เซนติเมตร
216 = 216 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
ดังนั้น ลูกบาศก์นี้มีสันยาวเท่ากับ 6 เซนติเมตร
ตอบ

นูรีมาน สือรี
153

ตัวอย่าง 2 ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัดกิจกรรมคูปองสะสมแลกของรางวัล ซึ่งวันที่


เด็กหญิงโอปอมาซื้อจะได้เก็บสะสมคูปอง เพื่อจะนามาแลกของรางวัลใน
ทุก ๆ วันที่ 5 เมื่อครบ 5 วัน เด็กหญิงโอปอจะต้องนาคูปองที่สะสมมา
แลกของรางวัล
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3
วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
อยากทราบว่าเด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปองภายใน 5 วัน ได้คูปองกี่ใบ
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัดกิจกรรมคูปองสะสมแลก
ของรางวัล ซึ่งวันที่เด็กหญิงโอปอมาซื้อจะได้เก็บสะสม
คูปอง เพื่อจะนามาแลกของรางวัลในทุก ๆ วันที่ 5 เมื่อ
ครบ 5 วัน เด็กหญิงโอปอจะต้องนาคูปองที่สะสมมา
แลกของรางวัล
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3
วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
2. สิ่งที่โจทย์ถาม อยากทราบว่าเด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปอง
ภายใน 5 วันได้คูปองกี่ใบ
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของ
วันที่ 1 วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2 วันที่ 4 สะสม

นูรีมาน สือรี
154

คูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3 วันที่ 5 สะสมคูปอง


เพราะคูปองเพิ่มขึ้น 2 เท่าของแต่ละวัน
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก วันที่ 1 จานวนคูปอง 2 = 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22 = 4 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23 = 8 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24 = 16 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25 = 32 ใบ
เด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปองภายใน 5 วัน ได้คูปอง 32 ใบ
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก วันที่ 1 จานวนคูปอง 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25 ใบ
จะได้ คูปองวันที่ 1 ถึง วันที่ 5 25 = 32 ใบ
32 = 32 ใบ เป็นจริง
ดังนั้น เด็กหญิงโอปอเก็บสะสมคูปองภายใน 5 วัน ได้คูปอง 32 ใบ
ตอบ

นูรีมาน สือรี
155

แบบฝึกทักษะที่ 1.4
1. ถังทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีปริมาตรภายใน 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความยาวของ
แต่ละด้านภายในถังเป็นกี่เซนติเมตร (5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
2. สิ่งที่โจทย์ถาม
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ………………………………………………………………………………......................
และ …………………………………………………………………………………………………
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก …………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………….……………………………………….
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก …………………………………………………………………………………………………
จะได้ ……………………………………………………………………..……………………….
……………………………………………………………………………………………….
ดังนั้น .............................................................................................................

ตอบ

นูรีมาน สือรี
156

2. ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัดกิจกรรมคูปองสะสมแลกของรางวัล ซึ่งวันที่


เด็กหญิงปรียานุชมาซื้อน้าจะได้เก็บสะสมคูปอง เพื่อจะนามาแลกของรางวัลในทุก ๆ
วันที่ 7 เมื่อครบ 7 วัน เด็กหญิงปรียานุชจะต้องนาคูปองที่สะสมมาแลก
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3
วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
วันที่ 6 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 5
วันที่ 7 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 6
อยากทราบว่าเด็กหญิงปรียานุชเก็บสะสมคูปองภายใน 7 วัน ได้คูปองกี่ใบ
(5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................

2. สิ่งที่โจทย์ถาม ..........................................................................................

นูรีมาน สือรี
157

ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ...................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ...................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
จะได้...................................................................................................................
...................................................................................................................
ดังนั้น .................................................................................................................

ตอบ

นูรีมาน สือรี
158

แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที
คาสั่ง 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครือ่ งหมาย
กากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่ต้องการ

1. ตัวเลือกใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ 35
ก. เลขยกกาลังมี 3 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
ข. เลขยกกาลังมี 3 เป็นฐาน และ 5 เป็นเลขชี้กาลัง
ค. เลขยกกาลังมี 5 เป็นฐาน และ 3 เป็นเลขชี้กาลัง
ง. เลขยกกาลังมี 5 เป็นฐาน และ 5 เป็นเลขชี้กาลัง

2. มีความหมายตรงกับตัวเลือกใด
ก. 4  4  4  4
ข. 4  4  4
ค. (-3)  (-3)  (-3)  (-3)
ง. (-3)  (-3)  (-3)  (-3)  (-3)

3. (0.6)  (0.6)  (0.6) เขียนแทนได้ตรงกับตัวเลือกใด


ก. (0.6)3
ข. (0.6)6
ค. 63
ง. 66

นูรีมาน สือรี
159

4. ตัวเลือกใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. (-5)3 อ่านว่า ลบห้าทั้งหมดยกกาลังสาม
3
 1
ข.    อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนห้ายกกาลังสาม
 5
6
1
ค.   อ่านว่า หกยกกาลังเศษหนึ่งส่วนสี่
 4 5
ง. (0.3) อ่านว่า กาลังสามของห้า

5. เขียน 16 เป็นรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนเฉพาะตรงกับตัวเลือกใด
ก. 23
ข. 24
ค. 42
ง. 43

6. เขียน -243 เป็นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1 ตรงกับตัวเลือกใด


ก. (-3)5
ข. 34
ค. 3- 5
5
 1
ง.  
 3

7. เขียน เป็นเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1 ตรงกับตัวเลือกใด


ก. 53
ข. 54
3
1
ค.  
5
4
1
ง.  
5

นูรีมาน สือรี
160

8. ถ้าให้ x = 2, y = -6 และ z = 0.5 จงหาค่าของ 3(y + z)x ตรงกับตัวเลือกใด


ก. 90.15
ข. 90.25
ค. 90.50
ง. 90.75

9. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 12 x = 144 แล้ว x แทนจานวนใด


ก. 0
ข. 1
ค. 2
ง. 3

10. ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร 1,331 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาว่าลูกบาศก์นี้มีด้านยาว


แต่ละด้านกี่เซนติเมตร
ก. 10 เซนติเมตร
ข. 11 เซนติเมตร
ค. 12 เซนติเมตร
ง. 13 เซนติเมตร

นูรีมาน สือรี
161

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ค
2. ก
3. ข
4. ก
5. ง
6. ก
7. ข
8. ข
9. ง
10. ค

นูรีมาน สือรี
162

เฉลยแบบทดสอบทักษะที่ 1.1

คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)


ข้อ เลขยก ฐาน เลขชี้ ความหมาย
กาลัง กาลัง
ตัวอย่าง 82 8 2 8×8
1. 53 5 3 5×5×5
2. 25 2 5 2×2×2×2×2
3. (-3)8 -3 8 (-3) × (-3) × (-3) × (-3) × (-3)
(-3) × (-3) × (-3)
4. (-5)4 -5 4 (-5) × (-5) × (-5) × (-5)
5. -86 8 6 -(8 × 8 × 8 × 8 × 8 × 8)

6. (-0.2)2 -0.2 2 (-0.2) × (-0.2)


7. (0.7)5 0.7 5 (0.7) × (0.7) × (0.7) × (0.7) ×
(0.7)
8.  4
4
 4 4  4  4  4  4
-  -   -  ×-  ×-  × - 
 7  7  7  7  7  7
9. 2
3
2 3 2 2 2
      ×  × 
5 5 5 5 5
10. 1
2
 1 
 
2 1 1
   3   × 3 
3 3  

นูรีมาน สือรี
163

เฉลยแบบทดสอบทักษะที่ 1.2

คาชี้แจง ตอนที่ 1. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (10 คะแนน)


1. 2 × 2 × 2 × 2 เขียนแทนด้วย
2. 4 × 4 × 4 × 4 × 4 เขียนแทนด้วย
3 3 3
3
3
3.   ×  ×  เขียนแทนด้วย  
8 8 8 8
 1  1 
2
 1
4.  -  -  เขียนแทนด้วย - 
 3  3   3
5. (0.6) × (0.6) × (0.6) × (0.6) × (0.6) เขียนแทนด้วย (0.6)5
6. – (5 × 5 × 5) เขียนแทนด้วย – 53
7. (-0.1) × (-0.1) × (-0.1) × (-0.1) เขียนแทนด้วย (-0.1)4
8. (-8) × (-8) × (-8) × (-8) × (-8) × (-8) เขียนแทนด้วย (-8)6
--  5  5  5  5 
4

9. เขียนแทนด้วย 5
 
 9 9 9 9 9
10. (-a) × (-a) × (-a) × (-a) × (-a) × (-a) เขียนแทนด้วย (-a)6
คาชี้แจง ตอนที่ 2. จงจับคู่เลขยกกาลังในแต่ละข้อต่อไปนี้กับการอ่านเลขยกกาลังนั้น
(5 คะแนน)

เลขยกกาลัง การอ่านเลขยกกาลัง
)34
(5 1คะแนน) ก. อ่านว่า ลบของสามยกกาลังเจ็ด
2) (-6)5 ข.อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ทั้งหมดยกกาลังหก
3) -37 ฃ. อ่านว่า สามยกกาลังสี่
4) (0.5)2 ค. อ่านว่า สามยกกาลังเจ็ด
6
1
5)   ฅ. อ่านว่า ศูนย์จุดห้าทั้งหมดยกกาลังสอง
4
ฆ. อ่านว่า ลบหกทั้งหมดยกกาลังห้า

นูรีมาน สือรี
164

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3

คาชี้แจง ตอนที่ 1 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวนเฉพาะ


(5 คะแนน)
1. 32 = 2  2  2  2 2 = 25
2. 289 = 17  17 = 172
3. 361 = 19  19 = 192
4. 529 = 23  23 = 23 2
5. 841 = 29  29 = 29 2
คาชี้แจง ตอนที่ 2 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังมากกว่า 1
แทนจานวนต่อไปนี้ (5 คะแนน)
1. 100 = 10  10 = 102
2. 1,024 = 2  2  2  2  2  2  2  = 210
222
3. 2,401 = 7  7  7  7 = 74
4. 0.027 = (0.3) × (0.3) × (0.3) = (0.3)3
 1 
×  1 
2

5. 1
=   = 1
49  7   7 
 
7

คาชี้แจง ตอนที่ 3 กาหนดให้ x = 1, y = - 3 และ z = 0.2 จงหาค่าของจานวนแต่ละข้อ


(3 คะแนน)
1. x3 = 111 = 1
2
 y 3   3 
2.   =      = 9
z  0.2   0.2  0.04
x 1
3. 2(y + z) = 2(-2.8) = -5.6

นูรีมาน สือรี
165

คาชี้แจง ตอนที่ 4
1. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 5 x = 125 แล้ว x แทนจานวนใด
(1 คะแนน)
จาก 5 x = 125
5x = 555
หรือ 5 x = 5 3
=1
5 x–3 = 1
X–3 = 0
X = 3
ตอบ

2. ถ้า x แทนจานวนเต็มบวก และ 3 x = 243 แล้ว x แทนจานวนใด


(1 คะแนน)
จาก 3 x = 243
3x = 33333
หรือ 3 x = 3 5
=1
3 x–5 = 1
X–5 = 0
X = 5
ตอบ

นูรีมาน สือรี
166

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4

1. ถังทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีปริมาตรภายใน 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความยาวของแต่ละ


ด้านภายในถังเป็นกี่เซนติเมตร
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ถังทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีปริมาตรภายใน 512
ลูกบาศก์เซนติเมตร
2. สิ่งที่โจทย์ถาม ความยาวของแต่ละด้านภายในถังเป็นกี่เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ลูกบาศก์ คือ ทรงสี่เลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีด้านยาวเท่ากันทุกด้าน
ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
และ 512 = ด้าน  ด้าน  ด้าน
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 512 = 8  8  8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
512 = 8 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ลูกบาศก์นี้มีด้านยาวแต่ละด้านภายในถังเป็น 8 เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ปริมาตรของถังทรงลูกบาศก์ = ด้าน  ด้าน  ด้าน
จะได้ 512 = 8  8  8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
512 = 512 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
ดังนั้น ลูกบาศก์นี้มีด้านยาวแต่ละด้านภายในถังเป็น 8 เซนติเมตร
ตอบ

นูรีมาน สือรี
167

3. ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัดกิจกรรมคูปองสะสมแลกของรางวัล ซึ่งวันที่


เด็กหญิงปรียานุชมาซื้อน้าจะได้เก็บสะสมคูปอง เพื่อจะนามาแลกของรางวัลในทุก ๆ
วันที่ 7 เมื่อครบ 7 วัน เด็กหญิงปรียานุชจะต้องนาคูปองที่สะสมมาแลก
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3
วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
วันที่ 6 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 5
วันที่ 7 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 6
อยากทราบว่าเด็กหญิงปรียานุชเก็บสะสมคูปองภายใน 7 วัน ได้คูปองกี่ใบ (5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ร้านค้าขายน้าแห่งหนึ่ง ได้จัดกิจกรรมคูปองสะสม
แลกของรางวัล ซึ่งวันที่เด็กหญิงปรียานุชมาซื้อจะได้เก็บ
สะสมคูปอง เพื่อจะนามาแลกของรางวัลในทุก ๆ วันที่ 7
เมื่อครบ 7 วัน เด็กหญิงปรียานุชจะต้องนาคูปอง
ที่สะสมมาแลกของรางวัล
วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ
วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 1
วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2
วันที่ 4 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3
วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
วันที่ 6 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 5
วันที่ 7 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 6
2. สิ่งที่โจทย์ถาม เด็กหญิงปรียานุชเก็บสะสมคูปองภายใน 7 วัน ได้คูปอง
กี่ใบ

นูรีมาน สือรี
168

ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก วันที่ 1 สะสมคูปองได้ 2 ใบ วันที่ 2 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของ
วันที่ 1 วันที่ 3 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 2 วันที่ 4 สะสม
คูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 3 วันที่ 5 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 4
วันที่ 6 สะสมคูปองได้ 2 เท่าของวันที่ 5 วันที่ 7 สะสมคูปองได้ 2
เท่าของวันที่ 6 เพราะคูปองเพิ่มขึ้น 2 เท่าของแต่ละวัน
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก วันที่ 1 จานวนคูปอง 2 = 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22= 4 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23= 8 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24= 16 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25= 32 ใบ
วันที่ 6 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 2 = 26= 64 ใบ
วันที่ 7 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2  2  2 = 27=128 ใบ
เด็กหญิงปรียานุชเก็บสะสมคูปองภายใน 7 วัน ได้คูปอง 128 ใบ
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก วันที่ 1 จานวนคูปอง 2 = 2 ใบ
วันที่ 2 จานวนคูปอง 2  2 = 22 ใบ
วันที่ 3 จานวนคูปอง 2  2  2 = 23 ใบ
วันที่ 4 จานวนคูปอง 2  2  2  2 = 24 ใบ
วันที่ 5 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2 = 25 ใบ
วันที่ 6 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2  2 = 26 ใบ
วันที่ 7 จานวนคูปอง 2  2  2  2  2  2  2 = 27 ใบ
จะได้ คูปองวันที่ 1 ถึง วันที่ 7 27 = 128 ใบ
128 = 128 ใบ
เป็นจริง

นูรีมาน สือรี
169

ดังนั้น เด็กหญิงปรียานุชเก็บสะสมคูปองภายใน 7 วัน ได้คูปอง 128 ใบ


ตอบ

นูรีมาน สือรี
170

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ข
2. ค
3. ก
4. ก
5. ข
6. ก
7. ง
8. ง
9. ค
10. ข

นูรีมาน สือรี
171

แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะ

ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน


(ผ่าน / ไม่ผ่าน)
แบบทดสอบก่อนเรียน 10
แบบฝึกทักษะที่ 1.1 10
แบบฝึกทักษะที่ 1.2 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.3 15
แบบฝึกทักษะที่ 1.4 10
รวมคะแนนแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน 50

แบบทดสอบหลังเรียน 10

เกณฑ์การประเมิน

นักเรียนได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า "ผ่านเกณฑ์"


แบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนน 7 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"
แบบฝึกทักษะระหว่างเรียนได้คะแนนรวม 35 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"
แบบทดสอบหลังเรียน ได้คะแนน 7 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"

นูรีมาน สือรี
172

บรรณานุกรม

กนกวล อุษณกรกุล, ปาจรีย์ วัชชวัลค และสุเทพ บุญซ้อน. (2551). หนังสือเรียน


รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, มปป.
กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล และสิริพร ทิพย์คง. (2545). หนังสือเสริมทักษะกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).
ชนันทิตา ฉัตรทอง, ประทีป โรจนวิภาต และวิสุทธิ์ เวียงสมุทร. (2551). สื่อการเรียน
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชุดสัมฤทธิ์
มาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, มปป.
ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. (2546). แบบฝึกมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่มที่ 1
ม.1. กรุงเทพฯ : แม็ค.
เยาวลักษณ์ เตียรณบรรจง. (2546). เลขยกกาลัง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
เลิศ เกสรคา. คู่สร้างคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์, อจท, มปป.
วาสนา ทองการุณ. (2553). คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).
หนังสือเรียนวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว.
. (2553). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว.

นูรีมาน สือรี
173

สาราญ มีแจ้ง และรังสรรค์ มณีเล็ก. (2547). สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1


สมบูรณ์แบบ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
สุพล สุวรรณนพ และคณะ. (2552). สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตามมาตรฐาน
และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : นิยมพัฒนา.

นูรีมาน สือรี
174

คานา

แบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง จัดทาขึ้นเพื่อใช้ ประกอบการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ค ณิ ต ศาสตร์ ระดั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ 1 รหั ส วิ ช า ค21101
ในการสร้างแบบฝึกทักษะเล่มนี้ มีทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 3 เรื่อง การหารของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 4 เรื่อง สมบัติของเลขยกกาลัง
ชุดที่ 5 เรื่อง การนาไปใช้
ในการจัดทาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่ อง เลขยกกาลัง สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ให้การอนุเคราะห์ตรวจสอบ
คุณภาพ พร้อมทั้งให้คาแนะนาในการจัดทา ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะเล่มนี้
จะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอน และนักเรียนในการที่จะทาให้ผู้เรี ยนบรรลุตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา ให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

นูรีมาน สือรี

นูรีมาน สือรี
175

สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
บทบาทครู 1
บทบาทนักเรียน 2
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 3
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 2 5
สาระการเรียนรู้ 8
แบบฝึกทักษะ ที่ 2.1 11
แบบฝึกทักษะ ที่ 2.2 12
แบบฝึกทักษะ ที่ 2.3 13
แบบฝึกทักษะ ที่ 2.4 17
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 2 19
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 2 23
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 2.1 24
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 2.2 25
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 2.3 26
เฉลยแบบฝึกทักษะ ที่ 2.4 27
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 2 29
แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะ ชุดที่ 2 30
บรรณานุกรม 31

นูรีมาน สือรี
176

บทบาทครู

1. ศึกษาและทาความเข้าใจวิธีการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง


ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม การใช้สื่อและอุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของ
แบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ให้ชัดเจน
2. ชี้แจงบทบาทของนักเรียน เวลาที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมแต่ละกิจกรรม หรือ
แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนทราบ
3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียน ก่อนเริ่ม
เรียนในแต่ละแบบฝึกทักษะ
4. แจกแบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ให้นักเรียนศึกษาและแนะนา
วิธีใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง เพื่อนักเรียนจะได้ปฏิบัติได้อย่าง
ถูกต้อง
5. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
6. ในขณะที่นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้คาแนะนา
กรณีที่นักเรียนไม่เข้าใจในทาแบบฝึกทักษะ และต้องพยายามกระตุ้นให้นักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมด้วยตนเองมากที่สุด
7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากที่เรียนโดยแบบฝึกทักทักษะ
เรือ่ ง การคูณของเลขยกกาลัง เสร็จเรียบร้อยในแต่ละแบบฝึกทักษะ

นูรีมาน สือรี
177

บทบาทนักเรียน

1. คาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง และบทบาทของ


นักเรียนให้เข้าใจ
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 20 นาที เพื่อประเมิน
ความรู้เดิมของนักเรียน
3. ศึกษาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ใน
แบบฝึกทักษะ
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 20 นาที เพื่อทราบ
ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนหลังจากทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อยในแต่ละชุด
5. ในการทากิจกรรมตามแบบฝึกทักษะ เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง ทุกชุด
ขอให้นักเรียนทาด้วยความตั้งใจให้ความร่วมมือ และมีความซื่อสัตย์ ต่อตนเองให้มาก
ที่สุด

นูรีมาน สือรี
178

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์
ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด: ค 1.2 ม.1/4 .คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็น
จานวนเต็ม
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
ตัวชี้วัด: ค 6.1 ม.1/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ

นูรีมาน สือรี
179

จุดประสงค์การเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ
หาผลคูณของเลขยกกาลังเมื่อเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มได้
ทักษะกระบวนการ
1. การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และ
การนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
2. การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในทางคณิตศาสตร์
3. การให้เหตุผล
4. การนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน

นูรีมาน สือรี
180

แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณเลขยกกาลัง

คาสั่ง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ


คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครือ่ งหมาย
กากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่ต้องการ

1. ค่าของ 35 x 38 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 33
ข. 34
ค. 313
ง. 314
2. ค่าของ (0.2)5(0.2)2 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. (0.2)10
ข. (0.2)7
ค. (0.2)3
ง. (0.2)2
3. ค่าของ (-2)6 (-2)7 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. (-2)13
ข. (-2)12
ค. (-2)7
ง. (-2)

นูรีมาน สือรี
181

4. ค่าของ 125 × 52 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก. 52
ข. 54
ค. 55
ง. 56

5. ค่าของ 2 × 23 × 24 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 23
ข. 24
ค. 27
ง. 28
4 2

6. ค่าของ      ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
1 1
3 3
6
1
ก.  
3
4
1
ข.  
3
3
1
ค.  
3
2
1
ง.  
3
7. ค่าของ 33 × (-3)4 × (-3)6 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 32
ข. 37
ค. 312
ง. 313

นูรีมาน สือรี
182

8. ค่าของ    (0.25)3 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


1
4
8

ก.  
1
4
5

ข.  
1
4
2

ค.  
1
4
3

ง.  
1
4
9. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 9.5  1013 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้า
อุกกาบาตมีมวล 1.22  106 กิโลกรัม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
ก. 1.159 × 1021 กิโลกรัม
ข. 1.159 × 1020 กิโลกรัม
ค. 1.159 × 1019 กิโลกรัม
ง. 1.159 × 1018 กิโลกรัม
10. ค่าของ 53 + 53 + 53 + 53 + 53 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 53
ข. 54
ค. 55
ง. 56

นูรีมาน สือรี
183

การคูณของเลขยกกาลัง

1. สมบัติการคูณเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
เมื่อ a เป็นจานวนใด ๆ และ m , n เป็นจานวนเต็มบวก

am × an = am + n
(เลขยกกาลังที่มีฐานเหมือนกันคูณกัน ให้นาเลขชี้กาลังมาบวกกัน)
หมายเหตุ : อาจเขียน a .a หรือ am an หรือ (am )(an) แทน am × an
m n

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนผลคูณ 23  22 ในรูปเลขยกกาลัง


วิธีทา 23  22 = 23 + 2
= 25
ตอบ 25

ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนผลคูณ (-5)2  55 ในรูปเลขยกกาลัง


วิธีทา เนื่องจาก (-5)2 = 25
และ 52 = 25
ดังนั้น (-5)2 = 52
จะได้ (-5)2  55 = 52  55
= 52+5
= 57
ตอบ 57

นูรีมาน สือรี
184

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนผลคูณ 27  34 ในรูปเลขยกกาลัง


วิธีทา 27  34 = 3 3 3 34
= 3 3  34
= 33 + 4
= 37
ตอบ 37

ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนผลคูณ 64  (-8)4  85 ในรูปเลขยกกาลัง


วิธีทา 64  (-8)4  85 = 82  (-8)4  85
= 82  (-8)4  85 (-8)4 = 84
= 82+4+5
= 811

ตอบ 811

ตัวอย่างที่ 5 จงเขียน 35 + 35 + 35 ในรูปเลขยกกาลัง


วิธีทา 35 + 35 + 35 = 3 . 35
= 31+5
= 36
ตอบ 36

นูรีมาน สือรี
185

ในกรณีที่เลขยกกาลังที่นามาคูณกันมีฐานต่างกัน เราไม่สามารถเขียนผลคูณ
โดยใช้เลขชี้กาลังบวกกันได้ ตัวอย่างต่อไปนี้
24  32 = (2×2×2×2) × (3×3)
= 16×9
= 144
(-2)2 53 = {(-2)×(-2)} × (5×5×5)
= 4×125
= 500

นูรีมาน สือรี
186

แบบฝึกทักษะที่ 2.1
คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน)

1. = = ……………..

2. = …………….. =

3. = …………….. =

4. (2) 2 (2) 3 = (2) 23 = ……………..

5. (4) 3 (4) 2 = …………….. = (4) 5

6. = …………….. =

7. = = ……………..

4 3 7
1 1 1
8.     = ……………. =  
2 2 2
3 2 3 2 1
1 1 1 1
9.       =   = ……………
 3  3  3  3

10. 2m × 2n× 2n = = …………….


เมื่อ m และ n แทนจานวนเต็มบวก

นูรีมาน สือรี
187

แบบฝึกทักษะที่ 2.2

คาชี้แจง ตอนที่ 1 จงเขียนผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)

1. (-3)8 × 32 = ……………………………………………………………………………………..

2. (4) 2  4 3  (4) 4 = ……………………………………………………………………………………..

3. (-5)2 × (-5)4 × 52 = ……………………………………………………………………………………..

4. (-0.5)2 × (0.5)4 × (-0.5)6 = ….……………………………………………………………………..

2 4 3

5.   1 
 1 1
    = ……………………………………………………………………………………..
 6  6 6

ตอนที่ 2 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)


1. 34 + 34 + 34 = ……………………………………………………………

2. 45 + 45 + 45 + 45 = ……………………………………………………………

3. 53 + 53 + 53 + 53 + 53 = ………………………………………………………...…

4. 62 + 62 + 62 + 62 + 62 + 62 = ……………………………………………………………
5. 74 + 74 + 74 + 74 + 74 + 74 + 74 = ……………………………………………………....….

นูรีมาน สือรี
188

แบบฝึกทักษะที่ 2.3

คาชี้แจง จงเขียนผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)

ตัวอย่าง

=
=
ตอบ

1. 64 × 25 2. 729 × 93 × (-9)4
= ........................................ = ........................................
= ....................................... = .......................................
= ....................................... = .......................................
ตอบ ............................ ตอบ ............................
5
1 1  1
4
3. 0.04 × 4.    
32  2   2 
= ........................................ = ........................................
= ....................................... = .......................................
= ....................................... = .......................................
ตอบ ............................ ตอบ ............................
4
5. × ×
5
= ........................................
= .......................................
= .......................................
ตอบ ............................

นูรีมาน สือรี
189

โจทย์ปัญหา

ตัวอย่างที่ 1 ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 7.9  1013 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้า


อุกกาบาตมีมวล 1.45  106 กิโลกรัม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 7.9  1013 เท่าของ
อุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้าอุกกาบาตมีมวล
1.45  106 กิโลกรัม
2. สิ่งที่โจทย์ถาม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก อุกกาบาตมีมวล 1.45  106 กิโลกรัม
และ ดาวเคราะห์มีมวลเป็น 7.9  1013 เท่าของอุกกาบาต
ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) กิโลกรัม
= (1.45  7.9)  (106  1013) กิโลกรัม
= 11.455  1019 กิโลกรัม
ดาวเคราะห์มีมวล 11.455  1019 กิโลกรัม
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ดาวเคราะห์มีมวล (1.45  106)  (7.9  1013) = 11.455  1019
กิโลกรัม
จะได้ (1.45  7.9)  (106  1013) = 11.455  1019
กิโลกรัม
11.455  10 = 11.455  1019
19

กิโลกรัม เป็นจริง

นูรีมาน สือรี
190

ดังนั้น ดาวเคราะห์มีมวล 11.455  1019 กิโลกรัม

ตอบ

นูรีมาน สือรี
191

ตัวอย่างที่ 2 ไม้แผ่นหนึ่งหนา 3 เซนติเมตร กว้าง 27 เซนติเมตร และยาว 81


เซนติเมตร จงหาว่าไม้แผ่นนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
(ให้เขียนคาตอบในรูปเลขยกกาลัง)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ไม้แผ่นหนึ่งหนา 3 เซนติเมตร กว้าง 27 เซนติเมตร
และยาว 81 เซนติเมตร
2. สิ่งที่โจทย์ถาม จงหาว่าไม้แผ่นนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
และ = 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
= 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
= 33  34  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3+4+1
= 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8
'= 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ไม้แผ่นนี้มีปริมาตร 38 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ปริมาตรของไม้ = กว้าง  ยาว  สูง (หนา)
จะได้ 38 = 27  81  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
38 = 33  34  3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8 3+4+1
3 = 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
8 8
3 = 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นจริง
8
ดังนั้น ไม้แผ่นนี้มีปริมาตร 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตอบ

นูรีมาน สือรี
192

แบบฝึกทักษะที่ 2.4

1. ถ้ามวลของออกซิเจน 1 โมเลกุลหนัก 7.5  10-17 กรัม จงหาว่าออกซิเจน


จานวน 1.2  1027 โมเลกุล มีมวลเท่าใด (5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา

2. สิ่งที่โจทย์ถาม
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก
และ

ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก

'
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก
จะได้

ดังนั้น
ตอบ
นูรีมาน สือรี
193

2. สระว่ายน้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 4 เมตร ยาว 8 เมตร ลึก 2 เมตร ถ้า


ใส่น้าเต็มพอดี น้าในสระจะมีปริมาตรเท่าใด (ให้เขียนคาตอบในรูปเลขยกกาลัง)
(5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา

2. สิ่งที่โจทย์ถาม
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก

และ

ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก
จะได้

ดังนั้น
ตอบ

นูรีมาน สือรี
194

แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง

คาสั่ง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ


คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 20 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว และทาเครือ่ งหมาย
กากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบให้ตรงกับข้อที่ต้องการ

1. ค่าของ 35 x 38 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 33
ข. 34
ค. 313
ง. 314

2. ค่าของ 2 × 23 × 24 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 23
ข. 24
ค. 27
ง. 28

3. ค่าของ (-2)6 (-2)7 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก. (-2)13
ข. (-2)12
ค. (-2)7
ง. (-2)6

นูรีมาน สือรี
195

4. ค่าของ (0.2)5(0.2)2 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก. (0.2)10
ข. (0.2)7
ค. (0.2)3
ง. (0.2)2

4 2

5. ค่าของ      ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
1 1
3 3
6
1
ก.  
3
4
1
ข.  
3
3
1
ค.  
3
2
1
ง.  
3

6. ค่าของ 33 × (-3)4 × (-3)6 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก. 32
ข. 37
ค. 312
ง. 313

นูรีมาน สือรี
196

7. ค่าของ    (0.25)3 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


1
4
8
1
ก.  
4
5
1
ข.  
4
3
1
ค.  
4
2
1
ง.  
4

8. ค่าของ 125 × 52 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด


ก. 52
ข. 54
ค. 55
ง. 56

9. ค่าของ 53 + 53 + 53 + 53 + 53 ในรูปเลขยกกาลังตรงกับตัวเลือกใด
ก. 53
ข. 54
ค. 55
ง. 56

นูรีมาน สือรี
197

10. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็น 9.5  1013 เท่าของอุกกาบาตลูกหนึ่ง ถ้า


อุกกาบาตมีมวล 1.22  106 กิโลกรัม จงหาว่าดาวเคราะห์มีมวลเท่าใด
ก. 1.159 × 1021 กิโลกรัม
ข. 1.159 × 1020 กิโลกรัม
ค. 1.159 × 1019 กิโลกรัม
ง. 1.159 × 1018 กิโลกรัม

นูรีมาน สือรี
198

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ค
2. ข
3. ก
4. ค
5. ง
6. ก
7. ง
8. ก
9. ข
10. ข

นูรีมาน สือรี
199

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.1

คาชี้แจง จงเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ( 10 คะแนน)

1. = =

2. = =

3. = =

4. (2) 2 (2) 3 = (2) 23 = (2) 5

5. (4) 3 (4) 2 = (4) 3 2 = (4) 5

6. = =

7. = =
4 3 43 7
1 1 1 1
8.     =   =  
2 2 2 2
3 2 3 2 1 6
1 1 1 1 1
9.       =   =  
 3  3  3  3 3

10. 2m × 2n× 2n = =
เมื่อ m และ n แทนจานวนเต็มบวก

นูรีมาน สือรี
200

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.2

คาชี้แจง ตอนที่ 1 จงเขียนผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)

1. (-3)8 × 32 = …310………………………………………………………………………………

2. (4) 2  4 3  (4) 4 = … 49…………………………………………………………………………………

3. (-5)2 × (-5)4 × 52 =…58…………………………………………………………………………………..

4. (-0.5)2 × (0.5)4 × (-0.5)6 =….(0.5)12………………………………………………………………….

2 4 3

5.   1    1   1  =
 6  6 6
9

…  1  ....................................................................……………………………..
6

ตอนที่ 2 จงเขียนจานวนต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)

1. 34 + 34 + 34 = … … =… = …35………………...

2. 45 + 45 + 45 + 45 = … = = …46……………………

3. 53 + 53 + 53 + 53 + 53 = … = =… ……………………

4. 62 + 62 + 62 + 62 + 62 + 62 = …...= …=… ……………………

5. 74 + 74 + 74 + 74 + 74 + 74 + 74 = … = … = … ……………………

นูรีมาน สือรี
201

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.3

คาชี้แจง จงเขียนผลคูณของเลขยกกาลังต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลัง (5 คะแนน)


ตัวอย่าง

=
=
ตอบ
5
1. 64 × 2 2. 729 × 93 × (-9)4
= 26 × 25 = 93 × 93 × 94
= 26+5 = 93+3+4
= 211 = 910
ตอบ 211 ตอบ 910
5
3. 0.04 × 4. 1   1 
4
 1
 
32  2   2
= × 1
5
1
5
1
4

=       
= 2
14
2 2
= =  1 
2
ตอบ 1
14

ตอบ  
2
5. 4 × ×
5
= ×
=
=
ตอบ

นูรีมาน สือรี
202

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 2.4
1. ถ้ามวลของออกซิเจน 1 โมเลกุลหนัก 7.5  10-17 กรัม จงหาว่าออกซิเจน
จานวน 1.2  1027 โมเลกุล มีมวลเท่าใด (5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา ถ้ามวลของออกซิเจน 1 โมเลกุลหนัก 7.5  10-17 กรัม
2. สิ่งที่โจทย์ถาม จงหาว่าออกซิเจน จานวน 1.2  1027 โมเลกุล
มีมวลเท่าใด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ถ้ามวลของออกซิเจน 1 โมเลกุลหนัก 7.5  10-17 กรัม
และ มวลของออกซิเจน จานวน 1.2  1027 โมเลกุล
มวลของออกซิเจน (7.5  10-17)  (1.2  1027) กรัม
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก มวลของออกซิเจน (7.5  10-17)  (1.2  1027) กรัม
= (7.5  1.2)  (10-17  1027) กรัม
= 9  10-17+27 กรัม
= 9  1010 กรัม
10
มวลของออกซิเจน 9  10 กรัม
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก มวลของออกซิเจน (7.5  10-17)  (1.2  1027)= 9  1010 กรัม
(7.5  1.2)  (10-17  1027) = 9  1010 กรัม
จะได้ 9  10-17+27 = 9  1010 กรัม
9  1010 = 9  1010 กรัม
เป็นจริง
ดังนั้น มวลของออกซิเจน 9  1010 กรัม
ตอบ

นูรีมาน สือรี
203

2. สระว่ายน้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 4 เมตร ยาว 8 เมตร ลึก 2 เมตร ถ้าใส่


เต็มพอดี น้าในสระจะมีปริมาตรเท่าใด (ให้เขียนคาตอบในรูปเลขยกกาลัง)
(5 คะแนน)
วิธีทา ขั้นตอนที่ 1 ทาความเข้าใจปัญหา
1. สิ่งที่โจทย์ให้มา สระว่ายน้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 4 เมตร
ยาว 8 เมตร ลึก 2 เมตร ถ้าใส่เต็มพอดี
2. สิ่งที่โจทย์ถาม น้าในสระจะมีปริมาตรเท่าใด
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการแก้ปัญหา
จาก ปริมาตรของสระน้า = กว้าง  ยาว  ลึก
และ = 4  8  2 ลูกบาศก์เมตร
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการตามแผน
จาก ปริมาตรของสระน้า = กว้าง  ยาว  ลึก
= 4  8  2 ลูกบาศก์เมตร
= 22  23  2 ลูกบาศก์เมตร
= 22 + 3 + 1 ลูกบาศก์เมตร
6
' = 2 ลูกบาศก์เมตร
6
ปริมาตรของสระน้า 2 ลูกบาศก์เมตร
ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบ
จาก ปริมาตรของสระน้า = กว้าง  ยาว  ลึก
จะได้ 26 = 4  8  2 ลูกบาศก์เมตร
26 = 22  23  2 ลูกบาศก์เมตร
26 = 22 + 3 + 1 ลูกบาศก์เมตร
6 6
2 = 2 ลูกบาศก์เมตร เป็นจริง
6
ดังนั้น ปริมาตรของสระน้า 2 ลูกบาศก์เมตร
ตอบ

นูรีมาน สือรี
204

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ค
2. ง
3. ก
4. ข
5. ก
6. ง
7. ก
8. ค
9. ข
10. ข

นูรีมาน สือรี
205

แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะ

ชุดที่ 2 เรื่อง การคูณของเลขยกกาลัง


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน


(ผ่าน / ไม่ผ่าน)
แบบทดสอบก่อนเรียน 10
แบบฝึกทักษะที่ 2.1 10
แบบฝึกทักษะที่ 2.2 10
แบบฝึกทักษะที่ 2.3 5
แบบฝึกทักษะที่ 2.4 10
รวมคะแนนแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน 35

แบบทดสอบหลังเรียน 10

เกณฑ์การประเมิน

นักเรียนได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า "ผ่านเกณฑ์"


แบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนน 7 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"
แบบฝึกทักษะระหว่างเรียนได้คะแนนรวม 25 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"
แบบทดสอบหลังเรียน ได้คะแนน 7 คะแนนขึ้นไป ถือว่า "ผ่าน"

นูรีมาน สือรี
206

บรรณานุกรม
กนกวล อุษณกรกุล, ปาจรีย์ วัชชวัลค และสุเทพ บุญซ้อน. (2551). หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, มปป.
กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล และสิริพร ทิพย์คง. (2545). หนังสือเสริมทักษะกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).
ชนันทิตา ฉัตรทอง, ประทีป โรจนวิภาต และวิสุทธิ์ เวียงสมุทร. (2551). สื่อการเรียน
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชุดสัมฤทธิ์
มาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, มปป.
ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. (2546). แบบฝึกมาตรฐานแม็ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน เล่มที่ 1
ม.1. กรุงเทพฯ : แม็ค.
เยาวลักษณ์ เตียรณบรรจง. (2546). เลขยกกาลัง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
เลิศ เกสรคา. คู่สร้างคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์, อจท, มปป.
วาสนา ทองการุณ. (2553). คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).
หนังสือเรียนวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว.
. (2553). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว
นูรีมาน สือรี
207

สาราญ มีแจ้ง และรังสรรค์ มณีเล็ก. (2547). สื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1


สมบูรณ์แบบ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
สุพล สุวรรณนพ และคณะ. (2552). สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตามมาตรฐาน
และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : นิยมพัฒนา.

นูรีมาน สือรี
208

ประวัติย่อผู้วิจัย

ชื่อ-ชื่อสกุล นางนูรีมาน สือรี


วันเดือนปีเกิด 23 สิงหาคม 2529
สถานที่อยู่ปัจจุบัน 153/3 หมู่ที่ 1 ตาบลยี่งอ อาเภอยี่งอ จังหวัด
นราธิวาส 96180
ตาแหน่งหน้าที่การงานปัจจุบัน ครู
สถานที่ทางานปัจจุบัน โรงเรียนนราธิวาส ตาบลโคกเคียน อาเภอเมือง
จังหวัดนราธิวาส
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2553 ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จังหวัดสงขลา
พ.ศ. 2563 การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
จังหวัดสงขลา

นูรีมาน สือรี

You might also like