You are on page 1of 44

นางสาวศลิษา กังศรานนท์

ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ


โรงเรียนสุรนารีวทิ ยา ๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 กระทรวงศึกษาธิการ

คานา
ชุดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แสงธรรมส่องทาง ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก จัดทาขึ้นเพื่อ
เป็นเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม โดยเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติจริง คิดเป็น
ทาเป็นและแก้ปัญหาได้ เมื่อผู้เรียนปฏิบัติตามกิจกรรมในชุดการเรียนการสอนเล่มนี้
จบแล้ว จะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและ
สามารถนาหลักธรรมไปใช้ในการดารงชีวิตได้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนการสอนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่
นักเรียน ครูอาจารย์หรือผู้สนใจ ที่จะช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนได้สอดคล้องและตรงตามวัตถุประสงค์ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและพัฒนาการศึกษาให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
ศลิษา กังศรานนท์

สารบัญ
เรื่อง หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แสงธรรมส่องทาง 1
คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน 2
คาแนะนาสาหรับครู 3
คาแนะนาสาหรับนักเรียน 4
ขั้นตอนการเรียน ชุดการเรียนการสอน 5
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 6
ชุดที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของพระไตรปิฎก 7
บัตรคาสั่ง 8
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 9
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 12
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 13
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.1 14
บัตรกิจกรรม ชุดที่ 1.1 17
เฉลยบัตรกิจกรรม ชุดที่ 1.1 19
บัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.1 21
ชุดที่ 1.2 เรื่อง โครงสร้างและสาระสังเขปของพระไตรปิฎก 22
บัตรคาสั่ง 23
บัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.2 24

สารบัญ(ต่อ)
เรื่อง หน้า

บัตรกิจกรรม ชุดที่ 1.2 29


เฉลยบัตรกิจกรรม ชุดที่ 1.2 31
บัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.2 33
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 34
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 37
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก 38
บรรณานุกรม 39
1

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รหัสวิชา ส22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงธรรมส่องทาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

พระไตรปิ ฎก

หลักธรรม
พุทธศาสนสุ ภาษิต
ทางพระพุทธศาสนา
(ธรรมคุณ 6 อริยสั จ 4)

หลักธรรมอริยสั จ 4 แสงธรรม หลักธรรมอริยสั จ 4


(มรรค : ธรรมทีค่ วรเจริญ) ส่องทาง (ทุกข์ : ธรรมทีค่ วรรู้ )

หลักธรรมอริยสั จ 4 หลักธรรมอริยสั จ 4
(นิโรธ : ธรรมทีค่ วรบรรลุ) (สมุทยั : ธรรมทีค่ วรละ)
2

1. เอกสารฉบับนี้เป็นเอกสารชุดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส22102 ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก
ใช้สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ชุดการเรียนการสอนนี้ประกอบด้วย
- คาชี้แจงเกี่ยวกับชุดการเรียนการสอน
- คาแนะนาสาหรับครู
- คาแนะนาสาหรับนักเรียน
- ขั้นตอนการเรียน
- สาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้
- ชุดที่ 1.1 เรื่อง องค์ประกอบของพระไตรปิฎก
- บัตรคาสั่ง
- แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 / เฉลย / กระดาษคาตอบ
- บัตรเนื้อหาชุดที่ 1.1/บัตรคาถามชุดที่ 1.1/บัตรเฉลย/บัตรสรุปเนื้อหาชุดที่ 1.1
- ชุดที่ 1.2 เรื่อง ความสาคัญของพระไตรปิฎก
- บัตรคาสั่ง
- บัตรเนื้อหาชุดที่ 1.2 /บัตรคาถามชุดที่ 1.2 /บัตรเฉลย/บัตรสรุปเนื้อหาชุดที่ 1.2
- แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 / กระดาษคาตอบ / เฉลย
- บรรณานุกรม
3. ชุดการเรียนการสอนนี้ใช้เวลาเรียนทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง
3

1. ครูควรจัดเตรียมชุดการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วย บัตรคาสั่ง แบบทดสอบ


ก่อนเรียน บัตรเนื้อหา บัตรเฉลย บัตรสรุปเนื้อหา และแบบทดสอบหลังเรียน
ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ครบถ้วน
2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก เพื่อประเมิน
ความรู้เดิมของนักเรียน
3. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
4. แจกชุดการเรียนการสอนให้นักเรียนศึกษา และแนะนาวิธีการใช้ชุดการเรียน
การสอน เพื่อนักเรียนจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง
5. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
6. หากมีนักเรียนบางคนเรียนไม่ทัน ครูควรให้คาแนะนาหรืออาจจะมอบหมายงาน
หรือให้ศึกษาชุดการเรียนการสอนเพิ่มเติมในเวลาว่าง
7. ให้นักเรียนทาแบบสรุปเนื้อหา เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ของนักเรียน
8. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนการสอนและทากิจกรรมตามขั้นตอนเสร็จ
เรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก
9. ครูบันทึกคะแนนของนักเรียนแต่ละคนจากการทากิจกรรมในชุดการเรียนการสอน
ชุดที่ 1.1 และ 1.2 เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนหลังจากเรียนชุดการเรียน
การสอนจบแต่ละชุด หากมีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูควรให้ศึกษาชุดการเรียน
การสอนใหม่อีกครั้ง
10. การจัดชั้นเรียนจะจัดให้นักเรียนนั่งเรียนเป็นกลุ่ม หรือรายบุคคลก็ได้
4

1. อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษา
ชุดการเรียนการสอน
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก เพื่อประเมินความรู้เดิม
ของนักเรียน
3. ศึกษาบัตรเนื้อหาชุดการเรียนการสอนที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ด้วยความตั้งใจ
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในบัตรคาสั่ง
4. เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
จากบัตรคาถามที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ พร้อมทั้งตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย
5. หากนักเรียนยังไม่เข้าใจในเนื้อหาใดก็ให้กลับไปศึกษาอีกครั้ง
6. ทาบัตรสรุปเนื้อหา เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้ของนักเรียน
7. ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 หลังจากศึกษาชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1
จบแล้ว เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน
8. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน
ขอให้นักเรียน ทาด้วยความตั้งใจ และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองให้มากที่สุด
โดยไม่เปิดดูเฉลยก่อน
5

1. อ่านคาแนะนาและบัตรคาสั่ง

2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

3. ศึกษาชุดการเรียนการสอน
กิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1 - ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.1
- ทาบัตรคาถาม ชุดที่ 1.1
- ทาบัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.1
ชั่วโมงที่ 2 - ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.2
- ทาบัตรคาถาม ชุดที่ 1.2 ไม่ผ่านเกณฑ์
- ทาบัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.2

4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน การประเมินผล

ศึกษาชุดที่ 2 ต่อไป ผ่านเกณฑ์


6

อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขปของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนา


ที่ตนนับถือ

ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก


ชุดที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของพระไตรปิฎก
ชุดที่ 1.2 เรื่อง โครงสร้างและสาระสังเขปของพระไตรปิฎก

1.ด้านความรู้ (K)
- อธิบายความหมาย ความสาคัญ และโครงสร้างของพระไตรปิฎกได้
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ ( P)
- ศึกษาและจาแนกโครงสร้างพระไตรปิฎกได้
3. ด้านเจตคติ ( A)
3.1 ซื่อสัตย์สุจริต
3.2 ใฝ่เรียนรู้
3.3 มุ่งมั่นในการทางาน
3.4 มีจิตสาธารณะ
3.5 ปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอน
7
8

1. อ่านคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดการเรียน
การสอน
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก เพื่อประเมิน
ความรู้เดิม ของนักเรียน
3. ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของ
พระไตรปิฎก ที่ครูแจกให้
4. นักเรียนทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถาม ชุดที่ 1.1 ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้
และเมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนตรวจ
คาตอบ จากบัตรเฉลย
5. ทาบัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.1 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของ
พระไตรปิฎก เพือ่ ส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้
6. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียน นักเรียนต้องซื่อสัตย์
ต่อตนเอง ห้ามเปิดดูคาตอบก่อน
9

แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


โรงเรียนสุรนารีวิทยา ๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียน


ก่อนเรียน เรื่อง พระไตรปิฎก จานวน 10 ข้อ
2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย (  ) ลงในช่อง 
ใต้ตวั อักษร ก, ข, ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว
บนกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที

1. หากจะเทียบพระไตรปิฎกกับกฎหมาย จะเทียบได้กับกฎหมายฉบับใด
ก. กฎหมายอาญา
ข. กฎหมายปกครอง
ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ง. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าในส่วนที่เป็นพระธรรมเทศนา
ที่พระองค์ได้ตรัสไว้แก่บคุ คลต่างๆ คือคัมภีรใ์ ด
ก. พระวินัยปิฏก
ข. พระธรรมวินัย
ค. พระอภิธรรมปิฏก
ง. พระสุตตันตปิฏก
3. “ตะกร้าสามใบ” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ศีล สมาธิ ปัญญา
ข. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ค. พระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม
ง. พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ
10

4. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาในส่วนที่เป็นกฎระเบียบ
ข้อห้าม ข้อบังคับ และมารยาทต่างๆ คือคัมภีรใ์ ด
ก. พระธรรมวินัย
ข. พระวินัยปิฏก
ค. พระสุตตันตปิฏก
ง. พระอภิธรรมปิฏก
5. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับพระอภิธรรมปิฎก
ก. เรียกว่าโวหารทัศนา
ข. เป็นส่วนหลักวิชาการทั้งหมด
ค. ไม่ระบุถึงว่าแสดงให้ใคร ที่ไหน อย่างไร
ง. ไม่เกี่ยวกับบุคคล เหตุการณ์ หรือสถานที่ใดๆ
6. ข้อใดที่พระวินัยปิฎก ไม่ได้กล่าวถึง
ก. พิธีกรรมทางพระวินัย
ข. ข้อห้ามที่เป็นหลักปฏิบัติของภิกษุสงฆ์
ค. ความเป็นมาของภิกษุสงฆ์และประวัติการสังคายนา
ง. ว่าด้วยหัวข้อธรรมที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน
7. การศึกษาพระไตรปิฎก มีคุณค่าหรืออานิสงค์อย่างไร
ก. สามารถออกบวชได้ทันที
ข. ได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศด้านการศึกษา
ค. สามารถปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนชั้นสูง
ง. เข้าใจภาพรวมของพระวินัยและหลักธรรมทั้งหมด
8. ถ้าเกิดกรณีความขัดแย้งหรือความเห็นไม่ตรงกัน ในหลักธรรมคาสอน
นักเรียนควรเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาอย่างไร ให้ถูกต้องที่สุด
ก. ศึกษาในพระไตรปิฎก
ข. ให้ค้นคว้าในตาราเรียน
ค. ให้ศึกษาในงานวิจัยต่าง ๆ
ง. ปรึกษาเจ้าอาวาสวัดที่มีชื่อเสียง
11

9. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของพระไตรปิฎก
ก. เป็นคัมภีร์ทางศาสนา
ข. เป็นแหล่งแสวงหาทรัพย์สินเงินทอง
ค. เป็นแหล่งรวบรวมหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
ง. เป็นหลักฐานทางพระพุทธศาสนาที่บันทึกคาสอนเป็นลายลักษณ์อักษร
10. เพราะเหตุใด พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย จึงจัดพิมพ์เป็นเล่มย่อยๆ
จานวน 45 เล่ม
ก. ใช้เวลาค้นคว้า 45 ปี
ข. จัดหมวดหมู่ได้ 45 ตอน
ค. หมายถึง 45 พรรษาแห่งพุทธกิจ
ง. พระพุทธเจ้าตรัสรู้พระชนมายุ 45 พรรษา

พยายามได้ดีมาก ขอให้โชคดีนะคะ
12

กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1
เรื่อง พระไตรปิฎก

ชื่อ................................. นามสกุล......................................... ชั้น.................. เลขที.่ ..........

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ


ก่อนเรียน 10 คะแนน
ร้อยละ 100

ลงชื่อ_____________________ผูต้ รวจ
13

แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


โรงเรียนสุรนารีวิทยา ๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

ข้อ เฉลย

1 ค

2 ง

3 ค

4 ข

5 ก

6 ง

7 ง

8 ก
9 ข

10 ค
14

ความหมายและความสาคัญของพระไตรปิฎก

พระไตรปิฎก เป็นคัมภีร์ที่สาคัญที่สุดของพระพุทธศาสนา เป็นคัมภีร์


ที่รวบรวมและบันทึกคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาทั้งหมดไว้ ถือเป็นแม่บทหรือ
แม่แบบในการพิจารณาตีความหรืออธิบายความธรรมะหรือข้อความอื่นๆ
ทางพระพุทธศาสนา ธรรมะหรือข้อความใดๆของพระพุทธศาสนาที่ขัดแย้งหรือ
คลาดเคลื่อนจากข้อความในพระไตรปิฎก ก็จะถือว่าธรรมะหรือข้อความนั้นใช้ไม่ได้
ด้วยเหตุนี้จึงมีผู้กล่าวเปรียบเทียบไว้ว่า พระไตรปิฎกเปรียบเสมือน
รัฐธรรมนูญที่ใช้เป็นกฎหมายหลักในการปกครองประเทศ ซึ่งกฎหมายอื่นใด
จะขัดแย้งไม่ได้ ถือว่าเป็นโมฆะ

พระไตรปิฏก คัมภีร์ของพระพุทธศาสนา
ที่มา : http://www.gmwebsite.com/Webboard/Topic.asp?TopicID=Topic-
080111234722975
15

ความหมายของพระไตรปิฎก

พระไตรปิฎก แปลว่า คัมภีร์ 3 เมื่อแยกแปลเป็นคาได้ดังนี้


ไตร แปลว่า สาม
ปิฎก แปลได้ 2 อย่าง คือ
แปลว่า คัมภีร์ หรือ ตารา
แปลว่า กระจาด หรือตะกร้า
ที่แปลว่า กระจา ด หรือตะกร้า หมายความว่า เป็นที่รวบรวมคาสอนของ
พระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวดหมู่ไม่ให้กระจัดกระจาย
พระไตรปิฎกได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาโดยระบบมุขปาฐะ (ท่องจา)
จนกระทั่งประมาณพุทธศักราช 450 ได้บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่ประเทศ
ศรีลังกา ภาษาที่บันทึกพระไตรปิฎกได้แก่ ภาษามคธ หรือภาษาบาลี
สาหรับพระไตรปิฎกของนิกายมหายานแตกต่างกับนิกายเถรวาท ทั้งในด้าน
การจัดลาดับ เนื้อหา และชื่อของพระสูตรและใช้ภาษาสันสกฤตเป็นส่วนใหญ่

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์


ทรงร่วมจัดทาพระไตรปิฎกฉบับภาษาโรมัน และได้พระราชทานไปยังประเทศต่างๆ
ที่มา : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=naraksure&month=05-01-
2008&group=7&gblog=32
16

ความสาคัญของพระไตรปิฎก

ก่อนพระพุทธเจ้าจะดับขันธปรินิพพานได้กล่าวว่า “ธรรมและวินัยใดที่เราได้
แสดงและบัญญัติแล้ว จักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย ” พระไตรปิฎกจึงมี
ความสาคัญยิ่ง สามารถสรุปได้ดังนี้
1. พระไตรปิฎกเป็นการจดบันทึก และรวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
โดยจัดเป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจน ง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า
2. พระไตรปิฎกสามารถนามาเป็นมาตรฐานตรวจสอบคาสอนและข้อปฏิบัติ
ต่างๆในพระพุทธศาสนาได้
3. พระไตรปิฎกเป็นแหล่งที่สามารถศึกษา ค้นคว้าพุทธประวัติ ความเป็นมา
ของพระพุทธศาสนาได้
4. พระไตรปิฎกสามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา
สภาพทางสังคม ลัทธิ ความเชื่อ ศาสนา ปรัชญา ขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรม เรื่องราว เหตุการณ์ ถิ่นฐาน ในอดีตได้
5. พระไตรปิฎกถือเป็นแหล่งสืบค้นแนวคิดที่สัมพันธ์กับวิชาต่างๆ เนื่องจาก
คาสอนมีความเกี่ยวโยงหรือครอบคลุมหลายวิชา เช่น จิตวิทยา กฎหมาย
การปกครอง เศรษฐกิจ เป็นต้น
6. พระไตรปิฎกที่เป็นภาษาบาลี ถือเป็นรากฐานสาคัญของภาษาไทย ทาให้มี
ความสาคัญต่อการศึกษาด้านภาษาไทย

การสังคายนาพระไตรปิฎก ได้มีการจารึกพระพุทธวจนะลงเป็นลายลักษณ์อักษร
ที่มา : http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?t=47652
17

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามข้างล่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

พระไตรปิฎก

ไตร ปิฎก
แปลว่า แปลว่า
................................... ...................................
................................... ...................................

พระไตรปิฎก
แปลว่า
......................................................................
......................................................................
18

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนผังความคิดแสดงความสาคัญของพระไตรปิฎก (10 คะแนน)

ความสาคัญของพระไตรปิฎก

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

19

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามข้างล่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

พระไตรปิฎก

ไตร ปิฎก
แปลว่า แปลว่า
สาม . คัมภีร์/ตะกร้า .
.............................................. .
..........................................
....

พระไตรปิฎก
แปลว่า
คัมภีร์ของพระพุทธศาสนา ซึ่งรวบรวมและ
บันทึกคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาไว้ทั้งหมด
20

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนผังความคิดแสดงความสาคัญของพระไตรปิฎก (10 คะแนน)

ความสาคัญของพระไตรปิฎก

เป็นการจดบันทึกและรวบรวมคาสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้า จัดเป็นหมวดหมู่ ง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า

สามารถนามาเป็นมาตรฐานตรวจสอบคาสอนและ
ข้อปฏิบัติต่างๆในพระพุทธศาสนาได้ .

เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าพุทธประวัติ ความเป็นมา


ของพระพุทธศาสนาได้ .

สามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา
สภาพทางสังคม ลัทธิ ความเชื่อ เหตุการณ์ในอดีตได้
.
เป็นแหล่งสืบค้นแนวคิดที่สัมพันธ์กับวิชาต่างๆ เนื่องจาก
คาสอนมีความเกี่ยวโยงหรือครอบคลุมหลายวิชา
.
เป็นรากฐานสาคัญของภาษาไทย .
....................................................................................................
.
21

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาจากบัตรเนื้อหาของชุดการเรียนการสอน
ชุดที่ 1.1 ตามหัวข้อต่อไปนี้
1. พระไตรปิฎก หมายถึง ...................................................................
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
2. พระไตรปิฎกมีความสาคัญดังนี้
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
22
23

1. อ่านคาแนะนาสาหรับนักเรียนให้เข้าใจก่อนลงมือศึกษาชุดการเรียน
การสอน
2. ศึกษาบัตรเนื้อหา ชุดที่ 1.2 เรื่อง โครงสร้างและสาระสังเขปของ
พระไตรปิฎก ที่ครูแจกให้
3. นักเรียนทาแบบฝึกหัดจากบัตรคาถาม ชุดที่ 1.2 ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้
และเมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนตรวจ
คาตอบ จากบัตรเฉลย
4. ทาบัตรสรุปเนื้อหา ชุดที่ 1.2 เรื่อง โครงสร้างและสาระสังเขปของ
พระไตรปิฎก ที่ครูแจกให้เพื่อส่งเสริมความแม่นยาในการเรียนรู้
5. ทาแบบทดสอบ หลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก เพื่อประเมิน
ความ ก้าวหน้าของนักเรียน
6. ในการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ หลังเรียน นักเรียนต้องซื่อสัตย์
ต่อตนเอง ห้ามเปิดดูคาตอบก่อน
24

โครงสร้างและสาระสังเขปของพระไตรปิฎก

พระไตรปิฎก ได้รวบรวมและบันทึกคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาไว้ 84,000


พระธรรมขันธ์ (หัวข้อ) พระไตรปิฎกจึงมีเนื้อหาจานวนมาก ปัจจุบันจึงมีการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยเป็นเล่มย่อยๆจานวน 45 เล่ม ตามจานวนปี
ที่พระพุทธเจ้าเสด็จเทศนาสั่งสอนประชาชน โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ได้ 3 หมวดหมู่
ตามลักษณะเนื้อหาดังนี้
กล่าวถึงหลักคาสอน
เรียกชื่อย่อๆว่า มี 42,000
ที่เป็นหลักวิชา
พระอภิธรรม พระธรรมขันธ์

เรียกชื่อย่อๆว่า
พระวินัย

กล่าวถึงกฎระเบียบและ
ข้อบังคับต่างๆของ
พระภิกษุและภิกษุณี
มี 21,000
พระธรรมขันธ์

เรียกชื่อย่อๆว่า มี 21,000
พระสูตร กล่าวถึงพระธรรมเทศนาที่ พระธรรมขันธ์
ทรงแสดงไว้ในที่ต่างๆ
25

พระวินัยปิฎก

พระวินัยปิฎก หรือเรียกสั้นๆว่า พระวินัย เป็นคัมภีร์ทีรวบรวมคาสั่งสอน


ส่วนที่เป็นกฎระเบียบ ข้อบังคับ ข้อห้าม หรือคาสั่ง ซึ่งมีสภาพบังคับให้ปฏิบัติตาม
ถ้าไม่ปฏิบัติตามถือว่าละเมิดจะต้องอาบัติ คือต้องได้รับโทษทันทีในขณะที่ล่วง
ละเมิด นอกจากนี้พระวินัยปิฎกยังได้รวบรวมคาสั่งสอนที่เป็นระเบียบปฏิบัติต่างๆ
ไว้ด้วย เช่น ระเบียบปฏิบัติหน้าที่ต่อกัน คุณสมบัติของพระภิกษุผู้รับหน้าที่ต่างๆ
กิริยามารยาทที่จะต้องรักษา พิธีกรรมการบวช กฐิน การผูกพัทธสีมา มีจานวน 8
เล่ม แบ่งเนื้อหาเป็น 5 หมวดดังนี้

ว่าด้วยข้อห้ามหรือวินัยที่เป็นหลักปฏิบัติของภิกษุสงฆ์
คือ ศีล 227 ข้อ

ว่าด้วยข้อห้ามหรือวินัยที่เป็นหลักปฏิบัติของภิกษุณีสงฆ์
คือ ศีล 311 ข้อ

ว่าด้วยพุทธประวัติและพิธีกรรมทางพระวินัย

ว่าด้วยพิธีกรรมทางพระวินัยและความเป็นมา
ของภิกษุณีสงฆ์และประวัติการสังคายนาพระธรรมวินัย

ว่าด้วยข้อเบ็ดเตล็ดทางพระวินัย
26

พระสุตตันตปิฎก

พระสุตตันตปิฎก หรือเรียกสั้นๆว่า พระสูตร เป็นคัมภีร์ที่รวบรวม


คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ในส่วนที่เป็นพระธรรมเทศนาที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้
แก่บุคคลต่างๆ ในเวลาและสถานที่แตกต่างกัน ในรูปแบบคาสนทนา โต้ตอบ คา
บรรยาย หรือคาประพันธ์ เช่น ชาดก ภาษิต คติธรรม พุทธประวัติ พุทธจริยาและ
อัตชีวประวัติพระอรหันต์หรือพระอรหันตเถรี เป็นต้น มีจานวน 25เล่ม
แบ่งออกเป็น 5 นิกาย ดังนี้
พระธรรมเทศนาที่มีเนื้อหาสาระยาว

พระธรรมเทศนาที่มี
เนื้อหาสาระไม่ยาวไม่สั้น

พระธรรมเทศนาที่จัด
กลุ่มตามเนื้อหา

พระธรรมเทศนาที่จัดเนื้อหารวมเข้า
เป็นหมวดธรรมจากน้อยไปหามาก

พระธรรมเทศนาเบ็ดเตล็ด
ที่จัดเข้าใน 4 นิกายแรกไม่ได้
27

พระอภิธรรมปิฎก

พระอภิธรรมปิฎก หรือเรียกสั้นๆว่า พระอภิธรรม เป็นคัมภีร์ที่รวบรวม


คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าในส่วนที่เป็นหลักธรรม ไม่เกี่ยวกับบุคคล เหตุการณ์
หรือสถานที่ใดๆ เช่น กุศลธรรม อกุศลธรรม จิต เจตสิก ขันธ์5 เป็นต้น การศึกษา
พระอภิธรรมปิฎกจาเป็นจะต้องใช้ปัญญาอย่างมาก เนื่องจากเนื้อหามีความ
สลับซับซ้อน ยากต่อการเข้าใจ พระอภิธรรมปิฎกมีทั้งหมด 12 เล่ม แบ่งออกเป็น 7
คัมภีร์ดังนี้

ธัมมสังคณี คัมภีร์ที่รวมข้อธรรมเป็นหมวดๆแล้วแยกอธิบายเป็นประเภท

วิภังค์ คัมภีร์ที่แยกแยะหัวข้อธรรมที่สาคัญ แล้วอธิบายอย่างละเอียด

ธาตุกถา คัมภีร์ที่จัดหัวข้อธรรมที่สัมพันธ์กัน โดยยึดขันธ์ ธาตุ


อายตนะเป็นหลัก

คัมภีร์ที่บัญญัติเรียกบุคคลต่างๆ
ปุคคลบัญญัติ
ตามคุณธรรมที่มี

คัมภีร์ที่อธิบายทรรศนะที่ขัดแย้งกัน เน้นทรรศนะของเถรวาท
กถาวัตถุ
ที่ถูกต้อง

คัมภีร์ที่ยกธรรมขึ้นเป็นคู่ๆ เช่น กุศล-อกุศล แล้วอธิบายโดย


ยมก
วิธีถามตอบ

ปัฏฐาน คัมภีร์ที่อธิบายปัจจัยหรือเงื่อนไขทางธรรม 24 ประการ


ว่าธรรมข้อใดเป็นเงื่อนไขแก่ธรรมข้อใด
28

คุณค่าหรืออานิสงส์ของการศึกษาเรื่อง พระไตรปิฎก

พระไตรปิฎกเป็นที่รวมไว้ซึ่งพระพุทธพจน์และเป็นองค์ประกอบของ
พระพุทธศาสนา ที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวดๆ ซึ่งแต่ละ
หมวดก็มีคุณค่าอย่างมากมาย ดังที่ทราบกันดีว่า พระไตรปิฎกทั้ง 3 หมวดนั้น รวม
แล้วมีจานวนถึง 45 เล่ม การเริ่มต้นศึกษาพระไตรปิฎกจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่
จะศึกษาถึงโครงสร้างและเนื้อหาสาระโดยสังเขปของพระไตรปิฎกแต่ละหมวด
การศึกษาโครงสร้างของพระไตรปิฎกมีประโยชน์หลายประการดังนี้คือ
1. ทาให้เข้าใจภาพรวมทั้งหมดของพระไตรปิฎก และคัมภีร์อรรถกถาว่า
มีเนื้อหาอะไรบ้าง
2. สามารถค้นหาข้อมูลในพระไตรปิฎกและคัมภีร์อรรถกถาได้ง่ายและ
รวดเร็วขึ้น เนื่องจากเข้าใจโครงสร้างทั้งหมดแล้ว
3. เปรียบเหมือนมีแผนที่นาทางในการศึกษาพระพุทธศาสนาต่อไป เพราะ
เข้าใจในภาพรวมของพระวินัยและหลักธรรมทั้งหมด รวมถึงเป้าหมายในการศึกษา
พระพุทธศาสนา
29

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมโครงสร้างพระไตรปิฎกที่ถูกต้องลงในช่องว่างที่กาหนดให้
( 10 คะแนน)

1. ................... ทีฆนิกาย 6. ...................

มหาวิภังค์ 4. ................... วิภังค์

2. ................... สังยุตตนิกาย 7. ...................

จุลวรรค 5. ................... 8. ………………..

3. ................... ขุททกนิกาย กถาวัตถุ

9. ...................

10. .................
30

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
(5 คะแนน)

..... 1.ธาตุกถา ว่าด้วยหมวดธรรมที่เกี่ยวกับทรรศนะที่ขัดแย้งกัน


...
..... 2.หมวดที่ประมวลสูตรโดยจัดกลุ่มตามเนื้อหา คือ สังยุตตนิกาย
...
..... 3.ขุททกนิกาย เป็นหมวดที่ประมวลหมวดธรรมจากน้อยไปหามาก
...
..... 4.คัมภีร์ที่ว่าด้วยพุทธประวัติและพิธีกรรมทางพระวินัยคือ มหาวิภังค์
...
..... 5.ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยหมวดธรรมเกี่ยวกับบุคคลที่มีคุณธรรมประเภทต่างๆ
...
..... 6.ข้อห้ามหรือศีล 311 ข้อของภิกษุณี สามารถศึกษาค้นคว้าได้จากจุลวรรค
...
..... 7.พระสุตตันตปิฎก เป็นพระธรรมเทศนาที่เกี่ยวกับบุคคล เวลา และสถานที่
...
..... 8.ยมก ว่าด้วยหมวดธรรมที่ยกธรรมขึ้นเป็นคู่ๆ แล้วอธิบายโดยวิธีการถาม-ตอบ
...
..... 9.พระอภิธรรมปิฎก เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมกฎระเบียบ ข้อบังคับ ข้อห้ามหรือคาสั่ง
...
..... 10.พระวินัยปิฎกมีสภาพบังคับให้ปฏิบัติตาม ถ้าไม่ปฏิบัติตามถือว่าละเมิดต้องอาบัติ
...
31

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมโครงสร้างพระไตรปิฎกที่ถูกต้องลงในช่องว่างที่กาหนดให้
(10 คะแนน)

1. มหาวิภังค์ ทีฆนิกาย 6. ธัมมสังคณี

ภิกขุนีวิภังค์ 4. มัชฌิมนิกาย วิภังค์

2. มหาวรรค สังยุตตนิกาย 7. ธาตุกถา

จุลวรรค 5. สังคุตรนิกาย 8.ปุคคลบัญญัติ

3. ปริวาร . ขุททกนิกาย กถาวัตถุ

9. ยมก .

10. ปัฏฐาน .
32

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูก และทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด
(10 คะแนน)

× 1.ธาตุกถา ว่าด้วยหมวดธรรมที่เกี่ยวกับทรรศนะที่ขัดแย้งกัน

√ 2.หมวดที่ประมวลสูตรโดยจัดกลุ่มตามเนื้อหา คือ สังยุตตนิกาย

× 3.ขุททกนิกาย เป็นหมวดที่ประมวลหมวดธรรมจากน้อยไปหามาก

× 4.คัมภีร์ที่ว่าด้วยพุทธประวัติและพิธีกรรมทางพระวินัยคือ มหาวิภังค์

√ 5.ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยหมวดธรรมเกี่ยวกับบุคคลที่มีคุณธรรมประเภทต่างๆ

× 6.ข้อห้ามหรือศีล 311 ข้อของภิกษุณี สามารถศึกษาค้นคว้าได้จากจุลวรรค

√ 7.พระสุตตันตปิฎก เป็นพระธรรมเทศนาที่เกี่ยวกับบุคคล เวลา และสถานที่

√ 8.ยมก ว่าด้วยหมวดธรรมที่ยกธรรมขึ้นเป็นคู่ๆ แล้วอธิบายโดยวิธีการถาม-ตอบ

× 9.พระอภิธรรมปิฎก เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมกฎระเบียบ ข้อบังคับ ข้อห้ามหรือคาสั่ง

√ 10.พระวินัยปิฎกมีสภาพบังคับให้ปฏิบัติตาม ถ้าไม่ปฏิบัติตามถือว่าละเมิดต้องอาบัติ
33

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปเนื้อหาจากบัตรเนื้อหาของชุดการเรียนการสอน
ชุดที่ 1.2 ตามหัวข้อต่อไปนี้
1. ปัจจุบันมีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นเล่มย่อยๆจานวน........เล่ม
2. โครงสร้างของพระไตรปิฎก แบ่งได้ดังนี้
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
3. คุณค่าหรืออานิสงส์ของการศึกษาพระไตรปิฎก ได้แก่....................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
34

แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


โรงเรียนสุรนารีวิทยา ๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

คาชี้แจง 1. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 ใช้ทดสอบความรู้ของนักเรียน


หลังเรียน เรื่อง พระไตรปิฎก จานวน 10 ข้อ
2. การตอบแบบทดสอบ ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย (  ) ลงในช่อง 
ใต้ตวั อักษร ก, ข, ค และ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว
บนกระดาษคาตอบ ใช้เวลาสอบ 10 นาที

1. “ตะกร้าสามใบ” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ศีล สมาธิ ปัญญา
ข. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ค. พระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม
ง. พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ
2. หากจะเทียบพระไตรปิฎกกับกฎหมาย จะเทียบได้กับกฎหมายฉบับใด
ก. กฎหมายอาญา
ข. กฎหมายปกครอง
ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ง. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าในส่วนที่เป็นพระธรรมเทศนา
ที่พระองค์ได้ตรัสไว้แก่บุคคลต่างๆ คือคัมภีร์ใด
ก. พระวินัยปิฏก
ข. พระธรรมวินัย
ค. พระอภิธรรมปิฏก
ง. พระสุตตันตปิฏก
35

4. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับพระอภิธรรมปิฎก


ก. เรียกว่าโวหารทัศนา
ข. เป็นส่วนหลักวิชาการทั้งหมด
ค. ไม่ระบุถึงว่าแสดงให้ใคร ที่ไหน อย่างไร
ง. ไม่เกี่ยวกับบุคคล เหตุการณ์ หรือสถานที่ใดๆ
5. ข้อใดที่พระวินัยปิฎก ไม่ได้กล่าวถึง
ก. พิธีกรรมทางพระวินัย
ข. ข้อห้ามที่เป็นหลักปฏิบัติของภิกษุสงฆ์
ค. ความเป็นมาของภิกษุสงฆ์และประวัติการสังคายนา
ง. ว่าด้วยหัวข้อธรรมที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน
6. คัมภีร์ที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาในส่วนที่เป็นกฎระเบียบ
ข้อห้าม ข้อบังคับ และมารยาทต่างๆ คือคัมภีรใ์ ด
ก. พระวินัยปิฏก
ข. พระธรรมวินัย
ค. พระสุตตันตปิฏก
ง. พระอภิธรรมปิฏก
7. ถ้าเกิดกรณีความขัดแย้งหรือความเห็นไม่ตรงกัน ในหลักธรรมคาสอน
นักเรียนควรเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาอย่างไร ให้ถูกต้องที่สุด
ก. ศึกษาในพระไตรปิฎก
ข. ให้ค้นคว้าในตาราเรียน
ค. ให้ศึกษาในงานวิจัยต่าง ๆ
ง. ปรึกษาเจ้าอาวาสวัดที่มีชื่อเสียง
8. การศึกษาพระไตรปิฎก มีคุณค่าหรืออานิสงค์อย่างไร
ก. สามารถออกบวชได้ทันที
ข. ได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศด้านการศึกษา
ค. สามารถปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนชั้นสูง
ง. เข้าใจภาพรวมของพระวินัยและหลักธรรมทั้งหมด
36

9. เพราะเหตุใด พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย จึงจัดพิมพ์เป็นเล่มย่อยๆ


จานวน 45 เล่ม
ก. ใช้เวลาค้นคว้า 45 ปี
ข. จัดหมวดหมู่ได้ 45 ตอน
ค. หมายถึง 45 พรรษาแห่งพุทธกิจ
ง. พระพุทธเจ้าตรัสรู้พระชนมายุ 45 พรรษา
10. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของพระไตรปิฎก
ก. เป็นคัมภีร์ทางศาสนา
ข. เป็นแหล่งแสวงหาทรัพย์สินเงินทอง
ค. เป็นแหล่งรวบรวมหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
ง. เป็นหลักฐานทางพระพุทธศาสนาที่บันทึกคาสอนเป็นลายลักษณ์อักษร

ตรวจคาตอบหน้าต่อไป
ขอให้โชคดีนะคะ
37

กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1
เรื่อง พระไตรปิฎก

ชื่อ................................. นามสกุล......................................... ชั้น.................. เลขที.่ ..........

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ


หลังเรียน 10 คะแนน
ร้อยละ 100

ลงชื่อ_____________________ผูต้ รวจ
38

แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง พระไตรปิฎก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


โรงเรียนสุรนารีวิทยา ๒ อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

ข้อ เฉลย

1 ค

2 ค

3 ง

4 ค

5 ง

6 ก

7 ก

8 ง

9 ค

10 ข
39

บรรณานุกรม

จรัส พยัคฆราชศักดิ์ และคณะ. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน


พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพ ฯ : วัฒนาพานิช.
มนัส, พระ (กิตฺติสาโร). (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพ ฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
ระพิน พุทฺธิสาโร และวีรชาติ นิ่มอนงค, พระ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู
พื้นฐาน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ม.2. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : พัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
วิทย์ วิศทเวทย์ และเสถียรพงษ์ วรรณปก. คู่มือครูรายวิชาพระพุทธศาสนา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า.
_______. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์.
วุฒิชัย วชิรเมธี, พระ. (2551). หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ม.2 (หลักสูตรแกนกลาง
2551). กรุงเทพ ฯ : แม็คเอ็ดดูเคชั่น.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). (2555). ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิด ศาสนา
ศีลธรรม จริยธรรม ม.2. กรุงเทพ ฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
สว่าง วงศ์ฟ้าเลื่อน. (2554). หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ พระพุทธศาสนา 2 ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์.
สุรภา กรุดอินทร์ และคณะ. (ม.ป.ป.). แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้
พระพุทธศาสนา ม.2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม . กรุงเทพ ฯ
: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
“พระกรณียกิจสุดท้าย ของสมเด็จพระพี่นาง". เข้าถึงได้จาก : http://www.bloggang.
com/mainblog.php?id=naraksure&month=05-01-2008&group=7&g
blog=32/สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2558
40

“รากแก้วแห่งปัญญา”. [ม.ป.ป.] .ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก : http://www.arts.chula.


ac.th/tipitaka/04%20root.htm/สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2558
“คัมภีร์สูงสุดของพุทธศาสนา”. [ม.ป.ป.] .ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก : http://www.
gmwebsite.com/Webboard/Topic.asp?TopicID=Topic-080111234
722975/สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2558
“การสังคายนาพระไตรปิฎกฝ่ายเถรวาท”. [2557] .ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก : http://
www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?t=47652/สืบค้นเมื่อ 3
กันยายน 2558

You might also like