You are on page 1of 94

หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๖
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)

ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รายละเอียดของหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
มคอ.๒

ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๖ เมื่อวันพุธที่ ๓๐ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
สารบัญ
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑
หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ๖
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร ๘
หมวดที่ ๔ ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและประเมินผล ๒๒
หมวดที่ ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต ๓๑
หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร ๓๓
หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพหลักสูตร ๓๔
หมวดที่ ๘ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร ๓๙

ภาคผนวก ก คาอธิบายรายวิชาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔๑


ภาคผนวก ข ข้อบังคับ ระเบียบและประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง ๕๐
ภาคผนวก ค ประวัติและผลงานอาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๕๑
ภาคผนวก ข คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ๔๖
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑

รายละเอียดของหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๖

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
๑. ชื่อหลักสูตร
ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Tipitaka Studies
๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระไตรปิฎกศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Arts (Tipitaka Studies)
ชื่อย่อภาษาไทย : พธ.ม. (พระไตรปิฎกศึกษา)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.A. (Tipitaka Studies)
๓. วิชาเอก
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา (Buddhist Studies)
๔. จานวนหน่วยวิชาที่เรียนตลอดหลักสูตร
จานวน ๓๙ หน่วยกิต
๕. รูปแบบของหลักสูตร
๕.๑ รูปแบบ
เป็นหลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร ๒ ปี
๕.๒ ภาษาที่ใช้
การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
๕.๓ การรับเข้าศึกษา
รับผู้เข้าศึกษาเป็นชาวไทย และชาวต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
๕.๔ ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕.๕ การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว คือ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระไตรปิฎกศึกษา
๖. สถานภาพของหลักสูตร
๖.๑ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๖
เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖
๖.๒ มติคณะกรรมการประจาคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การประชุม
ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๑๔ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
๖.๓ สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย เห็นชอบในการประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๕
เมื่อวันที่ ๗ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒

๖.๔ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติในการประชุม ที่ ๔/๒๕๕๖ เมื่อวันพุธที่ ๒๔


เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖
๗. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรจะมีความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและ
มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในปีการศึกษา ๒๕๕๗
๘. อาชีพที่ประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
๘.๑ อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
๘.๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น อนุศาสนาจารย์
๘.๓ นักพัฒนาด้านกิจการคณะสงฆ์ เช่น พระสังฆาธิการ
๘.๔ นักวิชาการอิสระ นักเขียน
๘.๕ นักพัฒนาสังคม เช่น วิปัสสนาจารย์ วิทยากรอบรมคุณธรรมจริยธรรม

๙. ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


สถาบัน
ตาแหน่ง ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิการศึกษา ที่สาเร็จ ปีจบ
อาจารย์ พ ร ะ ม ห า สุ ทิ ต ย์ อ า ภ า ก โ ร
(อบอุ่น) ดร. ร.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๓๕
เลขประจาตัวประชาชน พช.ม.(พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๔๑
************* พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๙
อาจารย์ พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโนดร.
เลขประจาตัวประชาชน พธ.บ.(สันสกฤต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๐
************* ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) มมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๔๐
ศศ.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๔๔
M.Phil.(Buddhist Studies) University of Delhi, INDIA ๒๕๕๐
Ph.D. (Buddhist Studies) University of Jammu, INDIA ๒๕๕๔
อาจารย์ ดร. อธิเทพ ผาทา
เลขประจาตัวประชาชน พธ.บ (การสอนสังคมฯ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๐
************* พธ.ม.(ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๓
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๕๐

๑๐. สถานที่จัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาบลลาไทร อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๑๑.สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
๑๑.๑ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ปัจจุบันความสัมพันธ์ทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และระหว่างประเทศเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจเป็น
แนวทางเศรษฐกิจแบบไร้พรมแดนที่เน้นการใช้เทคโนโลยีระดับสูงเข้ามาเป็นเครื่องมือในการแข่งขัน ทาให้เกิด
เขตการค้าเสรีหรือเขตเศรษฐกิจเสรีขึ้ นอย่างมากมายหลายแห่งในโลก และมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นและขยายตัว
ในทุกประเทศ การดาเนินการด้านการค้าในยุคการค้าเสรีเช่นนี้ องค์กรธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็ก กลาง
หรื อ ขนาดใหญ่ ทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น จนถึ ง ระดั บ สากล ต่ า งต้ อ งการองค์ ค วามรู้ ท างด้ า นภาษาอั ง กฤษและ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓

เทคโนโลยีระดับสูงเป็นเครื่องนาไปสู่เป้าหมายทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
ในยุคโลกาภิวัตน์ ศาสนาถือว่าเป็นแกนหลักที่จะต้องให้คาตอบกับมนุษย์ในสังคมในทุกความสงสัยที่
เกี่ยวข้องกับเรื่องจิตวิญญาณและศีลธรรมที่มนุษย์ในสังคมจะพึงมีต่อกัน การดาเนิน การทางด้านเศรษฐกิจของ
มนุษย์ก็เป็นหนึ่งในปัญหาที่มนุษย์จะต้องมีจิตสานึกที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับศาสนาเพราะการทาธุรกิจการค้าขายนั้น
จะต้องมีหลักเกณฑ์ในเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง และคุณธรรมจริยธรรมดังกล่าวก็ล้วนมีที่มา
จากแหล่งสาคัญก็คือคาสอนที่มีปรากฏในคัมภภีร์ของแต่ละศาสนา ดังนั้น หากมนุษย์ในสังคมที่เป็นผู้มีความเชื่อ
ในทางศาสนาอยู่แล้วหากมีการศึกษาหลักคาสอนจากคัมภีร์ทางศาสนาของตนให้ถ่องแท้ถูกต้องแล้วย่อมสามารถ
ที่จะนาหลักการ คาสอนทางศาสนาของตนที่มีปรากฏในคัมภีร์นั้นไปปรับประยุกต์ใช้ในทางเศรษฐกิจของตน ได้
ด้วยการไม่เอารัดเอาเปรียบทางการค้า มีความยุติธรรม ไม่เห็นแก่ตัวและการเสียสละ สาหรับสังคมไทยถือว่าเป็น
สั ง คมชาวพุ ท ธที่ มี พ ระไตรปิ ฎ กเป็ น คั ม ภี ร์ ห ลั ก ส าคั ญ ที่ ถื อ ว่ า เป็ น แหล่ ง รวบรวมความรู้ หลั ก ค าสอนทาง
พระพุทธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน หากได้รับการศึกษาพระไตรปิฎกอย่างดีแล้วก็จะสามารถเข้าถึงหลักคาสอนและ
สามาถนาเอาหลักคาสอนนั้นไปปรับประยุกต์กับการดาเนินการทางธุรกิจการค้าหรือกระบวนการทางเศรษฐกิจ
อื่น ๆ ได้ ซึ่งการกระทาดังกล่าวย่อมก่อให้เกิดผลดีกับทางเศรษฐกิจก็คือมีการคานึงถึงประโยชน์ให้รอบด้านทั้ง
ประโยชน์ตน ประโยชน์สังคมและประโยชน์สูงสุดคือประเทศชาติได้ ซึ่งบุคคลผู้ที่ได้รับการศึกษาหลักคาสอนทาง
พระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎกที่ถูกต้องนั้นย่อมเป็นผู้ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเพราะเป็นผู้ที่รู้คุณค่าของปัจจัย
ทางธุรกิจที่จะต้องดาเนินควบคู่ไปกับความอยู่รอดของสังคมนอกจากนั้น ผู้ที่มีความรู้ ทางด้านคุณธรรมจริยธรรม
จากการศึกษาพระไตรปิฎกย่อมเป็นผู้ที่รู้จักการใช้จ่ายและเป็นอยู่อย่างพอเพียงตามหลักการใช้จ่ายแบบมัชฌิมา
ปฎิปทาไม่ฟุ้งเฟ้อรู้จักกิน รู้จักใช้พอประมาณ ซึ่งเป็นรูปแบบของการดาเนินชีวิตที่เหมาะสมกับสถานการณ์ใน
สังคมวัตถุนิยมโลกาภิวัฒน์เช่นปัจจุบัน
ดังนั้น เพื่อก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในทางเศรษฐกิจในทุกระดับทั้งในระดับจุลภาคคือการรู้จักใช้ทรัพยากร
ทางเศรษฐกิจอย่างประหยัดและมีประโยชน์ตามหลักมัชฌิมาปฎิปทา คือหลักแห่งความพอเพียง รู้จักเห็นอกเห็น
ใจผู้อื่น หรือระดับมหภาค คือการค้าขายในระดับประเทศต่อประเทศที่เน้นความเป็นธรรมไม่มุ่งเฉพาะการค้าเพื่อ
เอากาไรแต่มุ่งเพื่อความอยู่รอดของสังคมเพื่อการกระจายทรัพยากรให้เกิดประโยชน์กับสังคมของมนุษย์ให้มาก
ที่สุด จึงจาเป็นที่จะต้องมีการให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจบนพื้นฐานของหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฎใน
พระไตรปิฎกให้กับคนในสังคมทุกระดับให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน
๑๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
ในสถานการณ์โลกปัจจุบันนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลาอันนืบเนื่องมาจากกระแสของการ
พัฒนาของโลกในยุคโลกาภิวัฒน์ ซึ่งหลายสิ่งหลายอย่างได้มีการเปลี่ยนแปลงตัวเองอยู่ตลอดเวลาทั้งนี้ก็เพื่อที่จะ
สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งสภาพการณ์ดังกล่าวแม้เราจะทราบกันทั่วไปว่าเป็นไปตามหลักคาสอนพระพุทธศาสนา
ในเรื่องความไม่เที่ยงก็ตาม แต่เนื่องจากความเจริญของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน การไหลบ่าของข้ อมูล
ข่าวสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทาให้มีผลกระทบอย่างมากต่อโครงสร้างทางสังคมของประเทศไทย ทั้ง
โครงสร้างครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศ ที่ทาให้สภาพชีวิตและการดาเนินชีวิตของคนไทยที่ต้องปรับตัวให้
ทันต่อการศึกษาและการวางท่าทีต่อความเปลี่ยนแปลงนั้น โดยเฉพาะในเรื่องของการศึกษาพระไตรปิฎกที่เป็น
แหล่งรวบรวมคาสอนทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าพระไตรปิฎกนั้นได้มีพัฒนาการเรื่องการจัดเก็บ
รวบรวมและศึกษามาตามลาดับตั้งแต่หลังสมัยพุทธกาลที่มีการทาการสังคายนาครั้งที่ ๑ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ทั้งนี้ก็เพื่อทาให้หลักคาสอนที่มีในพระไตรปิฎกนั้นยังคงอยู่ และสามารถที่จะเผยแผ่ไปสู่คนรุ่นใหม่ได้ง่ายขึ้น แต่
ถึงอย่างนั้นก็จะพบว่าการศึกษาพระไตรปิฎกของคนในสังคมไทยยังไม่ได้รับความสนใจกันมากนัก เนื่องจากคนใน
สังคมไทยยังมีคตินิยมในเรื่องของการนับถือพระไตรปิฏกว่าเป็นของสูง ห้ามแตะต้องหรือมองว่าพระไตรปิฎกเป็น
เรื่องของพระสงฆ์ไม่ใช่เรื่องของชาวบ้าน ซึ่งจริง ๆ แล้วการศึกษาพระไตรปิฎกนั้นเป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔

ทั้งที่เป็นพระภิกษุและก็คฤหัสถ์ จึงเป็นผลที่กระทบโดยตรงต่อความรู้ ความเข้าใจของคนไทยที่มีต่อหลักคาสอน


และการปฎิบัติต่อหลักคาสอนของพระพุทธศาสนาในทิศทางที่ไม่ค่อยถูกต้องนัก และที่สาคัญการที่สังคมไทย
ไม่ได้ให้ความสนใจกับการศึกษาพระไตรปิฎกอย่างจริงจังย่อมทาให้คนไทยไม่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาทั้งใน
ด้านหลักคาสอน วิถีชีวิตของชาวพุทธ และประวัติศาสตร์ความเป็นมาของพระพุทธศาสนา เมื่อเป็นเช่ นนั้นย่อม
ทาให้สังคมไทยไม่มีการนาเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎกไปปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
และเพื่อแก้ไขปัญหาชีวิตและสังคมจนที่สุดก็กลายมาเป็นปัญหาทางด้านศีลธรรมที่เป็นภาระของสังคมจนไม่
อาจจะแก้ไขได้
การศึกษาพระไตรปิฎกอย่างถูกต้องของคนไทยจึงมีความสาคัญต่อการเกิดขึ้น ดารง อยู่และพัฒนาต่อไป
ของตัวปัญหาและการแก้ปัญหาทางสังคมและวัฒนธรรม ที่มีผลกระทบจากโลกไร้พรหมแดนที่ทุกคนในทุกที่ทุก
สังคมและวัฒนธรรมสามารถเข้าถึงและสื่อสารกันได้โดยสะดวก จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการเปิดพื้นที่
ให้ผู้คนในสังคมไทยในยุคปัจจุบันโอกาสหันเข้ามาศึกษาพระไตรปิฎกกันมากขึ้นเพื่อประโยชน์ทั้งในการศึกษา
หลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนา และการนาหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาไปปรับประยุกต์ใช้
ให้เกิดประโยชน์กับชีวิตและสังคมรวมถึงเพื่อศึกษาถึงอัตลักษณ์ความเป็นชาวพุทธวิถีทางสังคมและวัฒนธรรม
รวมถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในอดีตมาจนถึงปัจจุบันในแนวทางที่ถูกต้อง และสามารถที่
จะพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไทยให้ดารงอยู่ในฐานะสมาชิกของสังคมโลกได้อย่างมีความสุข
๑๒. ผลกระทบจากข้อ ๑๑
๑๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร
ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกจึงจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มีศักยภาพและ
สามารถปรั บเปลี่ยนได้ตามวิวัฒ นาการของการศึกษาพระไตรปิฎกที่มีพัฒนาการมาจากอดีตจนถึงปัจจุบันที่
จะต้องเน้นในเรื่องการตีความและปรับประยุกต์เพื่อให้เข้าถึงชาวพุทธในสังคมไทยและสังคมโลกให้ทั่วถึงมากที่สุด
โดยการผลิตบุคลากรผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในคัมภีร์พระไตรปิฎก สามารถที่จะให้คาตอบเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
ในทุ ก มิ ติ รวมถึ ง เป็ น ผู้ ที่ มี ค วามสามารถในเผยแผ่ ห ลั ก ค าสอนทางพระพุ ท ธศาสนาตรงตามที่ ป รากฏใน
พระไตรปิฎกให้กับประชาชนในสังคมได้อย่างหลากหลาย และเป็นแบบอย่างที่ดีของชาวพุทธในการเอาธุระ
ในทางพระพุทธศาสนาก็คือการศึกษาพระไตรปิฎ กอันเป็นหัว ใจส าคัญของพระพุทธศาสนา และเอาธุระใน
ทางการปฎิบัติคือการเผยแผ่หลักคาสอนในพระไตรปิฎกให้ผู้อื่นเพื่อเป็นการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมอันดี
งามให้กับสังคมในทุกระดับชั้น อนึ่ ง จะพบว่าในปัจจุบันนี้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในพระไตรปิฎกนับว่ายังมีจานวน
น้อยมาก ซึ่งภาวการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลต่อความมั่นคงทางพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานทางวัฒนธรรม
ไทยเป็นอย่างยิ่ง ดังจะเห็นจากกรณีเมื่อมีข้อขัดแย้งทางคาสอนหรือพระวินัยของพระพุทธศาสนาในสั งคมเกิดขึ้น
ก็จะมีผู้ออกมาชี้แจงให้เหตุผลและอ้างอิงหลักคาสอนที่แท้จริงได้ยาก หรือมีก็เป็นเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ดังนั้น จึง
จาเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาหลักสูตรด้านพระไตรปิฎกศึกษาขึ้นมาเพื่อผลิตผู้รู้ในพระไตรปิฎกให้มีจานวนมากขึ้น
และเพื่อรองรับการก่อตั้งองค์กรและ/หรือสมาคมผู้ศึกษาพระไตรปิฎกที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงการพัฒนาขีด
ความสามารถในการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบันและ
อนาคต
๑๒.๒ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
เป้าหมายของหลักสูตรมุ่งผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ และเชี่ยวชาญในทางพระไตรปิฎก สามารถ
วิจัย ค้นคว้าและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อส่งเสริมความรู้ในพระไตรปิฎกและบริการสังคม ตามพระราชปณิธานของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มุ่งให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานที่ศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูง ซึ่ง
เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการปรั บ ให้ เ ป็ น พั น ธกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย คื อ “ผลิ ต บั ณ ฑิ ต วิ จั ย และพั ฒ นา ส่ ง เสริ ม
พระไตรปิฎกศึกษาและบริการวิชาการแก่สังคม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม”
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕

๑๓. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
๑๓.๑ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
-หลักสูตรประกาศนียบัตรพระไตรปิฎกศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย
- หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๑๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
ไม่มี
๑๓.๓ การบริหารจัดการหลักสูตร
๑๓.๓.๑ โครงการหลั กสู ตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.) สาขาวิช าพระไตรปิฎ กศึกษา มี
รูปแบบการบริหารหลักสูตร โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการหลักสูตร ผู้อานวยการหลักสูตร และ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
๑๓.๓.๒ มอบหมายให้คณะกรรมการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระไตรปิฎก
ศึกษา ควบคุมการดาเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดรายวิชา
๑๓.๓.๓ แต่งตั้งผู้ ป ระสานงานหลั กสู ตร ทาหน้าที่ประสานงานกับอาจารย์จากคณะอื่น และ
สาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดทั้งอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาแนวสังเขปประจาวิชาและรายละเอียดประจาวิชา
การจัดการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการเรียน

หมวดที่ ๒
ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
๑. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๑.๑ ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้และเชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก สามารถวิจัย ค้นคว้าและพัฒนาองค์
ความรู้เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในพระไตรปิฎกและบริการสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ มีศักยภาพที่จะพัฒนา
ตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม เป็นผู้นาทางปัญญา พัฒนาจิตใจและสังคม
๑.๒ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิตตามปรัชญาที่ตั้งไว้ จึงมีวัตถุประสงค์
ดังนี้
๑.๒.๑ เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาพระไตรปิฏกศึกษา ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก
และมีศีลาจารวัตรดีงามเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
๑.๒.๒ เพื่อผลิตบัณฑิตสามารถวิเคราะห์ ตีความ และประยุกต์พุทธธรรมที่ปรากฏในพระไตรปิฏก
และคัมภีร์ ทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการสอนและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างมี
ประสิทธิภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๑.๒.๓ เพื่อผลิตบัณฑิตด้านพระไตรปิฏกศึกษา ตอบสนองความต้องการของ คณะสงฆ์ สังคม
และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖

๒. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
๑. จัดทาและปรับปรุงหลักสูตรให้ - พั ฒ นาหลั ก สู ต รโดยมี พื้ น ฐานจาก - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร
มีมาตรฐานไม่ต่ากว่าที่ สกอ. หลั ก สู ต รในระดั บสากล หลั ก สู ต ร - รายงานผลการประเมิน
กาหนด และสอดคล้ องกั บ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา หลักสูตร
กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว แห่งชาติ
๑๕ ปี ฉบั บ ที่ ๒ (๒๕๕๑- - ติดตามประเมินหลักสูตรอย่างสม่าเสมอ
๒๕๖๕)
๒. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้อง - ติ ด ตามความเปลี่ ย นแปลงในความ - รายงานผลประเมินความพึง
กั บ ความต้ อ งการขององค์ ก ร ต้องการขององค์กรภาครัฐ และเอกชน พอใจของผู้ เ รี ย นต่ อ ความรู้
ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งคณะ รวมถึงคณะสงฆ์ แ ล ะ ค ว า ม ทั น ส มั ย ข อ ง
สงฆ์ - นาแนวคิด รวมทั้งเทคโนโลยีใ หม่ๆ มา หลักสูตร
ใ ช้ ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ พื่ อ เ พิ่ ม - รายงานผลการประเมินความ
ศักยภาพของหลักสูตร พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
- ติดตามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
๓. พัฒนาบุคลากรด้านการเรียน - อาจารย์ทุกคนโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ - รายชื่อบุคลากรและอาจารย์
ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร ต้องเข้าอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน ที่เข้ารับการอบรม
วิชาการ รูปแบบต่างๆ และการวัดผลประเมินผล - ปริ ม าณงานบริ การวิ ช าการ
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถใน ต่ออาจารย์ในหลักสูตร
การประเมิ น ผลตามกรอบมาตรฐาน - รายงานผลประเมินความพึง
คุณวุฒิ ที่ผู้ ส อนจะต้องสามารถวัดและ พอใจของผู้ใช้บริการวิชาการ
ประเมินผลได้เป็นอย่างดี - จานวนโครงการ/กิจกรรมที่
- สนั บ สนุ น บุ ค ลากรด้ า นการเรี ย นการ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและ
สอนให้ทางานบริการวิชาการแก่องค์กร ความบรรลุผลสาเร็จ
ภายนอก - ใบรับรองวิชาชีพ (กรณีมีการ
- ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารน าความรู้ ทั้ ง จาก ส่งเข้าอบรม)
ภาคทฤษฎี และงานวิจัยไปใช้จริงเพื่อ
ท าประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชน สั ง คมหรื อ
คณะสงฆ์
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗

หมวดที่ ๓
ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร
๑. ระบบการจัดการศึกษา
๑.๑ ระบบ
คณะพุทธศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย จัดการศึกษาระบบทวิภาค โดยแบ่งเวลาการศึกษาในแต่ละปี
การศึกษาออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษามีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์
คณะพุทธศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาระบบไตรภาค โดยเพิ่มการศึกษาภาคฤดู
ร้อนได้อีก ๑ ภาค มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์
๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
อาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคการศึกษา มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ และ
จะกาหนดระเบียบว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อนที่ไม่ขัดกับข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่า
ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
๑.๓.๑ รายวิชาที่กาหนดให้นิสิตฟังการบรรยายสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง และศึกษานอกเวลาอีกไม่น้อย
กว่าสัปดาห์ละ ๓ ชั่วโมงตลอดภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๑.๓.๒ รายวิชาที่นิสิตใช้เวลาปฏิบัติการ อภิปราย หรือสัมมนาสัปดาห์ละ ๒ ถึง ๓ ชั่วโมง และเมื่อ
รวมเวลาศึกษานอกเวลาแล้ว นิสิตใช้เวลาไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ ๓ ชั่วโมง ตลอดภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑
หน่วยกิต
๑.๓.๓ รายละเอียดอื่นๆ ใดที่เกี่ยวกับระยะเวลาการศึกษา ให้นาข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
๒. การดาเนินการหลักสูตร
๒.๑ วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ให้มีระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาค
การศึกษาปกติ โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษา ดังนี้
ภาคการศึกษาที่ ๑ มิถุนายน - กันยายน
ภาคการศึกษาที่ ๒ พฤศจิกายน- มีนาคม
เรียนวันเวลาปกติ วันพุธ-พฤหัสบดี ที่อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วังน้อย อยุธยา และภาคพิเศษวันเสาร์-วันอาทิตย์ ที่อาคารเรียนวัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ เขตพระ
นคร กรุงเทพมหานคร
๒.๒ การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าศึกษา
-เฉพาะแบบศึกษาเต็มเวลา
๒.๓ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
๒.๓.๑ เป็นผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
๒.๓.๒ ได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรี ไม่ต่ากว่า ๒.๕๐ จาก ระบบ ๔ แต้ม ยกเว้นผู้
มีประสบการณ์ทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่สาเร็จการศึกษา และผู้จบเปรียญธรรม ๙
ประโยค และ
๒.๓.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘

วิธีคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
(๑) บัณฑิตวิทยาลัยจะดาเนินการคัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือก
ผู้สมัครเข้าศึกษาในแต่ละปีการศึกษา ผู้สมัครต้องผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกตามที่บัณฑิตกาหนด
(๒) วิธีคัดเลือกอื่นๆ ให้นาข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษามาใช้โดยอนุโลม
๒.๔ ปัญหาของนิสิตแรกเข้า และ ๒.๕ กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนิสิต
ปัญหาของนิสิตแรกเข้า กลยุทธ์ในการดาเนินการแก้ไขปัญหา
- ข า ด ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ใ น ส า ข า วิ ช า - ส่ ง เสริ ม ให้ ค ณาจารย์ แ ต่ ล ะวิ ช า บู ร ณาการความรู้ ด้ า น
พระไตรปิฎก พระไตรปิฎก พระพุทธศาสนา ภาษาอังกฤษ ภาษาบาลีและการ
- ขาดทัก ษะการวิ จั ย ทั้ง เชิ งคุ ณภาพและ วิจัย เข้าในรายวิชาที่รับผิดชอบ
เชิงปริมาณ
- ขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ - จัดโครงการคลินิกวิทยานิพนธ์ โดยการจัดอบรมพิเศษเกี่ยวกับ
- ขาดทักษะการใช้ภาษาบาลี การเขียนโครงร่างการวิจัยและการจัดทาเอกสารคู่มือเกี่ยวกับการ
- ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับ หลั กธรรมทาง เขียนงานวิจัยทางด้านพระไตรปิฎกศึกษา
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ล ะ ก า ร ค้ น ค ว้ า
พระไตรปิฎก - จั ด ให้ มี ก ารเรี ย นการสอนรายวิ ช าศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ปรั บ พื้ น
- ขาดความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การเขี ย น ฐานความรู้
โครงการวิจัย โครงร่างวิทยานิพนธ์ และ
โครงร่างสารนิพนธ์

๒.๖ แผนการรับนิสิตและจานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระยะเวลา ๕ ปี
จานวนนิสิต(รูป/คน)
ชั้นปี
ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐
ชั้นปีที่ ๑ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕
ชั้นปีที่ ๒ - ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕
รวม ๒๕ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐
จานวนมหาบัณฑิต - - ๒๕ ๒๕ ๒๕
๒.๗ งบประมาณตามแผน
๒.๗.๑ งบประมาณรายรับ (สาหรับพระภิกษุ)
ประมาณรายรับในปีงบประมาณ (พ.ศ.)
รายละเอียดรายรับ
๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐
ค่าลงทะเบียนนิสิตใหม่ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐
ค่าลงทะเบียน ๑๘๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐
ค่าบารุงการศึกษา ๖๗,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล (ต่อคน) - - - - -
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๙

รวมรายรับทั้งหมด ๒๗๒,๕๐๐ ๗๖๕,๐๐๐ ๑๖๒,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐ ๑๖๒,๕๐๐


๒.๗.๒ งบประมาณรายรับ (สาหรับคฤหัสถ์)
ประมาณรายรับในปีงบประมาณ (พ.ศ.)
รายละเอียดรายรับ
๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐
ค่าลงทะเบียนนิสิตใหม่ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐
ค่าลงทะเบียน ๓๖๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐
ค่าบารุงการศึกษา ๗๒,๕๐๐ ๒๒๗,๕๐๐ ๒๒๗,๕๐๐ ๒๒๗,๕๐๐ ๒๒๗,๕๐๐
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล(ต่อคน) - - - - -
รวมรายรับทั้งหมด ๔๕๗,๕๐๐ ๑,๑๒๗,๕๐๐ ๑,๑๒๗,๕๐๐ ๑,๑๒๗,๕๐๐ ๑,๑๒๗,๕๐๐
๒.๗.๓ งบประมาณรายรับ (ภาคพิเศษ)
ประมาณรายรับในปีงบประมาณ (พ.ศ.)
รายละเอียดรายรับ
๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐
ค่าลงทะเบียนนิสิตใหม่ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐
ค่าลงทะเบียน ๗๖๕,๐๐๐ ๑,๕๗๕,๐๐๐ ๑,๕๗๕,๐๐๐ ๑,๕๗๕,๐๐๐ ๑,๕๗๕,๐๐๐
ค่าบารุงการศึกษา ๘๒,๕๐๐ ๓๗๗,๕๐๐ ๓๗๗,๕๐๐ ๓๗๗,๕๐๐ ๓๗๗,๕๐๐
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล(ต่อคน) - - - - -
รวมรายรับทั้งหมด ๘๗๒,๕๐๐ ๑,๙๕๒,๕๐๐ ๑,๙๕๒,๕๐๐ ๑,๙๕๒,๕๐๐ ๑,๙๕๒,๕๐๐

๒.๘ ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน ๒๗ หน่วยกิต และทาวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
๒.๙ การเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา และการลงทะเบียนข้ามสถาบัน
ไม่มี
๓. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
๓.๑ หลักสูตร
๓.๑.๑ จานวนหน่วยกิตและระยะเวลาศึกษา
จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ๓๙ หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร อย่าง
น้อย ๔ ภาคการศึกษาปกติ และอย่างมากไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ
๓.๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร เป็นแบบ แผน ก แบบ ก (๒) โดยแบ่งหมวดวิชาตามที่กาหนดไว้ในประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ดังนี้
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๐

โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก(๒)


รายวิชาที่นับหน่วยกิต
หมวดวิชา
๑.หมวดวิชาบังคับ ๙
๒. วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต (๑๕)
๓.หมวดวิชาเอก ๑๒
๔.หมวดวิชาเลือก ๖
๕.วิทยานิพนธ์ ๑๒
รวมทั้งสิน ๓๙

๓.๑.๓ รายวิชาในหลักสูตร
รหัสวิชา
ความหมายของเลขรหัสประจาวิชาในหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระไตรปิฎก
ศึกษา ประกอบด้วยเลข ๖ หลัก มีความหมายดังนี้
๑. เลข ๓ ตัวแรก = ตัวที่ ๑ แสดงคณะ ตัวที่ ๒-๓ แสดงสาขาวิชา/ภาควิชา
๒. เลข ๓ ตัวหลัง = ตัวที่ ๑ แสดงภาคการศึกษา ตัวที่ ๒-๓ แสดงชื่อวิชา

(๑) วิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต


ก. วิชาบังคับแบบนับหน่วยกิต
วิชาบังคับ จานวน ๙ หน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka Analysis
๖๒๐ ๑๐๒ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Theravada Buddhist Philosophy in Tipitaka
๖๒๐ ๒๐๓ ระเบียบวิธวี ิจัยทางพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Research Methodology in Tipitaka
ข. วิชาบังคับแบบไม่นับหน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ (๓) (๓-๐-๖)
English
๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน (๓) (๓-๐-๖)
Buddhist Meditation
๖๐๐ ๒๐๖ สัมมนาวิทยานิพนธ์ (๓) (๓-๐-๖)
Seminar on Thesis
๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑ (๓) (๓-๐-๖)
Usage of Pali I
๑๐๒ ๓๐๖ การใช้ภาษาบาลี ๒ (๓) (๓-๐-๖)
Usage of Pali II
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๑

(๒) วิชาเอก ๑๒ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาเอกพระไตรปิฎกศึกษา ๑๒ หน่วยกิต


๖๒๐ ๑๐๖ พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Vinaya Pitaka Analysis
๖๒๐ ๒๐๗ พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Suttanta Pitaka Analysis
๖๒๐ ๓๐๘ พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Abhidhamma Pitaka Analysis
๖๒๐ ๓๐๙ ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ ๓ (๓-๐-๖)
The History of Ancient Indian Civilization
(๓) วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต นิสิตต้องเลือกศึกษาจากรายวิชาที่กาหนดให้ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
๖๒๐ ๓๑๐ พระไตรปิฎกกับศาสตร์สมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka and Modern Sciences
๖๒๐ ๓๑๑ กรรมวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Action (kamma) Analysis
๖๒๐ ๓๑๒ สัมมนาพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Semina on Tipitaka
๖๒๐ ๓๑๓ ศึกษาอิสระในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)
Independent Studies in Buddhist Scripture
๖๒๐ ๓๑๔ พุทธประวัติในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Buddha’ s History in Tipitaka
๖๒๐ ๓๑๕ ชาดกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Jataka Analysis
๖๒๐ ๓๑๖ พระไตรปิฎกในสมาคมอาเซียน ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka in Asian Communication
๖๒๐ ๓๑๗ เทคนิคการอ่านพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka Reading Technuiqe
๖๒๐ ๓๑๘ ปฎิจจสมุปบาทวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Dependent Origination Analysis
๖๒๐ ๓๑๙ พระไตรปิฎกกับภูมิปัญญาไทย ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka and Thai wisdom
(๔) วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
๖๐๒ ๔๐๐ วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
Thesis
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๒

๓.๑.๔ แผนการศึกษา
ภาคเรียน รหัสวิชา / รายวิชา จานวนหน่วยกิต

๑ วิชาบังคับ
๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๑๐๒ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)
๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ * (๓)(๓-๐-๖)
วิชาเอก
๖๒๐ ๑๐๖ พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)

รวม ๙
* รายวิชาไม่นับหน่วยกิต

ภาคเรียน รหัสวิชา / รายวิชา จานวนหน่วยกิต

๒ วิชาบังคับ
๖๒๐ ๒๐๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)
๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน * (๓)(๓-๐-๖)
วิชาเอก
๖๒๐ ๒๐๗ พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)
วิชาเลือก
๖๒๐ ๓๑๘ ปฎิจจสมุปบาทวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)

รวม ๙
* รายวิชาไม่นับหน่วยกิต
ภาคเรียน รหัสวิชา / รายวิชา จานวนหน่วยกิต

๓ วิชาเอก
๖๒๐ ๓๐๘ พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๐๙ ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ ๓(๓-๐-๖)
๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑* (๓)(๓-๐-๖)
วิชาเลือก
๖๒๐ ๓๑๐ พระไตรปิฎกกับศาสตร์สมัยใหม่ ๓(๓-๐-๖)
รวม ๙
* รายวิชาไม่นับหน่วยกิต
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๓

หน่วยกิต
ภาคเรียน รหัสวิชา/รายวิชา (ทฤษฎี-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
๔ วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๒* (๓)(๓-๐-๖)
๖๐๐ ๒๐๖ สัมมนาวิทยานิพนธ์* (๓)(๓-๐-๖)
วิชาบังคับ
๖๐๐ ๔๐๐ วิทยานิพนธ์ ๑๒
รวม ๑๒
รวมทั้งหมด ๓๙
* รายวิชาไม่นับหน่วยกิต
๓.๑.๕ คาอธิบายรายวิชา
(ดูรายละเอียด ภาคผนวก ก)
๙. ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิการศึกษา
๙.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร
สถาบัน
ตาแหน่ง ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิการศึกษา ที่สาเร็จ ปีจบ
อาจารย์พร ะ ม ห า สุ ทิ ต ย์ อา ภ า กโ ร
(อบอุ่น) ดร.
เลขประจาตัวประชาชน ร.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๓๕
************* พม.ช.(พัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๔๑
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๙
อาจารย์ พระมหาสุร ศั ก ดิ์ ปจฺจ นฺ ตเสโน
ดร.
เลขประจาตัวประชาชน พธ.บ.(บาลี-สันสกฤต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๐
************* ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๔๐
ศศ.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา) หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๔๔
M.Phil.(Buddhist Studies) University of Delhi, INDIA, ๒๕๕๐
Ph.D. (Buddhist Studies) University of Jammu, INDIA, ๒๕๕๔
อาจารย์ ดร. อธิเทพ ผาทา พธ.บ (การสอนสังคมฯ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๐
เลขประจาตัวประชาชน
************* พธ.ม.(ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๓
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๕๐
อาจารย์ ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ วท.บ (สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๕๓๕
เลขประจาตัวประชาชน วท.ม.(สาขาเทคโนโลยี
************* สารสนเทศทางธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๔๒
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๕๐
อาจารย์ ดร. จรูญ วรรณกสิณานนท์ พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๓๓
เลขประจาตัวประชาชน อ.ม.(ศาสนาเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๔๓
************* พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ ๒๕๔๘
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๔

๓.๒.๒ อาจารย์ร่วมสอน
ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล คุณวุฒิ/สาขาวิชา ตาแหน่งทางวิชาการ
๑ พระศรีคัมภีรญาณ รศ.ดร. ป.ธ.๙ รองศาสตราจารย์
พ ธ . ม . ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า )
Ph.D.(Buddhist Studies)
พระสุธีธรรมานุวัตร, ผศ.ดร. ป.ธ.๙, ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(เทียบ สิริ าโณ) Ph.D.(Pali)
M.A.(Pali & Sanskrit)
พระราชวรมุนี ดร. ป.ธ.๙, อาจารย์
(พล อาภากโร) Ph.D.(Linguistics)
M.Phil., M.A. (Linguistics)
พธ.บ.(ปรัชญา)
๒ พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร ดร. พธ.บ. อาจารย์
ศศ.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส รศ.ดร. พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) รองศาสตราจารย์
ศศ.ม.(พุทธศาสนศึกษา)
พธ.บ.(ปรัชญา)
๓ พระมหาสุทิตย์ อาภากโร ดร. พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) อาจารย์
พช.ม.(พัฒนาชุมชน)
ร.บ.(รัฐศาสตร์)
๔ พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน Ph.D. (Buddhist Studies) อาจารย์
M.Phil. (Buddhist Studies)
ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา)
ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา)
พธ.บ. (บาลี-สันสกฤต)
พระมหาทวี มหาปญฺโญ ผศ.ดร., ป.ธ.๙ พธ.บ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศน.ม. (พุทธศาสนาและปรัชญา)
Ph.D.(Buddhist Studie)
๕ พระราชสิทธิมุนี, ดร.วิ. ป.ธ.๙ อาจารย์
(บุญชิต าณสวโร) Ph.D. (Pali&Buddhist Studies)
อ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)
พธ.บ. (พุทธศาสนา)
๖ พระเมธีรัตนดิลก, ดร. ป.ธ.๙ อาจารย์
(จรรยา ชินวโส) Ph.D.(Buddhist Studies)
M.A. (Linguistics)
พธ.บ.(ครุศาสตร์)
พระมหาดนัยพัชน์ ป.ธ.๖ พธ.บ. อาจารย์
พธ.ม.(ปรัชญา)
Ph.D.(Philosophy)
ผศ.รังษี สุทนต์ ป.ธ.๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๕

ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล คุณวุฒิ/สาขาวิชา ตาแหน่งทางวิชาการ


พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)
ดร.ประพันธ์ ศุภษร พธ.บ. อาจารย์
ศศ.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม บ.ศ.๙ อาจารย์
พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
ผศ.ไกรวุฒิ มะโนรัตน์ ป.ธ. ๙, พธ.บ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)
ดร.อธิเทพ ผาทา พธ.บ. อาจารย์
พธ.ม.(ปรัชญา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
๗ ผศ.ดร.สุเทพ พรมเลิศ ป.ธ.๙, ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
ศศ.ม.(จารึกภาษาไทย)
พธ.บ.(พระพุทธศาสนา)
๘ ดร.แสวง นิลนามะ ป.ธ.๗ พธ.บ. อาจารย์
พธ.ม. (ปรัชญา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
๙ ดร.สุดารัตน์ บรรเทากุล วท.บ.(เคมี) อาจารย์
พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
พระมหาประสิทธิ์ สิริปญฺโญ ผศ. ป.ธ. ๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พธ.บ.
พธ.ม. (ปรัชญา)
ดร.เสนาะ ผดุงฉัตร ป.ธ.๙ อาจารย์
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
M.A.(สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
พธ.บ.(พุทธศาสนา)
นายอิทธิพล แก้วพิลา พธ.บ. อาจารย์
ศศ.ม. (พุทธศาสน์ศึกษา)
นายสันติ เมืองแสน พธ.บ.(ศาสนา) อาจารย์
พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)

๓.๒.๓ อาจารย์พิเศษ
ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล คุณวุฒิ/สาขาวิชา ตาแหน่งทางวิชาการ
๑ ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน อ.ด. (ปรัชญา) ศาสตราจารย์กิตติคุณ
อ.ม. (ภาษาไทย)
อ.บ. (เกียรตินิยม)
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๖

ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล คุณวุฒิ/สาขาวิชา ตาแหน่งทางวิชาการ


ศ. พิ เ ศษ จ านงค์ ทองประเสริ ฐ ป.ธ.๙ พธ.บ. ศาสตราจารย์พิเศษ
(ราชบัณฑิต) M.A.(Asian Studies)
ดร.มนูญ มุกข์ประดิษฐ์ ร.บ.(รัฐศาสตร์) อาจารย์พิเศษ
M.A. (Politics)
๒ ศ.ดร.จานงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ Ph.D. (Sociology) ศาสตราจารย์
M.A. (Sociology)
พธ.บ.(พุทธศาสนา)
๓ ศ.ดร.สมภาร พรมทา อ.ด. (ปรัชญา) ศาสตราจารย์
อ.ม., (ปรัชญา)
พธ.บ. (ปรัชญา)
๔ รศ.ดร.วัชระ งามจิตรเจริญ ป.ธ.๙ รองศาสตราจารย์
อ.ด. (ปรัชญา)
M.A. (Philosophy)
พธ.บ.(ศาสนาและปรัชญา)
๕ ผศ.รท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ ป.ธ.๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Ph.D. (Buddhist Philosophy)
อ.ม. (บาลีสันสกฤต)
พธ.บ. (การศึกษา)
รศ.ดร.สาเนียง เลื่อมใส ป.ธ.๙ พธ.บ. รองศาสตราจารย์
M.A.
Ph.D.
๖ ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน อ.ด. (ปรัชญา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์
พธ.บ.(ปรัชญา)
รศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน พธ.บ. รองศาสตราจารย์
M.A. (Philosophy)
Ph.D. (Philosophy)
ผศ.บุญมี แท่นแก้ว พธ.บ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์
M.A.(Philosophy)
ดร.นพ.รัศมี วรรณิสสร พ.บ.(มหาวิทยาลัยมหิดล) อาจารย์พิเศษ
Cert. Laser Neurosurg.
Cert. Computered
Tomography. Japan.
Cert.Microneurosurg. U.S.A.
พ.ด.(มหาวิทยาลัยมหิดล)
Ph.D.(Med.) Germany.
๗ ดร.ทรงวิทย์ แก้วศรี พธ.บ.(พุทธศาสนา) อาจารย์พิเศษ
พธ.ด. (พระไตรปิฎกศึกษา)
MLib.Sc. (บรรณารักษ์ศาสตร์)
ศศ.บ. (สารนิเทศศาสตร์)
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๗

ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล คุณวุฒิ/สาขาวิชา ตาแหน่งทางวิชาการ


ดร.คุณหญิงสมปอง วรรณิสสร ประกาศนียบัตรการบริหารการ อาจารย์พิเศษ
จัดการ Liverpool Commercial
College England
พธ.ด.(สังคมวิทยา) กิตติมศักดิ์
๘ ดร.อานาจ ยอดทอง พธ.บ.(การสอนสังคม) อาจารย์พิเศษ
บธ.บ.(การจัดการทั่วไป)
พธ.ม.(ปรัชญา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
๙ ดร.วีรชาติ นิ่มอนงค์ Ph.D. (Philosophy) อาจารย์พิเศษ
M.Phil., (Philosophy)
M.A. (Philosophy)
พธ.บ. (ปรัชญา)
กศ.บ. (วรรณคดีไทย)
๑๐ ดร.วุฒินันท์ กันทะเตียน ป.ธ.๙ อาจารย์พิเศษ
พธ.ด. (พระไตรปิฎกศึกษา)
อ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)
พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
๑๒ ดร.อายุษกร งามชาติ พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) อาจารย์พิเศษ
อ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)
ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ)
๑๓ ดร.หิมพรรณ รักแต่งาม พธ.ด.(พระไตรปิฎกศึกษา) อาจารย์พิเศษ
MBA. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต)
บธ.บ. (บริหารธุรกิจบัณฑิต)
๑๔ ดร.วิศิษฐ์ ชัยสุวรรณ พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) อาจารย์พิเศษ
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า)
๑๕ ดร.ดวงกมล ทองคณานุรักษ์ วท.บ. อาจารย์พิเศษ
ศศ.ม.(พุทธศาสน์ศึกษา)
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)

๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
ไม่มี
๕. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์
๕.๑ คาอธิบายโดยย่อ
๕.๑.๑ นิสิตจะเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขออนุมัติลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ได้ เมื่อ
ศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมในรายวิชาไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต
๕.๑.๒ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่าด้วยวิ ธีปฏิบัติ
เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์
๕.๑.๓ นิสิตมีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธ์ได้ เมื่อศึกษารายวิชาครบตามที่กาหนดได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมใน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๘

รายวิชาไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ และทาวิทยานิพนธ์เสร็จสมบูรณ์ โดยใช้เวลาทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน นับ


จากวันลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์เงื่ อนไขอื่น ๆ เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่า
ด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์
๕.๑.๔ การเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ การสอบวิทยานิพนธ์ ให้
เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์
๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้
นิสิตมีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับ พระไตรปิฎกศึกษา
และหลั กธรรมอย่ า งเป็ น ระบบ และมี ห ลั ก การ สามารถประยุ ก ต์ใ ช้ ศาสตร์ ต่า งๆ ทั้ง ทางภาคทฤษฎีแ ละ
ภาคปฏิบัติ เพื่อใช้ในการทาวิทยานิพนธ์ได้
๕.๓ จานวนหน่วยกิต
วิทยานิพนธ์จานวน ๑๒ หน่วยกิต
๕.๔ การเตรียมการ
๕.๔.๑ ให้ลงทะเบียนเรียนวิชาเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางพระไตรปิฎกศึกษา
๕.๔.๒ จัดให้มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
๕.๔.๓ จัดสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์ และจัดให้มีคลินิกวิทยานิพนธ์
๕.๕ ข้อกาหนดในการทาวิทยานิพนธ์
๕.๕.๑ ในการสอบวิท ยานิ พ นธ์นิ สิ ตต้ อ งตอบข้ อซั ก ถามต่ างๆ เกี่ ย วกั บ วิท ยานิพ นธ์ห รื อ เรื่ อ งที่
เกี่ย วข้ อง หลั งจากสอบแล้ ว ให้ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ป ระชุมพิ จารณาประเมินผล ในขณะ
ประเมินผลให้นิสิตออกจากห้องสอบ
๕.๕.๒ ให้มีการจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินผลวิทยานิพนธ์ทุกครั้ง
๕.๕.๓ หากคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์มีมติให้แก้ไขวิทยานิพนธ์ไม่ว่ากรณีใดๆ นิสิตต้อง
แก้ไขวิทยานิ พนธ์ให้ ถูกต้องตามมติ และคาแนะนานั้ นก่อนที่จะนาวิทยานิพนธ์ ฉบับที่แก้ไขแล้ วส่ งบัณฑิต
วิทยาลัย กรณีที่นิสิตไม่สามารถส่งวิทยานิพนธ์ได้ทันเวลาตามที่คณะกรรมการกาหนด จะต้องดาเนินการยื่นขอ
ขยายเวลาการส่งวิทยานิพนธ์ต่อบัณฑิตวิทยาลัยโดยผ่านความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
วิทยานิพนธ์ ทั้งนี้การขยายเวลา ต้องอยู่ภายในระยะเวลา ๖ เดือนนับแต่วันสอบ หากเกินจากกาหนดนี้ให้ถือว่า
สอบไม่ผ่านและจะต้องดาเนินการขอสอบใหม่ กรณีที่ยังคงสถานภาพนิสิตเท่านั้น
๕.๕.๔ ให้คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ทาการประเมินผลวิทยานิพนธ์โดยกาหนดเป็น ๔
ระดับคือ A, B+, B และ F ส่วนวิทยานิพนธ์ที่อยู่ในระหว่างการเรียบเรียงให้แสดงสถานะด้วยสัญลักษณ์ IP
(Inprogress)
๕.๕.๕ การลงนามของกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ในหน้าอนุมัติ อาจกระทาได้เมื่อเห็นสมควรแต่
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์จะลงนามได้ต่อเมื่อวิทยานิพนธ์นั้นได้รับการแก้ไขทั้งรูปแบบและ
เนื้อหาเรียบร้อยแล้วเท่านั้น จากนั้นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยจึงลงนามอนุมัติ
๕.๕.๖ ให้ ป ระธานคณะกรรมการตรวจสอบวิท ยานิ พนธ์เ สนอผลการประเมิ นต่ อคณบดี บัณ ฑิ ต
วิทยาลัย หากมีมติไม่เป็นเอกฉันท์โดยคณะกรรมการเสียงข้างมากมีมติให้ผ่าน ให้ร วบรวมใบประเมินผลของ
กรรมการทุกท่าน เพื่อส่งให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาชี้ขาด เมื่อทราบผลการประเมินและ
นิสิตส่งวิทยานิพนธ์ฉบับที่แก้ไขเรียบร้อย บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศผลให้ทราบโดยทั่วกัน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๑๙

หมวดที่ ๔
ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต
๑ M – Morality มีมารยาททางกายและ มีการฝึกฝนด้านระเบียบวินัยกิริยามารยาททั้งทางกายและวาจาที่
วาจาที่เหมาะสมตามกาลเทศะ เหมาะสม เช่น การแต่งกาย การพูด

๒. A – Awareness รู้เท่าทันความ มีการส่งเสริมให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมปัจจุบัน


เปลี่ยนแปลงทางสังคม ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี

๓. H – Helpfulness มีศรัทธา อุทิศตน มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต มี ศ รั ท ธาอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ท างานเผยแผ่


เพื่อพระพุทธศาสนาและการศึกษาไตรปิฎก พระพุทธศาสนา โดยการให้ออกค่ายบัณฑิตอาสาพัฒนาชุมชน

๔. A – Ability มีความสามารถในการ มีการส่งเสริมให้นิสิตมีทักษะในการแก้ปัญหาตนเองและสังคม โดย


แก้ปัญหา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากกรณีปัญหา (Problem-Based
Learning: PBL) เพื่อนาไปสู่การคิดแก้ไขปัญหานั้น ๆ ตามหลั ก
พุทธธรรม
๕. C – Curiosity มีความใฝ่รู้ใฝ่คิด มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต เรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต มี ค วามใฝ่ รู้ ใ ฝ่ คิ ด โดย
มอบหมายงานให้ ศึ ก ษาค้น คว้ า วิ จัย วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ และ
วิจารณ์ประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม
๖. H - Hospitality มีน้าใจเสียสละเพื่อ มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต มี จิ ต อาสาในการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมบ าเพ็ ญ
ส่วนรวม สาธารณประโยชน์ต่าง ๆ เช่น จัดกิจกรรมสังคมสงเคราะห์
๗. U – Universality มีโลกทัศน์กว้างไกล มีการส่งเสริมให้นิสิตเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ด้านพระไตรปิฎกศึกษาและสังคม
๘. L – Leadership มีความเป็นผู้นาด้าน มีการส่งเสริมให้นิสิตวางตนเป็นแบบอย่างด้านจิตใจและปัญญา
จิตใจและปัญญา
๙. A – Aspiration มีความมุ่งมั่นพัฒนาตน มีการส่งเสริมให้นิสิตฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรม โดยการบูรณาการ
ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรม หลักคุณธรรมจริยธรรมไว้ในในรายวิชาต่างๆ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๐

๒. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
๑. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
๑.๑ ผลิตบัณฑิตทางพระไตรปิฎกศึกษาที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม
๑.๒ มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรมด้วยหลักการทางพรุทธศาสนาทีปรากฏ
ในพระไตรปิฎก
๑.๓ สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดันดีงาม
๑.๔ แสดงภาวะความเป็นผู้นาด้านความประพฤติปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมในพระไตรปิฎก
๒. ด้านความรู้
๒.๑ มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ตลอดจน
หลักการและทฤษฎีที่สาคัญ และนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
๒.๒ มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระไตรปิฎกศึกษาได้
๒.๓ มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาพระพุทธ ศาสนา สามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้
กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
๒.๔ สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนา
องค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการด้านพระไตรปิฎกศึกษา

๓. ด้านทักษะทางปัญญา
๓.๑ สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์
องค์ความรู้ใหม่ทางพระไตรปิฎกอย่างเหมาะสม
๓.๒ สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และ
นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
๓.๓ สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่าง
เหมาะสมและสร้างสรรค์
๓.๔ สามารถตัดสินใจในเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการ
และงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
๔ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ สามารถสื่ อสารกับกลุ่ มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้ง ภาษาไทยและภาษาต่ างประเทศอย่า งมี
ประสิทธิภาพ
๔.๒ สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาท
ของผู้นา หรือในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน
๔.๓ สามารถให้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
๔.๔ มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
๔.๕ สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่าง
พอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๕.๑ สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เชื่อมโยง
ประเด็ น ปั ญ หาที่ ส าคั ญ และซั บ ซ้ อ น และเสนอแนะแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาในด้ า นต่ า งๆ โดยเฉพาะทางด้ า น
พระไตรปิฎกศึกษาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
๕.๒ สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่าน การฟัง การเขียน และการนาเสนอ และสื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๑

ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนทั่วไปได้อย่างเหมาะสม
๕.๓ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้ าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทาวิทยานิพนธ์
รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร

กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนา
๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
๑.๑ จั ดกิจ กรรมเชิง วิชาการและภาคปฏิบั ติที่ส่ งเสริมการเรียนรู้ด้ านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นผู้ มีน้ าใจ
เสียสละ อุทิศตนเพื่อพระไตรปิฎกศึกษาและสังคม
๑.๒ ฝึกฝนให้มีความใฝ่รู้ ใฝ่คิด เป็นผู้นาด้านจิตใจและปัญญา เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
๑.๓ การจัดกิจกรรมในรายวิชาที่เน้นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัยในตนเอง และแก้ไขปัญหาของตนเอง
และสังคมได้
๑.๔ ฝึกฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม ด้านคุณธรรมจริยธรรม
๒. ด้านความรู้
๒.๑ จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และมุ่งเน้นให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
โดยใช้วิธีการเรียนการสอนที่เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง กระตุ้นให้เกิด
การคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจด้วยตนเอง
๒.๒ จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่กับวิชาการด้านพระไตรปิฎกศึกษา
๒.๓ จัดให้มีการศึกษาค้นคว้า วิจัยด้วยตนเอง ในการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่
๒.๔ ส่งเสริมให้มีการวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในพระไตรปิฎกและนาองค์ความรู้ที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้ได้
อย่างเหมาะสม
๓. ด้านทักษะทางปัญญา
๓.๑ ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหา
๓.๒ เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการปฏิบตั ิงานจริง
๓.๓ เน้นการเรียนรู้ที่สามารถประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริง โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
๓.๔ การอภิปรายกลุ่ม
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ การจัดกิจกรรมในรายวิชาที่เน้นการเรียนการสอนที่มีการปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
๔.๒ ฝึกฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึงภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
กับผู้ร่วมงาน และการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นในการปฏิบัติงานเป็นทีมและการทางานวิจัย
๔.๓ ฝึกฝนการทากิจกรรมเพื่อสังคม และการวางตัวที่เหมาะสมตามกาลเทศะ
๔.๔ ฝึกฝนการประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๕.๑ จัดการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ เพื่อให้นิสิตได้ฝึกทักษะทั้งด้านการวิเคราะห์ การวิจารณ์
๕.๒ จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ มุ่ ง เน้ น ให้ผู้ เรีย นได้ ฝึ กฝนทั กษะการสื่ อสาร และการน าเสนอโดยใช้
เทคโนโลยีทั้งด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่น
๕.๓ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้นิสิตได้ฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีประกอบการค้นคว้าและการทา
วิทยานิพนธ์
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๒

กลยุทธ์ในการประเมินผลการเรียนรู้
๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม
๑.๑ ประเมินด้วยผลงานวิชาการ และการบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
๑.๒ ประเมินด้วยแบบทดสอบด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแบบวัดผล
๑.๓ ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเป็นทีม การทางานวิจัย และการเข้าร่วมกิจกรรมในการใช้องค์
ความรู้ทางการศึกษาทาประโยชน์ต่อสังคม
๑.๔ ผู้เรียนประเมินตนเอง และประเมินโดยเพื่อนและอาจารย์ โดยใช้แบบประเมินและแบบวัดผล
๒. ด้านความรู้
๒.๑ ประเมินด้วยการสอบข้อเขียน
๒.๒ ประเมินด้วยการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
๒.๓ ประเมินด้วยการนาเสนอรายงานและการทางานเป็นทีม
๒.๔ ประเมินด้วยการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
๓. ด้านทักษะทางปัญญา
๓.๑ วัดการแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแก้ไขปัญหา
๓.๒ วัดผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
๓.๓ การนาเสนอผลงาน การอธิบาย การถามและตอบคาถาม
๓.๔ การโต้ตอบสื่อสารกับผู้อื่น
๓.๕ การอภิปรายกลุ่ม
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ สั งเกตพฤติ กรรมและการแสดงออกของนิสิ ตในหลายๆ ด้า น ระหว่ างกิจกรรมการเรียนการสอน เช่ น
พฤติกรรมความสนใจ ตั้งใจเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
๔.๒ สังเกตพฤติกรรมการแสดงบทบาทภาวะผู้นาและผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น
๔.๓ สังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย การนาเสนอผลงาน การทางานวิจัย
และการร่วมทากิจกรรมเพื่อสังคม
๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๕.๑ การทดสอบความรู้และเทคนิคการวิเคราะห์และวิจารณ์ทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ ๆ
๕.๒ การทางานวิจัย ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนการเขียนรายงาน และการนาเสนอผลงาน

๓. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum


mapping)
แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ในด้านใดบ้าง โดยระบุว่าเป็น
ความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง โดยที่ผลการเรียนรู้แต่ละข้อของด้านต่างๆ ในตารางมี
ความหมายดังต่อไปนี้
๓.๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Moral and Ethics)
(๑) ผลิตบัณฑิตทางพระไตรปิฎกศึกษาที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่
สังคม
(๒) มี ศั ก ยภาพที่ จ ะพั ฒ นาตนเองให้ เ พี ย บพร้ อ มด้ ว ยคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมด้ ว ยหลั ก การทาง
พระพุทธศาสนาที่ปรากฎในพระไตรปิฎก
(๓) สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมอันดีงาม
(๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาด้านความประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมที่มีปรากฎใน
พระไตรปิฎก
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๓

๓.๒ ด้านความรู้ (Knowledge)


(๑) มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สาคัญ และนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
(๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระไตรปิฎก
ศึกษาได้
(๓) มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษาสามารถประยุกต์
หลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
(๔) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับ
การพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการทางพระไตรปิฎกศึกษา
๓.๓ ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)
(๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและ
สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางพระไตรปิฎกอย่างเหมาะสม
(๒) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์
และนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
(๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
(๔) สามารถตัดสินใจในเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทาง
วิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
๓.๔ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skill and
Responsibilies)
(๑) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆใน
กลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน
(๓) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(๔) มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
(๕) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง
แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
๓.๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis,
Communication and Information Technology Skills)
(๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา
เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สาคัญและซับซ้อน และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ โดยเฉพาะทางด้าน
พระไตรปิฎกศึกษาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
(๒) สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่าน การฟัง การเขียน และการนาเสนอ และสื่อสารกับกลุ่มบุคคล
ต่างๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนทั่วไปได้อย่างเหมาะสม
(๓) สามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการค้น คว้ า ข้อมูล เพื่ อประกอบการศึกษาและการท า
วิทยานิพนธ์ รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๐

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)


 ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ ๕. ด้านทักษะการ
๑.ด้านคุณธรรม ๓. ด้านทักษะทาง
รายวิชา จริยธรรม
๒.ด้านความรู้
ปัญญา
ระหว่างบุคคลและความ วิเคราะห์ การสื่อสาร
รับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓
๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๑๐๒ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก                    


๓(๓-๐-๖)
๖๐๒ ๒๐๓ ระเบียบวิจัยทางทาง
                   
พระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)
๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ (๓)๓-๐-๖)                    

๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน (๓)๓-๐-๖)                    

๖๐๐ ๒๐๖ สัมมนาวิทยานิพนธ์(๓)๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๒๐๖ พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ (๓)๓-๐-๖)                    

๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑ (๓))๓-๐-๖)                    

๑๐๒ ๓๐๖ การใช้ภาษาบาลี ๒ (๓))๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๒๐๗ พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์                    


๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๐๘ พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์                    
๓(๓-๐-๖)
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๑

๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ ๕. ด้านทักษะการ
๑.ด้านคุณธรรม ๓. ด้านทักษะทาง
รายวิชา จริยธรรม
๒.ด้านความรู้
ปัญญา
ระหว่างบุคคลและความ วิเคราะห์ การสื่อสาร
รับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓
๖๒๐ ๓๐๙ ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ                    
๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๐ พระไตรปิฎกกับศาสตร์สมัยใหม่                    
๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๑ กรรมวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๓๑๒ สัมมนาพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๓๑๓ ศึกษาอิสระในคัมภีร์                    


พระพุทธศาสนา ๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๔ พุทธประวัติในพระไตรปิฎก                    
๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๕ ชาดกวิเคราะห์ ๓(๓-๐-๖)                    

๖๒๐ ๓๑๖ พระไตรปิฎกในสมาคมอาเซียน                    


๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๗ เทคนิคการอ่านพระไตรปิฎก                    
๓ (๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๘ ปฎิจจสมุปบาทวิเคราะห์                    
๓(๓-๐-๖)
๖๒๐ ๓๑๙ พระไตรปิฎกกับภูมิปัญญาไทย                    
๓(๓-๐-๖)
๖๐๒ ๔๐๐ วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต                    
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิ ฎกศึกษา

หมวดที่ ๕
หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสิต
๑. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่ าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๑

ระดับ ค่าระดับ เกณฑ์คะแนน


วิชาเลือก วิชาบังคับและเอก
A ๔.๐๐ ๙๕ - ๑๐๐ ๙๕ - ๑๐๐
A- ๓.๖๗ ๙๐ - ๙๔ ๙๐ - ๙๔
B+ ๓.๓๓ ๘๕ - ๘๙ ๘๕ - ๘๙
B ๓.๐๐ ๘๐ - ๘๔ ๘๐ - ๘๔
C+ ๒.๕๐ ๗๕ - ๗๙ ต่ากว่า ๘๐
C ๒.๐๐ ๗๐ - ๗๔
F ๐ ต่ากว่า ๗๐

๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต
การกาหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดขึ้นเพื่อแสดงหลักฐานยืนยันหรือ
สนับสนุนว่านิสิตและมหาบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้านเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิ
เป็นอย่างน้อย
๒.๑ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนิสิตยังไม่สาเร็จการศึกษา
การทวนสอบในทุ ก รายวิ ช า ทั้ ง ภาคทฤษฎี ภาคปฏิ บั ติ การท าวิ ท ยานิ พ นธ์ จะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผลการเรียนรู้แต่ละด้าน และกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ โดยให้เป็นความ
รับผิดชอบของคณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนและคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัย
๒.๒ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา เน้นการทาวิจัยสัมฤทธิผลของการ
ประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อของมหาบัณฑิต โดยทาการวิจัยอย่างต่อเนื่อง แล้วนาผลที่ได้มาเป็นข้อมูลในการ
ประเมินคุณภาพของหลักสูตร การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน โดยมีหัวข้อการ
ทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
๒.๒.๑ สภาวะการได้งานทาหรือศึกษาต่อของมหาบัณฑิต ประเมินจากการได้งานทาหรือศึกษาต่อตรง
ตามสาขาหรือในสาขาที่เกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการหางาน โดยทาการประเมินจากมหาบัณฑิตแต่ละรุ่นที่สาเร็จ
การศึกษา
๒.๒.๒ ตาแหน่งงานและความก้าวหน้าในสายงานของมหาบัณฑิต
๒.๒.๓ ความพึงพอใจของมหาบัณฑิต ต่ อความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้จากหลั กสูตร ที่ใช้ในการ
ประกอบอาชีพ หรื อศึ ก ษาต่ อ พร้ อ มกั บเปิ ด โอกาสให้ มี การเสนอข้ อคิ ด เห็ น ในการปรับ ปรุ งหลั ก สู ต รให้ มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒๒
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๓

๒.๒.๔ ความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อสิ่งที่


คาดหวังหรือต้องการจากหลักสูตรในการนาไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
๒.๒.๕ ความพึงพอใจของสถาบันการศึกษาอื่น ซึ่งรับมหาบัณฑิตที่สาเร็จจากหลักสูตรเข้าศึกษาต่อเพื่อ
ปริญญาที่สูงขึ้น โดยประเมินทางด้านความรู้ ความพร้อม และคุณสมบัติอื่นๆ
๒.๒.๖ ความเห็น และข้อเสนอแนะจากอาจารย์พิเศษและผู้ ทรงคุณวุฒิ ภายนอก ต่อผลสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษาของมหาบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการปรับปรุงหลักสูตร
ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางการศึกษา และสังคมในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น
๒.๒.๗ ผลงานของนิสิตและวิทยานิพนธ์ที่สามารถวัดเป็นรูปธรรมได้ เช่น
(๑) จานวนผลงานวิจัยที่เผยแพร่
(๒) จานวนสิทธิบัตร
(๓) จานวนกิจกรรมเพื่อสังคมและประเทศชาติ
(๔) จานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรที่ทาประโยชน์เพื่อสังคม
๓. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาของหลักสูตร
๑. มีเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ หรือไม่เกินกว่า ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ
๒. ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
๓. ได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
๔. ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม
๕. ได้ระดับไม่ต่ากว่า B ในรายวิชาบังคับและวิชาเอกทุกวิชา และได้รับ S ในกรณีที่หลักสูตรกาหนดให้
วัดผลเป็น S หรือ U
๖. สอบผ่านการประเมินผลวิทยานิพนธ์ และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
๗. ผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับ การยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๔

หมวดที่ ๖
การพัฒนาคณาจารย์

๑. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
จัดให้มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของสถาบันอุดมศึกษา คณะ
และหลักสูตรที่สอน โดยสาระประกอบด้วย
๑.๑ บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ในพันธกิจของสถาบัน
๑.๒ สิทธิผลประโยชน์ของอาจารย์ และกฎระเบียบต่างๆ
๑.๓ หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ ของสาขาวิชาฯ
และมีอาจารย์อาวุโสเป็นอาจารย์พี่เลี้ยง โดยมีหน้าที่ให้คาแนะนาและการปรึกษาเพื่อเรียนรู้และปรับตัว
เองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ในสาขาวิชาฯ มีการนิเทศการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ต้องสอน และมีการ
ประเมินและติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของอาจารย์ใหม่
๒. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอนและการวัดและการประเมินผล
(๑) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่
รับผิ ดชอบ เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่า งต่อเนื่องทั้งอาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับด้าน
การศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/
หรือต่างประเทศ การลาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
(๒) การเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลให้ทันสมัย
๒.๒ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ
(๑) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และคุณธรรม
(๒) มีการกระตุ้นอาจารย์พัฒนาผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวิชา
(๓) ส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นหลักและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและมีความ
เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ
(๔) จัดสรรงบประมาณสาหรับการทาวิจัย
(๕) จัดให้อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมกลุ่มวิจัยต่าง ๆ ของคณะ
(๖) จัดให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการต่าง ๆ ของคณะ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๕

หมวดที่ ๗
การประกันคุณภาพหลักสูตร
๑. การบริหารหลักสูตร
จัดให้มีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร (คณะกรรมการจัดทารายวิชา) แต่ละรายวิชาที่เปิดสอนใน
หลักสูตร พร้อมทั้งมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยดาเนินการตามรายละเอียดต่อไปนี้
๑.๑ มีการจัดทารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.๓)
๑.๒ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย
๑.๓ มีอาจารย์ประจาหลักสูตรทั้งอาจารย์ประจา อาจารย์พิเศษ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ (ของสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา) และข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๑
๑.๔ มีการพัฒนาทักษะการสอนและการให้คาปรึกษาวิทยานิพนธ์ของอาจารย์
๑.๕ มีการประเมินและวิเคราะห์ข้อสอบให้ได้มาตรฐาน
๑.๖ มีระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับรายวิชาในหลักสูตร
๑.๗ มีการประกันคุณภาพวิทยานิพนธ์
โดยให้ดาเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ (ภาคผนวก ก) ในหัวข้อหลัก ดังนี้
๑.๗.๑. การทาวิทยานิพนธ์
๑.๗.๒. การสอบประมวลความรู้
๑.๗.๓. การสอบวัดคุณสมบัติ
๑.๗.๔. การสอบวิทยานิพนธ์

เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมินผล


๑. พัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยโดย ๑. จัดให้หลักสูตรสอดคล้องกับมาตรฐาน ๑. หลั ก สู ต รที่ ส ามารถอ้ า งอิ ง กั บ
อาจารย์และนิสิตสามารถก้าวทัน วิชาชีพด้านเทคโนโลยีในระดับสากลหรือ มาตรฐานที่ ก าหนดโดยหน่ ว ยงาน
หรื อ เป็ น ผู้ น าในการสร้ า งองค์ ระดับชาติ (หากมีการกาหนด) วิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มี
ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ๆ ท า ง ด้ า น ๒. ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยโดยมีการ ความทั น ส มั ย และมี ก ารปรั บ ปรุ ง
พระไตรปิฎกศึกษา พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ ๔ ปี สม่าเสมอ
๓. จัดแนวทางการเรียนในวิชาเรียนให้มี ๒. จ านวนวิ ช าเรี ย นที่ มี ภ าคปฏิ บั ติ
๒. กระตุ้นให้นิสิตเกิดความใฝ่รู้ มี ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และมีแนว และวิชาเรียนที่มีแนวทางให้นักศึกษาได้
แนวทางการเรี ย นที่ ส ร้ า งทั้ ง ทางการเรีย นหรือกิจ กรรมประจ าวิ ช าให้ ศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง
ความรู้ค วามสามารถในวิชาการ นิสิตได้ศึกษาความรู้ที่ทันสมัยด้วยตนเอง
วิชาชีพที่ทันสมัย ๔. จัดให้มีผู้สนับสนุนการเรียนรู้และหรือ ๓. จ านวนและรายชื่ อ คณาจารย์
ผู้ช่วยสอน เพื่อให้นิสิตเกิดความใฝ่รู้ ประจ าประวัติ อาจารย์ด้ านคุณ วุ ฒิ
๓. ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง ๕. กาหนดให้อาจารย์ที่สอนมีคุณวุฒิไม่ ประสบการณ์ และการพัฒนาอบรมของ
หลักสูตรให้มีคุณภาพมาตรฐาน ต่ า ก ว่ า ป ริ ญ ญ า โ ท ห รื อ ห รื อ เ ป็ น ผู้ มี อาจารย์
ประสบการณ์ หลายปีมี จานวนคณาจารย์ ๔.จ านวนบุ ค ลากรผู้ ส นั บ สนุ น การ
๔. มีการประเมินมาตรฐานของ ประจาไม่น้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เรี ย นรู้ แ ละบั น ทึ ก กิ จ กรรมในการ
หลักสูตรอย่างสม่าเสมอ ๖. สนับสนุนให้อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้นา สนับสนุนการเรียนรู้
ในทางวิชาการ และหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญ ๕.ผลการประเมินการเรียนการสอน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๖

เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมินผล


ทางวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ อาจารย์ผู้สอน และการสนับสนุนการ
ในด้านที่เกี่ยวข้อง เรี ย นรู้ ข องผู้ ส นั บ สนุ น การเรี ย นรู้ โ ดย
๗.ส่งเสริมอาจารย์ประจาหลักสูตรให้ไปดู นิสิต
งานในหลักสูตรหรือวิชาการที่เกี่ยวข้องทั้ง ๖.ประเมิ น ผลโดยคณะกรรมการที่
ในและต่างประเทศ ประกอบด้วยอาจารย์ภายในคณะฯทุก
๘ . มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร โ ด ย ๒ ปี
คณะกรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายในทุ ก ปี ๗. ประเมิ น ผลโดยคณะกรรมการ
และภายนอกอย่างน้อยทุก ๔ ปี ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ทุก ๆ ๔ ปี
๙. จั ด ท าฐานข้ อ มู ล ทางด้ า นนิ สิ ต ๘. ประเมิ น ผลโดยบั ณ ฑิ ต ผู้ ส าเร็ จ
อาจารย์ อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยงบประมาณ การศึกษาทุกๆ ๒ ปี
ความร่วมมือกับต่างประเทศ ผลงานทาง
วิชาการทุกภาคการศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลใน
การประเมินของคณะกรรมการ
๑๐.ประเมินความพึงพอใจของหลักสูตร
และการเรี ย นการสอนโดยมหาบั ณ ฑิ ต ที่
สาเร็จการศึกษา

๒. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน
๒.๑. การบริหารงบประมาณ
คณะจัดสรรงบประมาณประจาปี ทั้งงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้เพื่อจัดซื้อตารา สื่อการเรียนการ
สอน โสตทัศนูปกรณ์ และวัสดุครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์อย่างเพียงพอเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในชั้นเรียนและ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ด้วยตนเองของนิสิต
๒.๒. ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม
คณะพุทธศาสตร์มีความพร้อมด้านหนังสือ ตาราเฉพาะทาง และมีอุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการจัดการเรียน
การสอนอย่างพอเพียง ซึ่งมีเอกสารสิ่งพิมพ์และสื่อการศึกษาที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษาดังนี้
ในปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีตาราภาษาไทย ๙๔,๓๐๑ เล่ม
ตาราภาษาอังกฤษ ๒,๗๙๐ เล่ม
วารสารภาษาไทยและอังกฤษ ๙๑ ชื่อเรื่อง
ฐานข้อมูลออนไลน์ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ชื่อเรื่อง
นอกจากนี้ ยังมีสื่อการศึกษาในรูปแบบอื่นๆ เช่น VCD, DVD, CD-ROM, แผนที่, หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
และบริการห้องสมุดผ่านระบบอินเทอร์เน็ตทั่วประเทศ (Journal-Link) และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
๒.๓. การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
คณะพุทธศาสตร์ มีห้องสมุดเป็นของตัวเองและมีการประสานงานกับห้องสมุดของมหาวิทยาลัยในการ
จัดซื้อหนังสือ และตาราที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริการให้อาจารย์และนิสิตได้ค้นคว้า และใช้ประกอบการเรียนการสอน ใน
การประสานการจัดซื้อหนังสือนั้น อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชา จะมีส่วนร่วมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ
ตลอดจนสื่ออื่นๆ ที่จาเป็น นอกจากนี้อาจารย์พิเศษที่เชิญมาสอนบางรายวิชาและบางหัวข้อ ก็มีส่วนในการ
เสนอแนะรายชื่อหนังสือ สาหรับให้หอสมุดกลางจัดซื้อหนังสือด้วย และในส่วนของบัณฑิตวิทยาลัยจะมีการสั่งซื้อ
หนังสือ ตารา หรือวารสารเฉพาะทาง เพื่อเข้าห้องสมุดของบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๗

๒.๔. การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
มีเจ้าหน้าที่ประจาห้องสมุดของคณะพุทธศาสตร์ ซึ่งจะประสานงานการจัดซื้อจัดหาหนังสือเพื่อเข้า
ห้องสมุดคณะพุทธศาสตร์ และทาหน้าที่ประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตารา นอกจากนี้มีเจ้าหน้าที่ ด้านโสต
ทัศน์อุปกรณ์ ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการใช้สื่อของอาจารย์
๓. การบริหารคณาจารย์
๓.๑ การรับอาจารย์ใหม่
มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยโดยอาจารย์ใหม่ จะต้องมีวุฒิ
การศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
๓.๒ การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร
คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และผู้สอน ประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน
ประเมินผล และให้ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมไว้สาหรับการปรับปรุง
หลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และได้มหาบัณฑิตเป็นไปตาม
คุณลักษณะมหาบัณฑิตที่พึงประสงค์
๓.๓ การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ
สาหรับอาจารย์พิเศษถือว่ามีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นผู้ถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติมา
ให้กับนิสิต ดังนั้น บัณฑิตวิทยาลัย จึงกาหนดนโยบายให้มีการเชิญอาจารย์พิเศษหรือวิทยากรมาบรรยาย โดยที่
อาจารย์พิเศษหรือวิทยากรจะต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ
๔. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
๔.๑ การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
บุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิปริญญาโทที่เกี่ยวข้องกับภาระงานที่รับผิดชอบ และมีความรู้ทางด้าน
พระไตรปิฎกและพระพุทธศาสนา
๔.๒ การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติงาน
บุคลากรต้องเข้าใจโครงสร้างและธรรมชาติของหลักสูตร และจะต้องสามารถบริการให้อาจารย์สามารถใช้
สื่อการสอนได้อย่างสะดวก
๕. การสนับสนุนและให้คาแนะนาแก่นิสิต
๕.๑. การให้คาปรึกษาด้านวิชาการและอื่น ๆ แก่นิสิต
บัณฑิตวิทยาลัยมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการให้แก่นิสิตทุกคน โดยนิสิตที่มีปัญหาในการเรียน
สามารถปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการได้ โดยอาจารย์ของบัณฑิตวิทยาลัยทุกคนจะต้องทาหน้าที่อาจารย์
ที่ปรึกษาทางวิชาการให้แก่นิสิต และทุกคนต้องกาหนดชั่วโมงให้คาปรึกษา เพื่อให้นิสิตเข้าปรึกษาได้ นอกจากนี้
ยังมีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซึ่งจะคอยชี้แนะกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และการวิจัย
และมีระบบให้ข้อมูลย้อนกลับจากผลการศึกษาและการประเมินด้านต่างๆ เพื่อให้นิสิตได้มีการพัฒนาตนเอง
๕.๒. การอุทธรณ์ของนิสิต
กรณีที่นิสิตมีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดสามารถที่จะยื่นคาร้องขอดูกระดาษคาตอบ
ในการสอบ ตลอดจนดูคะแนน และวิธีการประเมินของอาจารย์ในแต่ละรายวิชาได้
๖. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิต
๖.๑ มีการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม เพื่ อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเปิด
และการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุกๆ ๕ ปี
๖.๒ มีการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตและนายจ้าง (ทุกๆ ปีการศึกษา)
๖.๓ มีการติดตามการพัฒนาอาชีพและความก้าวหน้าในการทางานของมหาบัณฑิต เพื่อให้ได้ข้อมูล
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๘

ย้อนกลับมาพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
๗. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ต่อเนื่อง ๒ ปีการศึกษา เพื่อติดตามการ
ดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนี้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ ๑- ๕ และอย่างน้อย ร้อย
ละ ๘๐ ของตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปี

ดัชนีบ่งชี้ผลการดาเนินงาน ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ ปีที่ ๓ ปีที่ ๔


๑. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อ X X X X
วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
๒. มีร ายละเอีย ดของหลั กสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่ส อดคล้องกับมาตรฐาน X X X X
คุณวุฒิสาขาวิชา/สาขาวิชา
๓. มีรายละเอียดของรายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ X X X X
มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบ
ทุกรายวิชา
๔. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และประสบการณ์ภ าคสนาม X X X X
(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. ๕ & ๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิด
สอนให้ครบทุกรายวิชา
๕. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ X X X X
วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
๖. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดใน X X X X
มคอ.๓ & ๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี
การศึกษา
๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การ X X X
ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗
ปีที่แล้ว
๘. อาจารย์ ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รั บ การปฐมนิเ ทศหรือคาแนะนาด้านการ X X X X
จัดการเรียนการสอน
๙. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง X X X X
น้อยปีละหนึ่งครั้ง
๑๐. จ านวนบุ ค ลากรสนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน (ถ้ ามี ) ได้ รั บ การพั ฒ นา X X X X
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี
๑๑. ระดับ ความพึงพอใจของนิสิ ตปี สุดท้าย/มหาบัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพ X X X
หลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนน ๕.๐
๑๒. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ มหาบัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อย X X
กว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๒๙

หมวดที่ ๘
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร
๑. ๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
๑.๑. การประเมินกลยุทธ์การสอน
กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตร์ที่วางแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรียน การ
สอนนั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อ ว่ามีความเข้าใจหรือไม่
โดยอาจประเมินจากการทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต การอภิปรายโต้ตอบจากนิสิต การตอบ
คาถามของนิสิตในชั้นเรียน ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว ก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องต้นได้ว่า
ผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ หากวิธีการที่ใช้ไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเข้าใจได้ ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน การ
ทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน จะสามารถชี้ได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ในเนื้อหาที่ได้สอนไป
หากพบว่า มีปัญหาก็จะต้องมีการดาเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป
๑.๒. การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
ให้นิสิตได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรง
ต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล
รายวิชา และการใช้สื่อการสอนในทุกรายวิชา
๒. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
๒.๑ ประเมินจากนิสิตและศิษย์เก่า
ดาเนินการประเมินจากนิสิต โดยติดตามจากผลการทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจารย์สามารถ ประเมินผล
การทางานได้ ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการจนถึงขั้นตอนการนาเสนอเป็นรายบุคคล และสาหรับศิษย์เก่า นั้นจะ
ประเมินโดยใช้แบบสอบถามหรืออาจจะจัดประชุมศิษย์เก่าตามโอกาสที่เหมาะสม
๒.๒ ประเมินจากนายจ้างหรือสถานประกอบการ
ดาเนินการโดยการสัมภาษณ์จากสถานประกอบการ หรือใช้วิธีการส่งแบบสอบถามไปยังผู้ใช้บัณฑิต
๒.๓ ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษา
ดาเนินการโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรือจากข้อมูลในรายงานผลการดาเนินงาน
หลักสูตร หรือจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน
๓. การประเมินผลการดาเนินงานตามที่กาหนดในรายละเอียดหลักสูตร
ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในหมวด ๗ ข้อ ๗ โดยคณะกรรมการประเมินอย่างน้อย
๓ คน ซึ่งต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาเดียวกันอย่างน้อย ๑ คน (ควรเป็นคณะกรรมการประเมินชุด
เดียวกับการประกันคุณภาพภายใน)
๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
จากการรวบรวมข้อมูลการประเมินทั้งหมด จะทาให้ทราบปัญหาของการบริหารหลักสู ตรทั้งในภาพรวม
และในแต่ละรายวิชา กรณีที่พบปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดาเนินการปรับปรุงรายวิชานั้น ๆ ได้ทันที ซึ่งก็
จะเป็นการปรับปรุงย่อย ในการปรับปรุงย่อยนั้นควรทาให้ตลอดเวลาที่พบปัญหา สาหรับการปรับปรุงหลักสูตรทั้ง
ฉบับนั้น จะกระทาทุก ๕ ปี ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอยู่
เสมอ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๐

ภาคผนวก ก
คาอธิบายรายวิชาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๑

คาอธิบายรายวิชาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
คาอธิบายรายวิชา
วิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต
ก. วิชาบังคับแบบนับหน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka Analysis
ศึกษากาเนิดและพัฒนาการของการรวบรวมพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎก โครงสร้าง และ
สาระสังเขปของพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกนานาชาติ วิเคราะห์หลักธรรมสาคัญที่เป็นจุดหมายสูงสุด หลักธรรมที่
ประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชีวิตเพื่อการอยู่ร่ วมกันอย่างสั นติในสังคม โดยใช้ห ลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา
ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องประกอบในการศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้าง เนื้อหาพระไตรปิฎกนานาชาติ
ฉบับต่างๆ
๖๒๐ ๑๐๒ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Philosophy in Tipitaka
ศึกษาพุทธปรัชญาเถรวาทที่ปรากฎในพระไตรปิฎกและคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมถึงทฤษฎีความจริง
(Metaphysics) ทฤษฎีความรู้ (Epistemology) ทฤษฎีทางจริยศาสตร์ (Ethics) รวมถึงสุนทรียศาสตร์ และการใช้
เหตุผล โดยการวิเคราะห์หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ ขันธ์ ๕ นิยาม ๕ กรรม อริยสัจ ๔
เป็นต้น
๖๒๐ ๒๐๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางพระไตรปิฏก ๓ (๓-๐-๖)
Research Methodology in Tipitaka
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีในการแสวงหาความรู้แบบวิจัย ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยเฉพาะ
รูปแบบของการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเน้นการวิจัยเชิงคุณภาพเน้นวิจัยคัมภีร์( Documentary Research) ที่มุ่ง
แสวงหาความจริงที่ปรากฎในคัมภีร์โดยวิธีการหาเหตุผลเชิงพรรณา รวมถึงการสร้างกระบวนการและขั้นตอนของ
การวิจัยตามหลักวิชาการ เช่น การเลือกปัญหา การตั้ง วัตถุประสงค์ การกาหนดวิธีการวิจัย และกรอบในการ
ดาเนินการเขียนงานวิจัยให้มีคุณภาพ โดยเน้นการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการวิจัยทางพระไตรปิฏก

ข. วิชาบังคับแบบไม่นับหน่วยกิต
๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ ๓ (๓-๐-๖)
English
ศึกษาภาษาอังกฤษโดยการฝึกจริงให้เกิดความชานาญทั้ง ๔ ด้าน คือด้านการเขียน การพูด การอ่าน การ
ฟัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเน้นการอภิปรายในหัวข้อคาสอนของพระพุทธศาสนา เช่น ศีล ๕ พระรัตนตรัย ไตรลักษณ์
อริยสัจ ๔ มรรคมีองค์ ๘ ปฏิจจสมุปบาท กรรมและการเกิดใหม่
๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Meditation
ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา
และปกรณ์วิเสส รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของสานักต่าง ๆ ในสังคมไทย โดยเน้นศึกษาอารมณ์ของสม
ถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานลาดับขั้นตอนของการเจริญกรรมฐานและผลที่เกิดจากการเจริญกรรมฐาน ได้แก่
สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๒

๖๐๐ ๒๐๖ สัมมนาวิทยานิพนธ์ (๓) (๓-๓-๖)


Seminar on Thesis
ศึกษาการสัมมนาเชิงปฏิบัติ การเกี่ยวกับเทคนิคการเขียนวิทยานิพนธ์ การวิเคราะห์และการ
สังเคราะห์ข้อมูล การตีความในเชิงพรรณนา การอ้างอิง รูปแบบและวิธีการนาเสนอวิทยานิพนธ์ พร้อมทั้งวิธีการ
เขียนบทความวิจัย
๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑ (๓)(๓-๐-๖)
Usage of Pali I
ศึกษาการพูด อ่าน เขียน ภาษาบาลีในระดับพื้นฐาน และแปลบาลีเป็นภาษาไทยและภาษาไทย
เป็นภาษาบาลี โดยใช้หนังสือชาตกัฏฐกถาและธรรมปทัฏฐกถาประกอบ
๑๐๒ ๓๐๖ การใช้ภาษาบาลี ๒ (๓)(๓-๐-๖)
Usage of Pali II
ศึกษาการพูด อ่าน เขียน ภาษาบาลี ต่อจากการใช้ภาษาบาลี ๑ และแปลภาษาบาลีเป็นไทย และ
ภาษาไทยเป็นภาษาบาลี โดยใช้หนังสือมังคลัตถทีปนีและวิสุทธิมรรคประกอบ

วิชาเอก ๑๒ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาพระไตรปิฎก ๑๒ หน่วยกิต


๖๒๐ ๒๐๖ พระวินัยปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Vinaya Pitaka Analysis
ศึกษาโครงสร้างและเนื้อหาของคัมภีร์พระวิ นัยปิฎก ในประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง
คณะสงฆ์ การบัญญวินัย อธิกรณ์ การระงับอธิกรณ์ การบรรพชาอุปสมบท การดาเนินการในเรื่องของระเบียบ
พิธีกรรมที่สาคัย และการบริหารจัดการองค์กรของคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามกรอบของระบบสังฆะเพื่อความเป็นอยู่
โดยผาสุกของคณะสงฆ์ โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ประกอบในการศึกษา

๖๒๐ ๒๐๗ พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)


Suttanta Pitaka Analysis
ศึกษาโครงสร้างและเนื้อหาของคัมภีร์พระสุ ตตันตปิฎ ก โดยเน้นการวิเคราะห์ประเด็นที่เป็ น
สาระสาคัญในพระสุตตันตปิฎก เช่น ประเด็นเรื่องกาเนิด โลก มนุษย์ และจักรวาล เรื่องกรรมและการเกิดใหม่
เรื่องนรกสวรรค์ เรื่องอัตตา อนัตตา เรื่องพระเจ้า เรื่องสังสารวัฎฎ์ เรื่องสังคม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ภูมิ
หลังความเชื่อปละประเพณีการบูชายัญ การบูชาเทพเจ้ า ระบบวรรณะ บทบาทสตรี รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
คนในสังคมและการดาเนินชีวิต เป็นต้น โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์
อื่นๆที่เกี่ยวข้องประกอบในการศึกษา
๖๒๐ ๒๐๘ พระอภิธรรมปิฎกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Abhidhamma Pitaka Analysis
ศึกษาโครงสร้างและเนื้อหาของคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎก เน้นเรื่องพัฒนาการเรื่องกาเนิดของพระ
อภิธรรมในพระพุทธศาสนา ปั ญหาความมีอยู่และความเกี่ยวข้องของพระอภิธ รรมกับการแตกแยกทางนิกาย
หลักปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน รวมถึงปัญหาทางอภิธรรม อื่น ๆที่ปรากฏในพระอภิธรรมปิฎก
และคัมภีร์ อื่น ๆ ที่เกี่ย วข้องเช่น กถาวัตถุ สั งคหะ เป็นต้น โดยใช้หลั กฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา
ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องประกอบในการศึกษา
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๓

๖๒๐ ๒๐๙ ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ ๓ (๓-๐-๖)


The History of Ancient Indian Civilization
ศึกษากาเนิดและพัฒนาการทางสังคมของอารยธรรมอินเดียจากยุคเริ่มแรกจนพัฒนามาสู่การเป็นศาสนา
พราหมณ์ ฮินดู มาจนถึงพัฒนาการของการเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา และพัฒนาการของการจดบันทึกคัมภีร์
พระไตรปิฎกและความจาเป็นที่พระพุทธศาสนาจะต้องมีคัมภีร์ไว้บันทึ กหลักคาสอนโดยพิจารณาจากบริบทของ
พัฒนาการด้านคัมภีร์ของศาสนาสาคัญๆของอินเดียสมัยนั้น รวมถึงเกณฑ์ในการจัดหมวดหมู่ของพระธรรมวินัยให้
เป็นระบบ จนสามารถพัฒนามาเป็นรูปแบบของพระไตรปิฎกมาจนถึงปัจจุบันได้

วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต นิสิตต้องเลือกศึกษาจากรายวิชาที่กาหนดให้ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต


๖๒๐ ๓๑๐ พระไตรปิฏกกับศาสตร์สมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka and Modern Sciences
ศึ ก ษาศาสตร์ ส มั ย ใหม่ ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พ ระไตรปิ ฏ ก เช่ น วิ ท ยาศาสตร์ สั ง คมศาสตร์ รั ฐ ศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ นิ เ ทศศาสตร์ นิ เ วศวิ ท ยารวมทั้ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ เ พื่ อ อธิ บ ายค าสอนทาง
พระพุทธศาสนาทีใ่ นพระไตรปิฎกและคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง
๖๒๐ ๓๑๑ กรรมวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Action (kamma) Analysis
ศึกษาแนวคิดในเรื่องกรรมที่ปรากฏในคัมภรีย์พระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบกับหลักกรรมของ
ศาสนาอื่นในสมัยนั้น กับแก่นของหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐานของความคิดเรื่องกรรม เช่น นิยาม
๕ อิทัปปัจจยตา ปฎิจจสมุปบาท รวมถึงอิทธิพลความเชื่อเรื่องกรรมที่ปรากฏในพระไตรปิฎก รวมถึงแนวคิดเรื่อง
กรรมที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อในสังคมไทย โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และ
คัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องประกอบในการศึกษา

๖๒๐ ๓๑๒ สัมมนาพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)


Seminar on Tipitaka
ศึกษารูปแบบการเรียนรู้โดยการสัมมนาการจัดสัมมนาโดยนาเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของพระไตรปิฏกกับ
การสังคายนา และปัญหาสังคมปัจจุบันมาตั้งเป็ นประเด็นปัญหาแล้วให้นิสิตมีส่วนร่วมในการอภิปราย เสนอความ
คิดเห็น และวิเคราะห์หาทางออกร่วมกัน รวมทั้งวิเคราะห์หาแนวทางประยุกต์หลักพุทธรรมในพระไตรปิฏกมา
แก้ปัญหาสังคมปัจจุบัน

๖๒๐ ๓๑๓ ศึกษาอิสระในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)


Independent Studies in Buddhist Scripture
ศึ ก ษาเฉพาะเรื่ อ งที่ น่ า สนใจในคั ม ภี ร์ อื่ น ๆ นอกจากพระไตรปิ ฎ กเช่ น เลื อ กศึ ก ษาคั ม ภี ร์
พระพุทธศาสนา เช่น อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส โดยศึกษาถึงหลักการเขียนและการอธิบายความอรรถ
กถา เป็นต้น รวมถึงประเด็นปัญหาด้านหลักธรรมหรือเหตุการณ์ ที่น่าสนใจในมุมมองของคัมภีร์ชั้นอรรถกถ ฎีกา
อนุฎีกา และปกรณ์วิเสส ในการอธิบายประเด็นปัญหาทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญทั้งในเรื่องของหลักธรรม เช่น
ประเด็น เรื่ องนิ พพาน, อนั ตตา ,ไตรลั กษณ์,อริยสัจจ์ ๔ และปฏิจจสมุปบาท หรือประเด็นพระวินัย และพระ
อภิธรรมที่น่าสนใจเพื่อประยุกต์ใช้กับการอธิบายความคาสอนในปัจจุบัน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๔

๖๒๐ ๓๑๔ พุทธประวัติในพระไตรปิฏก ๓ (๓-๐-๖)


Buddha’ s History in Tipitaka
ศึกษาเชิงวิเคราะห์ประวัติของพระพุทธเจ้า พระสาวกและเหตุการณ์สาคัญในสมัยพุทธกาลรวมถึงพระจริยา
วัตรของพระพุทธองค์ที่ปรากฎในพระไตรปิฎกโดยอาศัยอรรถกถา ฎีกา และคัมภีร์อื่น ๆ ประกอบ
๖๒๐ ๓๑๕ ชาดกวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Analytical Studies of Jataka
ศึกษาโครงสร้ างและเนื้ อหา โครงสร้ าง ของชาดกโดยอาศั ยคัมภี ร์อรรถกถาและฏีก าประกอบ เพื่ อศึก ษาถึ ง
สาระสาคัญของหลักธรรม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและสัง คมที่ปรากฏในคัมภีร์ชาดก พร้อมอธิบายประยุกต์ให้
สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์อื่นๆที่
เกี่ยวข้องประกอบในการศึกษา
๖๒๐ ๓๑๖ พระไตรปิฏกในสมาคมอาเซียน ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka in Asian Communication
ศึกษากาเนิดและพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎกในประเทศต่าง ๆ ในสมาคมอาเซียนทั้งที่นับ
ถือเถรวาทและมหายาน รวมถึงการจัดพิมพ์ บันทึกพระไตรปิฎ กในรูปแบบต่าง ๆ ของประเทศนั้น ๆ รวมถึง
รูปแบบความเชื่อและการตีความพระไตรปิฎกตามความเชื่อและความเข้าใจของชาวพุทธในประเทศนั้น ๆ
๖๒๐ ๓๑๗ เทคนิคการอ่านพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka Reading technique
ศึกษาเทคนิคและวิธีการอ่านพระไตรปิฎกและอรรถกถารวมถึงคัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎกเพื่อ
เป็นการเข้าถึงข้องมูลและสร้างความเข้าใจในการศึกษาพระไตรปิฎกได้อย่างถ่องแท้ โดยการศึกษาถึงเทคนิคและ
วิธีการอ่านพระไตรปิฎกจากวิธีการที่ปรากฎในพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา รวมถึงทัศนะของนักวิชาการ
ทางคัมภีร์พระพุทธศาสนาทั่วไป
๖๒๐ ๓๑๘ ปฎิจจสมุปบาทวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖)
Dependent Origination Analysis
ศึกษาเนื้อหาสาระของหลักปฎิจจสมุปบาทโดยละเอียด เริ่มจากความหมาย หลักการ ประเภท
และรวมถึงอิทธิพลของหลักคาสอนเรื่องปฎิจจสมุปบาทที่มีต่อสังคมไทย และการนาเอาหลักปฎิจจสมุปบาทไป
ประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายถึงกระบวนการเกิดดับของสรรพสิ่งและกระบวนการเกิดแบบอิงอาศัยกันเกิดของโลกและ
จักรวาล รวมถึงอิทธิพลของหลักคาสอนเรื่องปฏิจจสมุปบาทที่ปรากฏในพระพุทธศาสนานิกายอื่น เช่น มหายาน
และวัรยาน เป็นต้น โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ประกอบในการศึกษา
๖๒๐ ๓๑๙ พระไตรปิฎกกับภูมิปัญญาไทย ๓ (๓-๐-๖)
Tipitaka and Thai wisdom
ศึกษาถึงแนวคิดเรื่องภูมิปัญญาพื้นบ้านของผู้คนในสมัยพุทธกาลที่ปรากฏในพระไตรปิฎกซึ่งมีอิทธิพลต่อ
แนวคิดในการสร้างองค์ความรู้และภูมิปัญญาของสังคมไทย เช่น เรื่องคติชนวิทยา เรื่องวิถีชาวบ้าน และวิถีทาง
วั ฒ นธรรมที่ สั ง คมไทยได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากเรื่ อ งราวที่ มี ป รากฏในสมั ย พุ ท ธกาล เช่ น พิ ธี ก รรมการบั ง สุ กุ ล จี ว ร
ทอดผ้าป่า ทอดกฐิน การเข้าและออกพรรณษา ประเพณีการทาบุญในโอกาสที่สาคัญ ๆ เป็นต้นเพื่อก่อให้เกิดความ
เข้าใจในพระพุทธศาสนากับสังคมไทยในฐานะที่พระพุทธศาสนาชื่อว่าเป็นรากฐานแห่งวัฒนธรรมไทย
๖๐๒ ๔๐๐ วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
Thesis
เป็นโครงการเฉพาะบุคคลที่มีเนื้อหาตามลักษณะวิชาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๕

ภาคผนวก ข
ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่เกี่ยวข้อง
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๖

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑

เพื่อให้การบริหารงานในบัณฑิตวิทยาลัยบรรลุวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยจึงเห็นสมควรออกข้อบังคับ
มหาวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๐ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๑ เมื่อวันที่ ๒๔
กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงมีมติให้ออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้

หมวดที่ ๑
บททั่วไป

ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับ


บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑”
ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับนี้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คาสั่งหรือมติอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้ ให้ใช้ข้อบังคับนี้
แทน
ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้
“นิสิต” ผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว
ข้อ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้
ข้อ ๖ คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาระดับมหาบัณฑิต
๖.๑ ผู้ ส มั ค รเข้ า เป็ น นิ สิ ต ต้ อ งเป็ น ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ห รื อ เที ย บเท่ า จาก
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และต้องมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
๖.๒ ต้องได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรี ไม่ต่ากว่า ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเว้นผู้
มีประสบการณ์การทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปีนับตั้งแต่สาเร็จการศึกษา และผู้จบเปรียญธรรมเก้า
ประโยค และ
๖.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๗ บัณฑิตวิทยาลัยจะดาเนินการเกี่ยวกับการรับสมัครนิสิตใหม่ โดยพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ
คัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในแต่ละปีการศึกษา
๗.๑ ผู้สมัครเข้าเป็นนิสิตต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัย
หรือสถาบันการศึกาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองและต้องมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
๗.๒ ต้องได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโทไม่ต่ากว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเว้นผู้มี
ประสบการณ์การทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓ ปีนับตั้งแต้สาเร็จการศึกษาหรือมีผลงานทางวิชาการที่
คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๗

๗.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นจากการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๘ บัณฑิตวิทยาลัยจะดาเนินการเกี่ยวกับการรับสมัครนิสิตใหม่ โดยพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ
คัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในแต่ละปีการศึกษา

หมวดที่ ๒
การจัดและวิธีการศึกษา
ข้อ ๙ ระบบการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย จัดการศึกษาเป็นระบบหน่วยกิตทวิภาค โดยแบ่งเวลาการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา
ออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษามีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๖ สัปดาห์
บัณฑิตวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคมีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ และจะ
กาหนดระเบียบว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อนที่ไม่ขัดกับข้อบังคับนี้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา
บัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๑๐ หลักสูตร
๑๐.๑ หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ให้ศึกษางานรายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต
และวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต จาแนกประเภทดังนี้
วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต
วิชาเอก ๑๘ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ๔๘ หน่วยกิต
๑๐.๒ หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ให้ศึกษางานรายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต
และวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต จาแนกประเภทดังนี้
วิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต
วิชาเอก ๙ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ๖๐ หน่วยกิต
ข้อ ๑๑ ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษามีดังนี้
๑๑.๑ หลั ก สู ต รปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต ให้ มี ร ะยะเวลาศึ ก ษาไม่ น้ อ ยกว่ า ๔ ภาค
การศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ
๑๑.๒ หลั ก สู ต รปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ให้ มี ร ะยะเวลาศึ ก ษาไม่ น้ อ ยกว่ า ๖ ภาค
การศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ
ในกรณีที่นิสิตไม่สามารถจบการศึกษาได้ในระยะเวลา ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ตามข้อ ๑๑.๑
และข้อ ๑๑.๒ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยอาจอนุมัติให้ต่ออายุ สภาพนิสิตได้อีก แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๒
ภาคการศึกษาปกติ
๑๑.๓ การนับเวลาในข้อ ๑๑.๑ ให้นับรวมเวลาที่นิสิตได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาด้วย ยกเว้น
นิสิตที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาตามข้อ ๑๓.๑.๑
๑๑.๔ รายวิชาที่กาหนดให้นิสิตฟังการบรรยายสัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมงและศึกษานอกเวลาอีกไม่น้อย
กว่าสัปดาห์ละ ๓ ชั่วโมงตลอดภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๘

๑๑.๕ รายวิชาที่นิสิตใช้เวลาปฎิบัติการ อภิปรายหรือสัมมนาสัปดาห์ละ ๒ ถึง ๓ ชั่วโมง และเมื่อ


รวมเวลาการศึกษานอกเวลาแล้ว นิสิตใช้เวลาไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ ๓ ชั่วโมง ตลอดภาคการศึกษา ให้มีค่าเท่ากับ
๑ หน่วยกิต
ข้อ ๑๒ การเปลี่ยนสาขาวิชาจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป และ
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัยอาจอนุมัติให้นิสิตที่ขอเปลี่ยนสาขาวิชาโอนหน่วยกิตของรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้
ศึกษาไว้แล้วไม่เกิน ๕ ปีได้ตามที่เห็นสมควรแต่ต้องไม่เกิน ๙ หน่วยกิต โดยไม่ให้นาไปคานวนค่าระดับเฉลี่ยสะสม
และรายวิชานั้นต้องได้ผลการศึกษาไม่ต่ากว่า B หรือ S
ข้อ ๑๓ การลาพักร้อนและการกลับเข้าศึกษาใหม่
๑๓.๑ นิสิตมีเหตุจาเป็น อาจลาพักการศึกษาภาคใดภาคหนึ่ง เมื่อได้ศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัยไม่
น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป
นิสิตต้องยื่นคาร้องต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยภายใน ๓๐ วันนับจากวันเปิดภาคการศึกษาใหม่ หากพ้นจาก
กาหนดการลาพักการศึกษาดังกล่าว นิสิตอาจขอลาพักการศึกษาเป็นกรณีพิเศษในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
๑๓.๑.๑ ถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ
๑๓.๑.๒ มีความจาเป็นต้องเดินทางไปต่างประเทศ
๑๓.๑.๓ เจ็บป่วยต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานานตามคาสั่งแพทย์โดยมีใบรับรองแพทย์มา
แสดงต่อบัณฑิตวิทยาลัย
๑๓.๑.๔ มีเหตุจาเป็นสุดวิสัยอื่นที่สาคัญ
ในกรณีที่นิสิตได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา ให้นับระยะเวลาที่ลาพักการศึกษารวมอยู่ในระยะเวลาศึกษา
ด้วย ยกเว้นนิสิตที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาตามข้อ ๑๓.๑.๑
นิ สิ ต ที่ไ ด้ รั บ อนุ มั ติใ ห้ ล าพั ก การศึ ก ษา ต้ องช าระค่ า ธรรมเนี ย มเพื่ อ รั กษาสภาพการเป็ นนิ สิ ต ทุก ภาค
การศึกษา ยกเว้นนิสิตที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาหลังจากที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาแล้ว ในกรณีนี้ให้นิสิตได้ w
ในทุกรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนไว้ในภาคการศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา
ข้อ ๑๔ การพ้นสภาพการเป็นนิสิต
นิสิตพ้นสภาพการเป็นนิสิตในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนึ้
๑๔.๑ สอบได้ค่าระดับเฉลี่ยประจาภาคการศึกษาที่ ๑ ต่ากว่า ๒.๕๐
๑๔.๒ สอบได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมต่ากว่า ๓.๐๐
๑๔.๓ ไม่สามารถสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๑๑.๑ หรือข้อ ๑๑.๒
แล้วแต่กรณี
๑๔.๔ มหาวิทยาลัยลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตตามข้อ ๓๒.๕
๑๔.๕ ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขการลาพักตามข้อ ๑๓ หรือไม่ลงทะเบียนรายวิชาในภาคการศึกษา
ปกติตามข้อ ๑๗.๕
๑๔.๖ ได้รับอนุมัติให้ลาออกจากการเป็นนิสิต
ข้อ ๑๕ นิสิตที่พ้นสภาพตามข้อ ๑๔.๕ และ ๑๔.๖ อาจขอกลับเข้าเป็นนิสิตใหม่ได้ภายในกาหนด
ระยะเวลา ๒ ปี นั บ จากวั น ที่นิ สิ ต พ้น สภาพการเป็น นิ สิ ต และถ้า คณบดี บั ณฑิ ต วิท ยาลั ย โดยค าแนะนาของ
คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย เห็นสมควรอนุมัติโดยให้คิดระยะเวลาที่พ้นสภาพการเป็นนิสิตนั้นรวมอยู่ใน
ระยะเวลาการศึกษาทั้งหมด ในกรณีเช่นนี้นิสิตต้องเสียค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เหมือนกับผู้ลาพักการศึกษาทั่วไป
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๓๙

หมวดที่ ๓
การขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตและการลงทะเบียนรายวิชา

ข้อ ๑๖ การขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต
๑๖.๑ ผู้ขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตต้องนาหลักฐานที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดมายื่นต่อกองทะเบียนและ
วัดผลด้วยตนเองตามวันเวลา และสถานที่ที่กาหนด พร้อมทั้งชาระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่มหาวิทยาลัย
กาหนด สาหรับภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย นิสิตต้องลงทะเบียนรายวิชาที่ต้องศึกษาในภาค
นั้นทั้งหมดพร้อมกับการขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตด้วย
๑๖.๒ ผู้ไม่สามารถมายื่นคาร้องขอขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตตามวันที่กาหนดต้องแจ้งเหตุขัดข้องให้
กองทะเบียนและวัดผลทราบ เป็นลายลักษณ์อักษรภายใน ๗ วันหลังจากวันที่กาหนดไว้ มิฉะนั้นจะถือว่าสละสิทธิ์
ในกรณีที่ได้แจ้ งให้ กองทะเบียนและวัดผลทราบตามความความในวรรคแรกแล้ ว ต้องมาขึ้น
ทะเบี ย นเป็น นิ สิ ตด้ว ยตนเอง ยกเว้น กรณีที่มหาวิทยาลัยพิจารณาเห็ นว่ามีเหตุจาเป็นอย่างยิ่ง จึงอนุญาตให้
มอบหมายผู้แทนมาขึ้นทะเบียนแทนได้ ทั้งนี้ต้องทาให้เรียบร้อยภายใน ๗ วัน นับจากวันเปิดภาคการศึกษา
๑๖.๓ ผู้ที่ได้รับอนุมัติให้เข้าศึกษาในสาขาวิชาใด ต้องขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตของบัณฑิตวิทยาลัย
ในสาขาวิชานั้น และจะศึกษาเกินกว่า ๑ สาขาวิชาในขณะเดียวกันไม่ได้
ข้อ ๑๗ การลงทะเบียนรายวิชา
๑๗.๑ นิสิตต้องลงทะเบียนรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามกาหนดเวลาในปฏิทินการศึกษา โดย
ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป
๑๗.๒ นิสิตที่ไม่มาลงทะเบียนรายวิชาภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศึกษาปกตินับจากวั นเปิด
ภาคการศึกษา ไม่มีสิทธิลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
๑๗.๓ จานวนหน่วยกิตที่กาหนดให้นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษาต้องไม่น้อยกว่า ๖ หน่วย
กิต และไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต
๑๗.๔ นิ สิ ต ที่ ล งทะเบี ย นล่ า ช้ า กว่ า ที่ ก าหนด ต้ อ งช าระค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาตามที่
มหาวิทยาลัยกาหนด
๑๗.๕ นิสิตที่ไม่ลงทะเบียนรายวิชาในภาคการศึกษาใดต้องลาพักการศึกษา ตามเงื่อนไขที่ระบุ
ไว้ในข้อ ๑๓ หากไม่ปฏิบัติตามต้องพ้นสภาพการเป็นนิสิต
๑๗.๖ นิสิตที่ได้ศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว แต่ยังไม่สาเร็จการศึกษาต้องลงทะเบียน
รักษาสภาพการเป็นนิสิตทุกภาคการศึกษา
ข้อ ๑๘ อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป
นิสิตต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปหนึ่งท่านเป็นผู้แนะนาและช่วยวางแผนการศึกษาโดยคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัยเป็นผู้แต่งตั้งจากอาจารย์ที่มีชื่อในทาเนียบอาจารย์บัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๑๙ การถอน เพิ่ม และเปลี่ยนรายวิชา
๑๙.๑ การถอนรายวิชาจะกระทาได้ภายใต้เงื่อนไข และมีผลสืบเนื่องดังต่อไปนี้
๑๙.๑.๑ ในกรณีที่ขอถอนภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศึกษาปกติโดยได้รับความ
เห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป รายวิชาที่ถอนนั้นจะไม่ปรากฎในระเบียน
๑๙.๑.๒ ในกรณีที่ขอถอนหลักจาก ๑๔ วันของภาคการศึกษาปกติแต่ไม่เกิน ๓๐ วัน
แรกของภาคการศึกษาปกติ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป นิสิตจะได้รับ w ในรายวิชาที่
ถอน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๐

๑๙.๑.๓ ถ้านิสิตขอถอนรายวิชาใด เมื่อพ้นกาหนดตามข้อ ๑๙.๑.๒ นิสิตจะได้ F ใน


รายวิชานั้น เว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลพิเศษซึ่งคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยเห็นสมควรอนุมัติให้ถอนได้ ใน
กรณีเช่นนี้นิสิตจะได้ w ในรายวิชานั้น
๑๙.๒ การเพิ่มหรือเปลี่ยนรายวิชา ให้กระทาได้ภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศึกษาปกติโดย
ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป และหากพ้นกาหนดนี้ต้องไปรับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ทั้งนี้นิสิตผู้นั้นจะต้องมีเวลาศึกษาต่อไปไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น
หมวดที่ ๔
การวัดผลและประเมินผลการศึกษา

ข้อ ๒๐ การวัดผลการศึกษา
๒๐.๑ ให้มีการวัดผลการศึกษาทุกรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนในแต่ละภาคการศึกษา โดยอาจทา
การวัดผลระหว่างภาคด้วยวิธีการทดสอบ การเขียนรายงานการมอบหมายงานให้ทาหรือวิธีอื่นใดที่เหมาะสมกับ
รายวิชานั้น
เมื่อสิ้นภาคการศึกษา ให้มีการสอบไล่สาหรับแต่ละรายวิชาที่ศึกษาในภาคการศึกษานั้นหรือจะใช้
วิธีการวัดผลอย่างอื่นที่เหมาะสมกับลักษณะของวิชานั้น ๆ ก็ได้
บัณฑิตวิทยาลัยอาจกาหนดระเบียบที่ไม่ขัดกับข้อบังคับนี้ เพื่อใช้ในการวัดผลตามความเหมาะสม
ของแต่ละสาขาวิชาหรือรายวิชาก็ได้
๒๐.๒ เมื่อสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาค นิสิตจะมีสิทธิเข้าสอบไล่หรือได้รับการวัดผลในรายวิชาใด
ก็ต่อเมื่อมีเวลาศึกษาในรายวิชานั้นมาแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมด ในภาคการศึกษานั้น
และ/หรือมีผลการทดสอบระหว่างภาคการศึกษาหรืองานที่ได้รับมอบหมายเป็นที่พอใจของอาจารย์ประจาวิชา
ข้อ ๒๑ การประเมินผลการศึกษา
๒๑.๑ ระบบการประเมิ นผลการศึกษารายวิช าของบัณฑิตวิทยาลั ยใช้เพียง ๖ ระดับ มีผ ล
การศึกษาระดับและค่าระดับดังนี้
ผลการศึกษา ระดับ ค่าระดับ
ดีเยี่ยม (Excellent) A ๔.๐
ดีมาก (Very good) B+ ๓.๕
ดี (Good) B ๓.๐
ค่อนข้างดี (Very Fair) C+ ๒.๕
พอใช้ (Fair) C ๒.๐
ตก (Failed) F ๐
๒๑.๒ ในรายวิชาใดที่หลักสูตรกาหนดให้เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตให้แสดงผลการศึกษาใน
รายวิชานั้นด้วยสัญลักษณ์ดังนี้
สัญลักษณ์ ผลการศึกษา
S (Satisfactory) เป็นที่พอใจ
U (Unsatisfactory) ไม่เป็นที่พอใจ
๒๑.๓ ในรายวิชาใดยังไม่ได้ ทาการวัดผลหรือไม่มีการวัดผล ให้รายงานการศึกษารายวิชานั้น
ด้วยสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๑

สัญลักษณ์ สภาพการศึกษา
I (Incomplete) ไม่สมบูรณ์
SP (Satisfactory Progress) ก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจ
UP (Unsatisfactory Progress) ไม่ก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจ
W (Withdrawn) ถอนรายชื่อวิชาที่ศึกษา
Au (Audit) ศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิต
๒๑.๔ การประเมินผลวิทยานิพนธ์
๒๑.๔.๑ ให้ใช้ IP (In Progress) สาหรับวิทยานิพนธ์ที่อยู่ระหว่างการเรียบเรียง
๒๑.๔.๒ การประเมินผลวิทยานิพนธ์ที่เรียบเรียงเสร็จเรียบร้อยแล้วให้กาหนดเป็น ๔
ระดับดังนี้
ผลการศึกษา ระดับ
ดีเยี่ยม (Excellent) A
ดี (Good) B+
ผ่าน (Passed) B
ตก (Failed) F
๒๑.๕ การให้ F ให้กระทาในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
๒๑.๕.๑ นิสิตขอถอนรายวิชา เมื่อพ้นกาหนดตามข้อ ๑๙.๑.๓
๒๑.๕.๒ นิสิตเข้าสอบและสอบตกตามข้อ ๒๐.๑
๒๑.๕.๓ นิสิตไม่มีสิทธิเข้าสอบตามข้อ ๒๐.๒
๒๑.๕.๔ นิสิตไม่แก้ค่า I ตามข้อ ๒๑.๖.๒ วรรคสุดท้าย
๒๑.๕.๕ นิสิตทาผิดระเบียบการสอบไล่และได้รับการตัดสินให้สอบตก
๒๑.๖ การให้ I จะกระทาได้ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
๒๑.๖.๑ นิสิตมีเวลาเรียนในรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ แต่มิได้สอบเพราะป่วย
หรือเหตุสุดวิสัย และได้รับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
๒๑.๖.๒ อาจารย์ประจาวิชาและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเห็นสมควรให้รอผลการศึกษา
เพราะนิสิตยังปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นส่วนประกอบการศึกษารายวิชานั้นยังไม่สมบูรณ์
การแก้ค่า I นิสิตจะต้องสอบและ/หรือปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ประจา
วิชาให้ครบถ้วน เพื่อให้อาจารย์ประจาวิชาวัดผล และส่งผลการศึกษาของนิสิตผู้นั้นแก่บัณฑิตวิทยาลัยภายในภาค
การศึกษาถัดไป
๒๑.๗ การให้ S จะกระทาได้ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
๒๑.๗.๑ รายวิชาซึ่งมีผลการศึกษาเป็นที่พอใจ และหลักสูตรกาหนดให้วัดผลการศึกษา
โดยไม่มีค่าระดับ
๒๑.๗.๒ รายวิชาซึ่งนิสิตได้ลงทะเบียนศึกษาในระดับบัณฑิตวิทยาลัยและได้รับอนุมัติให้
โอนหน่วยกิตตามข้อ ๑๒
๒๑.๘ การให้ U จะกระทาได้เฉพาะในรายวิชาที่หลักสูตรกาหนดว่าให้วัดผลโดยไม่มีค่าระดับ
และมีผลการศึกษาไม่เป็นที่พอใจ
๒๑.๙ การให้ IP จะกระทาเพื่อแสดงฐานะของวิทยานิพนธ์ที่อยู่ในระหว่างการเรียบเรียงเมื่อสิ้น
ภาคการศึกษาปกติทุกภาค นับแต่ภาคที่นิสิตลงทะเบียนเพื่อทาวิทยานิพนธ์
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๒

๒๑.๑๐ การให้ W จะกระทาได้เฉพาะในกรณีที่ได้ระบุไว้ในข้อ ๑๓ ข้อ ๑๙.๑.๒ และข้อ


๑๙.๑.๓
๒๑.๑๑ การให้ Au ในรายวิชาใดจะกระทาได้ในกรณีที่นิสิตได้รับอนุมัติให้ลงทะเบียนเรียนเป็นพิเศษโดย
ไม่นับหน่วยกิต
๒๑.๑๒ การให้ SP จะให้เฉพาะกรณีที่เป็นรายวิชาต่อเนื่องกับรายวิชาในภาคการศึ กษาถัดไป และผล
การศึกษาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจ แต่ยังมิได้วัดผล
การวัดผลให้กระทาเมื่อนิสิตได้ศึกษารายวิชาต่อเนื่องในภาคการศึกษาถัดไปตามหลักสูตรแล้ว แต่ถ้านิสิต
ไม่ศึกษารายวิชาต่อเนื่องในภาคการศึกษาถัดไปด้วยเหตุใดก็ตามให้ทาการวัดผล รายวิชาที่ได้ SP เป็นระดับและใช้
ผลนั้นแทน
๒๑.๑๓ การให้ UP จะให้เฉพาะกรณีที่เป็นรายวิชาต่อเนื่องกับรายวิชาในภาคการศึกษาถัดไป และผล
การศึกษาไม่ก้าวหน้าเป็นที่น่าพอใจแต่ยังมิได้วัดผล
การวัดผลให้กระทาเมื่อนิสิตได้ศึกษารายวิชาต่อเนื่องในภาคการศึกษาถัดไปตามหลักสูตรแล้ ว แต่ถ้านิสิต
ไม่ศึกษารายวิชาต่อเนื่องในภาคการศึกษาถัดไปด้วยเหตุใดก็ตาม ให้ทาการวัดผลรายวิชาที่ได้ UP นั้นเป็นระดับ
และใช้ผลนั้นแทน
ข้อ ๒๒ การนับหน่วยกิตและการลงทะเบียนรายวิชาซ้า
๒๒.๑ การนับหน่วยให้ครบหลักสูตร ให้นับหน่วยกิตเฉพาะรายวิชาที่นิสิตสอบได้ระดับ A, B, C
หรือ S เท่านั้น เว้นแต่รายวิชาที่หลักสูตรกาหนดไว้เป็นวิชาบังคับหรือวิชาเอก ซึ่งนิสิตต้องได้ไม่ต่ากว่า B หรือ S
๒๒.๒ นิสิตที่ได้ต่ากว่า B หรือได้ U ในรายวิชาบังคับหรือวิชาเอกต้องลงทะเบียนศึกษารายวิชา
นั้นอีก และสอบให้ได้ระดับไม่ต่ากว่า B หรือ S แล้วแต่กรณี
๒๒.๓ ในกรณีที่นิสิตได้ต่ากว่า B หรือได้ U ในวิชาเลือก นิสิตมีสิทธิลงทะเบียนรายวิชาเดิมหรือ
อาจลงทะเบียนรายวิชาอื่นในกลุ่มเดียวกันได้
๒๒.๔ ในกรณีที่นิสิตลงทะเบียนรายวิชาซ้าหรือแทนตามที่หลักสูตรกาหนดการนับหน่วยกิตตาม
ข้อ ๒๒.๑ นับจานวนหน่วยกิตได้เพียงครั้งเดียว
ข้อ ๒๓ ให้มีการประเมินผลการศึกษาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาปกติทุกภาค โดยคานวณหาค่าระดับเฉลี่ย
ประจาภาคของรายวิชาที่นิสิตได้ลงทะเบียนไว้ในภาคการศึกษานั้น และคานวณหาค่าเฉลี่ยสะสมสาหรับรายวิชา
ทั้งหมดทุกภาคการศึกษา ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาจนถึงภาคการศึกษาปัจจุบัน
ข้อ ๒๔ การคิดค่าระดับเฉลี่ยประจาภาค ให้คานวณโดยคูณค่าระดับของแต่ละรายวิชาด้วยหน่วยกิตของ
รายวิช านั้ น แล้ ว รวมผลคู ณของแต่ ล ะรายวิ ช าเข้า ด้ว ยกัน และหารผลรวมนั้นด้ว ยจานวนหน่ว ยกิต ทั้งหมดที่
ลงทะเบียนไว้ในภาคการศึกษานั้น โดยคิดทศนิยมสองตาแหน่งไม่ปัดเศษ
ข้อ ๒๕ รายวิชาใดที่มีรายงานผลการศึกษาเป็นสัญลักษณ์ I S U W และ Au ไม่ให้นารายวิชานั้นมา
คานวณหาค่าระดับเฉลี่ยตามข้อ ๒๔

หมวดที่ ๕
การทาวิทยานิพนธ์

ข้อ ๒๖ ให้บัณฑิตวิทยาลัยวางระเบียบว่าด้วยการทาวิทยานิพนธ์และการสอบวิทยานิพนธ์
ข้อ ๒๗ การเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์และลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ มีหลักปฏิบัติดังนี้
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๓

ข้อ ๒๗.๑ ระดับปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต นิสิตที่ศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ภาค


การศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๑๖ หน่วยกิต จึงจะมีสิทธิ์เสนอโครงร่างวิทยานิ พนธ์ เพื่อขอ
อนุมัติลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์
๒๗.๒ ระดับปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต นิสิตที่ศึกษารายวิชามาแล้วไม้น้อยกว่า ๒ ภาค
การศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิตจึงจะมีสิทธิ์เสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขอ
อนุมัติลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์
๒๗.๓ นิ สิ ต สามารถลงทะเบี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ไ ด้ ห ลั ง จากได้ รั บ อนุ มั ติ หั ว ข้ อ และโครงร่ า ง
วิทยานิพนธ์แล้ว
ข้อ ๒๘ รูปแบบของวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
ข้อ ๒๙ วิทยานิพนธ์ซึ่งผ่านการประเมินผลแล้ว ให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา เพื่อรับปริญญาพุทธ
ศาสตรมหาบัณฑิตหรือปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
การนาวิทยานิพนธ์ออกโฆษณาเผยแพร่ ต้องได้รับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยก่อน
หมวดที่ ๖
การสาเร็จการศึกษา

ข้อ ๓๐ คุณสมบัติของผู้สาเร็จการศึกษา
๓๐.๑ มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าหรือไม่เกินกว่าที่กาหนดไว้ใน ข้อ ๑๑.๑ และข้อ ๑๑.๒
๓๐.๒ ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
๓๐.๓ ได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
๓๐.๔ ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม
๓๐.๕ ได้ระดับไม่ต่ากว่า B ในรายวิชาบังคับและรายวิชาเอกทุกวิชาและได้ระดับ S ในกรณีที่
หลักสูตรกาหนดให้วัดผลเป็น S เป็น U
๓๐.๖ สอบผ่านการประเมินผลวิทยานิพนธ์ และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ตามที่มหาวิทยาลัย
กาหนด
ข้อ ๓๑ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิรับปริญญา
๓๑.๑ มีคุณสมบัติตามข้อ ๓๐
๓๑.๒ ไม่ติดค้างค่าธรรมเนียมใด ๆ
๓๑.๓ ไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษใด ๆ

หมวดที่ ๗
ความประพฤติและวินัยนิสิต

ข้อ ๓๒ ในกรณีที่นิสิตกระทาผิดเกี่ยวกับการสอบ ต้องได้รับโทษสถานใดสถานหนึ่งตามสมควรแก่


ความผิด ดังนี้
๓๒.๑ ภาคทัณฑ์
๓๒.๒ ให้สอบตกรายวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายรายวิชา
๓๒.๓ ให้สอบตกหมดทุกรายวิชาในภาคการศึกษานั้น
๓๒.๔ ให้พักการศึกษาตั้งแต่ ๑ ภาคการศึกษา ถึง ๓ ภาคการศึกษาแล้วแต่กรณี
๓๒.๕ ให้พ้นสภาพการเป็นนิสิต
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๔

ข้อ ๓๓ นิสิตต้องมีความประพฤติเรียบร้อยดีงาม ในกรณีที่นิสิตกระทาผิดข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่งหรือ


ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย และได้รับโทษนอกจากที่ระบุไว้แล้วใน ข้อ ๓๒ นิสิตต้องได้รับโทษ
สถานใดสถานหนึ่งตามสมควรแก่ความผิดดังนี้
๓๓.๑ ชดใช้ค่าเสียหาย
๓๓.๒ ระงับการให้ปริญญามีกาหนดไม่เกิน ๓ ปีการศึกษา
๓๓.๓ ระงับการออกใบแสดงผลการศึกษามีกาหนดไม่เกิน ๓ ปีการศึกษา
ข้อ ๓๔ ให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย เป็นผู้พิจารณาลงโทษนิสิตที่มีความประพฤติเสียหาย
หรือกระทาผิดต่าง ๆ ตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ในข้อ ๓๒ และข้อ ๓๓ ตามสมควรแก่กรณี
เฉพาะกรณีที่นิสิตกระทาผิดระเบียบการสอบทุกประเภทของบัณฑิตวิทยาลัยให้คณะกรรมการประจา
บัณฑิตวิทยาลัยร่วมกับกรรมการควบคุมการสอบ เป็นผู้พิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณีตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ใน
ข้อ ๓๒
บทเฉพาะกาล

ข้อ ๓๕ ให้ใช้ข้อบังคับนี้กับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ดังต่อไปนี้


๓๕.๑ นิสิตที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ก่อนปีการศึกษา ๒๕๔๒ ยังคงปฏิบัติ
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาโท
พุทธศักราช ๒๕๓๐
๓๕.๒ นิสิตที่เข้าศึกษาตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๒ เป็นต้นไป
ให้ปฏิบัติตามข้อบังคับนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๑

(พระสุเมธาธิบดี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๕

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่ ง พระราชบั ญญัติม หาวิ ทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราช


วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลั ย ในคราวประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๘ เมื่อวันพฤหั สบดี ที่ ๒๘
เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงมีมติให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับมหาวิทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้ว ย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ดังนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘”
ข้อ ๒ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๑๐.๑ และให้ใสช้ข้อความต่อไปนี้แทน
“๑๐.๑ หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ให้ศึกษางานรายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๖ หน่วยกิต
และวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิจ จาแนกประเภทดังนี้
วิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๘ หน่วยกิต
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ไม่นอ้ ยกว่า ๓๘ หน่วยกิต
ประกาศ ณ วันที่ ๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๘

(พระราชรัตนโมลี)
อุปนายกสภามหาวิทยาลัย ทาหน้าที่แทน
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๖

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๓)
แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๔๙

เพื่อให้ การบริ ห ารจั ดการเกี่ย วกับ การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลั ยดาเนินไปด้ว ยความ


เรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๔๙ เมื่อวันศุกร์ที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙
จึงให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณ ฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๑ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตและมหาบัณฑิต
๖.๑ ผู้สมัครเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
๖.๑.๑ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และ
๖.๑.๒ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
๖.๒ ผู้สมัครเข้าศึกษาระดับมหาบัณฑิต
๖.๒.๑ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
๖.๒.๒ ต้องได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ากว่า ๒.๕๐ จากระบบ ๔
แต้ม ยกเว้นผู้มีประสบการณ์การทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่สาเร็จการศึกษาและผู้จบ
เปรียญธรรมเก้าประโยค และ
๖.๒.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๗ ผู้สมัครเข้าศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต
๗.๑ ระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๑ และแบบ ๒.๑
๗.๑.๑ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
๗.๑.๒ ต้องได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโทไม่ต่ากว่า ๓.๕๐ ระบบ ๔ แต้ม ยกเว้น
ผู้มีประสบการณ์การทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่วันสาเร็จการศึกษาหรือมีผลงานทางวิชาการ
ที่คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และ
๗.๑.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
๗.๒ ระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๒ และแบบ ๒.๒
๗.๒.๑ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองหรือเปรียญธรรมเก้าประโยค ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้เข้าศึกษา
เป็นกรณีพิเศษ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๗

๗.๒.๒ ต้องได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ากว่า ๓.๒๕ จากระบบ ๔ แต้ม


ยกเว้นผู้มีประสบการณ์การทางานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่สาเร็จการศึกษาและผู้จบเปรียญธรรม
เก้าประโยค
๗.๒.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๓ ให้ ย กเลิ กข้อความในข้อ ๙ แห่ งข้อ บังคับ มหาวิ ทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่ าด้ว ย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๙ การศึกษาในบั ณฑิตวิทยาลั ยใช้ระบบทวิภ าคหรือไตรภาค ตามที่กาหนดไว้ในหลั กสู ตรแต่ล ะ
สาขาวิชา
ระบบทวิภ าค ๑ ปี การศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ มี
ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ และอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาค มีระยะเวลาศึกษาไม่
น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ และจะกาหนดระเบียบว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อน ที่ไม่ขัดกับข้อบังคับนี้โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยก็ได้
ระบบไตรภาค ๑ ปี การศึกษาแบ่งออกเป็น ๓ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ มี
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์
ข้อ ๔ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๑๐ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่าด้วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๔๘ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
“ข้อ ๑๐ หลักสูตร
๑๐.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
๑๐.๒ หลักสูตรระดับมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก (๑) และ แผน ก (๒)
๑๐.๓ หลักสูตรระดับมหาบัณฑิต แผน ข
๑๐.๔ หลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ และแบบ ๒
โครงสร้างของแต่ละหลักสูตร การศึกษารายวิชาและการทาวิทยานิพนธ์ตามจานวน
หน่วยกิต ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
ข้อ ๕ ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร
๑๑.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตร ให้มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๒ ภาคการศึกษาปกติ และไม่
เกิน ๔ ภาคการศึกษาปกติ ในระบบทวิภาคหรือให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๓ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๖
ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค
๑๑.๒ หลักสูตรระดับมหาบัณฑิต ให้มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่
เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ในระบบทวิภาคหรือให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๕
ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค
๑๑.๓ หลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๑ และ ๒.๑ ให้มีระยะเวลาศึกษามีน้อยกว่า ๖ ภาค
การศึ กษาปกติ และไม่เกิ น ๑๐ ภาคการศึก ษาปกติ ในระบบทวิ ภ าคหรือให้ มี ร ะยะเวลาไม่น้ อยกว่ า ๖ ภาค
การศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๕ ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค
๑๑.๔ หลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑.๒ และ ๒.๒ ให้มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๘ ภาค
การศึ กษาปกติ และไม่เกิ น ๑๔ ภาคการศึก ษาปกติ ในระบบทวิ ภ าคหรือให้ มีร ะยะเวลาไม่น้ อยกว่ า ๘ ภาค
การศึกษาปกติ และไม่เกิน ๒๑ ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค
ในกรณีที่นิสิตไม่สามารถสาเร็จการศึกษาในระยะเวลาตามที่กาหนดคณะกรรมการประจาบัณฑิต
วิทยาลัย อาจอนุมัติให้ต่ออายุสภาพนิสิตได้อีก แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๒ ภาคการศึกษาปกติ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๘

๑๑.๕ การนับเวลาในข้อ ๑๑ ให้นับรวมเวลาที่นิสิตได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาด้วยยกเว้น


นิสิตที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาตามข้อ ๑๓.๑.๑
ข้อ ๖ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๒๑.๑ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๒๑.๑ ระบบการประเมินผลการศึกษารายวิชา แบ่งเป็น ๗ ระดับและค่าระดับ ดังนี้
ระดับ A A- B+ B C+ C F
ค่าระดับ ๔.๐๐ ๓.๖๗ ๓.๓๓ ๓.๐๐ ๒.๕๐ ๒.๐๐ ๐

ข้อ ๗ ให้ ย กเลิกข้อความในข้อ ๒๗ แห่ งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่าด้ว ย


การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ และให้ข้อความต่อไปนี้แทน
ข้อ ๗ การเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์และลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ มีหลักปฏิบัติดังนี้
๒๗.๑ นิสิตหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต ที่ศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาค
๒๗.๒ นิสิตหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ มีสิทธิ์เสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขออนุมัติ
ลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ หลังจากขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตแล้ว
๒๗.๓ นิ สิตหลั กสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แบบ ๒ ที่ศึกษารายวิช ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑ ภาค
การศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต มีสิทธิ์เสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขออนุมัติ
ลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์
๒๗.๔ นิ สิ ต สามารถลงทะเบี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ไ ด้ หลั ง จากได้ รั บ อนุ มั ติ หั ว ข้ อ และโครงร่ า ง
วิทยานิพนธ์แล้ว

ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๙

(พระธรรมสุธี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๔๙

ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๕๐

อนุวัตให้เป็นไปตามความในข้อ ๒๖ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย


การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงเห็นสมควรออกระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
อาศัย อานาจตามความในข้อ ๒๖ แห่ งข้อบังคับมหาวิทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่าด้ว ย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐ จึงมีมติให้วางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
หมวดที่ ๑
บททั่วไป

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิ ทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวิธี


ปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๕๐”
ข้อ ๒ บรรดา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบ
นี้แทน
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(๑) ระเบี ย บบั ณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
วิทยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๔๒
(๒) ระเบี ย บบั ณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
วิทยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๖
(๓) ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง กาหนดส่ว นประกอบ
เพิ่มเติมของโครงร่างวิทยานิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔
(๔) ประกาศบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย เรื่ อ ง การรายงาน
ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
ข้อ ๕ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันถัดจากประกาศ เป็นต้นไป
ข้อ ๖ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้

หมวดที่ ๒
การอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์และการลงทะเบียน
ข้อ ๖ การอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์
๖.๑ ให้นิสิตจัดทาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์โดยความเห็นชอบของผู้ที่จะได้รับแต่งตั้งเป็น
ประธานหรือกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ และเสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อตรวจรูปแบบก่อน เมื่อผ่านการตรวจ
รูปแบบและแก้ไขแล้ว จึงเสนอขอสอบอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ตามขั้นตอน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๐

๖.๒ โครงร่างวิทยานิพนธ์ มีส่วนประกอบดังนี้


(๑) หัวข้อวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
(๒) รายชื่อคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
(๓) ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
(๔) วัตถุประสงค์ของการวิจัย
(๕) ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
(๖) วิธีดาเนินการวิจัย
(๗) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
(๘) โครงสร้างของรายงานวิทยานิพนธ์ (สารบัญชั่วคราว)
(๙) บรรณานุกรมและเชิงอรรถ
(๑๐) ประวัติผู้วิจัย
ส่วนประกอบอื่น ๆ นอกจากนี้ ให้เป็นไปตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ และข้อกาหนดอื่น ๆ ของบัณฑิต
วิทยาลัย
๖.๓ การเสนอขออนุ มัติส อบหั วข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ให้ นิสิ ตยื่นแบบคาร้อง บฑ ๘
พร้อมด้วยหัวข้ อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ จาวน ๖ ฉบับ ในจานวนนี้ต้องมีลายเซ็นรับรองของผู้สมควรเป็น
กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ทุกคน บนปกของโครงร่างฯ จานวน ๑ ฉบับ ต่อบัณฑิตวิทยาลัย
๖.๔ นิสิตที่ประสงค์จะเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์เชิงปริมาณ ที่มีเครื่องมือวิจัยหรือ
แบบสอบถามชั่วคราว ต้องส่งให้คณะกรรมการตรวจสอบ ในวันพิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์
๖.๕ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ในแต่
ละปีการศึกษา คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจะเป็นผู้พิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ที่นิสิ ตเสนอ และใน
การประชุมพิจารณาสอบแต่ละครั้ง นิสิตต้องเข้านาเสนอและชี้แจงเกี่ยวกับหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ด้วย
๖.๖ เมื่อนิสิตแก้ไขหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ตามมติคณะกรรมการแล้วให้ยื่นแบบคาร้อง
บฑ ๘.๑ พร้อมด้วยหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ จานวน ๔ ชุด ต่อบัณฑิตวิทยาลัย ให้ประธานคณะกรรมการ
พิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ เสนอผลการพิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ของนิสิตที่ผ่านความ
เห็นชอบแล้วพร้อมรายชื่อ ผู้สมควรเป็นคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ในหัวข้อนั้นต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
เพื่อพิจารณาอนุมัติ
๖.๗ เมื่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์และเมื่อบัณฑิตวิทยาลัย
ประกาศรายชื่อนิสิตและหัวข้อวิทยานิพนธ์พร้อมทั้งรายชื่อคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่ได้รับอนุมัติแล้ว
นิสิตจึงจะมีสิทธิลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
ข้อ ๗ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
๗.๑ นิสิตระดับปริญญาโทที่มีสิทธิลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ต้องศึกษารายวิชาในหลักสูตรของ
บัณฑิตวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต
๕.๒ นิสิตระดับปริญญาเอก แบบ ๑ ที่มีสิทธิลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ภายหลังจากขึ้นทะเบี ยน
เป็นนิสิตแล้ว นิสิตระดับปริญญาเอก แบบ ๒ ที่มีสิทธิลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ต้องศึกษารายวิชาในหลักสูตรของ
บัณฑิตวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
๗.๓ ให้นิสิตลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ภายใน ๓๐ วัน นับจากวันที่บัณฑิตวิทยาลัยประกาศอนุมัติ
หัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยกรอกแบบการลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ บฑ ๙ แล้วยื่นต่อบัณฑิตวิทยาลัยพร้อมทั้งชาระเงิน
ค่าลงทะเบียนในส่วนงานตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด หากไม่สามารถชาระค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ ภายใน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๑

ระยะเวลาที่กาหนด ต้องยื่นคาร้องขอชาระค่าลงทะเบียนล่าช้าต่อบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน ๓๐ วันทาการ


หากเกินต้องชาระเป็นค่าปรับในอัตราการลงทะเบียนล่าช้า จานวน ๕๐ บาท ต่อ ๑ วันทาการ
ข้อ ๘ การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับโครงร่างวิทยานิพนธ์
๘.๑ การขอเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ที่ไม่ใช่สาระสาคั ญให้นิสิตยื่นแบบคาร้อง บฑ
๘ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลที่ขอเปลี่ยนแปลงต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อขออนุมัติโดยผ่านคณะกรรมการควบคุม
วิทยานิพนธ์ เมื่อได้รับการอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงให้นาส่งหัวข้อและโครงร่างที่เปลี่ยนแปลงใหม่ต่อบัณฑิตวิทยาลัย
จานวน ๔ ชุด
๘.๒ หากการเปลี่ยนแปลงหัวข้อหรือโครงร่างวิทยานิพนธ์ที่เป็นสาระสาคัญ นิสิตต้องปฏิบัติ
เช่นเดียวกับการยื่นขออนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ใหม่ โดยไม่ต้องลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ซ้าอีก ยกเว้น
หากการเปลี่ยนแปลงเป็นความประสงค์ส่วนตัวของนิสิต เมื่อคณะกรรมการพิจารณาแล้ว พบว่าไม่มีเหตุผลความ
จาเป็นเพียงพอ นิสิตต้องชาระค่าลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ซ้าอีก
๘.๓ ให้นิสิตติดตามผลการขออนุมัติการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์หลังจากที่ได้ยื่นคาร้อง
และได้เข้าชี้แจงแล้ว
หมวดที่ ๓
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์

ข้อ ๙ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
๙.๑ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ต้องมีทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์จานวนไม่น้อยกว่า ๒ รูป
คน แต่ไม่เกิน ๓ รูป/คน ทั้งนี้จะต้องมีอาจารย์ประจามหาวิทยาลัยอย่างน้อย ๑ รูป/คน
๙.๒ คณะกรรมการผู้ ค วบคุ ม วิ ทยานิ พนธ์ ข องนิ สิ ต ระดับ ปริ ญญาโท ต้ องมี คุ ณสมบั ติ ไ ด้ รั บ
ปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาที่นิสิตทาวิทยานิพนธ์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการผู้มีคุณสมบัติได้รับปริญญาต่ากว่าระดับปริญญาเอก ต้องมีตาแหน่งทางวิชาการไม่
ต่ากว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญ
๙.๓ คณะกรรมการผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ของนิ สิตระดับปริญญาเอก ต้องมีคุณสมบัติได้รับ
ปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งในสาขาวิชาที่นิสิตทาวิทยานิพนธ์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการผู้มีคุณสมบัติได้รับปริญญาต่ากว่าระดับปริญญาเอก ต้องมีตาแหน่งทางวิชาการไม่
ต่ากว่ารองศาสตราจารย์หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญ
๙.๔ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับวิธีทาวิทยานิพนธ์ รวมทั้งตัดสินแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ขณะทาวิทยานิพนธ์
(๒) ให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับการเขียนวิทยานิพนธ์
(๓) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการขอสอบวิทยานิพนธ์ของนิสิต
ข้อ ๑๐ การเขียนวิทยานิพนธ์
ให้นิสิตเรียบเรียงวิทยานิพนธ์โดยให้มีรูปแบบและขนาดวิทยานิพนธ์ ตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์
ของบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๒

หมวดที่ ๔
การรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์

ข้อ ๑๑ การรายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์
๑๑.๑ นิสิตระดับปริญญาโททุกสาขา ผู้ได้รับผลการศึกษา ตั้งแต่ ๙ หน่วยกิต ขึ้นไป และยังไม่ได้
ยื่นเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ต้องมารายงานความก้าวหน้าในการจัดทาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์
ต่อบัณฑิตวิทยาลัยและอาจารย์ผู้ติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ทุก ๑ เดือน
๑๑.๒ นิสิตระดับปริญญาเอก แบบ ๒.๑ (หลักสูตรภาษาไทย) ผู้ได้รับผลการศึกษาตั้งแต่ ๖
หน่วยกิตขึ้นไป และยังไม่ได้ยื่นเสนอขอสอบหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ต้องมารายงานความก้าวหน้าในการ
จัดทาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ต่อบัณฑิตวิทยาลัยและอาจารย์ผู้ติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ทุก ๑
เดือน
๑๑.๓ นิสิตระดับปริญญาเอก แบบ ๑.๑ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) ผู้ผ่านรายวิชาที่กาหนดให้
ศึกษาเพิ่มเติมครบ ๓ รายวิชาแล้ว และยังไม่ได้ยื่นเสนอขอสอบหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ต้องมารายงาน
ความก้าวหน้าในการจัดทาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ต่อบัณฑิตวิทยาลัยและอาจารย์ผู้ติดตามความก้าวหน้า
วิทยานิพนธ์ ทุก ๑ เดือน
๑๑.๔ นิสิตผู้ลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์แล้ว ต้องมารายงานความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์
ต่อบัณฑิตวิทยาลัยและอาจารย์ผู้ติดตามความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ทุก ๓ เดือน
หมวดที่ ๕
การสอบวิทยานิพนธ์
ข้อ ๑๒ การขอสอบวิทยานิพนธ์
๑๒.๑ นิสิตระดับปริญญาโท มีสิทธิขอสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อ
(๑) ใช้เวลาทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ และลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
(๒) สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่ กาหนดไว้ในหลักสูตร และได้ค่า
ระดับเฉลี่ยสะสมในรายวิชาตลอดหลักสูตรไม่ต่ากว่า ๓.๐๐
(๓) เขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ต ามค าแนะน าของคณะกรรมการควบคุ ม
วิทยานิพนธ์ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดังกล่าวให้ทาการขอสอบได้
๑๒.๒ นิสิตระดับปริญญาเอก มีสิทธิขอสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อ
(๑) ใช้เวลาทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๘ เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับ
อนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ และลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
(๒) สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ใน
หลักสูตรและได้รับค่าระดับเฉลี่ยสะสมในรายวิชาตลอดหลักสูตรไม่ต่ากว่า ๓.๐๐
(๓) สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติในรายวิชาตามที่บัณฑิตวิทยาลัย
กาหนด
(๔) เขียนวิทยานิพนธ์สาเร็จสมบูรณ์ตามคาแนะนาของคณะกรรมกา
ควบคุมวิทยานิพนธ์ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดังกล่าวให้ทาการขอสอบได้
๑๒.๓ ให้นิสิตยื่นคาร้องขอตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ พร้อมทั้งแนบวิทยานิพนธ์ ๑ ฉบับ ต่อ
บัณฑิตวิทยาลัยก่อนวันสอบวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๓

๑๒.๔ ให้นิสิตรับผลการตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์จากบัณฑิตวิทยาลัยหลังจากยื่นคาร้องแล้ว ๑๐
วันทาการ
๑๒.๕ ให้ นิ สิ ต ยื่ น แบบค าร้ อ งขอสอบวิ ท ยานิพ นธ์ บท ๘ ต่ อ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ผ่ า นประธาน
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ พร้อมกับเสนอวิทยานิพนธ์ที่เรียบเรียงเสร็จแล้ว รวมทั้งบทคัดย่อภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ อย่างละ ๖ ชุด
๑๒.๖ ให้บัณฑิตวิทยาลัยส่งวิทยานิพนธ์และบทคัดย่อถึงคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์
ก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า ๒ สัปดาห์
ข้อ ๑๓ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์
๑๓.๑ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ มีจานวนไม่น้อยกว่า ๓ ท่าน แต่ไม่เกิน ๕ ท่าน
ประกอบด้วย
(๑) ประธาน ได้แก่ คณบดีหรือผู้ที่คณบดีมอบหมาย
(๒) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย จานวนไม่เกิน ๓ ท่าน
๑๓.๒ เมื่อบัณฑิตวิทยาลัยติดต่อเชิญผู้ที่สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์
ได้แล้ว ให้เสนอรายนามกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ต่อคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจารณา
แต่งตั้ง
๑๓.๓ เมื่ อ ประธานคณะกรรมการประจ าบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ลงนามแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
ตรวจสอบวิทยานิพนธ์แล้ว ให้บัณฑิตวิทยาลัยประกาศกาหนดวัน เวลาและสถานที่สอบให้ทราบโดยทั่วกัน และ
มีห นั งสื อ เชิญถึง กรรมการตรวจสอบวิท ยานิพนธ์ก่อนวั นสอบ ไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน รายนามคณะกรรมการ
ตรวจสอบวิทยานิพนธ์ให้ถือเป็นความลับสาหรับผู้สอบ
๑๓.๔ ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ไม่สามารถมาตรวจสอบวิทยานิพนธ์ได้ ให้แจ้ง
ต่อบัณฑิตวิทยาลัยโดยผ่านประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์พร้อมทั้งแจ้งผลการตรวจสอบวิทยานิพนธ์
ด้วย
หมวดที่ ๖
การประเมินผลวิทยานิพนธ์
ข้อ ๑๔ การประเมินผลวิทยานิพนธ์
๑๔.๑ ในการสอบวิทยานิพนธ์ นิสิตต้องตอบข้อซักถามต่าง ๆ เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์หรือเรื่องที่
เกี่ ย วข้ อ ง หลั งจากสอบแล้ ว ให้ คณะกรรมการตรวจสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ป ระชุ ม พิจ ารณาประเมิ น ผล ในขณะ
ประเมินผลให้นิสิตออกจากห้องสอบ
๑๔.๒ ให้มีการจดบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินผลวิทยานิพนธ์ทุกครั้ง
๑๔.๓ หากคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์มีมติให้แก้ไขวิทยานิพนธ์ ไม่ว่ากรณีใด ๆ นิสิต
ต้องแก้ไขวิทยานิพนธ์ให้ถูกต้องตามมติและคาแนะนานั้น ก่อนที่จะนาวิทยานิพนธ์ฉบับที่แก้ไขแล้ วส่งบัณฑิต
วิทยาลัย กรณีที่นิสิตไม่สามารถส่งวิทยานิพนธ์ได้ทันเวลา ตามที่คณะกรรมการกาหนด จะต้องดาเนินการยื่นขอ
ขยายเวลาการส่งวิทยานิพนธ์ต่อบัณฑิตวิทยาลัย โดยผ่านความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
วิทยานิพนธ์ ทั้งนี้ การขยายเวลาต้องอยู่ภายใต้ในระยะเวลา ๖ เดือน นับแต่วันสอบ หากเกินจากกาหนดนี้ ให้ถื อ
ว่าสอบไม่ผ่าน และจะต้องดาเนินการขอสอบใหม่ กรณีที่ยังคงสถานภาพนิสิตอยู่เท่านั้น
๑๔.๔ ให้คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ทาการประเมินผลวิทยานิพนธ์โดยกาหนดเป็น ๔
ระดับ ดังนี้
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๔

ผลการศึกษา ระดับ
ดีเยี่ยม (Excellence) A
ดี (Good) B+
ผ่าน (Passed) B
ตก (Failed) F
ส่วนวิทยานิพนธ์ที่อยู่ในระหว่างการเรียบเรียงให้แสดงสถานะด้วยสัญลักษณ์ IP (In progress)
๑๔.๕ การลงนามของกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ในหน้าอนุมัติวิทยานิพนธ์ อาจกระทาได้
เมื่อเห็นสมควร แต่ประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์จะลงนามได้ต่อเมื่อวิทยานิพนธ์นั้นได้รับการแก้ไข
ทั้งรูปแบบ และเนื้อหาเรียบร้อยแล้วเท่านั้น จากนั้นคณะบดีบัณฑิตวิทยาลัยจึงลงนามอนุมัติ
๑๔.๖ ให้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์เสนอผลการประเมินต่อคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัย หากมีมติไม่เป็นเอกฉันท์ให้รวบรวมใบประเมินผลของกรรมการทุกท่าน เพื่อส่งให้คณะกรรมการประจา
บัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาชี้ขาดเมื่อทราบผลการประเมิน และนิสิตส่งวิทยานิพนธ์ฉบับที่แก้ไขเรียบร้อยแล้วบัณฑิต
วิทยาลัยจะประกาศผลให้ทราบโดยทั่วกัน
ข้อ ๑๕ การส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
๑๕.๑ เมื่อนิสิตแก้ไขเนื้อหาและรูปแบบ ตามมติคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์แล้ว ให้
นิสิตส่งวิทยานิพนธ์ฉบับที่แก้ไขที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ครบถ้วนทุกคน จานวน ๗ เล่ม
โดยเย็บเล่มและเข้าปกแข็งเรียบร้อย ตามรูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนดพร้อมด้วย บทคัดย่อภาษาไทยและ
ภาษาอั ง กฤษอี ก อย่ า งละ ๒ ชุ ด และแผ่ น ซี ดี บั น ทึ ก ไฟล์ หั ว ข้ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ สมบู ร ณ์ ทั้ ง ที่ เ ป็ น แบบไฟล์
Microsoft Word และไฟล์ Adobe PDF จานวนไฟล์ละ ๑ แผ่น ต่อบัณฑิตวิทยาลัย วันที่นิสิตส่งวิทยานิพนธ์
ฉบับสมบูรณ์ถือว่าเป็นวันที่นิสิตสาเร็จการศึกษา
๑๕.๒ ในกรณีที่นิสิตประสงค์จะเผยแพร่วิทยานิพนธ์หรือมอบให้แก่หน่วยงานใดตามข้อผูกพัน
หรืออื่น ๆ หลังจากที่ได้รับอนุมัติวิทยานิพนธ์ ให้นิสิตยื่นคาร้องพร้อมด้วยวิทยานิพนธ์ตามจานวนที่ต้องการเสนอ
ต่อคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อพิจ ารณาลงนามในหน้าอนุมัติ ทั้งนี้ให้แนบวิทยานิพนธ์ ฉบับซึ่งคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัยลงนามไว้แล้ว ๑ เล่ม พร้อมทั้งแผ่นบันทึกข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์จานวน ๑ ชุด
๑๕.๓ วิทยานิพนธ์และบทคัดย่อทั้งฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษของนิสิตที่สาเร็จการศึกษา
ให้เป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย ก่อนนาไปพิมพ์เผยแร่ต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๕

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๖ นิสิตที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงการวิทยานิพนธ์และลงทะเบียนไว้แล้วก่อนที่จะประกาศใช้
ระเบียบนี้ ให้ปฏิบัติตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ว่าด้วยวิธี
ปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติวิทยานิพนธ์ แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๔๖
ข้อ ๑๗ นิสิตที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ และลงทะเบียนภายหลังที่ประกาศใช้ระเบียบ
นี้แล้ว ให้ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

(พระศรีสิทธิมุนี)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๖

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะ
พ.ศ. ๒๕๔๑

เพื่ออนุ วัตให้ เป็ น ไปตามความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราช


วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงเห็นสมควรออกข้อบังคับมหาวิทยาลัยว่าด้วยคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิ ทยาลัยและ
คณะกรรมการประจาคณะ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๐ สภามหาวิทยาลั ย มหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัยในคราวประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๔๑ เมื่อวันที่ ๒๗
สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๑ จึงมีมติให้ออกบังคับไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยคณะกรรมการ
ประจาบัณฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะ พ.ศ.๒๕๔๑”
ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับนี้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ บรรดากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนด คาสั่ง หรือประกาศอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับนี้
ให้ใช้ข้อบังคับนี้แทน
ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ประกอบด้วย
(๑) ประธานกรรมการ ได้แก่ คณบดี
(๒) รองประธานกรรมการ ได้แก่ รองคณบดีซึ่งเป็นพระภิกษุ
(๓) กรรมการผู้เป็นคณาจารย์ประจาบัณฑิตวิทยาลัยจานวนสี่รูปหรือคนที่
อธิการบดีแต่งตั้งโดยคาแนะนาของคณบดี
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินห้ารูปหรือคนที่อธิการบดีแต่งตั้งโดย
คาแนะนาของคณบดี
(๕) กรรมการและเลขานุการ ได้แก่ เลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ ๕ ให้มีคณะกรรมการประจาคณะ ประกอบด้วย
(๑) ประธานกรรมการ ได้แก่ คณบดี
(๒) รองประธานกรรมการ ได้แก่ รองคณบดีซึ่งเป็นพระภิกษุ
(๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ หัวหน้าภาควิชา
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนไม่เกินห้ารูปหรือคนที่อธิการบดีแต่งตั้งโยคาแนะนาของ
คณบดี
(๕) กรรมการและเลขานุการ ได้แก่ เลขานุการประจาคณะ
ข้อ ๖ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะมีวาระ
การดารงตาแหน่งเท่ากับวาระการดารงตาแหน่งของคณะบดี
ในกรณีที่กรรมการตามข้อ ๔ และข้อ ๕ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและได้มีการ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๗

แต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งแทนแล้ว ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งอยู่ในตาแหน่งเพียงเท่าวาระที่เหลือของผู้ซึ่งตนแทน
ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งตามวาระแต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ให้
กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ทั้งนี้ต้องไม่เกินหกสิบวัน
ข้อ ๗ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะมีอานาจและ
หน้าที่ ดังนี้
(๑) วางนโยบายและแผนงานให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย
(๒) พิจารณาหลักสูตรเพื่อนาเสนอต่อสภาวิชาการ
(๓) พิจารณาวางระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวกับการบริหารและการดาเนินงาน
เพื่อเสนอต่อสภาวิชาการ
(๔) ให้คาปรึกษาและเสนอความเห็นแก่คณบดี
(๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่สภาวิชาการหรืออธิการบดีมอบหมาย
ข้อ ๘ ให้มีการประชุมคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะ
อย่างน้อยปีละสี่ครั้ง วิธีการประชุมให้นาข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการประชุม
สภามหาวิทยาลัยมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๙ ให้อธิการดีรักษาการให้เป็นไปตามข้อบังคับนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑

(พระสุเมธาธิบดี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๘

ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อน พ.ศ.๒๕๕๒

เพื่อให้ การจั ดการศึกษาในภาคการศึกษาฤดูร้อนในระดับบัณฑิตศึก ษาเป็นไปด้ว ยความเรียบร้อย มี


ประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์และนโยบาลของมหาวิทยาลัย เพละเพื่ออนุมัติให้เป็นไปตามความในข้อ ๙
แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่ าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ โดย
อาศัยมติที่ประชุมคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม
ครั้งที่ ๔/๒๕๔๒ เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๒ บัณฑิตวิทยาลัย จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า ฎระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๔๒”
ข้อ ๒ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วัถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ภาคการศึกษาฤดูร้อน ต้องมีเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ และมีจานวนชั่วโมงการศึกษาใน
แต่ละรายวิชาเท่ากับการศึกษาภาคปกติ
ข้อ ๔ จานวนหน่วยกิตที่กาหนดให้นิสิตลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อนไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิตและไม่
เกิน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป
นิสิคที่ประสงค์จะลงทะเบียนน้อยกว่าหรือมากกกว่าที่กาหนดไว้ในข้อ ๔ ให้ยื่นคาร้องต่อคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัย เพื่อขออนุมัติเป็นกรณีพิเศษ
ข้อ ๕ อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาในภาคการศึกษาฤดูร้อนให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ข้อ ๖ ให้ใช้ระเบียบนี้สาหรับนิสิตที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒
ข้อ ๗ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒

(พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๕๙

ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗

เพื่อให้ การศึกษาวิช ากรรมฐานของนิสิ ตบัณฑิตวิท ยาลั ย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั ย


เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
โดยอาศัยมติที่ประชุมคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๗ เมื่อวันที่
๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ บัณฑิตวิทยาลัย จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการ
ฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗
ข้อ ๒ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย มีอานาจหน้า ที่เกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
ดังนี้
(๑) วางนโยบาย กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการฝึกภาคปฏิบัติ
วิปัสสนากรรมฐาน การวัดผลและติดตามผลลัพธ์ของการฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
(๒) กาหนดวัน เวลาและสถานที่ สาหรับการฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐาน
(๓) รายงานผลการฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานต่อมหาวิทยาลัย
ข้อ ๔ ให้นิสิตบัณฑิตวิทยาลัยฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในวัน เวลาและสถานที่
ตามที่คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ดังนี้
(๑) นิสิตระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ต้องฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน
ไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน
(๒) นิสิตระดับมหาบัณฑิตต้องฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานไม่น้อยกว่า
๓๐ วัน
(๓) นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต ต้องฝึกภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานไม่น้อยกว่า
๔๕ วัน โดยให้ใช้กับนิสิตที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๓ เป็นต้นไป
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๐

ข้อ ๕ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗

(พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๑

ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘
-----------------------------------
โดยที่เห็นเป็นการสมควรปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิตและพุทธศาสตรดุษฎี
บัณฑิต ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ
ประโยชน์ในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ให้ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ
และบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ จึง
ออกประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๘ ไว้ดังต่อไปนี้
๑. ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต
๒. ระดับปริญญาโท มีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๓๘ หน่วยกิต
โดยแบ่งการศึกษา เป็น ๒ แผน ดังนี้
๑) แผน ก เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์ ดังนี้
แบบ ก (๑) ทาเฉพาะวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๓๘ หน่วยกิต และบัณฑิตวิทยาลัยอาจจัด
ให้ศึกษารายวิชาเพิ่มเติม โดยไม่ต้องนับหน่วยกิต เพื่อคุณภาพการศึกษาของผู้ศึกษา
แบบ ก (๒) ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๖ หน่วยกิต และทาวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๑๒
หน่วยกิต จาแนกประเภทดังนี้
วิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๘ หน่วยกิต
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า ๓๘ หน่วยกิต
๒) แผน ข ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๒ หน่วยกิต และทาการศึกษาอิสระซึ่งมีค่าเทียบได้ ๖ หน่วยกิต
จาแนกประเภท ดังนี้
วิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๘ หน่วยกิต
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
การศึกษาอิสระ ๖ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า ๓๘ หน่วยกิต
๓. ระดับปริญญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ ดังนี้
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๒

๑) แบบ ๑ ผู้เข้าศึกษาต้องทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๕๔ หน่วยกิต แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ


โดยบัณฑิตวิทยาลัยอาจจัดให้ศึกษารายวิชาเพิ่มเติม โดยไม่ต้องนับหน่วยกิต เพื่อคุณภาพการศึกษาของผู้ศึกษา
แบบ ๑.๑ ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโทต้องทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๕๔หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาตรีหรือเปรียญธรรม ๙ ประโยค ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้
เข้าศึกษาเป็นกรณีพิเศษ ต้องทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๗๘ หน่วยกิต
๒. แบบ ๒ แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ ดังนี้
แบบ ๒.๑ ผู้ เข้ าศึ กษาที่ ส าเร็ จ ปริ ญ ญาโท ต้ องศึ กษารายวิช าไม่ น้อ ยกว่ า ๑๙ หน่ว ยกิต และท า
วิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๓๖ หน่วยกิต จาแนกประเภทดังนี้
วิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิชาเอก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต
รวมทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า ๕๔ หน่วยกิต
ทั้งนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๙ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๘

(พระราชรัตนโมลี)
อุปนายกสภามหาวิทยาลัย ทาหน้าที่แทน
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๓

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่อง กาหนดส่วนประกอบเพิ่มเติมของโครงร่างวิทยานิพนธ์

เพื่ออนุวัตให้เป็นไปตามความในข้อ ๔.๒ แห่งระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช


วิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงกาหนดส่วนประกอบของโครงร่างวิทยานิพนธ์
เพิ่มเติม เพื่อความสมบูรณ์ ชัดเจน ดังนี้
๑. ให้มีลายเซ็นต์รับรองของผู้สมควรเป็นคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ทุกคนบนปกของโครงร่างฯ
จานวน ๑ ฉบับ
๒. ให้มีประวัติย่อของนิสิตผู้เสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์แนบในส่วนท้ายด้วย
๓. ระเบียบวิธีวิจัยและแบบสอบถามชั่วคราว สาหรับวิทยานิพนธ์เชิงปริมาณนิสิตต้องส่งก่อนวันพิจารณา
หัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า ๓ วัน
ให้นิสิตผู้ประสงค์จะสอบหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ เสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ จานวน ๑
ชุด เพื่อ ตรวจรู ป แบบก่อน เมื่อผ่ านการตรวจรู ปแบบและแก้ไขแล้ ว จึงเสนอขออนุมัติ หั ว ข้อและโครงร่า ง
วิทยานิพนธ์ จานวน ๘ ชุด ต่อบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อขอสอบอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๔

(พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๔

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่อง กาหนดการพิจารณาหัวข้อและอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์

เพื่อการดาเนินการพิจารณาหัวข้อและอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์ มีช่วงระยะเวลาที่แน่นอน อันจะทาให้


นิสิตผู้ประสงค์จะขออนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์สามารถวางแผนจัดทาได้สอดคล้องกับช่วงระยะเวลาที่
ประชุมคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ จึงประกาศกาหนดการไว้เป็นแนวปฏิบัติดังนี้
ครั้งที่ ๑ วันที่ ๒๐ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ของทุกปี
ครัง้ ที่ ๒ วันที่ ๒๐ – ๓๑ พฤษภาคม ของทุกปี
ครั้งที่ ๓ วันที่ ๒๐ – ๓๑ สิงหาคม ของทุกปี
ครั้งที่ ๔ วันที่ ๒๐ – ๓๐ พฤศจิกายน ของทุกปี

ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๙

(พระศรีสิทธิมุนี)
รักษาการคณบดี
ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๕

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่อง กาหนดรายวิชาให้นิสิตคฤหัสถ์ศึกษาเพิ่มเติม

เพื่อให้การจัดการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาหรับคฤหัสถ์ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี


ประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุป ระสงค์และนโยบายของมหาวิทยาลัยจึงสมควรกาหนดรายวิชาบาลี ให้ศึกษา
เพิ่มเติม
อาศัยมติที่ประชุมคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันอังคารที่
๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ จึงให้ยกเลิกประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง กาหนดรายวิชาให้นิสิตคฤหัสถ์ศึกษา
เพิ่มเติม ลงวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และกาหนดรายวิชาบาลี ให้ศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้
๑. วิชา ๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑ (๓) (๓-๐-๖)
Usage of Pali I
๒. วิชา ๑๐๒ ๓๐๖ การใช้ภาษาบาลี ๒ (๓) (๓-๐-๖)
Usage of Pali II
ให้รายวิชาเหล่านี้เป็นรายวิชาเรียนเสริมโดยไม่นับหน่วยกิตและแสดงผลการเรียนด้วยสัญลักษณ์ S หรือ U
นิสิตที่สอบได้เปรียญธรรมหรือบาลีศึกษาตั้งแต่ประโยค ป.ธ.๓ ขึ้นไป หรือสาเร็จการศึกษาหลักสูตร
ประกาศนียบัตรภาษาบาลี ไม่ต้องลงทะเบียนเรียน
ทั้งนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๙ เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙

(พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๖

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔)
แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๕๓
---------------------
เพื่อให้การบริหารจัดการเกี่ยวกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของ
มหาวิทยาลัย
อาศยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๘
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้ เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๕๓”
ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับนี้กับนิสิตที่รับเข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๓๐ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่า
ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
“ข้อ ๓๐ คุณสมบัติของผู้สาเร็จการศึกษา
๓๐.๑ มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าและไม่เกินกว่าที่กาหนดไว้ในข้อ ๑๑
๓๐.๒ ได้ศึกษารายวิชาต่างๆ ครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กาหนด
ไว้ในหลักสูตร
๓๐.๓ ได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
๓๐.๔ ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม
๓๐.๕ ได้ระดับไม่ต่ากว่า B ในรายวิชาบังคับและรายวิชาเอกทุกรายวิชา
และได้ระดับ S ในกรณีทหี่ ลักสูตรกาหนดให้วัดผลเป็น S หรือ U
๓๐.๖ สอบผ่านการประเมินผลวิทยานิพนธ์ และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
ตามทีม่ หาวิทยาลัยกาหนด
๓๐.๗ วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต จะต้องได้รับการ
ตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ทั้งหมดหรือส่วนหนึง่ ของ
วิทยานิพนธ์ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทาง
วิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการทีม่ ีรายงานการประชุม
(proceeding)
๓๐.๘ วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต จะต้องได้รบั การ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๗

ตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ทงั้ หมดหรือส่วนหนึง่ ของ


วิทยานิพนธ์ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทาง
วิชาการทีม่ ีกรรมการภายนอกร่วมกลัน่ กรองก่อนการตีพิมพ์
(Peer - review) และเป็นที่ยอมรับ”

ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓

(พระธรรมสุธี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๘

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ ๕)
พุทธศักราช ๒๕๕๓
-----------------------
โดยที่ เ ป็ น การสมควรปรั บ ปรุ ง บางส่ ว นของข้ อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช
๒๕๕๓ ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราช
วิทยาลั ย พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติส ภามหาวิท ยาลั ย ในคราวประชุมครั้ง ที่ ๔/๒๕๕๓ เมื่ อวั นพฤหั ส บดี ที่ ๑๗
มิถุนายน จึงออกข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ ๕ แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๕๓”
ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับนี้กับนิสิตเข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๒ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๕๓
และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน
“ข้อ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับบี้กับนิสิตที่รับเข้าศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๙ เป็นต้นไป”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓

(พระธรรมสุธี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๖๙
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๐

ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่อง อนุมัติเปิดสอนหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.๒๕๕๖)
---------------
เพื่อให้การบริหารงานและการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดาเนินไป
ด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์และนโยบายของมหาวิทยาลัย
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) และ (๖) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ เมื่อวันพุธที่ ๒๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๕๖ นายกสภามหาวิทยาลัยจึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
“มหาวิทยาลั ยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลั ย อนุมัติให้เปิดสอนหลั กสู ตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.๒๕๕๖) ณ ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ ตั้งแต่ปี
การศึกษา ๒๕๕๖ เป็นต้นไป”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๖

(พระธรรมสุธี)
นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๑

ภาคผนวก ค
ประวัติอาจารย์ประจาระดับบัณฑิตศึกษา
สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๒

๑. พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร.

๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร.


๒. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
๓. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. การศึกษา
คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) ๒๕๔๙ ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พช.ม.(พัฒนาชุมชน) ๒๕๔๑ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร.บ.(รัฐศาสตร์) ๒๕๓๕ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

๕. ประสบการณ์สอนในมหาวิทยาลัย
๑) ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี (ภายใน ๓ ปี ย้อนหลัง)
ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
๑ ศาสนากับการพัฒนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๒ ธรรมประยุกต์, คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๓ พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๔ พุทธศิลปะ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๕ สถิติเบื้องต้นและการวิจัย คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๖ งานวิจัยทางพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๗ ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๘ พระพุทธศาสนามหายาน คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๙ พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๐ ศาสนากับภาวะผู้นา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๑ พระพุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๒ การจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาสังคมวิทยา
(การพัฒนาชุมชน)
๑๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาสังคมวิทยา
(การพัฒนาชุมชน)
๑๔ สถิติเบื้องต้นสาหรับนักสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาสังคมวิทยา
(การพัฒนาชุมชน)
๑๕ วิชาศาสนาและประเพณีไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาสังคมวิทยา
(การพัฒนาชุมชน)
๑๖ วิชาบ้านและชุมชน คณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
๑๗ วิชาสังคมวิทยาชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๓

๒) ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท (ภายใน ๓ ปี ย้อนหลัง)


ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
๑๘ ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๙ พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๐ ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๑ วิชาระเบียบวิธีการทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
๒๒ วิชาปัญหาการพัฒนาประชาคมเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
๒๓ ชนบทไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
๒๔ วิชาจริยศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
๒๕ วิชาการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(NRM ๗๗๑
๒๖ กระบวนการจัดการเรียนรู้ในการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
จัดการทรัพยากรชุมชน (SSC ๗๓๑)

๖. ประสบการณ์ในงานวิจัยและการประเมินผล
๖.๑ งานวิจัย
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. งานวิจัยโครงการศึกษาการพัฒนานโยบายและกลไก การรักษา
ส่งเสริม สืบสานและปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม เสนอ สนง.คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๕๐.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการจัดทามาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสของ
หน่วยงานภาครัฐ เสนอ สานักงานข้อมูลข่าวสารของราชการ สานักงานปลัดนายกรัฐมนตรี, ๒๕๕๐.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการจัดทามาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสของ
หน่วยงานภาครัฐ เสนอ สานักงานข้อมูลข่าวสารของราชการ สานักปลัดนายกรัฐมนตรี, ๒๕๕๑.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยเรื่องรู ปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวประเภทวัดใน
กรุงเทพมหานคร เสนอ สกว. สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาท่องเที่ยวไทย, ๒๕๕๑.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการเผยแพร่เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดที่กาหนด
ภายใต้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ เสนอ สานักงานข้อมูลข่าวสารของราชการ สานัก
ปลัดนายกรัฐมนตรี, ๒๕๕๒.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมืองเป็นสถาบันการเงินชุมชน เสนอ สานักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ, ๒๕๕๓.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยเรื่องรูปแบบและเครือข่ายการเรียนรู้ ของแหล่งท่องเที่ยว
ประเภทวัดในประเทศไทย เสนอสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ๒๕๕๓
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการพัฒนาเครือข่ายตรวจแนะนาศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ของหน่วยงานภาครัฐเพื่อขยายผลเป็นคณะผู้ตรวจประเมินหน่วยงานภาครัฐและ คณะผู้ตรวจประจาจังหวัด
เสนอสานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, ๒๕๕๔.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการพัฒนาระบบและการเสริมสร้างความเชื่อมั่นด้าน
ความโปร่งใสหน่วยงานภาครัฐ เสนอสานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, ๒๕๕๔.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยโครงการ การจัดระบบข้อมูลข่าวสารของราชการ ภายใต้
โครงการพัฒนาระบบและการเสริมสร้า งความเชื่อมั่นด้า นความโปร่งใสหน่วยงานภาครั ฐ เสนอสานักงาน
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, ๒๕๕๕.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๔

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการสร้าง


เครือข่ายองค์กรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย” เสนอสานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
โครงการชุดมีโครงการย่อย ๕ โครงการ, ๒๕๕๕.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. วิจัยเรื่อง “การพั ฒนารู ปแบบและกระบวนการจัดการ
ท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย” เสนอ ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และส านักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๕๕.

๖.๒ บทความ
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความทางวิชาการเรื่อง “การขับเคลื่อนจริยธรรม
ทางการเมืองวิกฤติการณ์ เป้าหมาย และการขับเคลื่อนด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นาเสนอ ในการประชุม
วิชาการประจาปี ๒๕๕๐ สถาบันพระปกเกล้าฯ, ๒๕๕๐.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความทางวิชาการเรื่อง “จริต สู่ จารีต ความงดงาม
จริยธรรมทางการเมือง”นาเสนอในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ ๘ จัดโดย
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๐.
พระมหาสุ ทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความทางวิชาการเรื่อง “CSR : บทบาทและ
ความสัมพันธ์กับการพัฒนาชุมชน” น าเสนอในการประชุ ม สั ม มนาทางวิ ช าการพั ฒ นาชุ ม ชน ครั้ ง ที่ ๑
๒๕๕๐ จัดโดยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๐.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความทางวิชาการเรื่อง “การมีส่วนร่วมในการจัดการ
ความขัดแย้งในมิติพระพุทธศาสนา” หนังสือของสานักระงับข้อพิพาท กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๕๑.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความเรื่อง “CSR : บทบาทและความสัมพันธ์กับองค์กร
พระพุทธศาสนา” เสนอในงานประชุมอธิการบดีพระพุทธศาสนาโลก IABU ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความเรื่อง “แนวคิดทันสมัย (Modernization) กับการ
พัฒนาชนบทไทย” เสนอในงานของ สานักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๑.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความเรื่อง “(ภัยจาก) เกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ : แนว
ทางแก้ไขและมาตรการทางกฎหมาย” เสนอ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๕๑.
พระมหาสุ ทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความวิจัยเรื่ อง “Cultural and Tradition
Knowledge Management of Takdham Tradition at Sungmen Temple, Phrae Province” เสนอ
งานสัมมนาเครือข่ายวิจัยสายมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะมุนษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๒.
พระมหาสุ ทิตย์ อาภากโร (อบอุ่ น) ดร. บทความวิจัยเรื่ องรู ปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ย ว
ประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร เสนอการประชุมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัย (ทอมก.), ๒๕๕๓
พระมหาสุ ทิตย์ อาภากโร (อบอุ่ น) ดร. บทความวิจัยเรื่ องรู ปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ย ว
ประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร เสนอในการประชุมวิสาขบูชาโลก, ๒๕๕๓ ๒๕๕๓.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความวิจัยเรื่อง “ความเป็นไปในการพัฒนากองทุน
หมู่บ้านและชุมชนเมืองเป็นสถาบันการเงินชุมชน เสนอ ที่ประชุมระดับชาติของเครือ ข่ายวิชาการ พัฒนาชุมชน
และพัฒนาสังคม, ๒๕๕๔.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและ
การสร้างเครือข่ายองค์กรพระพุทธศาสนาในประเทศไทย เสนองานสัมมนาวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจาปี
๒๕๕๕ ร่วมกับบัณฑิตวิทยาลัย, ๒๕๕๕.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๕

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. บทความวิชาการเรื่อง มหายานในประเทศไทย : Mahayana


Buddhism in Thailand เสนองานสัมมนาวิชาการ ณ วิทยาลัยสงฆ์หางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน ,
๒๕๕๕.

๖.๓ หนังสือ
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. “ตัวชี้วัดความสุข : การสร้างและการใช้เพื่อชุมชนเป็น
สุข”โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข จัดพิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แม็ค,
๒๕๕๓.
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.๑-ม.๓.
กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แม็ค, ๒๕๕๐.

๖.๔ เอกสารประกอบการสอน
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) ดร. เอกสารการสอนชุดวิชา “ปัญหาอุปสรรคและการพัฒนา
ท้องที”่ โดยเขียนหน่วยที่ ๑๒ “เครือข่ายชุมชนกับการพัฒนาท้องที”่ ๒๕๕๑.
พระมหาสุ ทิ ต ย์ อาภากโร (อบอุ่ น ) ดร. เอกสารการสอนสาขาวิ ช าวิ ท ยาการจั ด การ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ระดับปริญญาตรี), ๒๕๕๒.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๖

๒. ประวัติ พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน, ดร.

๑. ชื่อ/ฉายา/นามสกุล พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน (ประจันตะเสน)


๒. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
๓. สังกัด-สถานที่ ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. การศึกษา
คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา
Ph.D. (Buddhist Studies) ๒๐๑๒ University of Jammu, India,
M.Phil. (Buddhist Studies) ๒๐๐๘ University of Delhi, India
ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา) ๒๕๔๔ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) ๒๕๔๔ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พธ.บ. (บาลี-สันสกฤต) ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๕. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๑) ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี
ปี รายวิชา สถาบัน/มหาวิทยาลัย
๒๕๕๔ ๐๐๐ ๒๖๒ ธรรมนิเทศ ๒(๒-๐-๔) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๐๑ ๔๑๗ สัมมนาพระพุทธศาสนา ๓(๓-๐-๖) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๒๕๕๕ ๑๐๑ ๔๓๐ พระพุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน ๒(๒-๐-๔) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๐๑ ๔๒๙ พระพุทธศาสนากับสันติภาพ ๒(๒-๐-๔) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๐๑ ๔๓๑ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน ๒(๒-๐-๔) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๑๐๑ ๒๐๕ ธรรมประยุกต์ ๒(๒-๐-๔) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ

๖. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตารา)
๖.๑ ตารา/หนังสือ
พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน.(แต่งร่วม) ประวัติพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๕๐.
๖.๒ บทความทางวิชาการ
พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พุทธปรัชญาในวรรณคดีโคลงโลกนิติ” ใน สาร
นิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต, กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙
พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน. “อัคคัญญสูตร” ในวารสาร พุทธศาสตรปริทรรศน์, กรุงเทพมหานคร :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙
พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน. "พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์" ใน เดลีวิชาการ Delhi : Om Laser
Printers, ๒๐๐๗.
พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน. "สวนโมกขพลาราม:ศึกษาแนวคิดและผลกระทบต่อสังคม" ใน วารสาร
TSG.MAILS.ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๑๒, เดลี: กลุ่มพระนักศึกษาไทยมหาวิทยาลัยเดลี, ๒๕๕๑.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๗

Phramaha Surasak Prajantasen, “Yonisomanasikara: A Unique Thought in Buddhism”,


in Shodh Srishti: Journal of All Research, Edited by Prof.Ashok Kumar Kaul, Vol.2,
No.3,Year 2 April-June 2011, Varanasi: Srijan Samit, 2011.
Phramaha Surasak Prajantasen, “ A Study of Asubha Kammtthana in the
Visuddhimagga” in the Ocean of Buddhist Wisdom Volume – V, New Delhi :
Indian Society of Buddhist Studies, 2011.
Phramaha Surasak Prajantasen, “Buddhism and Legitimation of Power : A Historical
Perspective of Sukhothai in Thailand” in Anusilna : Research Journal of Indian
Cultural, Social & Philosophical Stream Volume XXXIV, Varanasi : Manvi Seva
Samiti, 2011.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๘

๓. ดร.อธิเทพ ผาทา

๑.ชื่อ-นามสกุล ดร.อธิเทพ ผาทา


๒. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
๓. สังกัด-สถานที่ ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. การศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา


พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ม.(ปรัชญา) ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.บ.(การสอนสังคมศึกษา) ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๕. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)

๑) ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท

๑ ศึกษางานสาคัญทางพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย(ส่วนกลาง)
๒ พุทธปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย(ส่วนกลาง)
๓ พุทธศาสนาเถรวาท วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์
๔ พุทธศาสนามหายาน วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์
๕ พุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์
๖ ปรัชญาการเมือง บัณฑิตวิทยาลัย(ส่วนกลาง)

๖. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตารา)
๖.๑ งานวิจัย
ดร.อธิเทพ ผาทา. ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องประโยชน์นิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท. สถาบันวิจัยพุทธ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
ดร.อธิ เ ทพ ผาทา. กุ ศ โลบาย : ศึ ก ษาการใช้ ปั ญ ญาเพื่ อ การแก้ ไ ขปั ญ หาที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์
พระพุทธศาสนาเถรวาท. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๕๐.
ดร.อธิเทพ ผาทา. การศึกษาวิเคราะห์การแสวงหาและการใช้อานาจตามกระบวนการทางการเมืองใน
พระพุทธศาสนา ศึกษาเฉพาะกรณีพระเทวทัต . สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
ดร.อธิเทพ ผาทา .การศึกษาเปรี ยบเทียบแนวคิดเรื่ องอาลยวิชญานในพุทธปรั ชญาโยคาจารกับ
ภวังคจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๗๙

ดร.อธิเทพ ผาทา .ศึกษาวิเคราะห์กาเนิดและพัฒนาการลัทธิฝ่าหลุนกง. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์


มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.

๖.๒ เอกสารประกอบการสอน
ดร.อธิเทพ ผาทา. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาศึกษางานสาคัญทางพระพุทธศาสนา.บัณฑิต
วิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
ดร.อธิเทพ ผาทา .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธปรัชญา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
ดร.อธิเทพ ผาทา .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธศาสนาเถรวาท. วิทยาลั ยสงฆ์นครสวรรค์ ,
๒๕๕๕.
ดร.อธิเทพ ผาทา .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธศาสนามหายาน. วิ ท ยาลั ย สงฆ์ น ครสวรรค์
,๒๕๕๕.
ดร.อธิเทพ ผาทา .เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่. วิทยาลั ย
สงฆ์นครสวรรค์, ๒๕๕๕.
ดร.อธิเทพ ผาทา . เอกสารประกอบการสอนรายวิชาปรัชญาการเมือง. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕.

๗. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก สาขาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัย
Yale สหรัฐอเมริกา
เป็นกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และมหาวิทยาลัยอื่นๆ
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๐

๔. ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ

๑.ชื่อ-นามสกุล ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ


๒. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
๓. สังกัด-สถานที่ ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. การศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา


พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศทาง ๒๕๔๒ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธุรกิจ)
พธ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) ๒๕๓๕ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

๕. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๑) ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท

๑ พระสุตตันตปิฎกวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ


๒ ปฎิจจสมุปบาทวิเคราะห์ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ

๖. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตารา)

๖.๑ งานวิจัย
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .วิจัยเรื่องความรับผิดชอบทางสังคมของภาคธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR), ๒๕๕๑.
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ . วิจัยขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภาคธุรกิจและเอกชนมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
,๒๕๕๒.
๖.๒ บทความทางวิชาการ
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .บทความเรื่อง "The Time Horizons of Sufficiency Strategy in
Dealing with Economic Recovery" ในการประชุม "Global Ethics Forum ๒๐๑๒"
(พ.ศ. ๒๕๕๕) ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ . บทความในหัวข้อ "Ethical Investments for a Sufficiency
Economy" ในการประชุมนานาชาติ ว่าด้วยเรื่อง “Globalization for the Common
Good” (พ.ศ.๒๕๕๓) ณ California Lutheran University, Center for Leadership &
Values รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๑

ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ . ผู้จัดทาเอกสารรายงาน เรื่อง “Responsible Business Conduct


in Thailand” (พ.ศ. ๒๕๕๒)องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
และคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสาหรับเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ (UN
ESCAP)
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .หัวหน้าคณะทางานเครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียงระหว่างประเทศ ใน
คณะกรรมการโครงการจัดทาแผนที่เดินทาง (Road Map) และการสร้างเครือข่ายเศรษฐกิจ
พอเพียงระหว่างประเทศ (พ.ศ. ๒๕๕๐) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .หัวหน้าโครงการพัฒนา CSR ในกระบวนการบริหารจัดการองค์กร
ธุรกิจ (พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑)สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ หัวหน้าโครงการศึกษาและจัดทาฐานข้อมูลกลุ่ม องค์กร พื้นที่ ที่ใช้
หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต (พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๐) สานักงานกองทุนสนับสน
การวิจัย
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .บทความในหัวข้อ “การดาเนินธุรกิจตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงใน
ประเทศไทย” ในการประชุม New Asian Leaders’ Retreat ให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ๕๔ คน
จาก ๑๒ ประเทศ ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อปี ๒๕๔๗ จัดโดย World Economic
Forum (WEF)
๖.๓ หนังสือ
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ . “เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร”.กรุงเทพฯ: ๒๕๕๑.
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. “เศรษฐกิจพอเพียงกับการดาเนินธุรกิจ” . กรุงเทพฯ: ๒๕๕๐.

๖.๔ เอกสารประกอบการบรรยาย
ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์ .เอกสารวิจัยสนับสนุน (Background Paper) เรื่อง “ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงในฐานะเครื่องมือสาหรับการวางแผนในภาคธุรกิจเอกชน” ประกอบการ
จัดทารายงานการพัฒนาคนในประเทศไทย ประจาปี ๒๕๕๐ ของสานักงานโครงการพัฒนา
แห่งสหประชาชาติ (UNDP)
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๒

๕. ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์

๑. ชื่อ – สกุล - ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์


๒. ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
๓. สังกัด-สถานที่ ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. การศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สาเร็จ สถาบันที่สาเร็จการศึกษา


พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อ.ม.(ศาสนาเปรียบเทียบ) ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยมหิดล
พธ.บ.(พระพุทธศาสนา) ๒๕๓๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๕. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๑ วิธีการเพ่งกสิณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
กสิณพลังแห่งความสาเร็จศาสนาและปรัชญาแห่งชีวิต มหาวิทยาลัยมหิดล
๒ กสิณในพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
๓ คุณธรรมจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
๔ การฝึกสมาธิด้วยวิธีเพ่งกสิณ ประชาชนทั่วไป ที่ท้องสนามหลวง
๕ เพ่งกสิณ วัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร

๖. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตารา)
๖.๑ ผลงานวิจัย
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ . งานวิจัยเรื่อง คาสอนเรื่อง “วิปลาส”ในพระพุทธศาสนา : ศึกษา
เฉพาะกรณี คาสอนของสานักธรรมกาย (A Teaching of Perversion (vipalasa) in Buddhism :
A Case Study of A Teaching of Dhammakaya Monastery), ๒๕๕๐ .
ดร.จรู ญ วรรณกสิ ณ านนท์ งานวิ จั ย เรื่ อ ง ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ “การปฏิ เ สธอั ต ตา” ใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท (An Analytical Study of Rejection in Theravada Buddhism.),
๒๕๕๐.
๖.๓ ตารา
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์.ความรู้รอบตัวพระพุทธศาสนา.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๐.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ .พุทธธรรมนูญ แห่งพุทธอาณาจักรไทย.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา
,๒๕๕๑.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์. การเพ่งกสิณ วิธีทากรรมฐานที่จิตเป็นสมาธิเร็ว.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
พุทธลีลา, ๒๕๕๑.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ .พลังกสิณ (พลังอานาจแห่งความสาเร็จ).กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธ
ลีลา, ๒๕๕๒.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์. กสิณกรรมฐาน.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๓.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์.คู่มือการเพ่งกสิณ.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๔.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๓

ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์.ชุดอุปกรณ์กสิณสาหรับฝึกสมาธิ(มีสีแดง สีเขียว สีเหลือง และสีขาว


กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๓.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ หลักสูตรไวยากรณ์ภาษาบาลียุคใหม่.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา
,๒๕๕๑.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ .หลักสูตรย่อ ไวยากรณ์อังกฤษ.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์พุทธลีลา.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์.หลักสูตร คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นตรี (รวมทุกวิชา).กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๔.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ .หลักสูตร คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นโท (รวมทุกวิชา).กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๔.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ .หลักสูตร คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นเอก (รวมทุกวิชา).กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์พุทธลีลา, ๒๕๕๔.

๖.๔ บทความ
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์ . เสนอบทความทางวิชาการ เรื่อง “คาสอนเรื่องวิปลาสใน
พระพุทธศาสนา” ณ โรงแรม เอส ดี อะเวนิว จัดโดยคณะ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๕.
ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์. เสนอบทความทางวิชาการในบทความเรื่อง “ ทฤษฎีการพิสูจน์
อัตตาในพระพุทธศาสนา” ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร จัดโดยคณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๓.

๗. กรรมการวิทยานิพนธ์
เป็นกรรมการสอบสารนิพนธ์เรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ เรื่องความวิปลาส” ของนิสิตปริญญาโท
มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐.
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๔

ภาคผนวก ง

คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๕
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๖
มคอ. ๒ สาขาวิชาพระไตรปิฎกศึกษา ๘๗

ภาคผนวก ค

You might also like