You are on page 1of 15

อริยสัจ 4

อริยะสัจ
4 เกิดอยู่ในจิตของเราตลอดเวลในชวชี ่ ั วติ ของมนุ ษย ์ทุกคนบนโลกใบนี ต่ ้ างตอ้ งเผชิญกับความทุกข ์และ

ความสุขทีปะปนกั ่
นไป ไม่มใี ครทีพบเจอแต่ ่
เฉพาะเรืองเลวร ้
้ายหรือมีแต่ความทุกข ์แบบนี ตลอดไป
และในขณะเดียวกันก็ไม่มผ ่ อ้ งประสบพบเจอแต่ความสุขอยู่ตลอดเวลา
ี ใู ้ ดทีต
เพราะความทุกข ์และความสุขเป็ นของทีคู ่ ่กน
ั เสมอ ๆ

เปรียบเสมือนสภาวะต่างขัว้ ของขัวบวกและขั
้ ้
วลบ

ขึนอยู ้ ับมือกับสภาวะปัญหาทีก
่กบั ว่ามนุ ษย ์ทุกคนจะตังร ่ าลังเผชิญเกิดขึนนี ้ ได้ อ้ ย่างไร

ซึงตามหลั ่
กธรรมคาสังสอนของทางพระพุ ทธศาสนา
่ องค ์พระสัมมาสัมพุทธเจ ้าผูท้ รงเป็ นพระศาสดาเอก เป็ นผูก้ อ
ทีมี ้
่ ตังศาสนาพุ ่ อายุยน
ทธทีมี ื ยาวนาน

จากคาสังสอนของหลั ่
กธรรม อริยสัจ 4 ทีพระองค ์ทรงแสดงพระธรรมเทศนามาก่อน ปี พุทธศักราช
2,500 ปี เกียวกั ่ บความหมาย เรืองของหลั
่ กความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ อริยสัจ
4 สามารถทาความเข ้าใจได ้ไม่ยากนัก แต่ในบางครงแล ั้ ว้ สาหร ับมนุ ษย ์ปุถุชนทัว่ ๆไป

เรืองของการท ่ ยากที
าใจให ้ยอมร ับกับความเป็ นจริงเป็ นสิงที ่ สุ่ ด ทาให ้ไม่ว่าจะผ่านไปกียุ่ คกีสมั
่ ยแลว้

สาหร ับเรืองของหลั กอริยสัจนั้น
หลักอริยสัจ 4

หลักอริยสัจ 4 เป็ นหนึ่งในบทพระธรรม “ ธ ัมมจักกัปปว ัตตนสู ตร ”


พระธรรมเทศนาทีมี ่ คาสอนของทางเดินสายกลาง หรือ “มัชฌิมาปฏิปทา” หมายถึง
หนทางดับทุกข ์ หรือ มรรคมีองค ์ 8 และ อริยสัจ4 ประกอบด้วย ทุกข ์, สมุทยั , นิ โรธ,
มรรคแม้ว่าหลักธรรมอริยสัจ 4 จะมีเพียงองคป์ ระกอบหลัก 4 ประการท่านั้น แต่สาระสาคัญของอริยสัจ

4 คือเป็ นหลักธรรมทีควรละ

และหลักธรรมทีควรรู ้สามารถนามาศึกษาและประพฤติปฏิบตั ต ่
ิ ามในแนวทางของมรรคธรรมทีควรเจริ ญ

้ ยั
ทังนี ้ งเป็ นเส ้นทางทีพระพุ
่ ่
ทธองค ์ทรงตร ัสรู ้และนามาสังสอน เทศนา
เผยแพร่ให ้แก่พระสาวกและพุทธบริษท ั ทัง้ 4 (ภิกษุ, ภิกษุณี, อุบาสก, อุบาสิกา)
เป็ นหลักธรรมของความจริงอันประเสริฐ “อริยะสัจ 4” คือ แนวทางของการดับทุกข ์
การปฏิบตั ติ ามหลักธรรมอริยสัจ4 อยู่เป็ นประจาเสมอๆนั้น จะช่วยทาให ้ รู ้เข ้าใจ
เกิดสภาวะของการไตร่ตรองตามสถานการณ์จริงของหนทางดับทุกข ์ได ้

อริยสัจ 4 คือ

อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ อันเป็ นหลักคาสอนสาคัญของพระพุทธศาสนา


มีดงั นี 1. ทุกข ์ คือ ความจริงทีว่่ าด ้วยความทุกข ์ 2 สมุทยั คือ ความจริงทีว่่ าดว้ ยเหตุให ้เกิดทุกข ์ 3.นิ โรธ

คือ ความจริงทีว่่ าดว้ ยความดับทุกข ์ 4. มรรค คือความจริงทีว่่ าดว้ ยทางแห่งความดับทุกข ์ ( ข้อ 4 คือ
วิธีแก้ปญ ั หา ข้อ 3 คือ ผลทีร่ บ
ั หลังจากแก้ปญ ั หาเสร็จแล้ว –
เค้าแค่เรียงตามความเพราะของเสียงคล้องจอง - นะนาท )
อริยสัจสี่ ทุกข ์ คือ ” ความไม่สบายกาย, ความไม่สบายใจ,
การประสบกับสิงที ่ ไม่
่ ได้เป็ นดังใจหวั
่ ง“

ทุกข ์ คือ

ทุกข ์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ มนุ ษย ์ทุกคนไม่ว่าจะเป็ นเด็กหรือผูใ้ หญ่


ต่างก็มค ้ ้น ความทุกข ์จึงเกิดขึนกั
ี วามทุกข ์ดว้ ยกันทังนั ้ บใครก็ไดท้ ุกขณะ

เราจึงไม่ควรประมาทและพร ้อมทีจะเผชิ ญหน้ากับความจริงของทุกข ์นั้นๆ ความทุกข ์เกิดขึนที้ ไหน

และมีกระบวนการเกิดขึนได ้ อ้ ย่างไร

ขันธ ์ 5 คือ องค ์ประกอบของชีวต


ิ มี 5 ประการ
รู ป คือ ชีวต ้
ิ และร่างกายทังหลายทุ ้
กส่วนประกอบของชีวติ รวมถึงพฤติกรรมทังหมดของร่
างกายดว้ ย เช่น
่ ้
ลมหายใจเข ้าลมหายใจออกเป็ นกายอันหนึ งในกายทังหลาย ( ลมคือกาย กายคือลม
ไม่ต ้องการการพิจารณา )

สัญญา คือ ความนึกคิดสิงต่ ่ าง ๆ นอกจากกาย ( สมปฤดี ) ทังจั ้ บตอ้ งไดแ้ ละจับตอ้ งไม่ได ้
่ ความนึ กคิด “ รูป ”จะดับ “ สัญญา “ จะเกิด ความรู ้สึกนึ กคิดให ้เราจาว่ายัง จาอะไรได ้
เมือมี
้ เป็
ทังที ่ นรูปธรรมและนามธรรม ทีเกิ่ ดจากตา หู จมูก ลิน้ กาย และใจ ไดส้ ม ่ รส
ั ผัสกับ รูป เสียง กลิน
สัมผัส และนึ กคิด

่ นทัง้ ความสุข ความทุกข ์ หรือ ความรู ้สึกทีอาจยั


เวทนา คือ ความรู ้สึก ทีเป็ ่ งไม่รู ้ว่า สุข หรือทุกข ์

ทังทางกายและทางใจ โดยทัว่ ๆเป็ นความรู ้สึกทัว่ ๆ ไปทีจะท
่ าให ้เป็ นเหตุ ต่าง ๆ เช่น นัน ้ ย่อนมีเพียง 3
ประการ คือ

 ความรู ้สึกสุข หรือ ความพอใจอย่างหนึ่ ง เรียกว่า สุขเวทนา เช่น การร ับรู ้ข่าวดี ๆ เกิดความสุข
 ความรู ้สึกทุกข ์ หรือความไม่พอใจอย่าง เรียกว่า ทุกข ์เวทนา เช่น นั่งนาน ๆ เกิดความเมือย ้
 ความรู ้สึกไม่สุขไม่ทุกข ์ พอใจ และไม่พอใจ เรียกว่า อุเบกขาเวทนา เช่น
่ เกียวกั
การฟังข่าวทีไม่ ่ บตัวเรา
สังขาร คือ ส่วนประกอบส่วนหนึ่งในนามธรรรม คือ ความคิด การคิด มีหลาย ๆ อย่างรวมกัน
ทาให ้เกิดเป็ นผล อันใดอันหนึ่งขึน้ การทีจิ่ ตของคนเราคิดปรุงแต่งไปในทางทีดี ่ และในทางทีไม่ ่ ดี ตัวอย่าง
ความคิด คือ การคิดจะทา คิดจะพูด อาจจะทาให ้เกิดการกระทาทีไม่ ่ ได ้ หรือ การพูดไม่ได ้ ก็ได ้ ตามทีคิ
่ ด
่ นขันตอนที
ซึงเป็ ้ ่ อให ้เกิดพฤติกรรมทังทางดี
ก่ ้ และทางชว่ ั หรือ
เป็ นแรงจูงใจหรือกระตุน้ ผลักดันให ้คนเราทากระทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง

วิญญาณ คือ สภาวะการร ับรู ้ทางอารมณ์ ความรู ้แจ ้ง


ความรู ้สึกโดยธรรมชาติมากระทบประสาทสัมผัสทัง้ 5

 ตา หมายถึง การมองเห็น เมือมี ่ อะไรมากระทบทาง ตา ก็จะร ับรู ้ความรู ้สึกทาง ตา เรียกว่า


” จ ักขุวญ
ิ ญาณ “
 หู หมายถึง การได ้ยินเสียง เมือมี ่ อะไรมากระทบทาง หู ก็จะร ับรู ้ความรู ้สึกทาง หู เรียกว่า
” โสตวิญญาณ “
่ เมือมี
 จมู ก หมายถึง การร ับรู ้กลิน ่ อะไรมากระทบทาง จมูก ก็จะร ับรู ้ความรู ้สึกทาง จมูก เรียกว่า
” ฆานวิญญาณ “
 ลิน ้ หมายถึง การได ้ลิมรส
้ ่ อะไรมากระทบทาง ลิน้ ก็จะร ับรู ้ความรู ้สึกทาง ลิน้ เรียกว่า
เมือมี
” ฆานวิญญาณ “
 กาย หมายถึง การไดส ้ ม ่ อะไรมากระทบทาง กาย ก็จะร ับรู ้ความรู ้สึกทาง กาย เรียกว่า
ั ผัส เมือมี
” กายวิญญาณ “
 ใจ หมายถึง การนึ กคิด เมือมี ่ อะไรมากระทบทางใจ ก็จะรบั รู ้ความรู ้สึกทางใจ เรียกว่า
” มโนวิญญาณ “
่ เสีย เปรียบเสมือนไม่มี หู ( หูหนวก )
ต ัวอย่าง วิญญาณ เช่น เมือหู
ก็จะไม่มอ
ี ะไรมากระทบความรู ้สึกทางหู ข ้อดีคอ ื ก็จะไม่เกิดทุกข ์ทางโสตวิญญาณ เป็ นตน้
่ ไม่
ตา มองเห็ นสิงที ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจ ่ ดี
ตา มองเห็ นสิงที ่ เกิดความสุขทางใจ

หู ได้ยน ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจ


ิ เสียงทีไม่ หู ได้ยน ่ เกิดความสุขทางใจ
ิ เสียงทีดี
่ ไม่
จมูกได้กลินที ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจ ่ ดี
จมูกได้กลินที ่ เกิดความสุขทางใจ

ลิน้ ได้ลิมรสที
้ ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจ
ไม่ ลิน้ ได้ลิมรสที
้ ดี่ เกิดความสุขทางใจ

่ ไม่
กายได้สมั ผัสสิงที ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจและทางกาย ่ ดี
กายได้สมั ผัสสิงที ่ เกิดความสุขทางใจและ

่ ไม่
ใจได้นึ กคิดถึงสิงที ่ ดี เกิดความทุกข ์ทางใจ ่ ดี
ใจได้นึ กคิดถึงสิงที ่ เกิดความสุขทางใจ
่ ดขึน้
ทุกข ์ ยกตัวอย่างสาเหตุ และผลกระทบทีเกิ

ทุกข ์ คือ ” ความไม่สบายกาย, ความไม่สบายใจ, การประสบกับสิงที ่ ไม่


่ ได ้เป็ นดังใจหวั
่ ง”
่ มากระทบต่
จากสิงที ่ ออายตนะทัง้ 6 ประการ หรืออินทรียข
์ องร่างกายทัง้ 6 อย่าง คือ ตา, หู, จมูก, ลิน,


กาย,ใจ และความทุกข ์เป็ นผลของสมุทยั เป็ น ธรรมทีควรรู ้

ฉะนัน ้ ความสุขและความทุกข ์ของคนเรานั้นเกิดขึนที


้ กายและที
่ ่
ใจ
่ การกระทาเกิดขึนหรื
เมือมี ้ อมีพฤติกรรมเกิดขึน้ และเมือการกระท
่ านั้นผ่านไปแลว้
บางทีก็ทาให ้เกิดความสุขและความทุกข ์ไดเ้ ช่น จดจาการกระทานั้นได ้
่ บการกระทานัน
และได ้นึ กคิดเกียวกั ้ ทาให ้เกิดความไม่พอใจ เกิดความแคน้ ใจ เกิดความโศกเศร ้าใจ
เป็ นต ้น นี่เรียกว่า ความทุกข ์

สมุท ัย

ี่ าให ้เกิดทุกข ์ ได ้แก่ ตัณหา หรือความทะยานอยาก ซึงจ


สมุท ัย คือ สาเหตุทท ่ าแนกได ้ 3 ประการ 1.
กามตัณหา 2 ภวตัณหา และ 3 วิภวตัณหา

1. กามตณ ั หา ความทะยานอยากในกาม กาม หมายถึง รูป เสียง กลิน ่ รส สัมผัสที่ น่ าใคร่


น่ าปรารถนา น่ าพอใจ ความทะยานอยากในกาม จึงหมายถึง ความดินรนอยากเห็ ้ ่ ่ สวยงาม
นสิงที

อยากฟังเสียงทีไพเราะ ่ หอม
อยากดมกลินที ่ ้
อยากลิมรสที ่ อย อยากสัมผัสทีน่่ าใคร่น่า
อร่
ปรารถนา น่ าพอใจ
2. ภวตณ ้
ั หา ความทะยานอยากในความเป็ น คือ ดินรนอยากเป็ นบุคคลประเภทที่ ตนชอบ เช่น

นักร ้อง นักแสดง นักการเมือง หรืออยากไดเ้ ลือนยศเลื ่
อนต าแหน่ ง
3. วิภวตณ ั หา ความอยากในความไม่มห ้
ี รือไม่เป็ น คือ ดินรนอยากไม่ ่ เขาให
เป็ นสิที ่ ้
เป็ นหรืออยากจะพ้นไปจากตาแหน่ างทีเป็ ่ นอยู่แลว้ รวมทังอยากให
้ ่ ้นสิงนี
้สิงนั ่ หมดไป

่ ดขึน้
สมุทยั ตัวอย่าง สาเหตุ และผลกระทบทีเกิ

ี่ าให ้เกิดทุกข ์ ” เป็ นสาเหตุทท


สมุทยั คือ ” สาเหตุทท ี่ าให ้เกิดกิเลสขึน้
ทาให ้จิตใจและร่างกายเกิดความทุกข ์ จากสภาวะของตัวตัณหา ดังนั้นตัวสมุทยั ธรรมทีควรละ

จะทาให ้สู่หนทางแห่งการดับทุกข ์ไดง้ า่ ยมากยิงขึ ่ น้ ซึงเป็
่ น การแก ้ปัญหาแบบอริยสัจ-4
้ ้นของวิธด
เป็ นแนวทางเบืองต ี บ
ั ทุกข ์ คือจะตอ้ งประพฤติปฏิบตั ต ้ั
ิ งใจท าปหานะ นั่นคือ การละ
การขจัดตัวกิเลส การกาจัดตัณหา จากความร ัก ความโลภ ความโกรธ และความหลง

สมุทยั เป็ นเหตุของทุกข ์ ตอ้ งละปิ ดกันทางอบายและความอยาก ้ อ
จาก 3 ประการนี คื

 ้ อยากได ้กลินในสิ
มีรสอร่อยๆต่อลิน, ่ ่ มี
งที ่ ความหอมละมุนต่อจมูก,
่ ความไพเราะมากระทบต่อหู เป็ นตน้
อยากได ้ฟังเสียงทีมี
 ภวตณ ั หา คือ ความอยากได ้ ความอยากมี ความอยากเป็ น เช่น
การอยากได ้ยศไดต้ าแหน่ งหน้าทีการงานที่ สู่ งๆขึน,

การอยากมีคู่ชวี ต ่ ๆไม่เจ ้าชูนอกใจและร
ิ ทีดี ้ ักเดียวใจเดียว,
การอยากเป็ นมหาเศรษฐีทได ี่ ร้ ับเงินรางวัลพิเศษ เป็ นตน้
 วิภวตณั หา คือ ความไม่อยากได ้ ความไม่อยากมี ความไม่อยากเป็ น เช่น
การไม่อยากไดท้ างานวันหยุดเนื่องจากไม่ไดร้ ับค่าตอบแทน,
การไม่อยากมีคู่ชวี ต ่ ยจคร ้านในหน้าทีการท
ิ ทีเกี ่ างาน,
ี่ กนายจ ้างเลิกสัญญาจ ้างออกจากการทางาน เป็ นตน้
การไม่อยากเป็ นผูท้ ถู
นิ โรธ คือ

่ าไปสู่การดับทุกข ์
นิ โรธ คือ การดับทุกข ์ หมายถึง การดับ หรือการละตัณหา 3 ประการ หลักธรรมทีน
นิ โรธ 5 ดังนี ้

1. วิกขัมภนนิ โรธ ดับดว้ ยข่มไว ้ คือ การดับกิเลสของท่านผูบ้ าเพ็ญฌาน ถึง ปฐมฌานขึนไป ้


ย่อมข่มนิ วรณ์ไวไ้ ด ้ ตลอดเวลาทีอยู ่ ่ในฌานนั้น
2. ตทังคนิ โรธ ดับดว้ ยองค ์นั้นๆ คือ ดับกิเลสดว้ ยธรรมทีเป็
่ นคู่ปร ับ หรือธรรมทีตรงข
่ ้าม เช่น
่ ่
ดับสักกายทิฏฐิดว้ ยความรู ้ทีกาหนดแยกรูปนามออกได ้ เป็ นการดับชวคราวในกรณี
ั น้นๆ

3. สมุจเฉทนิ โรธ ดัยตัดขาด คือ ดับกิเลสเสร็จสินเด็ดขาด ดว้ ยโลกุตตรมรรค ในขณะแห่งมรรคนั้น

ชือ่ สมุจเฉทนิ โรธ
4. ปฏิปัสสัทธินิโรธ ดับดว้ ยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตตรมรรค ดับกิเลสเด็ดขาดไปแล้ว
บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเป็ นอันสงบระงับไปหมดแล้ว
ไม่ตอ้ งขวนขวายเพือดั ่ บอีกในขณะแห่งผลนั้น ชือ่ ปฏิปัสสัทธินิโรธ
5. นิ สสรณนิ โรธ ดับดว้ ยสลัดออกได ้ หรือดับดว้ ยปลอดโปร่งไป คือ ดับกิเลสเสร็จสินแล ้ ้ว
่ ้ ่ ้ ่
ดารงอยู่ในภาวะทีดับกิเลสแล ้วนัน ยังยืนตลอดไป ภาวะนันชือนิ สสรณนิ โรธไดแ้ ก่อมตธาตุ คือ
นิ พพาน
พุทธศาสนามีหลักคาสอนเกียวกั ่ ่
บเรืองความสุ ขมากมาย จุดหมายสูงสุด คือ นิ พพาน เป็ นบรมสุขทีสู่ งสุด
แบ่งได ้ดังนี ้ 2 อย่าง คือ สามิสสุข และ นิ รามิสสุข

สามิสสุข คือ ความสุขทางกายทีเกิ ่ ดจากวัตถุภายนอก เรียกว่า กามสุข


่ ดประสาทสัมผัสทัง้ 5 (ตา หู จมูก ลิน้ กาย) ทาให ้เกิดความพอใจ
คือความสุขทีเกิ

เป็ นความสุขของคนทัวไป ่ ดจากการกระทาความดีในดา้ นต่างๆ ทีส่ าคัญไดแ้ ก่
ทีเกิ

 ่ ดจากการมีทร ัพย ์ เรียกว่า อัตถิสุข


ความสุขทีเกิ
 ่ ดการใช ้จ่ายทร ัพย ์ เรียกว่า โภคสุข
ความสุขทีเกิ
 ่ ดจากการไม่มห
ความสุขทีเกิ ้ น เรียกว่า อนณสุข
ี นี สิ
่ ดจากการประพฤติในสิงที
 ความสุขทีเกิ ่ สุ่ จริต เรียกว่า อนวัชชสุข
่ องิ อาศัยวัตถุภายนอก เรียกว่า ความสุขทางใจ ความสุขประเภทนี ้
นิ รามิสสุข คือ ความสุขทีไม่

้ั ขนต
มีตงแต่ ้ั ่าสุดไปจนถึงสูงสุด คือ นิ พพาน

 นิ รามิสสุข ขันต ้ ่า คือ การไดร้ ับอบอุน


่ จากพ่อแม่ ความไม่มศ ี ต
ั รู ไม่มผ
ี เู ้ กลียดช ัง
มีผู ้ให ้ความร ักใคร่ นับถือ ยกย่องสรรเสริญ ไม่คด ิ ร ้ายต่อใคร ไม่มค ี วามวิตกกังวล ไม่หวาดระแวง
ไม่คด ิ ฟุ้ งซ่าน
 ้
นิ รามิสสุขขันกลาง ่
คือ ความอิมใจที ่ เ้ สียสละ การมีจต
ได ่
ิ ใจทีสงบ
 นิ รามิสสุขขันสู ้ งสุด คือ นิ พพาน

่ ดขึน้
นิ โรธ คืออะไร ยกตัวอย่างสาเหตุ และผลกระทบทีเกิ

นิ โรธ คือ ” การพ้นจากความทุกข ์ การดับจากความทุกข ์ ” การขจัดซึงตั ่ วกิเลส


หรือการละจากตัวตัณหาทัง้ 3 ประการทีมี่ อยู่ในสมุทยั ออกไปได ้สาเร็จ ซึงนิ
่ โรธคือผลของมรรค
และเป็ นหลักธรรมสาหร ับการบรรลุนั้นเอง

มรรค คือ

มรรค คือ หนทางนาไปสู่ความดับทุกข ์ อันไดแ้ ก่ อริยมรรค 8


ข ้อปฏิบตั ท
ิ ที่ าให ้พ้นจากความทุกข ์หรือปัญหาต่างๆ ไดแ้ ก่
1.บุพพนิ มต ิ ของมัชฌิมาปฏิปทา 2.อริยมรรคมีองค ์ 8 3.สติปัฏฐาน 4.ดรุณธรรม 6 5. กุลจิร ัฏฐิตธิ รรม
4 6.กุลจิร ัฏฐิตธิ รรม 4 7.มงคล 38

บุพพนิ มต ่ เป็
ิ แปลว่า สิงที ่ นเครืองหมายให
่ ่ บ่
ร้ ู ้ หมายถึง สิงที ่ งบอกล่วงหน้าก่อนทีอริ
่ ยมรรคมีองค ์ 8


จะเกิดขึนในตั
วของผู ้ปฏิบตั ิ บุพพนิ มต
ิ ของมัชฌิมาปฏิปทา มี 7 ประการ


1. การมีกลั ยาณมิตร คือ การมีเพือนที ่ ทแนะน
ดี ี่ าประโยชน์ เรียกว่า กัลยาณมิตตตา
2. ความถึงพร ้อมดว้ ยศีล คือ การมีวน ิ ัย มีระเบียบในชีวต
ิ ของตนและการอยู่รว่ มกันในสังคม เรียกว่า
สีลสัมปทา
3. ความถึงพร ้อมดว้ ยฉันทะ คือ ความพอใจใฝ่ ร ักในปัญญา ในจริยธรรม
ใฝ่ รู ้ในความจริงและใฝ่ ในความดี เรียกว่า ฉันทสัมปทา
4. ความถึงพร ้อมดว้ ยการทีจะฝึ่ กฝนพัฒนาตน คือ การรู ้จักฝึ กฝนพัฒนาตน เรียกว่าอัตตสัมปทา
5. ความถึงพร ้อมดว้ ยทิฏฐิ คือ การยึดถือ
่ อในหลักการและมีความเห็นความเข ้าใจพืนฐานที
เชือถื ้ ่
มองเห็ ่ งหลายตามเหตุ
นสิงทั ้ ผล เรียกว่า
ทิฏฐิสม ั ปทา
6. ความถึงพร ้อมดว้ ยความไม่ประมาท คือ มีความกระตือรือร ้นอยู่เสมอ เห็นคุณค่าของกาลเวลา

เห็นความเปลียนแปลงเป็ ่ กระตุ
นสิงที ่ ้นเตือนให ้เร่งร ัดการคน้ หาให ้เข ้าถึงความจริงหรือในการทาชี

วิตทีดีงามให ้สาเร็จ เรียกว่า อัปปมาทสัมปทา
่ กวิธี คิดเป็ น คิดอย่างมีระเบียบ รู ้จักคิดพิจารณา
7. การรู ้จักใช ้ความคิดทีถู
่ ามาใช ้พัฒนาตนให ้ก ้าวหน้ายิงๆขึ
เพือน ่ นไป
้ เรียกว่า โยนิ โสมนสิการ

อริยมรรคมีองค ์ 8 แปลว่า ทางอันประเสริฐทางนันมีทางเดียวแต่มอ ่ งต่อไปนี ้
ี งค ์ประกอบ 8 ประการ ซึงดั

1. สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ หมายถึงการรู ้การเห็นอริยสัจ 4 อย่างถูกตอ้ ง คือรู ้ว่า


ทุกข ์ไดแ้ ก่อะไรบ ้าง
และเป็ นทุกข ์อย่างไรรู ้ว่าตัณหาเป็ นเหตุให ้เกิดทุกข ์และตัณหานั้นควรละเสียรู ้ว่าทุกข ์จะดับไปเพร
าะว่าดับตัณหาและรู ้ว่าอริยมรรคเป็ นทางให ้ดับตัณหาได ้
2. สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ หรืความคิดชอบ คือ มีความคิดออกจากกาม ไม่หลงใหลกับรูป

เสียง กลินรส ่ พยาบาทปองร ้ายผูอ้ น
สัมผัส มีความคิดทีไม่ ื่ และมีความคิดทีจะไม่
่ ื่
เบียดเบียนผูอ้ น
3. สัมมาวาจา การพูดชอบ ไดแ้ ก่ การเวน้ จากการพูดเท็จ เวน้ จากการพูดส่อเสียด คือ
การพูดยุยงให ้เขาแตกกัน การเวน้ จากการพูดคาหยาบ และการพูดเพ้อเจ ้อ หรือการพูดไร ้สาระ
4. สัมมากัมมันตะ การกระทาชอบ ไดแ้ ก่ การเวน้ จากการฆ่าสัตว ์ การเวน้ จากการลักทร ัพย ์
การเวน้ จากการประพฤติผด ิ ในกาม หรือการเวน้ จากการกิจกรรมทางเพศ
5. สัมมาอาชีวะ การเลียงชี ้ พชอบ ไดแ้ ก่ การเวน้ มิจฉาชีพทีสุ่ จริตไม่ผดิ กฎหมายและศีลธรรม
6. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบหรือความเพียรชอบ
7. สัมมาสติ ระลึกชอบ ไดแ้ ก่ สติปัฏฐาน 4 ประกอบดว้ ย
้ กาหนดพิจารณากาย
1. การตังสติ
2. การตัง้ สติกาหนดพิจาณาเวทนา
้ กาหนดพิจารณาจิต
3. การตังสติ
4. การตังสติ้ พจิ ารณาธรรม
8. (สัมมาสมาธิ) ตังจิ ้ ตมันชอบ
่ ไดแ้ ก่ ฌาน 4 ประกอบดว้ ย
1. ปฐมฌาน
2. ทุตย ิ ฌาน
3. ตติยฌาน
4. จตุตถฌาน
สติปัฏฐาน 4 หมายถึง ข ้อปฏิบตั ท ี่ นทีตั
ิ เป็ ่ งแห่
้ งสติ หรือการตังสติ
้ กาหนดพิจารณาสิงต่่ างๆให ้รู ้เท่าทัน
ทาให ้มีสติสม ่
ั ปช ัญญะทีสมบู รณ์ และทาให ้ไม่ประมาทในการดาเนิ นชีวต ิ แบ่งออกเป็ น 4 ประการ

1. กายานุ ปัสสนา หมายถึง การตังสติ ้ กาหนดพิจารณากาย


่ ร้ ู ้เท่าทันและเข ้าใจตามความเป็ นจริงว่ากายนี ไม่
เพือให ้ มต ่ ้จริง ไม่ใช่ของเรา
ี วั ตนทีแท
เราบังคับไม่ได ้ ตอ้ งมีแก่ เจ็บ ตาย ไปตามกาลเวลา
2. เวทนานุ ปัสสนา หมายถึง การตังสติ ้ กาหนดพิจารณาเวทนา คือ ความสุข
ความทุกข ์หรือความเฉยๆ ทีเกิ ่ ดขึนในขณะใดขณะหนึ
้ ่งอย่างรู ้เท่าทันว่ามันเป็ นอย่างไร
3. จิตตานุ ปัสสนา หมายถึง การตังสติ ้ กาหนดพิจารณาจิต
เพือให่ ร้ ู ้เท่าทันถึงสภาพหรืออาการของจิตว่า จิตใจขณะนั้นเป็ นอย่างไร มีความขุน ่ มัว หอหู่
ฟุ้ งซ่าน เกียจคร ้าน หรือขยัน
4. ธัมมานุ ปัสสนา หมายถึง การตังสติ ้ กาหนดพิจารณาธรรมทีเป็ ่ นกุศลหรือเป็ นอกุศล
่ ดขึนกั
ซึงเกิ ้ บใจ ว่าเกิดขึนจากเหตุ
้ ปัจจัยอะไรบ ้าง และจะดับไปดว้ ยวิธใี ด

ดรุณธรรม 6 หมายถึง ธรรมทีเป็ นหนทางแห่งความสาเร็จ ความเจริญก ้าวหน้าแห่งชีวต ิ มี 6 ประการ
1. ร ักษาสุขภาพดีมใิ ห ้มีโรคทังจิ ้ ตและกาย
เพราะโรคภัยไข ้เจ็บเป็ นอุปสรรคทีคอยขั ่ ดขวางไม่ให ้ประสบความสาเร็จ
้ ่
ด ้วยเหตุนีจึงต ้องหมันบริหารกายให ้มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์และบริหารจิตให ้มีสุขภาพจิตทีดี ่
เรียกว่า อโรคยะ
2. มีระเบียบวินัย ไม่กอ ่ เวรภัยแก่ผอ ื่
ู ้ นและสั งคม รู ้จักให ้อภัย ไม่อาฆาตพยาบาท เรียกว่า ศีล
3. ได ้คนดีเป็ นแบบอย่าง คือ คนมีปัญญา มีคุณธรรม
(บัณฑิตหรือสัตบุรษ ุ )และยึดถือปฏิบตั ต ิ ามจะช่วยสนับสนุ นเกือกู ้ ลให ้การดาเนิ นชีวติ เจริญก ้าวห
น้า เรียกว่า พุทธานุ มตั ิ

4. ตังใจเรี ยนรู ้ใหจ้ ริง โดยการศึกษาคน้ ควา้ แสวงหาความรู ้ให ้มาก ให ้เชียวชาญ ่ เรียกว่า สุตะ
5. ทาแต่สงที ่ ่ ่
ิ ถูกตอ้ งดีงาม โดยการดารงมันอยู่ในสุจริต เรียกว่า ธรรมานุ วต ั ิ
่ ่
6. มีความขยันหมันเพียร การมีกาลังไม่ทอ้ ถอย ไม่ทอ้ แทเ้ ฉื อยชา เรียกว่า วิรยิ ะ
กุลจิร ัฏฐิตธ ิ รรม 4 หมายถึง ข ้อปฏิบตั ส ิ าหร ับร ักษาวงศ ์ตระกูลให ้ดารงอยู่ไดน้ าน มี 4 ประการ

1. การแสวงหาพัสดุทหายไป ี่ ่ จ่ าเป็ นในครอบคร ัว เช่น ปัจจัย 4


หมายถึง สิงของที

เมือหายไปหรื อหมดไป จะต ้องช่วยกันจัดหามาทดแทนสิงที ่ หายหรื
่ อหมดไป
2. การบูรณะซ่อมแซมพัสดุทเก่ ี่ าชารุด หมายถึง

สิงของทีจ่ าเป็ นเมือเกิ
่ ดชารุดเสียหายจะตอ้ งรู ้จักซ่อมแซมให ้ใช ้การได ้ เช่น ทีอยู
่ ่อาศัย อุปกรณ์

เครืองใช ้ต่างๆภายในบ ้าน เป็ นตน้
3. การรู ้จักประมาณในการใช ้จ่าย หมายถึง การรู ้จักประหยัด รู ้จักกินรู ้จักใช ้
ไม่ใช ้จ่ายเกินฐานะของตนเอง ไม่กอ ้ นให ้กับครอบคร ัว
่ หนี สิ

4. การตังคนมี ศลี ธรรมเป็ นพ่อบ ้านแม่เรือน หมายถึง การมีหวั หน้าครอบคร ัวทีเป็่ นคนดีมศ ี ล
ี ธรรม
ประกอบอาชีพสุจริต มีความขยันหมันเพี ่ ยรในการทางาน
ก็สามารถสืบทอดต่อวงศ ์ตระกูลให ้เจริญยังยื ่ นต่อไปได ้
กุศลกรรมบถ 10 หมายถึง ทางแห่งการทาความดี หรือกรรมดีทควรประพฤติ ี่ ปฏิบตั ิ มี 3 ทาง

 ทางกาย เรียกว่า กายกรรม มี 3 อย่าง


 เวน้ จากการฆ่าหรือเบียดเบียนสัตว ์โดยวิธก ี ารต่างๆ
 เวน ้ จากการลักทร ัพย ์ คือ ไม่ถอ ่ ่ ้าของเขาไม่ให ้โดยวิธก
ื เอาสิงของทีเจ ี ารต่างๆ
 เวน ้ จากประพฤติผด ิ ในสามี ภรรยา บุตร ธิดาของผูอ้ น ่
ื ตอ้ งรู ้จักเคารพสิทธิของกันและกัน
 ทางวาจา เรียกว่า วจีกรรม มี 4 ประการ
 เวน ้ จากการพูดเท็จ คือ การพูดในสิงที ่ เป็
่ นจริง
 เวน ้ จากการพูดส่อเสียด คือ การพูดทีส่่ งเสริมให ้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ให ้คนเห็น
 อกเห็นใจกันและกัน
 เวน ้ จากการพูดคาหยาบ คือ การพูดทีสุ่ ภาพ ไพเราะนุ่ มนวลต่อบุคคลทีเกี ่ ยวข
่ ้อง
 เวน ้ จากการพูดเพ้อเจอ้ คือ การพูดมีสาระประโยชน์ทงต่ ้ ั อตนเองและผูอ้ น ื ่
 ทางใจ เรียกว่า มโนกรรม มี 3 ประการ
 ไม่โลภอยากได ้ของผู ้อืน ่ คือ การไม่เพ่งเล็งทีจะเอาทร
่ ัพยข ่
์ องคนอืนในทางทุ จริต
 ไม่พยาบาทปองร ้ายผูอ ้ น ่
ื คือ การไม่ผูกใจเจ็บ ไม่จองเวร ไม่คด ิ อาฆาตลา้ งแคน้
 ไม่เห็นผิดจากคลองธรรม คือ การมีความเห็นถูกตอ ้ งตามเหตุตามผล เช่น
เห็นว่ามารเป็ นผูม้ พี ระคุณจริง กฎแห่งกรรมมีจริง เป็ นตน้

มงคล 38 มงคล คือ สิงทีทาให ้ชีวต่ ิ โชคดี หมายถึง ธรรมทีน ่ าความสุขและความเจริญมาให ้แก่ผป ู ้ ฏิบตั ิ
มีดงั นี ้
การประพฤติธรรม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การปฏิบตั ธิ รรม หมายถึง
การปฏิบตั ต
ิ นให ้อยู่ในกรอบของความถูกตอ้ งและความดีงาม

เพือความสงบสุขและความเจริญของคนในสังคม ไดแ้ ก่

เบญจธรรม 5

1. เมตตากรุณา คือ การมีความร ักใคร่เพือนมนุ ่ ่


ษย ์ ช่วยเหลือเท่าทีตนท าได ้
2. สัมมาอาชีวะ คือการประกอบอาชีพทีสุ่ จริต
3. กามสังวร คือ การยินดีเฉพาะในคู่ครองของตน
4. สัจจะ คือ การพูดแต่ความจริง
5. สติสมั ปช ัญญะ คือ การมีสติรู ้ตัวอยู่เสมอว่าอะไรควร อะไรไม่ควร
เบญจศีล 5

1. เว ้นจากการทาลายชีวต ิ สัตว ์
2. เว ้นจากการลักทร ัพย ์โดยวิธกี ารต่างๆ
3. เว ้นจากการประพฤติผด ิ ในสามี ภรรยา บุตร ธิดาของผูอ้ น ื่
4. เว ้นจากการพูดเท็จ
5. เว ้นจากาการน้าเมาและสิงเสพติ
่ ้
ดทังหลาย
การงดเว้นจากความชว่ ั หมายถึง การไม่กระทาสิงที ่ ไม่
่ ดี สิงที
่ ท ่ าให ้จิตใจเศร ้าหมองเดือดร ้อน

มีผลเป็ นทุกข ์ทังทางกาย วาจาและใจ โดยอกุศลกรรมบถ 10 ต ้นตอแห่งความชว่ ั เรียกว่าอกุศลมูล มี 3
ประการ

1. โลภะ คือ ความอยากไดโ้ ดยมิชอบ หรือความอยากไดเ้ กินพอดี เรียกว่า ความโลภ


2. โทสะ คือ ความโกรธแคน้ พยาบาท อิจฉาริษยา
ื่
คิดแต่อยากให ้ผูอ้ นประสบเคราะห ์กรรมประสบความหายนะ เรียกว่า ความโกรธ
3. โมหะ คือ ความไม่รู ้เหตุรู ้ผล ขาดปัญญาในการพิจารณา เรียกว่า ความหลง
เว้นจากการดืมน ่ ้ าเมา หมายถึง การไม่เข ้าไปข ้องแวะหรือไม่หวนกลับไปหาสุราและของมึนเมา

สิงเสพติดทุกชนิ ด ไม่ว่าโดยวิธใี ดก็ตาม เพราะ

 ทาให ้เสียทร ัพย ์


 ทาให ้เกิดโรคหลายอย่าง
 ทาให ้เกิดการทะเลาะวิวาท
 ทาให ้ขาดความละอาย
 ่ ยง
ทาให ้เสียชือเสี
 ่
ทาให ้สติปัญญาเสือมถอยลง
การดืมน่ าเมานั
้ ้ าให ้เกิดความสุขไดบ้ ้างสาหรบั คนทีติ
นท ่ ดแต่เป็ นความสุขหลอกๆ บนความทุกข ์
น้าเมาทาให ้เพลิดเพลินได ้ แต่เป็ นการเพลิดเพลินในเรืองเศร
่ ้ งไม่ควรแก ้ปัญหาใดๆดว้ ยนาเมา
้า ดังนันจึ ้
่ มน
เพราะเมือดื ่ าเมาแล
้ ้วจะให ้ขาดสติ ขาดความยังคิ้ ด เป็ นหนทางทีจะน ่ าไปสู่การทาความชว่ ั

่ ดขึน้
มรรค คืออะไร ยกตัวอย่างสาเหตุ และผลกระทบทีเกิ
มรรค คือ ” วิธพี น้ ทุกข ์ วิธก
ี ารดับทุกข ์ หนทางของการดับทุกข ์ ” มรรคในอริยสัจ4

คือเป็ นสาเหตุของนิ โรธ เป็ นหลักธรรมทีควรเจริ ญตามหลักอริยสัจ 4 สาหรบั มรรค
ื ยกอีกอย่างหนึ งว่า อริยมรรคมีองค ์แปด เนื่องจากมรรคมีองค ์ประกอบด ้วยของ มรรค ๘ ประการ

มีชอเรี ่
่ นเส ้นทางแห่งการพ้นทุกข ์ มีศล
ด ้วยกัน ทีเป็ ี มีสมาธิ และมีปัญญา

มรรค 8 คือ

มรรคมีองค ์8 อยู่ในหลักธรรม “ ทุกขนิ โรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ” คือ ทางสายกลาง


บนเส ้นทางของมนุ ษย ์ทุกชีวต ่ ตั
ิ การเกิดความเสียใจ การสูญเสีย การจากลา การไม่เป็ นไปตามสิงที ่ งใจไว
้ ้
่ ้ ่ ้ ้ ้
สิงเหล่านี คือ ความทุกข ์ทีเกิดขึนมาดว้ ยกันทังสินการเข ้าใจมรรคมีองค ์แปด คือ
การเข ้าใจหนทางสู่การพ้นทุกข ์ หรือวิธด ั ทุกข ์ นั้นเอง
ี บ


ทางสายกลางทีปรากฏในข ้อคาสอนของพระพุทธศาสนานั้นคือ “มรรคมีองค ์ 8” หรือ “อัฏฐังคิกมรรค”
อันประกอบดว้ ย

1. สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นถูกตอ้ ง


2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความคิดถูกตอ้ ง
3. สัมมาวาจา คือ มีการใช ้วาจา คาพูดอย่างถูกตอ้ ง
4. สัมมากัมมันตะ คือ มีการแสดงออกทางกายอย่างถูกตอ้ ง
5. ้ พทีถู
สัมมาอาชีวะ คือ มีการเลียงชี ่ กตอ้ ง
6. สัมมาวายามะ คือ มีความเพียรพยายามทีถู ่ กตอ้ ง
7. สัมมาสติ คือ มีสติรอบคอบ มีสติทถู ี่ กตอ้ ง
8. ้ นอย่

สัมมาสมาธิ คือ มีสมาธิ จิตตังมั างถูกตอ้ ง


อริยสัจ คือ หลักธรรมคาสังสอนของพระสั มมาสัมพุทธเจ ้าทียั่ งคงเป็ นอมตะ
ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์น้น ่
ั การทีคนเรามีความทุกข ์เกิดขึนอยู้ ่เป็ นประจาแบบสม่าเสมอ ๆ

ต ้องหาต ้นเหตุแห่งความทุกข ์ หรือทีมาของความทุ ้
กข ์นันๆที
ได่ เ้ ข ้ามากระทบจิตใจ
่ าไปสู่หนทางหรือแนวทางของการดับทุกข ์ ทีเรี
เพือน ่ ยกกันว่า มรรคมีองค ์ 8

สรุป อริยสัจ 4

สรุป อริยสัจ 4

เป็ นหลักธรรมทีพระพุ ่
ทธเจ ้าทรงคน้ พบเป็ นหลักเกียวกั
บความจริงอันประเสริฐทีน ่ าไปสู่การดับทุกข ์ประกอ

บไปด ้วยความจริง 4 ประการตามชือของหลั กธรรม คือ 1 ทุกข ์ 2 สมุทยั 3 นิ โรธและ 4มรรค โดย

1.ทุกข ์ก็คอ ่ อ้ งกาหนดรู ้เราจึงตอ้ งรู ้ความทุกข ์


ื ความไม่สบายกายไม่สบายใจความโศกเศร ้าเป็ นภาวะทีจะต

ของเราว่าเราไม่สบายใจเรืองอะไร

2 สมุทยั คือธรรมทีควรละมี ี่ าให ้เกิดความทุกข ์ไดแ้ ก่ปัญหาซึงมี
ความหมายว่าสาเหตุทท ่ อยู่ 3 ประการคือ

 1กามตัณหา คือ ความอยากไดอ้ ยากมี


 2 ภาวตัณญหา คือ ความอยากเป็ น
 3 วิภาวตัณหา คือ ความไม่อยากเป็ นเป็ นสภาวะทีต ่ ้องร ักเพราะว่ายิงท
่ ามันก็ยงทุ
ิ ่ กข ์

3 นิ โรธคือการดับทุกข ์ คือสภาวะทีความทุ ้
กข ์ให ้หมดสินไปแล ว้ เกิดจากการปฏิบตั ต
ิ ามมรรค 8

ประการเป็ นสภาวะทีต ้องบรรลุคอ ่
ื ธรรมทีควรบรรลุ

4.มาร ์ค คือข ้อปฏิบตั ห ่ นเหตุให ้ถึงความดับทุกข ์ซึงมี


ิ รือแนวทางทีเป็ ่ อยู่ 8
ประการเป็ นสภาวะทีต ่ ้องเจริญหรือทาให ้มีขนมาก็
ึ้ คอ ่
ื เป็ นหลักธรรมทีเราควรเจริ


มีปัญญา หลักธรรมทีสามารถช่ วยยุตถ
ิ อนจากกิเลสและตณ
ั หาได้ คือ

 ่
มิจฉาทิฏฐิ เช่น มีความเชือในคติ ธรรมทีว่่ า “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได ้ผลเช่นนั้น
ผู ้ทากรรมดี ย่อมไดร้ ับผลดี และผูท้ ากรรมชว่ ั ย่อมไดร้ ับผลชว”
่ั
 สัมมาสังกัปปะ หมายถึง ” การดาริชอบ การมีความตังใจท ้ ่ ดี่ งาม ”
าในสิงที
การทาในสิงที่ ชอบธรรม
่ การคิดไปในทางสุจริต เช่น การตังใจท้ างาน
่ ่
ทาในสิงทีชอบคือการไม่ไปทางานสายและไม่เลิกทางานก่อนเวลา

และมีความเลือมใสศร ัทธาในการทาความดีอยู่เสมอ
มีศล ่
ี หลักธรรมทีสามารถช่วยข่มจิตใจจากสภาวะของกิเลสได้ คือ

 มมาวาจา หมายถึง ” การเจรจาในการชอบ การกล่าวคาจริงในทางสุจริต ”



หลีกเลียงหรื อละเว ้นต่อถอ้ ยคาอันเป็ นอกุศลทางวจีทุจริต เช่น คาหยาบคาย, คาส่อเสียด,
คาเพ้อเจอ้ , คาโกหก

เปลียนเป็ นการเลือกใช ้วาจาถอ้ ยคาทีไม่ ่ มโี ทษทังต่
้ อตัวของผูพ ้ ูดและต่อตัวของผูร้ ับฟัง

ควรเป็ นวาจาทีอ่อนหวาน, เป็ นวาจาทีมีจต ่ ิ เมตตาเมือได ้กล่าววาจาถ ้อยคานั้นออกไปแล ้ว

จะต ้องทาให ้เกิดเป็ นประโยชน์, เป็ นวาจาทีกล่ ่ าวแลว้ ถูกกาลเทศะ,
และเป็ นวาจาทีเป็ ่ นความจริงไม่เสริมหรือปรุงแต่งถอ้ ยคาเรืองราว ่
จนทาให ้ผูร้ ับฟังเกิดการตีความทีมี ่ ในลักษณะเป็ นไปในทิศทางทีผิ ่ ดเพียนได
้ ้
 สัมมากัมมันตะ หมายถึง ” การละเว้นจาก กายกรรมทางกาย 3 ประการ ” คือการไม่ฆ่าสัตว ์,
การไม่ลก ั ทร ัพย ์, และการไม่ประพฤติผด ่ ่ในศีลข ้อที่ 1 – ศีลข ้อที่ 3
ิ ในกาม ซึงอยู
 สัมมาอาชีวะ หมายถึง ” การประกอบสัมมาอาชีพในทางทีชอบ ่
อาชีพทีเป็่ นไปในทางสุจริต “และการทามาหากินเลียงอาชี ้ ่
พในทางทีชอบธรรม
ไม่ประกอบอาชีพทีผิ ่ ดกฎหมายของบ ้านเมือง ไม่ประกอบสัมมาอาชีพทีผิ ่ ดต่อศีลธรรม
แม้ว่าจะเป็ นอาชีพทีมี ่ รายได ้ดีก็ตามและการทางานไม่เหน็ ดเหนื่อย เช่น การคา้ ขายยาเสพติด
เป็ นตน้
 สัมมาวายามะ หมายถึง ” ความเพียรความพยายามชอบ

การตังใจในการบ าเพ็ญเพียรต่อการสร ้างความดี ” การทาจิตใจให ้มันคง ่
่ ช
ไม่พยายามมัวเมาลุ่มหลงไปในสิงที ่ วหรื
่ ั อสิงที
่ ไม่
่ ดี เช่น การคบเพือนพากั
่ นไปทางผิด,
การยกพวกต่างสถาบันตีกน ั เป็ นตน้
มีสมาธิ หลักธรรมช่วยละกิเลสขจัดตณ
ั หาได้ คือ

 สัมมาสติ หมายถึง ” การมีสติในการระลึกชอบ การกระทาทุกสิงด้ ่ วยจิตสานึ กเสมอ ”


ไม่เผลอพลาดทา คิดและไตร่ตรองให ้รอบครอบก่อนลงมือปฏิบตั ิ
หรือการกระทาตามอารมณ์ดว้ ยความพึงพอใจของตนเอง

เมือได ่ ้ทาลงไป เป็ นสิงที
้ทาแล ้วเกิดความสะใจทีได ่ สามารถเกิ
่ ดความผิดพลาดไดอ้ ย่างง่ายๆ
เพราะเกิดจากการทาอะไรดว้ ยอาการขาดสติยบ ้ งใจ
ั ยังช ่ั
ทาตามใจตนเองเพียงแค่อารมณ์เพียงชววู ่ ั บ สามารถก่อให ้เกิดปัญหาต่อตนเอง ต่อผูอ้ น
ื่
ต่อครอบคร ัวและต่อสังคมไดอ้ ย่างมากมาย
เพราะทุกคนทีท ่ าทุกอย่างในการดาเนินชีวต ิ ประจาวันดว้ ยสติแล ้ว จะทาให ้ “สติมาปัญญาเกิด
สติเตลิดเกิดปัญหา”
 สัมมาสมาธิ หมายถึง ” การควบคุมจิตให ้มีความแน่ วแน่ มีจต ิ ทีมั่ นคง
่ ิ ทีตั่ งมั
การมีจต ้ นชอบ
่ ”
ไม่เกิดความฟุ้ งซ่านต่อสิงต่ ่ างๆทีมากระทบตา
่ หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
ทาให ้เกิดอารมณ์แปรปรวนไดอ้ ย่างง่ายๆ
จนทาให ้แสดงพฤติกรรมอันน่ าร ังเกียจทีไม่ ่ เหมาะสมออกไปไดอ้ ย่างง่ายได ้
ต ้องใช ้สมาธิเป็ นตัวช่วยในการป้ องกัน ตา้ นทานต่อสิงที ่ ท ่ าให ้เกิดอารมณ์เพ้อเจอ้ ความมัวเมา
และความเผลอฝันในเหตุการณ์ทผ่ ี่ านไปแลว้ หรือเหตุการณ์ทยั ี่ งคงมาไม่ถงึ
 มนท ่ ั าทานก่อนร ับประทานอาหาร คือการใส่บาตรหรือการบริจาคในทุกๆวัน

สละทร ัพย ์หรือสิงของเพี ่
ยงเล็กๆน้อยเพือการละความตระหนี ่ทีมี
่ อยู่ในจิตใจ
หรือการให ้ความรู ้เป็ นทาน ด ้วยการอธิบาย การบรรยาย
ตลอดจนการช่วยเหลือผูอ้ นเท่ ื่ าทีความสามารถที
่ ่ าได ้และตอ้ งไม่ทาให ้ตนเองเป็ นผูท้ มี
จะท ี่ ความเ
ดือนร ้อน
 ่
ร ักษาศีล หลีกเลียงการท าบาปหรือสิงที ่ เป็่ นอกุศลกรรมทางดา้ นกายกรรม ทางดา้ นวจีกรรม
และทางดา้ นมโนกรรม การตังใจมั ้ ่
นในการถื อศีลให ้ครบทัง้ 5
ข ้อ ไม่กระทาความชวทั ่ ั งเจตนาและไม่
้ เจตนา
มีความอดทนอดกลันต่ ้ อสิงที ่ เป็ ่ นทางแห่งความเสือม ่

ทีจะเข ้ามามีผลและมีอท ิ ธิพลต่อการกระทาทางกาย ทางวาจา และทางใจ
 การฝึ กสติและการก่อให้เกิดปั ญญา จากการเจริญภาวนา เป็ นการสร ้างความดี
มีจต ่ วแน่ ในการดาเนินชีวต
ิ ใจทีแน่ ิ
และทาให ้สามารถเกิดปัญญาในการหาทางออกของปัญหาตามแนวทางอริยสัจ-4

เมือพบกั บสถานการณ์ทวิี่ กฤตหรือเลวร ้าย เข ้าใจในหลักของเหตุและหลักของผลมากยิงขึ
่ น้

เป็ นการป้ องการและปิ ดกันทางอบายมุข อันจะนามาซึงความเสื ่
อมของชีวติ ได ้

อริยสัจ-4 ทุกข ์ สมุทยั นิ โรธ มรรค หลักธรรม ทีว่่ าดว้ ยความจริงมีเหตุและผลเป็ นเครืองรองร
่ ับ

เป็ นธรรมะที ช่วยข่มจิตใจ ละกิเลสกาจัดตัณหา และสามารถยุตถ ิ อนกิเลสตัณหาไดอ้ ย่างแยบคาย
้ ่
หลักธรรมนี เป็ นสัจธรรมทีอยู่คู่กบั พระพุทธศาสนามาตลอด
สามารถนามาใช ้ประยุกต ์ไดก้ บั ทุกๆเหตุการณ์ในการดาเนิ นชีวต ิ ประจาวัน

ส่วนหนึ งเป็ นการช่วยทาให ้ปุถุชนไดม้ ค ่ ้ามากระทบและความสุขทีเดิ
ี วามเข ้าใจถึงความทุกข ์ทีเข ่ นทางเข ้า
มาทักทายในชีวิตไดอ้ ย่างง่ายดายมากยิงขึ ่ น้
่ วนเป็ นความจริงทัง้ 4 ประการ
ในหลักธรรมอริยสัจ 4 คือ ธรรมะทีล้

การปฏิบตั ติ ามไตรสิกขา 3 ของธรรมะหลักธรรมแห่งการพ้นจากความทุกข ์ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา


่ ดประเภทและสรุปจากทีมาตามแนวทางขององค
ทีจั ่ ์สัมมาสัมพุทธเจ ้านั้นคือ อริยมรรค 8
ประการ สามารถนามาประยุกต ์ให ้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆได ้
่ นแนวทางในการแก ้ไขปัญหา ไม่กระทาผิดพลาด และเป็ นเครืองคอยเตื
เพือเป็ ่ อนสติ
่ ดี
ปร ับแต่งจิตใจไม่ให ้ตกล่วงไปในทางทีไม่

เพราะตามธรรมดาของสรรพสิง่ ย่อมถูกช ักจูงให ้ทาในสิงที ่ ไม่


่ ดไี ดง้ า่ ยดายกว่า
เนื่องจากไม่ต ้องอาศัยความพยายามหรือความมุ่งมันในการท ่ า แต่การทาความดีเป็ นเสมือนสิงที ่ ต่ ้องใช ้เ
วลา ใช ้ความตังใจ ้ ในบ ้างครงต้ั อ้ งรู ้สึกถึงการฝื นในตัวเอง ฝื นความรู ้สึก หรือเป็ นสิงที
่ ไม่
่ อยากทา
เพราะทาไปแล้วอาจจะรู ้สึกว่าไม่ได ้ก่อให ้เกิดประโยชน์หรือยังไม่เห็นคุณค่าของสิงนั ่ ้น ๆ

แต่สาหร ับคาสังสอนของอริ ่
ยสัจ-4 คือหลักจริงแทแ้ น่ นอน ไม่มเี ปลียนแปลง
ไม่ว่าจะผ่านไปกียุ่ คหรือกีสมั
่ ยแลว้ ก็ตาม
่ นดุจดังเพชรแท
หลักธรรมทีเป็ ่ ก้ ็ยงั คงทนถาวรในความเป็ นเพชรแทต้ ลอดไป

ตัวอย่างการแก้ปัญหาโดยใช้ อริยสัจ ๔ ในชีวต


ิ ประจาว ัน

ตวั อย่างที่ ๑

 ทุกข ์ (ผล) พิจารณารู ้ถึงการเดินข ้ามถนนแล้วถูกจักรยานชน


 สมุทย ั (เหตุ) พิจารณารู ้ถึงสาเหตุว่าไม่ระวังให ้ดี
 นิ โรธ (ผล) พิจารณารู ้ถึงการมองซ ้ายมองขวาก่อนขามถนนอย่างปลอดภัย
 มรรค (เหตุ) ี่
พิจารณารู ้ถึงสาเหตุทจะเดินข ้ามถนนอย่างปลอดภัย คือ มีสติและ
ระมัดระวังขณะเดิน
ตวั อย่างที่ ๒

 ทุกข ์ (ผล) หน้าโทรม ขอบตาดา ถูกเพือนล ่ อ้


 สมุทยั (เหตุ) นอนตึก ไม่ดูแลสุขภาพ
 นิ โรธ (ผล) หุน
่ ดี ร่างกายแข็งแรง ผิดพรรณดี
 มรรค (เหตุ) พยายามเข ้านอนเร็ว ออกกาลังกายสม่าเสมอ ทานอาหารมีประโยชน์
ข้อสรุปอริยสัจ 4 ข้อควร ปฏิบต ่
ั ิ ทีพอดี
ของทางสายกลาง

คือเป็ นข ้อควรประพฤติและปฏิบตั ท ี่
ิ พอดี ของทางสายกลางไม่หย่อนหรือหนักมากจนเกินไป
่ ่
ซึงสามารถทีจะเป็ นวิธกี ารนาไปสู่เสน้ ทางของความหลุดพ้นได ้
เป็ นการตัดพบตัดชาติของการเกิดในวงจรเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร
นั่นคือการทีไม่
่ มที างกลับชาติมาเกิดใหม่ได ้ในทีสุ่ ด แต่สาหร ับมนุ ษย ์ปุถุชนทีนั
่ บถือศาสนาพุทธแลว้
เพียงการนาหลักธรรมในกรอบอริยสัจ-4 มาประยุกต ์ใช ้ในชีวต ิ ประจาวันของการทางาน
ของการใช ้ชีวต ่ งคงมีลมหายใจอยู่ และของการดารงอยู่รว่ มกันในสังคมไดอ้ ย่างสงบสุข
ิ ในทุกๆวันทียั
่ั
ตลอดจนการเร่งสร ้างทาความเพียรในการทาความดีไม่กระทาความชวตามแนวทางของมรรคแปด
สะสมกุศลกรรมธรรมอันดี ดา้ นทาน ด ้านศีล และดา้ นการเจริญภาวนา

You might also like