You are on page 1of 4

วิชาธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๖

เรือ
่ งตอบคาถามท้ายบทที่ ๑

จัดทาโดย
พระมหาเมธี ขตฺตปญฺโญ
ชัน
้ ปี ที่ ๓ คณะพุทธศาสตร์ สาขาศาสนา

เสนอ
พระครูธรรมศาสนโฆสิต ดร.
อาจารย์สอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบตั ิ ๖
รหัสรายวิชา ๐๐๐ ๔๔๖

หน่ วยวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณรา
ชวิทยาลัย
วัดหงษ์ ประดิษฐาราม อาเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา
คาถามท้ายบทที่ ๑
๑. ก า ย า นุ ปั ส ส น า ส ติ ปั ฏ ฐ า น
มีหลักการและวิธีการปฏิบตั อ ิ ย่างไร ?
ตอบ ก า ย า นุ ปั ส ส น า ส ติ ปั ฏ ฐ า น -
การมีสติไม่ลืมว่ากายเป็ นแค่ทีร่ วมของธาตุ ๔ ได้แก่
ดิ น น้ า ล ม ไ ฟ ม า ป ร ะ ชุ ม ร ว ม กั น เ ป็ น ร่ า ง ก า ย
ไ ม่ ม อ ง ก า ย ด้ ว ย ค ว า ม เ ป็ น ค น สั ต ว์ เ ร า เ ข า
แ ต่ ม อ ง แ ย ก เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม ห นึ่ ง ๆ
อาศัยเหตุปจั จัยมากมายเกิดขึน ้ เป็ นวงจรปฏิจจสมุปบา
ท ก็ จ ะเห็ นความเกิดดับ และเห็ นว่า กายล้วนไม่เทีย่ ง
เป็ นทุกข์ และเป็ นอนัตตา

๒. จิตตานุปสั สนาสติปฏ
ั ฐานต่างกันอย่างไรกับธัมมา
นุปสั สนาสติปฏ ั ฐาน ?
ตอบ ต่างกันเพราะกายานุปสั สนาสติปฏ ั ฐาน -
การมีสติไม่ลืมว่ากายเป็ นแค่ทรี่ วมของธาตุ ๔ ได้แก่
ดิน น้า ลม ไฟมาประชุมรวมกันเป็ นร่างกาย
ไม่มองกายด้วยความเป็ นคน สัตว์ เรา เขา
แต่มองแยกเป็ น รูปธรรมหนึ่งๆ
อาศัยเหตุปจั จัยมากมายเกิดขึน้ เป็ นวงจรปฏิจจสมุปบา
ท ก็จะเห็นความเกิดดับ และเห็นว่ากายล้วนไม่เทีย่ ง
เป็ นทุกข์ และเป็ นอนัตตา
ส่วนธัมมานุปสั สนาสติปฏ ั ฐาน -
การมีสติไม่ลืมว่าโลกิยธรรมทัง้ ปวงเกิดจากเหตุปจั จัยม
ากมาย ไม่มองด้วยความเป็ นคน สัตว์ เรา เขา
แต่มองเป็ นรูปธรรมและนามธรรม
้ เป็ นวงจรปฏิจจสมุปบ
ทีอ่ าศัยเหตุปจั จัยมากมายเกิดขึน
าทก็จะเห็นความเกิดดับ
และเห็นว่าธรรมทีเ่ กิดจากเหตุปจั จัยล้วนไม่เทีย่ ง
เป็ นทุกข์ และเป็ นอนัตตา

๓. การปฏิบตั ส ิ ติปฏ ั ฐาน ๔


ให้ประโยชน์อย่างไรในชีวต ิ ประจาวัน ?
ตอบ การปฏิ บ ต ั ิ ส ติ ป ั ฏ ฐาน 4-ในชี วิ ต ประจ าวัน
ทั้ ง วั น ทั้ ง คื น ไ ม่ ว่ า ยื น เ ดิ น นั่ ง น อ น
ท าอะไรก็ ต ามจิต จะหมุ น อยู่ใ นฐานหนึ่ ง ฐานใดใน๔
ฐานนี้ ไม่ก ายก็ เ วทนา ไม่เ วทนาก็ จิต ไม่จิต ก็ ธ รรม
ทุ ก ฐ า น ส รุ ป ล ง ที่ อ นิ จ จั ง - ทุ ก ขั ง - อ นั ต ต า คื อ
การเกิดขึ้น-ตัง้ อยู่(ชั่วขณะ)-แล้วดับไปในทีส ่ ุดทัง้ นั้น
ย ก เ ว้ น เ พี ย ง " จิ ต กั บ นิ พ พ า น " เ ท่ า นี้ เ อ ง ดู ก า ย
ดู เ วทนาคื อ ดู ข องหยาบๆในกายเรา มองเห็ น ได้
รู้ สึ ก ไ ด้ ง่ า ย ๆ ดู จิ ต ดู ธ ร ร ม คื อ
ดู ข อ ง ล ะ เ อี ย ด ใ น จิ ต ที่ ม อ ง ไ ม่ เ ห็ น
ลึ ก ซึ้ ง ต ก ล ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ส ติ ปั ฏ ฐ า น 4 -
ก็ ดูแ ค่ก ายกับ จิต เท่า นั้นเอง(ดู เพ่ง ลิ้นปี่ ที่เ ดีย วทัง้ ๔)
ฐานไม่ตอ ้ งไปดูอะไรข้างนอกกายเลย

๔. สติกบั สัมปชัญญะ
ทาหน้าทีต ่ า่ งกันอย่างไรในสติปฏ ั ฐาน ๔ ?
ตอบ ขณะที่ส ติป ัฏ ฐานเกิด ขณะนั้นมีส ติส ม ั ปชัญ ญะ
สัมปชัญญะเป็ นชื่อของปัญญาขัน ้ สมถภาวนาและวิปส ั
ส น า ภ า ว น า
ข ณ ะ ที่ จิ ต เ ป็ นไ ป กับ ส ม ถ ภ า ว น า แ ล ะ ส ติ ป ั ฏ ฐ าน
ขณะนั้น ชื่ อ ว่ า มี ส ติ แ ละสัม ปชัญ ญะ ปัญ ญาขั้น ทาน
ศีลไม่ใช้คาว่าสัมปชัญญะในบางแห่งทรงแสดงแยกว่า
ส ติ สั ม ป ชั ญ ญ ะ เ ป็ น อ ย่ า ง ห นึ่ ง
สติ ป ัฏ ฐานเป็ นอย่ า งหนึ่ ง ดัง ข้ อ ความในตัณ หาสู ต ร
สติ ห มายถึ ง ความระลึ ก ที่เ ป็ นไปในกุ ศ ลขั้น ทาน
ขั้ น ศี ล
ประกอบด้ว ยปัญ ญาก็ ไ ด้ไ ม่ประกอบด้ว ยปัญญาก็ ได้
ส่วนสติสมั ปชัญญะ เช่น ขณะทีส่ ติปฎ ั ฐานเกิด

You might also like