You are on page 1of 45

1

สรุปความหาระ ๑๖ ในเนตติปกรณ์
๑. เทสนาหาระ
เทสนาหาระ คือ แนวทางในการแสดงข ้อความ ๖ อย่าง
คือ
๑. อัสสาทะ สภาวะน่ายินดีพอใจ คือ สุข โสมนัส และ
สงั ขารในภูม ิ ๓ ทีเ่ ป็ นอิฏฐารมณ์ หรือความหลงติดซงึ่ ทำให ้
ยินดีพอใจ คือ ตัณหา และวิปัลลาส ๓ ได ้แก่ สญ ั ญาวิปัลลาส
ทิฏฐิวปิ ั ลลาส และจิตตวิปัลลาส
๒. โทษ โทษของอัสสาทะ คือ ทุกขเวทนา หรือ
ทุกข์ ๓ อย่าง คือ ทุกขทุกข์ วิปริณามทุกข์ และสงั ขารทุกข์
๓. นิสสรณะ เหตุพ ้นไปจากทุกข์ คือ อริยมรรค โพธิปักขิ
ยธรรม และอนุปัสสนา ๔ หรือความพ ้นทุกข์ คือพระนิพพาน
๔. ผละ จุดมุง่ หมายของการแสดงธรรมทีเ่ กิดแก่ผู ้
ฟั งธรรมเป็ นต ้น คือ ทิฏฐธัมมิกประโยชน์อน ั ได ้แก่ สุตมย
ปั ญญา คือ ปั ญญาจากการฟั ง อัตถเวทะ คือ ความเข ้าใจอรรถ
ธัมมเวทะ คือ ความเข ้าใจธรรม วิสท ุ ธิ ๖ และสม ั ปรายิกต ั ถ
ประโยชน์ อันได ้แก่ ภพสมบัต ิ คือ การเกิดในภูมท ิ ดี่ ี และโภค
สมบัต ิ คือ การบริบรู ณ์ด ้วยโภคทรัพย์ ทีม ่ ก
ี ารฟั งธรรมเป็ นต ้น
เป็ นมูลเหตุ
๕. อุปายะ วิธป ี ฏิบต
ั เิ พือ
่ ให ้บรรลุความดับทุกข์ คือ ศล ี
สมาธิ ปั ญญา อันเป็ นเหตุให ้บรรลุอริยมรรค ซงึ่ เรียกว่า ปุพพ
ภาคปฏิปทา (ปฏิปทาเบือ ้ งต ้น) ของอริยมรรค
๖. อาณั ตติ การแนะนำให ้ละเว ้นความชวั่ และกระทำ
ความดี
หมายเหตุ อร ย ิ มรรค ค อ
ื มรรคญาณอัน ประเสร ฐ ิ ท ี่
ประกอบด ้วยองค์ ๘ โดยองค์ธรรมคือส ม ั มาทิฏฐิทป
ี่ ระกอบ
กับองค์มรรค ๗ ทีเ่ หลือ
2

ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค ่ วรบูชา”
จำแนกองค์ธรรม
การบูชามี ๒ อย่าง คือ
๑. อามิสบูชา การบช ู า ด ้ว ย ว ต ั ถส ุ งิ่ ข อ ง
หมายถ งึ กุศ ลเจตนาหรือ ก ริ ย ิ าเจตนาในขณะให ้ทานของ
ปุถชุ นหรือพระอรหันต์
๒. ธรรมบูชา การบูช าด ้วยการปฏิบ ต ั ธิ รรม
หมายถึง กุศ ลเจตนาหรือ กิร ย ิ าเจตนาในขณะรัก ษาศ ล ี หรือ
เจริญ ภาวนาอัน มีป พ ุ พภาคปฏิป ทา (การปฏิบ ต ั เิ บือ ้ งต ้นคือ
วิปัสสนา) เป็ นเบือ ้ งต ้น มรรคผลเป็ นท่ามกลาง และนิพพาน
เป็ นทีส่ ด

จำแนกเป็ นอัสสาทะเป็ นต ้น
๑. อัสสาทะ สภาวะน่า ย น ิ ดีพ อใจ ค อ ื โลก ย ิ ธรรมอัน
ได ้แก่ สุข โสมนัส และส งั ขารในภูม ิ ๓ ทีเ่ ป็ นอ ฏ ิ ฐารมณ์
เพราะเป็ นสงิ่ ทีน
่ ่ายินดี และสภาวะทำให ้เหล่าสต ั ว์ยน ิ ดีพอใจ
คือ ตัณหาทีเ่ ป็ นเหตุให ้เกิดความยินดี
๒. อาทีนวะ โทษของอัสสาทะ คือ ส งั ขารทุกข์อน ั เป็ น
เตภูมกธรรมเหล่านัน ้
๓. นิสสรณะ เหตุพ ้นไปจากทุก ข ์ ค อ ื อร ย ิ มรรค และ
ความพ ้นทุกข์ คือ พระนิพพาน
๔. ผละ จุด มุง่ หมายของการบูช าผู ้ทีค ่ วรบูช า คือ
ผลจ ต ิ ตุป บาท และอานิส งส ข ์ องการบูช ามีก ารพ ้นไปจาก
อัต ตานุว าทภัย (ภัย คือ การตำหนิต น) ปรานุว าทภัย (ภัย คือ
การตำหนิของผู ้อืน ่ ) ทัณฑภัย (ภัยคืออาชญา) และทุคคติภย ั
(ภัยคือการไปเกิดในทุคคติ) เป็ นต ้น ดังพระพุทธดำรัสว่า ธมฺ
โม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ (พระธรรมย่อมรักษาผู ้ประพฤติธรรม)
3

๕. อุปายะ ว ธิ ปี ฏบ
ิ ต
ั เิ พือ
่ ให ้บรรลุค วามดับ ทุก ข ์ ค อื
การบูชาอันเป็ นเหตุของการได ้รับผลดังกล่าว
๖. อาณั ตติ การแนะนำให ้ละเว ้นความช วั่ และกระทำ
ความดี คือ การแนะนำให ้บูช าผู ้ทีค ่ วรบูช า ตามทีต่ รัส ไว ้ใน
คาถานี้
วิธรี วมอัสสาทะเป็ นต ้นในอริยสจ ั ๔
๑. อัสสาทะ ปรากฏในสมุทยสจ ั
๒. โทษและผละ ปรากฏในทุกขสจ ั
๓. นิสสรณะทีเ่ ป็ นความดับทุกข์ ั
ปรากฏในนิโรธสจ
๔. นิสสรณะทีเ่ ป็ นเหตุแห่งการออกจากทุกข์ อุปายะ
และอาณั ตติ ปรากฏในมรรคสจ ั
วิธรวมอริ
ี ั ๔ ในอัสสาทะเป็ นต ้น
ยสจ
อีกอย่างหนึง่ อาจจำแนกองค์ธรรมออกเป็ นอริยสจ ั ๔
ก่อน แล ้วจึงจำแนกอริยสจ ั ๔ เป็ นอัสสาทะเป็ นต ้น กล่าวคือ
๑. ทุกขสจ ั คือ โลกิยขันธ์ ๕ เว ้นโลภะของผู ้บูชาผู ้ที่
ควรบูชามีพระพุทธเจ ้า พระปั จเจกพุทธเจ ้า พระอรหันต์ บิดา
มารดา ครูอาจารย์ สมณพราหมณ์ผู ้ทรงศล ี เป็ นต ้น
๒. สมุทยสจ ั คือ ตัณหาทีย ่ นิ ดีการบูชานัน ้
อันเป็ นเหตุเกิดของทุกข์
๓. นิโรธสจ ั คือ นิพพานอันเป็ นสภาวะดับทุกขสจ ั และ
สมุทยสจ ั ทัง้ สอง ในทีน ่ ค
ี้ อ
ื มหากุศลจิตทีเ่ ป็ นไปเพือ ่ ดับภพ
ชาติ จึงจัดเป็ นนิโรธสจ ั โดยอ ้อม
๔. มรรคสจ ั คือ ปฏิปทาอันเป็ นเหตุให ้บรรลุนโิ รธสจ ั ใน
ทีน
่ ก
ี้ ารบูชาด ้วยปฏิบต ั บ ิ ชู าตามหลักสมถภาวนาหรือวิปัสสนา
ภาวนาจัดเป็ นการเจริญมรรคสจ ั
ในสจ ั จะ ๔ เหล่านัน ้ :-
4

๑. อัสสาทะ ปรากฏในสมุทยสจั

๒. อาทีนวะ ปรากฏในทุกขสจ
๓. นิสสรณะ ปรากฏในนิโรธสจ ั และมรรคสจ

๔. ผละ ปรากฏในทุกขสจั
๕. อุปายะ คือ โยนิโสมนสก ิ าร (การใสใ่ จโดย
แยบคาย) สท ั ธัมมสวนะ (การฟั งธรรม) และจตุจักกสม ั ปั ตติ
(ความถึงพร ้อมด ้วยจักร ๔) เป็ นต ้นทีป ่ รากฏในขณะบูชาผู ้ที่
ควรบูชา อันเป็ นเหตุให ้บรรลุจด
ุ มุง่ หมาย ปรากฏในมรรคสจ ั
๖. อาณั ตติ คือ คำว่า ปูชา จ ปูชนียานํ แม ้จะมิได ้ระบุวา่
ให ้กุลบุตรจงบูชาผู ้ทีค ั ชวนโดยอ ้อม
่ วรบูชา ก็เป็ นการกล่าวชก
ปรากฏในมรรคสจ ั
๒. วิจยหาระ
วิจยหาระ คือ แนวทางในการจำแนก ๑๑ อย่าง คือ
๑. ปทวิจัย การจำแนกบทโดยศพ ั ท์และอรรถ การ
จำแนกโดยศพ ั ท์เป็ นการแจกแจงศพ ั ท์นัน
้ ๆ ตามหลักภาษา
โดยแบ่งเป็ น :-
ก. ประเภท คือ บทนาม บทอาขยาต บทอุปสรรค และ
บทนิบาต
ข. ลิงค์ คือ ปุงลิงค์ อิตถีลงิ ค์ และนปุงสกลิงค์
ค. กาล คือ อดีตกาล ปั จจุบน
ั กาล และอนาคตกาล
ฆ. สาธนะ คือ กัตตุสาธนะ กรณสาธนะ และกรรมสาธนะ
เป็ นต ้น
ง. วิภต
ั ติ คือ ปฐมาวิภต
ั ติ และทุตย
ิ าวิภต
ั ติ เป็ นต ้น
จ. พจน์ คือ เอกพจน์ และพหูพจน์
สว่ นการจำแนกโดยอรรถก็คอื ความหมายทีก
่ ล่าวไว ้ตาม
5

ประเภทและลิงค์เป็ นต ้นเหล่านัน

๒. ปั ญหวิจัย การจำแนกคำถาม เชน ่ อทิฏฐโชตนา
(แสดงสงิ่ ทีไ่ ม่รู ้เห็น) เป็ นต ้น, สต ั ตาธิษฐาน (มีบค ุ คลเป็ นที่
ั มุตวิ ส
ตัง้ ), สม ั (มีบญ
ิ ย ั ญัตเิ ป็ นวิสยั ) และอตีตวิสยั (มีอดีตกาล
เป็ นวิสย ั )
๓. วิสช ั ชนาวิจัย การจำแนกคำตอบ เชน่ เอกังส
พยากรณ์ (คำตอบทีแ ่ สดงความแน่นอน), สาวเสสพยากรณ์
(คำตอบทีแ ่ สดงโดยมีข ้อความเหลืออยู่), สอุตตรพยากรณ์
(คำตอบทีม ่ ข
ี ้อความอืน ่ ยิง่ ไปกว่า)
๔. ปุพพาปรวิจัย การจำแนกข ้อความก่อนและหลัง
หมายถึง การจับคูค ่ ำถามและคำตอบทีส ่ อดคล ้องกัน เพือ ่
ศกึ ษาความเป็ นเอกภาพของคำหน ้าและคำหลังซงึ่ เป็ น
คำถามและคำตอบทีไ่ ม่ขด ั แย ้งกัน
๕. อัสสาทวิจัย การจำแนกอัสสาทะ เชน ่ ตัณหาเป็ น
สภาวะทำให ้ยินดี สว่ นสุขเวทนาเป็ นสภาวะทีน ่ ่ายินดี
๖. อาทีนววิจัย การจำแนกโทษ เชน ่ ธรรมนีเ้ ป็ นทุกข
ทุกข์ วิปริณามทุกข์ หรือสงั ขารทุกข์
๗. นิสสรณวิจัย การจำแนกนิสสรณะ เชน ่ พระนิพพาน
เป็ นสภาวะพ ้นจากทุกข์ สว่ นมรรคเป็ นเหตุให ้พ ้นทุกข์
๘. ผลวิจัย การจำแนกจุดมุง่ หมาย เชน ่ การปฏิบต ั ิ
ธรรมสง่ ผลให ้พ ้นจากทุคติ หรือข ้ามพ ้นความตายได ้
๙. อุปายวิจัย การจำแนกอุบาย เชน ่ การหยั่งเห็นความ
ไม่เทีย
่ งเป็ นต ้นวิปัสสนาญาณตัง้ แต่นพ ิ พิทาญาณเป็ นต ้นไป
หรือศรัทธาและสติทบ ี่ ค
ุ คลอบรมไว ้ในขณะเจริญวิปัสสนา
ภาวนา เป็ นเหตุแห่งความหมดจด
๑๐. อาณั ตติวจิ ัย การจำแนกการชก ั ชวน
6

่ การชก
เชน ั ชวนให ้เว ้นจากบาปหรือชก
ั ชวนให ้เห็นโลกว่าว่าง
เปล่า
๑๑. อนุคตี วิ จ
ิ ัย การจำแนกโดยอ ้างพระพุทธ
พจน์ซงึ่ กล่าวไว ้ในพระสูตรทีก ่ ำลังอธิบายอยู่ หรือเป็ น
พระพุทธพจน์ในพระสูตรอืน ่ ทีน ่ ำมาอ ้างไว ้
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
ปทวิจัย
บทว่า ปูชา ชอ ื่ ว่า ศพ ั ท์ (เสย ี ง) เพราะถูกเปล่งออก ตาม
รูปวิเคราะห์วา่ สทฺทย ี ติ อุจฺจารียตีต ิ สทฺโท (เสย ี งใดย่อมถูก
เปล่งออก เหตุนัน ้ เสย ี งนัน
้ ชอ ื่ ว่า ศพ ั ท์) หรือชอ ื่ ว่า ศพ ั ท์
เพราะเป็ นอารมณ์ของโสตวิญญาณ ตามรูปวิเคราะห์วา่ สปฺปติ
โสตวิญฺญาณารมฺมณภาวํ คจฺฉตีต ิ สทฺโท (เสย ี งใดย่อมถึง
ความเป็ นอารมณ์ของโสตวิญญาณ เหตุนัน ้ เสย ี งนัน ้ ื่ ว่า
ชอ
ศพั ท์)
ปูชา ศพ ั ท์นัน ้ จัดเป็ น :-
- จิตตชศพ ั ท์ ในบรรดาศพ ั ท์ ๒ ประเภท คือ จิตตชศพ ั ท์
(เสย ี งทีเ่ กิดจากจิต) และอุตช ุ ศพ ั ท์ (เสย ี งทีเ่ กิดจากอุต)ุ
- อริยศพ ั ท์ ในบรรดาศพ ั ท์ ๒ ประเภท คือ อริยศพ ั ท์
(ศพ ั ท์ของชาวเมือง) และมิลก ั ขศพ ั ท์ (ศพ ั ท์ของชาวดอย)
- มาคธศพ ั ท์ในบรรดาศพ ั ท์ ๑๐๑ ประเภทมีศพ ั ท์
สน ั สกฤตเป็ นต ้น
ปูชา ศพ ั ท์นัน ้ ชอ ื่ ว่า บท เพราะบทคือหมูพ ่ ยางค์ ตาม
ข ้อความว่า อกฺขรสมูโห ปทํ (หมูพ ่ ยางค์ ชอ ื่ ว่า บท) หรือ
7

เพราะทำให ้รู ้เนือ ้ ความ ตามรูปวิเคราะห์วา่ ปชฺชเต ญายเต อตฺ


โถ เอเตนาติ ปทํ (เนือ ้ ความย่อมถูกรู ้ด ้วยศพ ั ท์นี้ เหตุนัน ั ท์
้ ศพ
นัน ื่ ว่า บท)
้ ชอ
บทว่า ปูชา จัดเป็ น :-
- สฺยาทยันตปทะ ในบรรดาบท ๒ อย่าง คือ สฺยาทยันตป
ทะ
(บททีล ่ งวิภตั ตินามมี ส ิ เป็ นต ้นอยูท ่ ้าย) และตฺยาทยันตปทะ
(บททีล ่ งวิภตั ติอาขยาตมี ติ เป็ นต ้นอยูท ่ ้าย)
- ปฐมาสฺยาทยันตปทะ ในบรรดาบท ๒ อย่าง คือ ปฐม
าสฺยาทยันตปทะ และทุตย ิ าสฺยาทยันตปทะ เป็ นต ้น
การจำแนกบทโดยวิธอ ี ย่างนี้ ชอ ื่ ว่า ปทวิจัย และควร
จำแนก ปูชนียานํ ตามวิธน ี อี้ กี ด ้วย
ปั ญหวิจัย
คำว่า ปูชา จ ปูชนียานํ นีเ้ ป็ นวิสชั ชนา เพราะไม่มอ ี รรถ
แห่งคำถามแต่อย่างใด แต่วส ั ชนานัน
ิ ช ้ ก็เป็ นผลทีไ่ ม่อาจเว ้น
จากเหตุคอ ื ปุจฉาได ้ ตามปริภาสาว่า
ยตฺถ ยตฺถ ปเทเสฺวว ทิฏฺเฐ วิสชฺชเน สติ
ตตฺถ ตตฺถท ุ ฺธริตพฺพา ปุจฺฉา ตาว วิภาวินา. (สทฺทวุตฺ
ติ ๑๑๕)
“เมือ
่ คำตอบปรากฏอยูใ่ นบทใดๆ นั่นเทียว ผู ้มีปัญญาพึง
ยกคำถามขึน ้ ในบทนัน ้ ๆ”
ดังนัน้ จึงอาจจะตัง้ คำถามในเรือ ่ งนีว้ า่
ปูชา จ ปูชนียานนฺ ต ิ กิมตฺถมิทมุจฺจเต.
“พระผู ้มีพระภาคตรัสพระดำรัสว่า ปูชา จ ปูชนียานํ นี้
เพือ
่ ประโยชน์อะไร”
8

ปุจฉามี ๕ อย่าง คือ


๑. อทิฏฐโชตนา ่ ให ้เข ้าใจสงิ่ ทีไ่ ม่รู ้
ถามเพือ
๒. ทิฏฐสงั สน
ั ทนา ถามเทียบเคียงกับสงิ่ ทีร่ ู ้แล ้ว
๓. วิมติเฉทนาถามเพือ่ ขจัดความสงสย ั
๔. อนุมติ ถามเพือ
่ รับเอาความเห็นชอบจากผู ้ฟั ง
๕. กเถตุกม
ั ยตา ถามเพือ
่ ประสงค์จะตอบเอง
ในปุจฉา ๕ อย่างนัน ้ ปุจฉาว่า ปูชา จ ปูชนียานนฺ ต ิ กิมตฺ
ถมิทมุจฺจเต นี้ ชอ ื่ ว่า อทิฏฐโชตนาปุจฉา
การจำแนกปุจฉาโดยวิธอ ี ย่างนี้ ชอ ื่ ว่า ปุจฉาวิจัย
นอกจากนี้ ควรจำแนกเป็ นสต ั ตาธิษฐาน (มีสต ั ว์เป็ นทีต ่ งั ้ ), ธัม
มาธิษฐาน (มีสภาวธรรมเป็ นทีต ่ งั ้ ), เอกาธิษฐาน (มีทต ี่ งั ้ อย่าง
หนึง่ ), อเนกาธิษฐาน (มีทต ี่ งั ้ จำนวนมาก), สม ั มุตวิ ส ิ ย ั (มี
สมมุตเิ ป็ นทีต
่ งั ้ ) และปรมัตถวิสย ั (มีปรมัตถ์เป็ นทีต ่ งั ้ ) เป็ นต ้น
อีกด ้วย
วิสชั ชนาวิจัย
เมือ
่ มีปจ
ุ ฉาเชน่ นัน ั ชนาว่า
้ ก็ควรวิสช
ปูชารหานํ ปูชํ กตฺวา สพฺพทุกฺขนิสฺสรณตฺถมิทมุจฺจเต.
“พระผู ้มีพระภาคตรัสพระดำรัสนีเ้ พือ่ ให ้เหล่าเวไนยชน
ทำการบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชาแล ้วพ ้นไปจากทุกข์ทัง้ ปวง”
ั ชนามี ๔ อย่าง คือ
วิสช
๑. เอกังสพยากรณ์ ตอบโดยระบุชช ี้ ด

๒. วิภช
ั ชพยากรณ์ ตอบโดยจำแนกตามลักษณะของ
เรือ
่ งนัน
้ ๆ
๓. ปฏิปจุ ฉาพยากรณ์ ย ้อนถามแล ้วจึงตอบ คือ ทรง
9

ใชปั้ ญหาทีถ ่ ามมานัน


้ เองย ้อนถามไปอีกทีแล ้วจะออกมาเป็ น
คำตอบเอง
๔. ฐปนพยากรณ์ ี ไม่ตอบ เพราะคำถามเป็ น
นิง่ เสย
เรือ
่ งไร ้สาระ หรือตัง้ คำถามผิด หรือตอบไปแล ้วไม่เกิด
ประโยชน์แก่ผู ้ฟั ง
ในคำตอบ ๔ อย่างเหล่านัน ้ คำวิสช ั ชนาว่า ปูชารหานํ
เป็ นต ้น นี้ ชอ ื่ ว่า วิภช
ั ชพยากรณ์
การจำแนกวิสช ั ชนาตามวิธอ
ี ย่างนี้ ชอ ื่ ว่า วิสส
ั ชนาวิจัย
นอกจากนี้ ควรจำแนกเป็ นสาวเสสะ (มีสว่ นเหลือ), อนวเสสะ
(ไม่มสี ว่ นเหลือ), สอุตตระ (มีธรรมอืน ่ ยิง่ กว่า), อนุตตระ (ไม่ม ี
ธรรมอืน ่ ยิง่ กว่า) และโลกุตตระ (พ ้นไปจากโลก) เป็ นต ้น
ปุพพาปรวิจัย
พระพุทธเจ ้าตรัสว่า ปูชา จ ปูชนียานํ เพือ ่ ประโยชน์อะไร
หรือเพราะประสงค์จะแนะนำอะไร คำตอบคือ เพือ ่ แนะนำให ้
เหล่าเวไนยสต ั ว์บช
ู าผู ้ทีค
่ วรบูชาแล ้วพ ้นไปจากทุกข์ทงั ้ ปวง
หรือเพราะประสงค์จะแนะนำให ้เหล่าเวไนยสต ั ว์บชู าผู ้ทีค
่ วร
บูชาแล ้วพ ้นไปจากทุกข์ทงั ้ ปวง
การถามด ้วยบทสม ั ปทานหรือบทเหตุแล ้วตอบด ้วยบท
ั ปทานหรือบทเหตุอย่างนี้
สม ต ้องให ้คำถามข ้างหน ้ากับคำ
ตอบข ้างหลังตรงกัน การจำแนกข ้อความก่อนและหลังตามนัย
ื่ ว่า ปุพพาปรวิจัย
อย่างนี้ ชอ
อนุคต
ี วิ จ
ิ ัย
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ นี้ เป็ นอนุคต
ี ิ (การกล่าวอัน
สมควร) เพราะกล่าวโดยสมควรไม่แย ้งกับสูตรอืน ่ เป็ นต ้นว่า
10

ปูชารเห ปูชยโต พุทฺเธ ยทิ ว สาวเก


ปปญฺจสมติกฺกนฺ เต ติณฺณโสกปริทฺทเว.
เต ตาทิเส ปูชยโต นิพฺพเุ ต อกุโตภเย
น สกฺกา ปุญฺญํ สงฺขาตุํ อิเมตฺตมปิ เกนจิ. (ขุ.ธ.
๒๕/๑๙๕-๙๖/๕๑)
“ผู ้บูชาท่านทีค ่ วรบูชา คือพระพุทธเจ ้า พระปั จเจกพุทธ
เจ ้า และพระสาวก ผู ้ล่วงพ ้นกิเลสเครือ ่ งขวางกัน ้ หมดโศก
หมดปริเทวนา สงบระงับ ปลอดภัยโดยประการทัง้ ปวง ใครๆ
ไม่สามารถจะคำนวณบุญของบุคคลนีว้ า่ เขาได ้บุญประมาณ
เท่านี”้
อนุคต ี นั
ิ น้ เป็ นชอื่ ของสงั คหะ ๓ อย่าง คือ
๑. วุตตัตถสงั คหะ นับเข ้าในอรรถทีก ่ ล่าวมาแล ้ว
๒. อสงั คหะ นับเข ้าในอรรถทีย ่ ังไม่ได ้กล่าว
๓. อุภยัตถสงั คหะ นับเข ้าในอรรถทัง้ สองข ้างต ้น
ด ้วยเหตุนี้ พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ จึงได ้ชอ ื่ ทัง้ ๓
ตามสงั คหะ เพราะกล่าวถึงการบูชาในกาลทัง้ ๓
การจำแนกอนุคต ี ต ื่ ว่า อนุคต
ิ ามนัยอย่างนี้ ชอ ี วิ จ
ิ ัย
อัสสาทวิจัย
อัสสาทวิจัย มี ๕ อย่าง คือ
๑. สุข
๒. โสมนัส
๓. อิฏฐารมณ์
๔. ตัณหา
๕. วิปัลลาส
สุขและโสมนัส มีอย่างละ ๒ คือ
11

๑. เคหสต ิ สุข-โสมนัส สุขและโสมนัสทีอ ่ งิ อาศย ั


กามคุณ
๒. เนกขัมมสต ิ สุข-โสมนัส สุขและโสมนัสทีไ่ ม่องิ
อาศย ั กามคุณ
อิฏฐารมณ์มี ๒ อย่าง คือ
๑. สภาวอิฏฺฐารมณ์ อิฏฐารมณ์โดยสภาวะทีม ่ จี ริง
๒. ปริกป
ั ปอิฏฐารมณ์ อิฏฐารมณ์โดยการดำริ
ตัณหา มี ๑๐๘ คือ ตัณหา ๓ x อารมณ์ ๖ x กาล ๓ x
สนั ดาน ๒ = ตัณหา ๑๐๘ (ตัง้ ตัณหา ๓ คูณด ้วย อา, กา, สํ)
ตัณหา ๓ คือ กามตัณหา, ภวตัณหา, วิภวตัณหา
อารมณ์ ๖ คือ รูป เสย ี ง กลิน ่ รส สม ั ผัส และ
ธรรมารมณ์
กาล ๓ คือ ปั จจุบน ั อดีต และอนาคต
วิปัลลาส มี ๓ อย่าง คือ
๑. สญั ญาวิปัลลาส
๒. จิตตวิปัลลาส
๓. ทิฏฐิวปิ ั ลลาส
วิปัลลาส ๓ นัน ้ มีอย่างละ ๔ คือ
๑. อนิจเจ นิจจวิปัลลาส เข ้าใจผิดสงิ่ ทีไ่ ม่เทีย ่ งว่า
เทีย่ ง
๒. ทุกเข สุขวิปัลลาส เข ้าใจผิดทุกข์วา่ สุข
๓. อนัตตนิ อัตตวิปัลลาส เข ้าใจผิดสงิ่ ทีไ่ ม่ใชอ ่ ต
ั ตาว่า
เป็ นอัตตา
๔. อสุเภ สุภวิปัลลาส เข ้าใจผิดสงิ่ ทีไ่ ม่สวยงามว่า
สวยงาม
12

รวมเป็ นวิปัลลาส ๑๒
ื่ ว่า อัสสา
การจำแนกอัสสาทะตามนัยอย่างนีเ้ ป็ นต ้น ชอ
ทวิจัย
อาทีนววิจัย
โทษมีหลายประการ เชน ่ ทุกฺข, โทมนสฺส, ทุกฺขทุกฺข,
สงฺขารทุกฺข, เตภูมก ิ สงฺขารทุกฺข เป็ นต ้น การจำแนกโทษตาม
ื่ ว่า อาทีนววิจัย
นัยอย่างนี้ ชอ
นิสสรณวิจัย
นิสสรณ มี ๒ คือ
๑. อริยมรรค ๒. นิพพาน
อริยมรรค มี ๓ คือ
๑. สุญญตมรรค ๒. อนิมต
ิ ตมรรค
๓. อัปปณิหต ิ มรรค
นิพพาน มี ๒ คือ
๑. สอุปาทิเสสนิพพาน ๒. อนุปาทิเสสนิพพาน
ื่ ว่า นิสสรณวิจัย
การจำแนกนิสสรณะตามนัยอย่างนี้ ชอ
ผลวิจัย
ผล มี ๒ อย่าง คือ
๑. มุขยผล ผลโดยตรง
๒. ปรัมปรผล ผลทีต
่ ามมาในภายหลัง
มุขยผล มี ๙ อย่าง คือ
๑. สุตมยญาณ ปั ญญาทีเ่ กิดจากการฟั ง
๒. อัตถเวทะ การรู ้อรรถ
๓. ธัมมเวทะ การรู ้ธรรม
13

๔-๙. วิสท
ุ ธิ ๖
ปรัมปรผลมีหลายประการ เชน ่ ภวสมบัต ิ และโภคสมบัต ิ
เป็ นต ้น
ื่ ว่า ผลวิจัย
การจำแนกผลตามนัยอย่างนีเ้ ป็ นต ้น ชอ
อุปายวิจย
อุบายมี ๒ อย่าง คือ
๑. อุบายอันเป็ นปุพพภาคปฏิปทาของอริยมรรค
๒. อุบายอันเป็ นเหตุแห่งภวสมบัต ิ
การจำแนกอุบายตามนัยอย่างนี้ ชอ ื่ ว่า อุปายวิจัย
อาณั ตติวจ
ิ ัย
การชกั ชวนมีหลายอย่าง เชน ่ การชก ั ชวนของมนุษย์
เทวดา พรหม การแนะนำของคฤหัสถ์ บรรพชต ิ การตักเตือน
ของพระพุทธเจ ้า พระปั จเจกพุทธเจ ้า พระสาวก ด ้วยคำเป็ น
ี ํ รกฺขถ (จงรักษาศล
ต ้นว่า ทานํ เทถ (จงให ้ทาน), สล ี ), ภาวนํ
ภาเวถ (จงเจริญภาวนา)
การจำแนกอาณั ตติตามนัยอย่างนี้ ชอ ื่ ว่า อาณั ตติวจ ิ ัย
โดยประการดังนี้ พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า วิจย
หาระ เพราะจำแนกอรรถ ๑๑ อย่างคือ ปท, ปุจฉา ฯลฯ อาณั ต
ติ
๓. ยุตติหาระ
ยุตติหาระ คือ แนวทางในการแยกแยะความเหมาะสม
โดยศพ ั ท์และอรรถ
ยุตติหาระมีประโยชน์เพือ ่ ป้ องกันความคลาดเคลือ ่ นของ
พระสท ั ธรรมทีเ่ กิดจากการจำผิด และเพือ
่ ป้ องกันสทั ธรรม
ปฏิรป
ู ทีเ่ กิดจากการอ ้างพระพุทธพจน์ ตามอย่างในพระสูตร
14

ของศาสนาพุทธนิกายมหายานทีแ ่ ต่งขึน้ ในภายหลัง และขึน ้


ต ้นด ้วยคำว่า เอวํ เม สุตํ (ข ้าพเจ ้าได ้สดับมาแล ้วอย่างนี้) เชน่
อาการวัตตสูตร สท ั ธัมมปุณฑรีกสูตร เป็ นต ้น พระพุทธพจน์
เหล่านัน ้ พึงสอบความถูกต ้องด ้วยมหาปเทสข ้อแรก คือ
พระพุทธดำรัสทีต ่ รัสไว ้โดยตรง หรือตรวจทานจากถ ้อยคำ
ของพระสาวกผู ้สดับจากพระพุทธเจ ้า ซงึ่ จำแนกออกเป็ นสงฆ์
คณะ และบุคคล เมือ ่ ตรวจสอบแล ้วไม่ขด ั กับมหาปเทส ๔ แต่
อย่างใด จึงจะจัดว่าเหมาะสม และเป็ นพระพุทธดำรัสจริง
โดยเหตุทพ ี่ ระสูตรเป็ นเรือ ่ งทีพ
่ ระพุทธเจ ้าตรัสไว ้ตาม
อัธยาศย ั ของบุคคลผู ้ฟั งธรรม จึงอาจมีข ้อความแตกต่างกัน
บ ้างในบางแห่ง เชน ่ มีการกล่าวถึงเวทนาต่างกันเป็ น ๒
ประการ ๓ ประการ หรือ ๕ ประการในพระสูตรทีต ่ า่ งกัน ถ ้านำ
หลักยุตติหาระมาเทียบเคียงก็จะพบว่าไม่ขด ั แย ้งกัน โดยใน
การกล่าวเวทนา ๒ ประการได ้รวมอุเบกขาเวทนาทีม ่ โี ทษเข ้า
ไว ้ในทุกขเวทนา และรวมอุเบกขาเวทนาทีไ่ ม่มโี ทษเข ้าไว ้ใน
สุขเวทนา ในเวทนา ๓ ประการแสดงการจำแนกตามลักษณะ
แห่งการเสวยอารมณ์ทด ี่ ี ไม่ด ี หรือปานกลาง สว่ นเวทนา ๕
ประการกล่าวไว ้ตามประเภทแห่งอินทรีย ์
แนวทางประเมินในยุตติหาระนีส ้ ำคัญมาก เพราะสมัย
หลังพุทธกาลมีการรวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ ้าไว ้ต่างกัน
ดังทีฝ ่ ่ ายมหายานและฝ่ ายเถรวาทมีพระไตรปิ ฎกฉบับต่างกัน
ซงึ่ มีเนือ ้ หาแตกต่างกันอยูบ ่ ้าง นอกจากนี้ ต่างฝ่ ายยังตีความ
พระพุทธพจน์ผด ิ แผกกัน การวางแนวทางตรวจสอบจากรูป
ศพั ท์และอรรถเพือ ่ ประเมินว่าคำสอนนัน ้ เป็ นของพระพุทธเจ ้า
หรือพระเถระ โดยมีความถูกต ้องและเหมาะสมอย่างไร จึงเป็ น
ข ้อควรพิจารณาทีด ่ ี
ตัวอย่าง
15

ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)


“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
วิธแี ยกแยะความเหมาะสม มี ๒ อย่าง คือ ความเหมาะ
สมโดยศพ ั ท์ และความเหมาะสมโดยอรรถ ความเหมาะสม
โดยศพ ั ท์ คือ ศพ ั ท์วา่ ปูชนียานํ นี้ :-
- เมือ ่ ถือว่าเป็ นจิตตชศพ ั ท์ จึงสมควร ถ ้าถือว่าเป็ นอุตช ุ
ศพ ั ท์ ไม่สมควร
- เมือ ่ เป็ นอริยศพ ั ท์ หรือมาคธศพ ั ท์ จึงสมควร ถ ้าถือว่า
เป็ นศพ ั ท์อย่างอืน ่ ไม่สมควร
- เมือ ่ เป็ นสฺยาทยันตบท จึงสมควร ถ ้าถือว่าเป็ นตฺยาทยัน
ตบท ไม่สมควร
- เมือ ่ เป็ นบททีล ่ ง นํ จตุตถีวภ ิ ต
ั ติ หรือฉั ฏฐีวภ
ิ ต
ั ติ
พหูพจน์ จึงสมควร ถ ้าถือว่าเป็ นวิภต ั ติอน ื่ เอกพจน์ ไม่สมควร
การแยกแยะความเหมาะสมโดยศพ ั ท์ตามนัยอย่างนี้ ชอ ื่
ว่า ความเหมาะสมโดยศพ ั ท์
ความเหมาะสมโดยอรรถ คือ ศพ ั ท์วา่ ปูชนียานํ นี้ :-
- เมือ ่ ถือว่าอรรถของบทว่า ปูชนียานํ คือ คุณวิสฏ ิ ฐ
บุคคลมีพระพุทธเจ ้าเป็ นต ้น
จึงสมควร เมือ ่ ถือว่าคือคุณวิรหิตบุคคลมีปรู ณกัสสปะเป็ นต ้น
ไม่สมควร
- เมือ ่ ถือเอาอรรถของ นํ วิภต ั ติ เป็ นอรรถสม ั ปทานหรือ
ฉั ฏฐีกรรม จึงสมควร เมือ ่ ถือเอาอรรถอืน ่ จากนี้ ไม่สมควร
การแยกแยะความสมควรและไม่สมควรของอรรถโดยนัย
อย่างนี้ ชอ ื่ ว่า ความเหมาะสมโดยอรรถ
โดยประการดังนี้ แนวทางในการแยกแยะความเหมาะสม
16

ั ท์และอรรถ ชอ
โดยศพ ื่ ว่า ยุตติหาระ
๔. ปทัฏฐานหาระ
ปทัฏฐานหาระ คือ แนวทางในการแสดงปทัฏฐานคือ
เหตุใกล ้ โดยอนุโลมนัยและปฏิโลมนัย
ปทัฏฐานหาระเป็ นแนวทางในการชแ ี้ จงเหตุใกล ้ของสงิ่
ต่างๆ ด ้วยการพิจารณาลักษณะของสงิ่ นัน ้ ก่อน เชน่ เมือ

พิจารณาว่าลักษณะของตัณหา คือ การยึดติดผูกพัน ก็จะ
เข ้าใจได ้ว่า รูปทีช
่ วนให ้หลงใหลเป็ นปทัฏฐานแก่ตณ ั หา
เป็ นต ้น แนวทางข ้อนีเ้ ป็ นไปตามหลักพุทธธรรม คือ เริม ่ ต ้น
จากการดูลก ั ษณะของปั ญหาหรือสงิ่ ทีป ่ รากฏตามความเป็ น
จริง ต่อจากนัน ้ จึงหาสาเหตุในการเกิดขึน ้ ของสงิ่ เหล่านัน
้ อัน
จะนำไปสูก ่ ารแก ้ไขด ้วยการตัดต ้นเหตุของปั ญหา และยังนับ
ว่าเป็ นการพิจารณาธรรมตามขัน ้ ตอนอริยสจ ั ๔
ตัวอย่างฝ่ ายกุศล เชน ่ คำว่า นโม พุทฺธสฺส (ขอนอบน ้อม
พระพุทธเจ ้า) โดยองค์ธรรมได ้แก่ มหากุศลจิตตุปบาททีม ่ ี
ศรัทธาเป็ นประธาน จำแนกตามปทัฏฐานหาระดังนี้ คือ
- โยนิโสมนสก ิ ารเป็ นปทัฏฐานแก่มหากุศลจิตตุปบาท
- การฟั งธรรมเป็ นปทัฏฐานแก่โยนิโสมนสก ิ าร
- การคบหาสต ั บุรษ
ุ เป็ นปทัฏฐานแก่การฟั งธรรม
ในฝ่ ายอกุศล เชน ่ คำว่า ปาณํ หนติ (ย่อมฆ่าสต ั ว์) โดย
องค์ธรรมได ้แก่ อกุศลจิตตุปบาททีม
่ โี ทสะเป็ นประธาน
จำแนกตามปทัฏฐานหาระดังนี้ คือ
- อโยนิโสมนสก ิ ารเป็ นปทัฏฐานแก่อกุศลจิตตุปบาท
- การไม่ได ้ฟั งธรรมเป็ นปทัฏฐานแก่อโยนิโสมนสก ิ าร
- การไม่คบหาสต ั บุรษ
ุ เป็ นปทัฏฐานแก่การไม่ได ้ฟั งธรรม
ตัวอย่าง
17

ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)


“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
องค์ธรรมของการบูชา คือ จิตตุปบาททีเ่ ป็ นกุศลและอัพ
ยากฤต มีเหตุใกล ้โดยโอรุยโหรุยหนัย (นัยแสดงเหตุทเี่ กิดขึน

ก่อนตามลำดับ) ซงึ่ ก็คอ
ื อนุโลมนัย ดังนี้
ปทัฏฐานของจิตตุปบาท คือ โยนิโสมนสก ิ าร (การ
พิจารณาด ้วยปั ญญา)
,, ของโยนิโสมนสก ิ าร คือ สท ั ธัมมสวนะ (การฟั งธรรม)
,, ของสท ั ธัมมสวนะ คือ สป ั ปุรส ิ ปู นิสสยะ (การอาศย ั
ั บุรษ
สต ุ )
,, ของสป ั ปุรส ิ ป
ู นิสสยะ คือ ปฏิรป ู เทสวาสะ (การอยูใ่ น
สถานทีอ ่ น
ั สมควร)
,, ของปฏิรป ู เทสวาสะ คือ ปุพเพกตปุญญตา (การได ้
บำเพ็ญบุญไว ้ในปางก่อน)
นอกจากนัน ้ ยังมีเหตุใกล ้โดยอารุยหารุยหนัย (นัยแสดง
ผลอนาคตตามลำดับ) ซงึ่ ก็คอ ื ปฏิโลมนัย ดังนี้
ปุพเพกตปุญญตา เป็ นเหตุ ปฏิรป ู เทสวาสะ เป็ นผล
ปฏิรป ู เทสวาสะ ,, สปั ปุรส ิ ปู นิสสยะ ,,
สป ั ปุรส ิ ป
ู นิสสยะ ,, สท ั ธัมมสวนะ ,,
สท ั ธัมมสวนะ ,, โยนิโสมนสก ิ าร ,,
โยนิโสมนสก ิ าร ,, การบูชา ,,
ั ธิ
การบูชา เป็ นเหตุ จึงได ้รับผล คือ ปราโมทย์ ปี ต ิ ปั สสท
สุข สมาธิ ยถาภูตญาณ นิพพิทาญาณ มรรค ผล และปั จจเวก
ขณญาณ
18

ปั จจเวกขณญาณเป็ นเหตุ จึงได ้บรรลุผลคืออนุปาทิเส


สนิพพาน
นอกจากนัน ้ อาจจำแนกโดยอนุโลมและปฏิโลมตามหลัก
พยติเรกนัย คือ นัยตรงกันข ้าม ดังนี้
- ปทัฏฐานของการไม่บช ู า คือ อโยนิโสมนสก ิ าร ฯลฯ
ปทัฏฐานของอปฏิรป ู เทสวาสะ คือ ปุพเพอกตปุญญตา
- ปุพเพอกตปุญญตา เป็ นเหตุ อปฏิรป ู เทสวาสะ เป็ นผล
ฯลฯ
- การไม่บช ู าเป็ นเหตุ จึงได ้รับผลคือ อกุศลธรรมเจริญ
เพิม ่ พูน เมือ ่ อกุศลธรรมเจริญเพิม ่ พูน ย่อมนำไปสูอ ่ บาย และ
ให ้เวียนว่ายอยูใ่ นวัฏฏสงสารไม่มท ี ส ิ้ สุด
ี่ น
โดยประการดังนี้ แนวทางในการแสดงเหตุใกล ้โดยโอรุย
โหรุยหนัยและอารุยหารุยหนัยทัง้ โดยอันวยะ (คล ้อยตาม)
และพยติเรกะ (ตรงกันข ้าม) ชอ ื่ ว่า ปทัฏฐานหาระ
๕. ลักขณหาระ
ลักขณหาระ คือ แนวทางในการแสดงธรรมอืน ่ ทีม ่ ไิ ด ้
กล่าวไว ้โดยตรง ซงึ่ มีลก ั ษณะเสมอกัน
ความหมายของลักขณะ คือ ลักษณะร่วมกันในหลายสงิ่
โดยมีการดำเนินไปร่วมกัน หรือการมีหน ้าทีเ่ สมอกัน เป็ นต ้น
เชน ่ เมือ
่ พูดถึงสญ ั ญาในคำว่า เนวสญฺญานาสญฺญายตนํ
(ฌานทีไ่ ม่มส ั ญา[หยาบ]และมีสญ
ี ญ ั ญา[ละเอียด]เป็ นทีต ่ งั ้ ) ก็
หมายรวมไปถึงเจตสก ิ อืน่ ๆ มีผัสสะ เวทนา เป็ นต ้นทีด ่ ำเนินไป
ร่วมกับสญ ั ญา หรือเมือ ่ พูดถึงลักษณะเปลีย ่ นแปลงของสงิ่ ใด
สงิ่ หนึง่ ก็หมายรวมถึงสงั ขารทัง้ หมด
ความรู ้เรือ ่ งลักษณะร่วมนีม ี วามสำคัญมาก เพราะชว่ ย
้ ค
ให ้เข ้าใจข ้อความทีก ่ ล่าวไว ้เพียงสน ั ้ ๆ แต่หมายรวมไปถึงสงิ่
อืน
่ ทีเ่ กีย่ วข ้องกัน นอกจากนีย ้ ังเป็ นประโยชน์ตอ ่ ความเข ้าใจ
19

แก่นธรรมและการปฏิบต
ั ธิ รรม จำแนกออกเป็ น
ก. สหจาริตา (การดำเนินไปร่วมกัน) เชน ่ เนวสญฺญา
นาสญฺญายตนํ (ฌานทีไ่ ม่มส ั ญา[หยาบ]และมี
ี ญ
สญ ั ญา[ละเอียด]เป็ นทีต ่ งั ้ ) ในทีน ่ แี้ ม ้จะกล่าวถึงสญ ั ญาอย่าง
เดียวก็รวมเอาเจตสก ิ อืน
่ ๆ มีผัสสะ เวทนา เป็ นต ้นทีด ่ ำเนินไป
ร่วมกับสญ ั ญา
ข. สหกิจจตา (การมีหน ้าทีเ่ สมอกัน) เชน ่ ททํ มิตฺตานิ
คนฺ ถติ (ผู ้ให ้ย่อมผูกมิตร) ประโยคนีแ ้ ม ้จะกล่าวถึงทานก็รวม
เอาสงั คหวัตถุอน ื่ คือ ปิ ยวาจา (การพูดไพเราะ)อัตถจริยา
(การบำเพ็ญประโยชน์) และสมานัตตตา (การวางตัวเสมอกัน)
เพราะเป็ นสงั คหวัตถุเหมือนกัน
ค. สมานเหตุตา (การมีเหตุเสมอกัน) เชน ่ ผสฺสปจฺจยา
เวทนา (เวทนาย่อมเกิดขึน ้ เพราะผัสสะเป็ นปั จจัย) แม ้ประโยค
นีจ
้ ะกล่าวถึงเวทนาก็รวมเอาสญ ั ญาเป็ นต ้นทีเ่ กิดจากผัสสะอีก
ด ้วย เพราะมีเหตุเสมอกัน
ฆ. สมานผลตา (การมีผลเสมอกัน) เชน ่ อวิชฺชาปจฺจยา
สงฺขารา (สงั ขารย่อมเกิดขึน ้ เพราะอวิชชาเป็ นปั จจัย) แม ้
ประโยคนีจ ้ ะกล่าวถึงสงั ขารก็รวมเอาตัณหาและอุปาทาน
เป็ นต ้นทีเ่ ป็ นผลของอวิชชาเหมือนกัน
ง. สมานารัมมณตา (การมีอารมณ์เสมอกัน) เชน ่ รูปํ อสฺ
สาเทติ อภินนฺ ทติ. ตํ อารพฺภ ราโค อุปฺปชฺชติ (บุคคลย่อม
เพลิดเพลินยินดีรป ู ราคะย่อมอาศย ั รูปนัน ้ เกิดขึน ้ ) แม ้ประโยค
นีจ้ ะกล่าวถึงราคะก็รวมเอาเวทนาเป็ นต ้นอีกด ้วย เพราะมี
อารมณ์เสมอกับราคะทีเ่ กิดขึน ้ โดยอาศย ั รูป
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
20

“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
เมือ่ ถือเอาองค์ธรรมของบทว่า ปูชา ว่าคือเจตนาทีเ่ ป็ น
กุศลและอัพยากฤต
ก็ควรถือเอาสหจรณจิตตุปบาท (จิตเจตสก ิ ทีเ่ กิดร่วมกับ
เจตนานัน ้ ) ด ้วย เพราะมีสภาพเหมือนกับเจตนานัน ้ โดย
ลักษณะคือการนอบน ้อมปูชนียบุคคล โดยหน ้าทีค ่ อ
ื การกำจัด
มัจฉริยะ เป็ นต ้น โดยเหตุ คือโยนิโสมนสก ิ าร โดยผล คือภว
สมบัต ิ เป็ นต ้น และโดยอารมณ์คอ ื มีปช
ู นียบุคคลเป็ นอารมณ์
อย่างเดียวกัน
อีกอย่างหนึง่ คำว่า ปูชา คือ วิญญัตติ ๒ อันได ้แก่ กายวิ
ญญัตติ และวจีวญ ิ ญัตติ
อันเป็ นกิรย ิ าอาการของการบูชา ดังนัน ้ จึงควรถือเอารูปที่
เหลืออีก ๒๖ อย่างอีกด ้วย เพราะมีสภาพเหมือนกันวิญญัตติ
รูปโดยลักษณะคือความแปรปรวน
อีกอย่างหนึง่ เมือ
่ มีคำว่า ปูชา จ ปูชนียานํ ก็ควรถือเอา
คำว่า มาโน จ มานิตพฺพานํ (การนอบน ้อมผู ้ทีค ่ วรนอบน ้อม)
สกฺกาโร สกฺกเรยฺยานํ (การสก ั การะผู ้ทีค ่ วรสก ั การะ) เป็ นต ้น
อีกด ้วย เพราะมีสภาพเหมือนกันโดยหน ้าที่
โดยประการดังนี้ แนวทางในการแสดงธรรมทีม ่ ส
ี ภาพ
เสมอกันโดยลักษณะเป็ นต ้น ชอ ื่ ว่า ลักขณหาระ
๖ จตุพยูหหาระ
จตุพยูหหาระ คือ แนวทางในการอธิบายวิธ ี ๔ กลุม ่
ได ้แก่ รูปวิเคราะห์ ความมุง่ หมายของพระพุทธเจ ้าหรือพระ
สาวก เหตุของการแสดงธรรม และการเชอ ื่ มโยงพระสูตร
จตุพยูหหาระเน ้นความสำคัญของความรู ้หลักภาษาและ
ไวยากรณ์อย่างแตกฉานเพือ ่ ประโยชน์ในการเข ้าใจคำสอน
และแสดงอรรถาธิบายเพิม ่ เติม โดยต ้องเริม
่ ต ้นเข ้าใจบททีจ
่ ะ
21

นำไปสูค ่ วามเข ้าใจรูปศพ ั ท์และความหมายทางธรรม เมือ



เข ้าใจบทดีแล ้วก็จะเข ้าใจลักษณะไวยากรณ์อน ื่ อีกมาก กล่าว
คือ จะเป็ นผู ้ฉลาดในอรรถ (อตฺถกุสล) ในธรรม (ธมฺมกุสล) ใน
พยัญชนะคือพยางค์และพากย์ (พฺยญฺชนกุสล) ในรูปวิเคราะห์
(นิรตุ ฺตก
ิ สุ ล) ในความสม ั พันธ์ระหว่างเทศนา (ปุพฺพาปรกุสล)
ในเทศนา (เทสนากุสล) ในบัญญัตท ิ เี่ ป็ นอดีต (อตีตาธิวจน
กุสล) ในบัญญัตท ิ เี่ ป็ นอนาคต (อนาคตาธิวจนกุสล) ใน
บัญญัตท ิ เี่ ป็ นปั จจุบนั (ปจฺจป ุ ฺปนฺ นาธิวจนกุสล) ในเพศหญิง
(อิตฺถาธิวจนกุสล) ในเพศชาย (ปุรส ิ าธิวจนกุสล) ในเพศไม่ใช ่
เพศชายเพศหญิง (นปํ ส ุ กาธิวจนกุสล) ในเอกพจน์ (เอกาธิว
จนกุสล) ในพหูพจน์ (อเนกาธิวจนกุสล)
ลักษณะไวยากรณ์ในทีน ่ ไ
ี้ ด ้ปรับปรุงมาจากคำอธิบายทีม ่ ี
อยูบ
่ ้างแล ้วในสมัยพุทธกาล โดยคำว่า ผู ้ฉลาดในอรรถ ผู ้
ฉลาดในธรรม ผู ้ฉลาดในพยัญชนะคือพยางค์และพากย์ ผู ้
ฉลาดในรูปวิเคราะห์ และผู ้ฉลาดในความสม ั พันธ์ระหว่าง
เทศนา ล ้วนมีอยูใ่ นพระไตรปิ ฎกแล ้ว ในคัมภีรน ์ เิ ทศก็มก
ี าร
อธิบายไวยากรณ์อยูบ ่ ้าง แต่ยังไม่เป็ นระบบแน่นอนเหมือนใน
เนตติปกรณ์
หาระนีแ
้ บ่งออกเป็ น ๔ ประเภท คือ
๑. เนรุตตะ รูปวิเคราะห์ เชน ่ ผุสนฏฺเฐน ผสฺโส (ชอ
ื่
ว่า ผัสสะ เพราะเป็ นสภาวะสม ั ผัส) คำว่า ผุสนฏฺเฐน (เพราะ
เป็ นสภาวะสม ั ผัส) แสดงรูปวิเคราะห์ ผสฺส เป็ นภาวสาธนะว่า
ผุสนํ ผสฺโส (การสม ั ผัส ชอื่ ว่า ผัสสะ)
๒. อธิปปายะ ความมุง่ หมายของพระพุทธเจ ้าหรือ
พระสาวกในพระสูตรนัน ้ ๆ เชน ่ ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ
(ธรรมแลย่อมรักษาผู ้ประพฤติธรรม) ข ้อความนีแ ้ สดงไว ้ด ้วย
ความมุง่ หมายว่า ผู ้ทีต
่ ้องการจะพ ้นจากอบายจักประพฤติ
22

ธรรม
๓. นิทานะ เหตุของการแสดงธรรม คือ การที่
บุคคลใดบุคคลหนึง่ ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ ้า หรือพระองค์
ทรงแสดงธรรมโดยปรารภบุคคลหรือเรือ ่ งราวอย่างใดอย่าง
หนึง่
๔. ปุพพาปรสนธิ การเชอ ื่ มโยงพระสูตรหน ้าซงึ่ กำลัง
กล่าวถึงกับพระสูตรหลังทีน ่ ำมาอ ้างอิงเป็ นสาธก หรือการ
เชอื่ มโยงข ้อความหน ้ากับข ้อความหลังในพระสูตรเดียวกัน
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
หาระนีจ
้ ำแนกได ้ดังต่อไปนี้
๑. เนรุตตะ รูปวิเคราะห์ คือ
คำว่า ปูชา มีวเิ คราะห์วา่ ปูชนํ ปูชา เป็ นภาวสาธนะ ปูช
ธาตุ + อ ปั จจัย
องค์ธรรมของ ปูช ธาตุ ได ้แก่ จิตตุปบาทอันเป็ นกิรย ิ า
บูชา แม ้องค์ธรรมของ อ ปั จจัยก็ได ้แก่จต ่ กัน
ิ ตุปบาทเชน
เพราะอรรถของธาตุและอรรถของปั จจัยไม่ตา่ งกันในภาวสา
ธนะ ดังทีโ่ บราณาจารย์กล่าวไว ้ว่า
ธาตฺวตฺถปจฺจยตฺถสฺส วิสํุ ภาเว อภาวโต
ธาตฺวตฺโถว ปจฺจเยนอุทรี โิ ตติ ภาสโิ ต. (วาจโกเทส
๘๓)
“ท่านกล่าวว่าอรรถของธาตุถก ู ปั จจัยกล่าวไว ้ เพราะ
อรรถของธาตุและอรรถของปั จจัยไม่มโี ดยเฉพาะในภาวสา
ธนะ”
ั ท์ใน ปูชา จ เป็ น สมุจจยัตถโชตกนิปาต ตัง้ รูป
จ ศพ
23

วิเคราะห์ไม่ได ้ (บททีต
่ งั ้ รูปวิเคราะห์ไม่ได ้ มี ๖ อย่าง คือ รุฬหี
นาม อาขยาต นิบาต อุปสรรค อาลปนะ และสรรพนาม) สว่ น
องค์ธรรมของ จ ศพ ั ท์นัน ้ ได ้แก่ สมุจจยัตถะ คือ รวบรวมการ
ไม่คบคนพาลและการคบบัณฑิตอีกด ้วย
คำว่า ปูชนียา มีรป
ู วิเคราะห์วา่ ปูเชตพฺพาติ ปูชนียา เป็ น
กรรมสาธนะ ปูช ธาตุ อนีย ปั จจัย จำแนกเป็ น :-
ก. องค์ธรรมโดยตรง คือ กัตตุฏฐกริยาอันเป็ นองค์ธรรม
ของ ปูช ธาตุ ได ้แก่ จิตตุปบาท
ข. องค์ธรรมโดยอ ้อม คือ กัมมัฏฐกริยาอันเป็ นองค์ธรรม
ของคำว่า ปูชนียานํ ได ้แก่ กรรมการก กล่าวคือ อารัม
มณปั จจยสต ั ติของคุณวิสฏ ิ ฐบุคคลมีพระพุทธเจ ้าและพระ
อรหันต์ เป็ นต ้น ซงึ่ เป็ นอุปการะต่อจิตตุปบาทนัน ้ มีได ้โดยผลู
ปจาระ คือ สำนวนทีก ่ ล่าวถึงผล แต่มงุ่ ให ้หมายถึงเหตุอก ี ด ้วย
ค. องค์ธรรมของ อนีย ปั จจัย ได ้แก่ ทัพพะคือรูปนาม
ขันธ์ ๕ ของพระพุทธเจ ้าและพระอรหันต์ เป็ นต ้น อันเป็ นสต ั ติ
มันตะ (สงิ่ ทีส่ ามารถเป็ นอารมณ์ได ้)
การตัง้ รูปวิเคราะห์คำว่า ปูชนียานํ มี ๒ ขัน ้ ตอน คือ
ก. ตัง้ เป็ นปฐมาวิภต ั ติกอ ่ น (ปทาวัตถิกน ั ตะ ทันตเฉทน
นัย) เชน่ ปูเชตพฺพาติ ปูชนียา
ข. เปลีย ่ นให ้เป็ นวิภต ั ตินามตามประโยคทีก ่ ำลังกล่าวถึง
(วากยาวัตถิกน ั ตะ ทันตโสธนนัย) เชน ่ เตสํ ปูชนียานํ
องค์ธรรมของ นํ วิภต ั ติ ได ้แก่ พหูพจน์สงั ขยาอันเป็ น
กรรมการก คือ กริยาปาปุณนสต ั ติ (ความสามารถในการเข ้าถึง
กิรย
ิ า) หรือสม ั ปทานการก คือ สม ั ปทานสต ั ติ (ความสามารถ
ในการเป็ นทีใ่ ห ้ด ้วยดี)
ด ้วยเหตุนัน ้ คำว่า ปูชนียานํ จึงมีอรรถ ๕ ประการ คือ
24

ก. สกัตถ์ คือ ปูเชตัพพภาวคุณ (คุณคือความเป็ นผู ้ควร


บูชา) มีศล ี และสมาธิเป็ นต ้น
ข. ทัพพะ คือ ร่างกายอันเป็ นทีต ่ งั ้ แห่งคุณนัน

ค. ลิงค์ คือ วิสทาการะ (อาการอันองอาจ)
ฆ. สงั ขยา คือ พหูพจน์สงั ขยา
ง. การก คือ กรรมการกหรือสม ั ปทานการก
๒. อธิปปายะ คือ ความมุง่ หมาย ได ้แก่ อัธยาศย ั ของเท
สกบุคคลผู ้ประกอบด ้วยเมตตาและกรุณาแล ้วแนะนำโดยมุง่
หมายว่า ขอสต ั ว์ทงั ้ หลายจงบูชาบุคคลผู ้ควรบูชาแล ้วจะ
สามารถพ ้นจากวัฏฏทุกข์
๓. นิทานะ คือ เหตุของการแสดงธรรม ได ้แก่ อัชฌัตติก
นิทาน (เหตุภายใน) คือ กรุณาและเทศนาญาณ และพาหิรนิ
ทาน (เหตุภายนอก) ได ้แก่ เทสะ (สถานที)่ กาละ (เวลา) เท
สกะ (ผู ้แสดง) และปฏิคคาหกะ (ผู ้รับฟั ง)
๔. ปุพพาปรสน ั ธิ การเชอ ื่ มโยงพระสูตร แบ่งออกเป็ น
ก. อัตถสน ั ธิ คือ สงั กาสนา (อรรถแสดงโดยสงั เขป)
ปกาสนา (อรรถแสดงไว ้ก่อน) วิวรณา (อรรถอธิบาย) วิภชนา
(อรรถจำแนก) อุตตานีกม ั มะ (อรรถขยายให ้ชด ั เจนด ้วยการ
อธิบายเพิม ่ โดยละเอียด) ปั ญญัตติ (อรรถแสดงโดยประการ
ต่างๆ เพือ ่ ยังผู ้สดับให ้ร่าเริงยินดีด ้วยพระธรรมเทศนา)
วิธจ
ี ำแนกมีดงั นี้ ทัพพะ คือ ร่างกายของคุณวิสฏ ิ ฐบุคคล
(ผู ้มีคณ
ุ พิเศษ) เป็ นสม ั ปั ตติกรรม คือ อารัมมณะหรือนิมต ิ ตะใน
จิตตุปบาท จิตตุปบาทเป็ นกิรย ิ าบูชา คือ อารัมมณิกะหรือนิมต ิ
ตวันตะ
อีกอย่างหนึง่ ทัพพะ คือ ร่างกายของคุณวิสฏ ิ ฐบุคคล
25

เป็ นปั จจยุปบันของอารัมมณปั จจัย อารัมมณาธิปติปัจจัย และ


อารัมมณูปนิสสยปั จจัยตามสมควร
ข. พยัญชนสน ั ธิ คือ กลุม่ ศพั ท์ ๖ ประการ คือ พยางค์
บท พากย์ การจำแนกพากย์ รูปวิเคราะห์ และการแสดงรูป
วิเคราะห์โดยประการต่างๆ
วิธจ
ี ำแนกมีดงั นี้ คำว่า ปูชนียานํ เป็ นฉั ฏฐีกรรมในคำว่า
ปูชา เพราะแปลว่า “ซงึ่ ” คำว่า ปูชา เป็ นกิรย ิ าของฉั ฏฐีกรรม
และเป็ นนิทัสเสตัพพสรูปะในคำว่า เอตํ, คำว่า เอตํ เป็ นนิทัส
สนสรูปวันตะ
อีกอย่างหนึง่ คำว่า ปูชา เป็ นสมุจจยะ ใน อเสวนา และ
เสวนา อเสวนา และ เสวนา เป็ นสมุจเจตัพพะ, จ ศพ ั ท์ เป็ น
สมุจจยโชตกะ ในคำว่า ปูชา อันเป็ นทีอ ั ของตนโดยตรง
่ าศย
ปูชา เป็ นสมุจจยวาจกะ, จ ศพ ั ท์ เป็ นสมุจเจตัพพโชตกะ ใน
อเสวนา และ เสวนา
โดยอ ้อม อเสวนา และ เสวนา เป็ นสมุจเจตัพพวาจกะ
ค. เทสนาสน ั ธิ คือ การสม ั พันธ์บทหน ้ากับบทหลัง ตาม
นัยแห่งพยัญชนสน ั ธิทก ี่ ล่าวมาแล ้ว การเปรียบเทียบให ้เหมาะ
สมกับสูตรอืน ่ มี ปูชารเห ปูชยโต เป็ นต ้น และการแสดงความ
สมั พันธ์กน ั ระหว่างวจีเภทเทสนาของเทสกบุคคลกับวจีเภท
สท ั ทของสุณันตบุคคล
ฆ. นิทเทสสน ั ธิ มี ๔ ประการ คือ
๑) ปทนิทเทส คือ การแสดงบทอย่างนี้ คือ
ปูชาติ เอกํ ปทํ, จาติ เอกํ ปทํ, ปูชนียานนฺ ต ิ เอกํ ปทํ.
“คำว่า ปูชา เป็ นบทหนึง่ คำว่า จ เป็ นบทหนึง่ คำว่า ปู
ชนียานํ เป็ นบทหนึง่ ”
26

ปูชาติ เอกํ กฺรย ิ ตฺถปทํ, จาติ เอกํ สมุจฺจยตฺถปทํ, ปูชนี


ยานนฺ ต ิ เอกํ กมฺมตฺถปทํ สมฺปทานตฺถปทํ วา.
“คำว่า ปูชาเป็ นบททีม ่ อี รรถกริยาบทหนึง่ คำว่า จ เป็ น
บททีม ่ อ
ี รรถรวบรวมบทหนึง่ คำว่า ปูชนียานํ เป็ นบททีม ่ ี
อรรถกรรมบทหนึง่ หรือเป็ นบททีม ่ อ
ี รรถสม ั ปทานบทหนึง่ ”
๒) ปทัตถนิทเทส คือ การแสดงอรรถของบทอย่างนี้
คือ
ปูชาติ กฺรย ิ านิทฺเทโส, จาติ สมุจฺจยตฺถนิทฺเทโส, ปูชนี
ยานนฺ ต ิ กมฺมตฺถนิทฺเทโส สมฺปทานตฺถนิทฺเทโส วา.
“คำว่า ปูชา แสดงกริยา คำว่า จ แสดงอรรถสมุจจยะ คำ
ว่า ปูชนียานํ แสดงอรรถกรรมหรืออรรถสม ั ปทาน”
๓) นิสสต ิ จิตตนิทเทส คือ ปุถช ุ นหรือเสกขบุคคล
และธรรมคือกุศลหรืออกุศล ชอ ื่ ว่า นิสสต ิ จิตตะ เพราะมีจต ิ อัน
อาศย ั ตัณหาและทิฏฐิ ตามรูปวิเคราะห์วา่ นิสฺสต ิ ํ จิตฺตเมเตสนฺ
ติ นิสฺสต ิ จิตฺตา (บุคคลหรือธรรมทีม ่ จ
ี ต ิ อันอาศย ั ตัณหาและ
ทิฏฐิ ชอ ื่ ว่า นิสสต ิ จิตตะ) สว่ นศพ ั ท์ทแ ี่ สดงบุคคลและธรรม
เหล่านัน ้ ชอ ื่ ว่า นิสสต ิ จิตตะ ตามรูปวิเคราะห์วา่ นิสฺสต ิ ํ จิตฺตํ
เอตฺถาติ นิสฺสต ิ จิตฺตา (บททีม ่ จี ต ิ อันอาศย ั ตัณหาและทิฏฐิ ชอ ื่
ว่า นิสสต ิ จิตตะ)
๔) บุคคลคือพระพุทธเจ ้าหรือพระอรหันต์, ธรรมคือ
อรหัตตผลหรือนิพพาน และศพ ั ท์ทแ ี่ สดงบุคคลและธรรม
เหล่านัน ้ ชอ ื่ ว่า อนิสสต ิ จิตตะ ตามรูปวิเคราะห์วา่ น นิสฺสต ิ จิตฺ
ตา อ นิสฺสต ิ จิตฺตา (บุคคล/ธรรม/บททีไ่ ม่มจ ี ต
ิ อันอาศย ั ตัณหา
และทิฏฐิ ชอ ื่ ว่า อนิสสต ิ จิตตะ)
ในคำว่า ปูชา จ ปูชนียานํ นี้ ถ ้าหมายเอาการบูชาทีเ่ ป็ น
27

ทานมัย สล ี มัย และภาวนามัยของปุถช ุ นและเสกขบุคคล


บุคคลทัง้ สองนัน ้ จัดเป็ นนิสสต ิ จิตตะ แสดงไว ้โดย
สงั สารปวัตติ เทสนาว่า ปูชา จ ปูชนียานํ เป็ นนิสสต ิ จิตตะใน
ขณะแสดงนัน ้ และมี ๒ อย่าง คือ วัฏฏนิสสต ิ ะ ซงึ่ จัดเป็ นวา
สนาภาคิยะ และวิวฏ ั ฏนิสสติ ะ ซงึ่ จัดเป็ นวาสนาภาคิยะ และนิ
พเพธภาคิยะ
ถ ้าหมายเอาการบูชาของพระพุทธเจ ้าและพระอรหันต์
พระพุทธเจ ้าและพระอรหันต์จัดเป็ นอนิสสต ิ จิตตะ แสดงไว ้
โดยสงั สารนิวต ั ติ (การหยุดสงั สารวัฏ) เทศนาว่า ปูชา จ ปูชนี
ยานํ นีเ้ ป็ นอนิสสต ิ จิตตะในขณะแสดงนัน ้
สรุปความนิทเทสสน ั ธิ คือ นิทเทสสน ั ธิจำแนกเป็ น
๑. ปทนิทเทส จำแนกว่ามีกบ ี่ ท และแต่ละบทมีอรรถ
อะไร
๒. ปทัตถนิทเทส จำแนกว่าแต่ละบทมีอรรถ
อะไร
๓. นิสสต ิ จิตตนิทเทส จำแนกเป็ นบุคคลคือปุถช ุ นหรือ
เสกขบุคคล, ธรรมคือกุศลหรืออกุศล และศพ ั ท์ทแ ี่ สดงบุคคล
และธรรมเหล่านัน ้ กล่าวคือ กิรย ิ าบูชาของปุถช ุ นเป็ นต ้นเป็ นนิ
สสต ิ จิตตะ คือ อาศย ั ตัณหาและทิฏฐิ
๔. อนิสสต ิ จิตตนิทเทส จำแนกเป็ นบุคคลคือ
พระพุทธเจ ้าหรือพระอรหันต์, ธรรมคืออรหัตตผลหรือนิพพาน
และศพ ั ท์ทแ ี่ สดงบุคคลและธรรมเหล่านัน ้ กล่าวคือ กิรย ิ าบูชา
ของพระพุทธเจ ้าเป็ นต ้นเป็ นอนิสสต ิ จิตตะ คือ ไม่อาศย ั ตัณหา
และทิฏฐิ
๗ อาวัฏฏหาระ
อาวัฏฏหาระ คือ แนวทางในการเวียนไปสูธ ่ รรมทีเ่ สมอ
กันและธรรมทีต ่ รงกันข ้าม)
28

การอธิบายความตามหาระนี้ เป็ นการเชอ ื่ มโยงไปหา


ธรรมทีต ่ รงกันข ้าม เมือ ่ มีการกล่าวถึงกุศล ก็สามารถโยงไปหา
อกุศล หรือเมือ ่ กล่าวถึงอกุศล ก็สามารถโยงกลับไปหากุศล
ได ้เชน ่ เดียวกัน ทัง้ นีเ้ พือ ่ ให ้ทราบความเป็ นปฏิปักษ์ของกุศล
และอกุศล ซงึ่ จะนำไปสูค ่ วามเข ้าใจพระพุทธพจน์อย่าง
ชด ั เจน และเป็ นแนวทางในการปฏิบัตธิ รรมได ้อย่างถูกต ้อง
ความจริงแล ้วแนวทางนีเ้ สนอวิธแ ี ก ้ปั ญหาตามอริยสจ ั ๔
กล่าวคือ เริม่ ต ้นด ้วยการหาทีม ่ าของปั ญหาและสาเหตุของ
เหตุนัน ้ ไปตามลำดับจนกระทั่งรู ้ถึงต ้นเหตุของปั ญหา หลัง
จากนัน ้ ก็หาวิธแ ี ก ้ ซงึ่ เริม ่ จากการแก ้ต ้นเหตุของปั ญหาย ้อน
ขึน ้ ไปตามลำดับทีละขัน ้ ตอน จนกระทั่งสามารถแก ้ไขปั ญหา
ทีก ่ ำลังเผชญ ิ ได ้
ตัวอย่างเชน ่ เมือ่ พูดถึงทุคติ ก็ควรเริม ่ ต ้นหาสาเหตุท ี่
ทำให ้เกิดทุคติเป็ นลำดับแรก จะพบสาเหตุ ๒ อย่าง คือ
ตัณหา และอวิชชา เมือ ่ พิจารณาต่อไปจะพบว่า สาเหตุท ี่
ทำให ้เกิดตัณหา คือ อินทริยรูป ๕ (ตา หู จมูก ลิน ้ กาย) และ
สาเหตุทท ี่ ำให ้เกิดอวิชชา คือ มนินทรีย ์ (ใจ) จากนัน ้ จะพบว่า
วิธแ ี ก ้ปั ญหาเรือ ่ งอินทริยรูปทัง้ ๕ คือ สมาธิ เมือ ่ แก ้ปั ญหาอิน
ทริยรูปทัง้ ๕ ได ้ ก็ตด ั ปั ญหาเรือ ่ งตัณหาทีจ ่ ะนำไปสูก ่ ารตัด
ปั ญหาเรือ ่ งทุคติ สว่ นมนินทรียน ์ ัน
้ แก ้ปั ญหาได ้ด ้วยวิปัสสนา
เมือ ่ ควบคุมมนินทรียไ์ ด ้ ก็ขจัดปั ญหาอวิชชาอันจะนำไปสูก ่ าร
แก ้ปั ญหาทุคติอก ี ทางหนึง่
สรุปความว่า อาวัฏฏหาระ คือ แนวทางอธิบายทีแ ่ สวงหา
เหตุใกล ้แล ้ว เวียนไปสูธ ่ รรมทีเ่ สมอกันและธรรมทีไ่ ม่เสมอกัน
การเวียนไปสูธ ่ รรมทัง้ สองอย่างนัน ้ เป็ นหลักสำคัญของหาระนี้
แต่ในบางทีจ ่ งึ อาจไม่มก ี ารแสวงหาเหตุใกล ้ของธรรมทีก ่ ล่าว
ถึงก็ได ้ ตัวอย่างเชน ่ กุศลธรรมทีเ่ รียกว่า ปรักกมธาตุ คือ
ความเพียรบากบัน ่ มีเหตุใกล ้เป็ นอารัมภธาตุ คือ การเริม ่
29

ปรารภความเพียร ปรักกมธาตุนัน ้ เป็ นปฏิปักษ์ตอ


่ อกุศลมีความ
เกียจคร ้านเป็ นต ้นทีเ่ ป็ นเหตุแห่งความประมาท
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
หาระนีจ
้ ำแนกได ้ดังต่อไปนี้
ปทัฏฐานของการบูชา คือ โยนิโสมนสก ิ าร, สท ั ธัมม
สวนะ, สป ั ปุรส ิ ป
ู นิสสยะ, นวมขณะ, จตุจักกสม ั ปั ตติ เป็ นต ้น
ตามสมควร สว่ นปทัฏฐานของการไม่บช ู า คือ อโยนิโส
มนสก ิ าร, พาลูปเสวนา เป็ นต ้น ซงึ่ ตรงกันข ้ามกับการบูชา
ในการเวียนไปสูธ ่ รรมทัง้ สองนัน
้ เมือ
่ มีโยนิโสมนสก ิ าร
กุศลธรรมย่อมเวียนสบ ื ๆ กันไป ดังพระบาลีวา่
โยนิโส ภิกฺขเว มนสก ิ โรโต อนุปฺปนฺ นา เจว กุสลา ธมฺมา
อุปฺปชฺชนฺ ต ิ
อุปฺปนฺ นา จ กุสลา ธมฺมา ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉนฺ ต.ิ
“ภิกษุ ทงั ้ หลาย เมือ ่ บุคคลใสใ่ จโดยแยบคาย กุศลธรรม
ทีย
่ ังไม่เกิดย่อมเกิดขึน ้ กุศลธรรมทีเ่ กิดแล ้วย่อมเจริญ
ไพบูลย์”
สกลมิทํ อานนฺ ท พฺรหฺมจริยสฺส ยทิทํ กลฺยาณมิตฺตตา.
“อานนท์ ความมีกลั ยาณมิตรนีเ้ ป็ นทัง้ หมดของ
พรหมจรรย์”
ปญฺจเิ ม ภิกฺขเว อานิสํสา ธมฺมสฺสวเน. กตเม ปญฺจ. อสฺสต ุ ํ
สุณาติ, สุตํ
ปริโยทาเปติ, กงฺขํ วิตรติ, ทิฏฺฐ ึ อุชํุ กโรติ, จิตฺตมสฺส ปสท ี ติ.
“ภิกษุ ทงั ้ หลาย อานิสงสใ์ นการฟั งธรรมมี ๕ อย่างเหล่า
30

นี้ ทัง้ ๕ อย่างมีอะไรบ ้าง คือ ได ้ยินสงิ่ ทีไ่ ม่เคยได ้ยิน เข ้าใจ
ชด ั เจนถึงสงิ่ ทีเ่ คยได ้ยินแล ้ว พ ้นไปจากความสงสย ั ทำความ
เห็นให ้ถูกต ้อง และจิตผ่องใส”
เมือ่ มีอโยนิโสมนสก ิ าร อกุศลธรรมย่อมเวียนสบ ื ๆ กันไป
ดังพระบาลีวา่
อโยนิโส ภิกฺขเว มนสก ิ โรโต อนุปฺปนฺ นา เจว อกุสลา ธมฺ
มา อุปฺปชฺชนฺ ต.ิ
อุปฺปนฺ นา จ อกุสลา ธมฺมา ภิยฺโยภาวาย เวปุลฺลาย สํวตฺตนฺ ต.ิ
“ภิกษุ ทงั ้ หลาย เมือ ่ บุคคลใสใ่ จโดยไม่แยบคาย อกุศล
ธรรมทีย ่ ังไม่เกิดย่อมเกิดขึน ้ อกุศลธรรมทีเ่ กิดแล ้วย่อมเจริญ
ไพบูลย์”
อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺ ต.ิ
“บุคคลย่อมเสอ ื่ มจากธรรมเพราะไม่ได ้สดับ”
ทุกฺโข พาเลหิ สํวาโส.
“การคบหากับคนชวั่ นำทุกข์มาให”้
๘. วิภต ั ติหาระ
วิภต ั ติหาระ คือ แนวทางในการจำแนกสภาวธรรม เหตุ
ใกล ้ และภูม ิ โดยทั่วไป และไม่ทั่วไป
วิภต ั ติหาระนีจ
้ ำแนกข ้อความในพระพุทธพจน์ออกเป็ น
๕ อย่าง คือ
๑. สภาวธรรมทีเ่ สมอกันและทีต ่ รงกันข ้าม เชน ่ กุศลจิต
เสมอกับกุศลจิต แต่ตรงกันข ้ามกับอกุศลธรรมฝ่ ายเศร ้าหมอง
๒. เหตุใกล ้ เชน ่ เหตุใกล ้ของกุศล คือ ศล ี เป็ นเหตุใกล ้
แก่มหัคคตธรรม ศล ี และฌานเป็ นเหตุใกล ้แก่โลกุตตรธรรม
๓. ภูม ิ เชน ่ ภูมข ิ องกุศล คือ ความเป็ นปุถช ุ นเป็ นภูมข ิ อง
31

ธรรมทีพ ่ งึ ละด ้วยโสดาปั ตติมรรค ความเป็ นพระโสดาบัน


เป็ นต ้นเป็ นภูมข
ิ องธรรมทีพ ่ งึ ละด ้วยมรรคชนั ้ สูง ๓
๔. ความเป็ นธรรมทั่วไป คือ ลักษณะทั่วไปของผู ้คน
โดยมาก เชน่ กามราคะและพยาบาท เป็ นสภาวะทีเ่ กิดขึน
้ กับ
ปุถช
ุ นและพระโสดาบันทั่วไป
๕. ความเป็ นธรรมไม่ทั่วไป คือ ลักษณะพิเศษเฉพาะ
่ กามราคะและพยาบาท เป็ นสภาวะไม่เกิดกับพระ
บางคน เชน
อนาคามีและพระอรหันต์
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค ่ วรบูชา”
การจำแนกโดยทั่วไปและไม่ทั่วไป คือ จิตตุปบาทอัน
เป็ นองค์ธรรมของบทว่า ปูชา นัน ้ เมือ ื่ จิตตุปบาท
่ หมายเอาชอ
และวัตถุทต ี่ งั ้ คือบุคคลทั่วไป จัดเป็ นสาธารณะ เพราะมหา
กุศลจิตเกิดขึน ้ ได ้ทั่วไปแก่ปถ
ุ ช
ุ นและพระเสกขะ แต่เมือ ่ หมาย
เอาชอ ื่ เฉพาะคือมหากุศลจิตทีด ่ ำเนินไปในขณะบูชาและวัตถุ
ทีต
่ งั ้ คือบุคคลเฉพาะๆ คือบุคคลผู ้บูชาแต่ละคน ก็จัดเป็ นอสา
ธารณะ
การจำแนกโดยภูม ิ คือ จิตตุปบาทนัน
้ เมือ ื่
่ หมายเอาชอ
สามัญทั่วไปคือ จตุภม ู ก
ิ จิตตุปบาท (จิตตุปบาททีม ่ ใี นภูม ิ ๔)
และวัตถุสามัญทั่วไป คือ ภูม ิ ๔ จัดเป็ นสาธารณะ แต่เมือ ่
หมายเอาชอ ื่ และวัตถุเฉพาะๆ โดยพิเศษคือมหากุศลจิตที่
ดำเนินไปในขณะบูชาและวัตถุทต ี่ งั ้ คือบุคคลเฉพาะๆ คือ
บุคคลผู ้บูชาแต่ละคน ก็จัดเป็ นอสาธารณะ
การจำแนกโดยเหตุใกล ้ คือ การบูชาเป็ นปทัฏฐานแก่ผล
ทัง้ หลาย ดังพระบาลีวา่
32

เต ตาทิเส ปูชยโต นิพฺพเุ ต อกุโตภเย


น สกฺกา ปุญฺญํ สงฺขาตุํ อิเมตฺตมปิ เกนจิ. (ขุ.ธ.
๒๕/๑๙๖/๕๑)
“แม ้บุคคลใดบุคคลหนึง่ ในโลกนี้ ย่อมไม่อาจจะนับผล
บุญของผู ้บูชาพระพุทธเจ ้า พระปั จเจกพุทธเจ ้า และพระสาวก
ผู ้สงบระงับปลอดภัยโดยประการทัง้ ปวง”
ปทัฏฐานนัน ้ เมือ่ หมายเอาชอ ื่ และวัตถุสามัญทั่วไป เพราะ
มหากุศลจิตเกิดขึน ้ ได ้ทั่วไปแก่ปถ ุ ช
ุ นและพระเสกขะ จัดเป็ น
สาธารณะ แต่เมือ ่ หมายเอาชอ ื่ และวัตถุเฉพาะๆ โดยพิเศษคือ
มหากุศลจิตทีด
่ ำเนินไปในขณะบูชาและวัตถุทต ี่ งั ้ คือบุคคลเฉ
พาะๆ คือบุคคลผู ้บูชาแต่ละคน ก็จัดเป็ นอสาธารณะ
เหตุกอ ่ นๆ อันมีโยนิโสมนสก ิ าร เป็ นต ้น เป็ นปทัฏฐานแก่
การบูชาเป็ นต ้น การบูชาเป็ นต ้นเป็ นปทัฏฐานแก่ผลทีเ่ กิดใน
ภายหลังอันมีปราโมทย์เป็ นต ้น ตามทีแ ่ สดงมาแล ้วในปทัฏ
ฐานหาระ
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า วิภต ั ติหาระ เพราะ
จำแนกธรรมโดยสภาวธรรม เหตุใกล ้ ภูม ิ และชอ ื่ หรือบุคคล
โดยทั่วไปและไม่ทั่วไป
๙. ปริวตั ตนหาระ
ปริวต
ั ตนหาระ คือ แนวทางในการเปลีย ่ นไปในทางตรง
กันข ้าม
ปริวตั ตนหาระนีเ้ ป็ นการเสนอเนือ ้ หาหรือความคิดทีต ่ รง
กันข ้ามกับเรือ ่ งทีต
่ ้องการอธิบาย เพือ ่ ทำให ้ผู ้ศก ึ ษามีความคิด
กว ้างไกลออกไป อันจะเอือ ้ ให ้เข ้าใจสภาวธรรมตามความเป็ น
จริงอย่างสมบูรณ์ เชน ่ ถ ้าในพระสูตรกล่าวถึงเรือ ่ งกุศล ผู ้
อธิบายธรรมควรอธิบายเรือ ่ งอกุศล เพือ ่ ชว่ ยให ้เข ้าใจเรือ ่ งนี้
ั เจน
ได ้ชด
แนวทางเสนอเนือ ้ หาหรือความคิดทีต ่ รงกันข ้ามนี้ เป็ นวิธ ี
33

ทีพ ้
่ ระพุทธเจ ้าและพระสาวกใชในการสอนธรรมเสมอ ใน
มัชฌิมนิกาย มหาจัตตารีสกสูตร พระพุทธองค์ทรงอธิบาย
ธรรมทีเ่ ป็ นกุศล ๒๐ ชนิด และธรรมทีเ่ ป็ นอกุศล ๒๐ ชนิด ใน
ตอนท ้ายพระองค์ได ้อธิบายถึงความสำคัญของการเข ้าใจ
ธรรมะทัง้ สองด ้านซงึ่ ตรงข ้ามกัน เพือ่ ประโยชน์ในการบรรลุ
ธรรม เพราะทำให ้แบ่งแยกได ้ว่า สงิ่ ใดถูกควรสรรเสริญ สงิ่ ใด
ผิดควรตำหนิ มิฉะนัน ้ แล ้วอาจถือผิดได ้ ดังข ้อความในพระ
สูตรนัน
้ ว่า
โย หิ โกจิ ภิกฺขเว สมโณ วา พฺราหฺมโณ วา อิมํ มหาจตฺ
ตารีสกํ ธมฺมปริยายํ ครหิตพฺพํ ปฏิกฺโกสต ิ พฺพํ มญฺเญยฺย, ตสฺส
ทิฏฺเฐว ธมฺเม ทส สหธมฺมก ิ า วาทานุวาทา คารยฺหํ ฐานํ
อาคจฺฉนฺ ต.ิ สมฺมาทิฏฺฐ ึ เจ ภวํ ครหติ, เย จ มิจฺฉาทิฏฺฐ ี สมณพฺ
ราหฺมณา เต โภโต ปุชฺชา, เต โภโต ปาสส ํ า. (ม.อุ.
๑๔/๑๔๓/๑๒๙)
“ภิกษุ ทงั ้ หลาย สมณะหรือพราหมณ์ผู ้ใดผู ้หนึง่ พึง
สำคัญทีจ ่ ะติเตียนคัดค ้านธรรมเทศนาชอ ื่ มหาจัตตารีสกะนี้
การพูดและการพูดตามทีป ่ รากฏในปั จจุบน ั อันชอบด ้วยเหตุ
๑๐ อย่างของสมณะหรือพราหมณ์ผู ้นัน ้ ย่อมถึงฐานะน่าตำหนิ
ในปั จจุบนั โดยแท ้ ถ ้าใครติเตียนสม ั มาทิฏฐิ เขาก็ต ้องบูชา
สรรเสริญสมณะพราหมณ์ผู ้มีทฏ ิ ฐิผด
ิ ”
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค่ วรบูชา”
การบูชา คือ อามิสบูชาและธรรมบูชา มีโยนิโสมนสก ิ าร
เป็ นมูลเหตุ เมือ
่ บุคคลมีโยนิโสมนสก ิ ารแล ้ว อโยนิโสมนสกิ าร
ย่อมหายไป เมือ ่ อโยนิโสมนสก ิ ารหายไป อกุศลธรรมทัง้
หลายอันมีอโยนิโสมนสก ิ ารนัน
้ เป็ นมูลเหตุยอ ่ มหมดไป เมือ ่
34

อกุศลธรรมทัง้ หลายหมดไป กุศลธรรมอันไม่มโี ทษย่อมเจริญ


ขึน

โดยประการดังนี้ แนวทางในการเปลีย ่ นไปในทางตรง
กันข ้าม ชอ ื่ ว่า ปริวตั ตนหาระ
๑๐. เววจนหาระ
เววจนหาระ คือ แนวทางในการแสดงคำไวพจน์
เววจนหาระนีน ้ ำเสนอคำไวพจน์ หรือคำพ ้องความ คือ
คำทีม่ ค ี วามหมายอย่างเดียวกัน จัดอยูใ่ นกลุม ่ เรือ
่ งคล ้ายคลึง
กัน เชน ่ จิต มโน และวิญญาณ หรือเป็ นคำทีอ ่ าจใชแทนกั้ นได ้
โดยเป็ นคำทีแ ่ ยกแยะคุณลักษณะแตกต่างกันออกไป เชน ่ คำ
ว่า อสงั ขตะ อนัตตา อนาสวะ สจ ั จะ อมตะ ปณีตะ คัมภีระ
ถือว่าเป็ นคำไวพจน์ของนิพพาน ดังนีเ้ ป็ นต ้น

การใชคำไวพจน์ ของพระพุทธเจ ้า มีประโยชน์เพือ ่ :-
ก. ทำให ้บุคคลบางคนเข ้าใจข ้อความนัน ้ ในเวลาแสดง
ธรรมและในเวลาอืน ่ ทีผ ่ ู ้ฟั งธรรมนึกทบทวน
ข. ทำให ้คนทีม ่ จ ี ติ ฟุ้ งซา่ นคิดเรือ
่ งอืน
่ ในขณะฟั งธรรม
ได ้เข ้าใจเนือ
้ ความด ้วยปริยายอืน ่
ค. ทำให ้ผู ้ทีม
่ ป ี ั ญญาน ้อยไม่สบ ั สนในการกำหนดรู ้เนือ้่
ความของพระเทศนา
ฆ. หลีกเลีย
่ งการดำริเนือ
้ ความอืน
่ เพราะเนือ
้ ความ
จำนวนมากมีศพั ท์เหมือนกัน
ง. แสดงเนือ ้ ความนัน
้ ๆ ด ้วยคำบัญญัตน
ิ ัน
้ ๆ จำนวนมาก
เหมือนในคัมภีรน
์ ฆ
ิ ณั ฑุ(อภิธานัปปทีปิกา)
จ. ทำให ้ผู ้แสดงธรรมสามารถแสดงให ้ผู ้ฟั งเข ้าใจง่าย
ฉ. แสดงการบรรลุธรรมปฏิสม ั ภิทาและนิรต ุ ติปฏิสม ั ภิทา
ช. บ่มเมล็ดพันธุแ ั ภิทาญาณทัง้ สองนัน
์ ห่งปฏิสม ้ แก่
35

เวไนยชน
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
คำว่า ปูชา มีคำไวพจน์วา่ ปูชนา, มานํ , มานนํ , สกฺกาโร
เป็ นต ้น
คำว่า จ มีคำไวพจน์วา่ วา, ตถาปิ , อปิ เป็ นต ้น
คำว่า ปูชนียานํ มีคำไวพจน์วา่ ปูเชตพฺพานํ , มาเนตพฺ
พานํ , มานเนยฺยานํ , สกฺกเรยฺยานํ เป็ นต ้น
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า เววจนหาระ เพราะ
เป็ นแนวทางในการแสดงคำไวพจน์
๑๑. ปั ญญัตติหาระ
ปั ญญัตติหาระ คือ แนวทางในการแสดงบัญญัต ิ
ปั ญญัตติหาระนีเ้ ป็ นการวิเคราะห์ความหมายของคำหรือ
ข ้อความด ้วยการอธิบายความหมายทีน ่ ่าจะเป็ นไปได ้อย่าง
ละเอียดทุกแง่มม ุ ลักษณะนีต ้ รงกับการอธิบายขยายความ
อย่างละเอียดซงึ่ พระอรรถกถาจารย์นย ิ มใช ้ เชน ่ เมือ
่ กล่าวถึง
เรือ
่ งทุกข์ ก็อาจอธิบายกว ้างไปถึงธรรมชาติของขันธ์ ๕ ธาตุ
๖ ธาตุ ๑๘ อายตนะ ๑๒ เป็ นต ้น
หาระประเภทนีไ ้ ม่มขี อบเขตในการแสดงโดยเฉพาะ ขึน ้
อยูก่ บ ั ข ้อความนัน
้ ๆ ทีน
่ ย ้
ิ มใชมากคือนิกเขปบัญญัต ิ = บัญญัต ิ
ทีต
่ งั ้ ข ้อความอย่างใดอย่างหนึง่ ไว ้ เชน ่ คำว่า นโม พุทฺธสฺส
(ขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า) เป็ นการแสดงการตัง้ ความ
นอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า (นิกเขปบัญญัต)ิ และแสดงการ
ทำลายอกุศลธรรมอันต่ำทราม (อภินฆ ิ าตบัญญัต)ิ ดังนีเ้ ป็ นต ้น
บัญญัตม
ิ ี ๒ ประการ คือ
36

๑. สทั ทบัญญัต ิ บัญญัตค ิ อื เสย ี ง เป็ นบัญญัตท ิ แี่ สดง


อรรถบัญญัตติคอ ื บุคคลสงิ่ ของ หมายถึง ชอ ื่ ต่างๆ ทีช ่ าวโลก
หมายรู ้กันตามภาษาท ้องถิน ่ นัน
้ ๆ และชอ ื่ ทีร่ ะบุถงึ สภาวธรรม
นัน
้ ๆ
๒. อรรถบัญญัต ิ บัญญัตค ิ อื บุคคลสงิ่ ของ เป็ นบัญญัต ิ
ทีถ ่ กู แสดงด ้วยสท ั ทบัญญัต ิ หมายถึง บุคคลหรือสงิ่ ของทีช ่ อ ื่
สอ ื่ ถึง หรือสภาวธรรมทีพ ่ ระพุทธองค์ทรงแสดงไว ้
บัญญัตใิ นทีน ่ ห
ี้ มายถึงสทั ทบัญญัตเิ ท่านัน ้ และสท ั
ทบัญญัตน ิ กี้ ็เป็ นวิชชมานบัญญัต ิ คือ บัญญัตแ ิ สดงเนือ้ ความ
ทีม ่ ปี รากฏ เชน ่ รูป เวทนา เป็ นต ้น
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
ื่ ว่า :-
การบูชาอันเป็ นอรรถบัญญัต ิ ได ้ชอ
ก. นิกเขปบัญญัต ิ เพราะเป็ นบัญญัตท ิ พี่ ระพุทธเจ ้าทรง
ตัง้ ไว ้เพือ
่ ให ้รู ้ว่า การบูชาบุคคลผู ้ควรบูชาเป็ นมงคล
ข. ตัชชาบัญญัต ิ เพราะให ้รู ้อาการบูชา
ค. อุปาทาบัญญัต ิ เพราะเกิดขึน ั กิรย
้ โดยอาศย ิ าการบูชา
นัน

ฆ. อุปนิธาบัญญัต ิ เพราะเกิดขึน
้ โดยรวบรวมกิรย
ิ าอย่าง
อืน
่ มี วนฺ ทนา, มาน,
สกฺการ เป็ นต ้น
ง. สมูหบัญญัต ิ เพราะให ้รู ้หมูธ ี ภาวนา
่ รรมคือทาน ศล
อามิสบูชา และธรรมบูชา เป็ นต ้น
ั ตติบญ
จ. สน ั ญัต ิ เพราะให ้รู ้ลำดับแห่งธัมมานุธัมมปฏิ
37

ปั ตติ (การปฏิบต ิ ขาอันควรแก่โลกุตตรธรรม)


ั ธิ รรมคือไตรสก
และลำดับมีปฐมชวนจิต เป็ นต ้น
ฉ. อัตถบัญญัต ิ เพราะให ้รู ้อรรถว่าองค์ธรรมของการ
บูชาคือจิตตุปบาท
ช. สงั เกตบัญญัต ิ เพราะให ้รู ้เครือ ่ งกำหนดหมายว่าเป็ น
อามิสบูชาหรือธรรมบูชา
สว่ นปูชา ศพ ั ท์ทเี่ ป็ นสท ั ทบัญญัตไิ ด ้ชอ ื่ ว่า ;-
ก. มนสาววัตถาปิ ตคัมภีรธัมมบัญญัต ิ (บัญญัตค ิ อื ธรรม
อันลึกซงึ้ ซงึ่ ถูกกำหนดด ้วยใจ) คือ บัญญัตท ิ ก
ี่ ำหนดไว ้ในใจ
ก่อนเปล่งเสย ี งพูดออกมา
ข. วจีเภทเทสนาคัมภีรสท ั ทบัญญัต ิ (บัญญัตค ิ อื ศพ ั ท์
อันลึกซงึ้ ได ้แก่เทศนาทีเ่ ปล่งเสย ี งพูดออกมา) คือ บัญญัตท ิ ี่
เปล่งออกมาตามทีก ่ ำหนดไว ้นัน ้
ค. นามบัญญัต ิ (บัญญัตค ิ อ
ื ชอ ื่ ) คือ บัญญัตท ิ เี่ ป็ น
อารมณ์ของสุทธมโนทวารวิถ ี ซงึ่ เกิดขึน ้ ในกระแสจิตของสุณั
นตบุคคลผู ้ได ้ยินสท ั ทบัญญัตน ิ ัน้
อีกอย่างหนึง่ จำแนกตามไวยากรณ์โดยสท ั ทบัญญัต ิ
ดังนี้ ปูชา ศพ ั ท์ ชอ ื่ ว่า ปทบัญญัต ิ สฺยาทยันตปทบัญญัต ิ และ
ปฐมาสฺยาทยันตปทบัญญัต ิ หรือจำแนกโดยอรรถบัญญัต ิ
ดังนี้ อรรถของศพ ั ท์นัน ้ ชอื่ ว่า การกบัญญัต ิ กัตตุการกบัญญัต ิ
วุตตกัตตุการกบัญญัต ิ และยังมีอรรถบัญญัตเิ กีย ่ วกับการบูชา
โดยประเภทต่างๆ เชน ่ อามิสบูชา (การบูชาด ้วยสงิ่ ของ) ธรรม
ปูชา (การบูชาด ้วยธรรม) อันนปูชา (การบูชาด ้วยข ้าว) และ
ปานปูชา (การบูชาด ้วยน้ำ) เป็ นต ้น
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า ปั ญญัตติหาระ เพราะ
แสดงบัญญัตอ ิ ย่างนี้
38

๑๒. โอตรณหาระ
โอตรณหาระ คือ แนวทางในการหยั่งลงสูข ่ น
ั ธ์ อายตนะ
ธาตุ อินทรีย ์ และปฏิจจสมุปบาท
ในหาระนีไ ้ ด ้แนะนำว่า ความเข ้าใจธรรมะเรือ ่ งใดเรือ
่ ง
หนึง่ อย่างละเอียดลึกถึงแก่นจะนำไปสูค ่ วามเข ้าใจธรรมอืน ่ ๆ
ได ้ทัง้ หมด โดยเน ้นความเข ้าใจสภาวธรรมเรือ ่ งขันธ์ อายตนะ
ธาตุ อินทรีย ์ และปฏิจจสมุปบาท โดยเฉพาะอย่างยิง่ ควรจะมี
ความเข ้าใจเรือ ่ งปฏิจจสมุปบาทเป็ นอย่างดี เพราะเป็ นหลัก
ของพุทธธรรม คำอธิบายนีต ้ รงกับพระพุทธพจน์วา่
โย ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ, โส ธมฺมํ ปสฺสติ. โย ธมฺมํ ปสฺ
สติ, โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสติ. (ม.มู. ๑๒/๓๐๖/๒๗๓)
“ผู ้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู ้นัน
้ เห็นธรรม ผู ้ใดเห็นธรรม ผู ้
นัน
้ เห็นปฏิจจสมุปบาท”
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
การหยั่งลงด ้วยขันธ์ ๕ คือ วิญญัตติรป ู และจิตตุปบาทอัน
เป็ นองค์ธรรมของคำว่า ปูชา และขันธ์ ๕ คือ คุณวิสฏ ิ ฐบุคคล
ผู ้ควรบูชาอันเป็ นองค์ธรรมของคำว่า
ปูชนียานํ ตามสมควรแก่ขน ั ธ์นัน ื่ ว่า ขันโธตรณะ
้ ๆ ชอ
การหยั่งลงด ้วยอายตนะเป็ นต ้น ชอ ื่ ว่า อายตโนตรณะ ธา
โตตรณะ อินทริโยตรณะ
ขันธ์ ๕ นัน้ มีอวิชชาเป็ นมูลเหตุ เมือ ่ มีอวิชชา สงั ขาร
วิญญาณ และนามรูป เป็ นต ้น ย่อมเกิดขึน ้ เมือ ่ กำจัดอวิชชานัน

ได ้ด ้วยอรหัตตมรรค สงั ขารเป็ นต ้นย่อมดับไป การหยั่งลงด ้วย
ปฏิจจสมุปบาทอย่างนี้ ชอ ื่ ว่า ปฏิจจสมุปปาโทตรณะ
39

นอกจากนัน ้ ควรหยั่งลงด ้วยอธิโมกข์ สติปัฏฐาน


ั มัปปธาน อิทธิบาท พละ โพชฌงค์ และองค์มรรคอีกด ้วย
สม
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า โอตรณหาระ เพราะ
หยั่งลงด ้วยขันธ์เป็ นต ้นอย่างนี้
๑๓. โสธนหาระ
โสธนหาระ คือ แนวทางในการตรวจสอบบทและ
ใจความของบทในคำถามและคำตอบตามสมควร
โสธนหาระนำเสนอวิธก ี ารอธิบายความคิดให ้ชดั เจน
แบ่งออกเป็ น ๒ วิธ ี คือ
๑. ปทโสธนะ การตรวจสอบบท เป็ นวิธอ
ี ธิบาย
พลความในแต่ละประโยค
๒. อารัมภโสธนะการตรวจสอบใจความ เป็ นวิธส
ี รุป
ใจความของประโยคทัง้ หมดในพระพุทธพจน์นัน
้ ๆ
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
คำว่า ปูชา ชอ ื่ ว่า ปทสุทธิ คือ การตรวจสอบบท และ
อารัมภสุทธิ คือ การตรวจสอบใจความ เพราะทำให ้ได ้เนือ ้
ความสมบูรณ์ สว่ นคำว่า ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า ปทสุทธิ คือ การ
ตรวจสอบบท เพราะเป็ นพลความ
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า โสธนหาระ เพราะ
ตรวจสอบบทและใจความของบทในคำถามและคำตอบตาม
สมควร
สรุปความโสธนหาระ คือ
๑. ปทสุทธิ คือ การตรวจสอบบท หมายถึง พลความใน
เรือ
่ งนัน
้ ๆ
40

๒. อารัมภสุทธิ คือ การตรวจสอบใจความ คือ ใจความ


ของบทในเรือ ่ งนัน้ ๆ
ถ ้าเป็ นกริยาคุมพากย์ หรือประธานในประโยค ก็เป็ น
อารัมภสุทธิ แต่ถ ้าเป็ นบทอืน ่ ๆ นอกจากนัน ้ ก็จัดเป็ นปทสุทธิ
๑๔. อธิฏฐานหาระ
อธิฏฐานหาระ คือ แนวทางในการแสดงโดยสามัญทั่วไป
หรือโดยพิเศษ
อธิฏฐานหาระแยกเนือ ้ หาธรรมะออกเป็ น ๒ ประเภท คือ
๑. เอกัตตตา ธรรมทีม ่ ล
ี ก
ั ษณะร่วมหรือทั่วไป เชน ่
ทุกข์เป็ นธรรมทีม ่ ลี ก
ั ษณะทั่วไป
๒. เวมัตตตา ธรรมทีม ่ ล
ี ก
ั ษณะแตกต่างหรือพิเศษ
่ ชาติทก
เชน ุ ข์ ชราทุกข์ เป็ นลักษณะพิเศษของทุกข์
การอธิบายในลักษณะนีค ้ ล ้ายกับการให ้คำจำกัดความ
ด ้วยการแยกประเภทย่อยของคำหรือความคิดหลักทีต ่ ้องการ
อธิบาย เพือ่ แสดงลักษณะหรือความหมายของธรรมนัน ้ ๆ
อย่างกว ้างขวาง วิธอ ี ธิบายแบบนีป ้ รากฏตัวอย่างการใชทั ้ ่วไป
ในพระไตรปิ ฎก เชน ่ สม ั มาทิฏฐิสต ู ร (จำแนกผู ้มีสมั มาทิฏฐิ
ออกเป็ นหลายประเภท) และสติปัฏฐานสูตร (จำแนกสติปัฏ
ฐาน ๔) เป็ นต ้น
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
วิธแสดงโดยอธิ
ี ฏฐานหาระในเรือ
่ งนี้ คือ
ก. คำว่า ปูชา มีลก ั ษณะทั่วไป เพราะเนือ ่ งด ้วยอุตช

ั ท์ (เสย
ศพ ี งทีเ่ กิดจากอุต)ุ และจิตตชศพ ั ท์ (เสย
ี งทีเ่ กิดจาก
41

จิต) ตามรูปวิเคราะห์วา่ สปฺปติ โสตวิญฺาณารมฺ


ค มณภาวํ จฺฉ
ตีต ิ สทฺโท นอกจากนัน ้ คำนีย
้ ังมีลก
ั ษณะแตกต่างกัน เพราะ
ต่างจากอุตช ั ท์โดยพิเศษ คือ เป็ นจิตตชศพ
ุ ศพ ั ท์
ข. คำว่า ปูชา เป็ นจิตตชศพ ั ท์ทม ี่ ล
ี ักษณะทั่วไป เพราะ
เนือ่ งด ้วยมิลก ั ขศพ ั ท์เป็ นต ้น นอกจากนัน ้ ยังมีลกั ษณะแตก
ต่างกัน เพราะต่างจากมิลก ั ขศพ ั ท์เป็ นต ้นโดยเป็ นอริยศพ ั ท์
ค. คำนัน ้ เป็ นบทโดยสามัญทั่วไป แต่ตา่ งกันโดยความ
เป็ นสฺยาทยันตบท
ฆ. แม ้สยาทยันตบทนัน ้ ก็เป็ นบทสามัญทั่วไปทีเ่ นือ ่ ง
ด ้วยวิภต ั ติทงั ้ หมด แต่ตา่ งกันโดยความเป็ นปฐมาสฺยาทยัน
ตบท
ง. การบูชาเป็ นข ้อความสามัญทั่วไปมิได ้เจาะจง แต่
การบูชาด ้วยอามิสบูชาและธรรมบูชา เป็ นความต่างกัน
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า อธิฏฐานหาระ เพราะ
เป็ นแนวทางในการแสดงโดยสามัญทั่วไปหรือโดยพิเศษ
อย่างนี้
๑๕. ปริกขารหาระ
ปริกขารหาระ คือ แนวทางในการแสดงเหตุปัจจัย
ปริกขารหาระเป็ นแนวทางในการจำแนกเหตุและปั จจัย
ตามสมควรแก่ธรรมนัน ้ ๆ เพือ
่ ให ้ทราบว่าอะไรเป็ นเหตุ อะไร
เป็ นปั จจัย เหตุ คือ เหตุโดยตรงทีท ่ ำให ้เกิดสงิ่ นัน ้ ๆ สว่ นปั จจัย
คือ เหตุทป ี่ ระกอบเข ้ามาหรือสภาวะแวดล ้อมทีช ่ ว่ ยหนุนให ้สงิ่
นัน
้ เกิดขึน้ เชน ่ เมล็ดพืชเป็ นเหตุโดยตรงทีท ่ ำให ้พืชเกิดขึน ้
มาได ้ แต่ดน ิ น้ำ แสงแดด เป็ นปั จจัยเสริมทีท ่ ำให ้พืชเกิดขึน ้
ได ้
42

ในพระสูตรบางสูตร เชน ่ มหานิทานสูตร พบคำว่าเหตุ


และปั จจัยในความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึงสาเหตุ แต่คำ
ทัง้ สองมีความหมายต่างกันในพระสูตรบางสูตร เหมือนอย่าง
ทีก่ ล่าวไว ้ในเนตติปกรณ์ โดยเฉพาะในคัมภีรป
์ ั ฏฐานของพระ
อภิธรรมปิ ฎก
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค
่ วรบูชา”
ในการจุดประทีป ไฟมีลก ั ษณะเสมอกับเปลวไฟ ในเวลา
จักขุวญ
ิ ญาณเกิดขึน ้ จักขุวต ั ถุ และมนสก ิ ารเป็ นเหตุภายใน
ในขณะปฏิสนธิ กรรมเป็ นชนกเหตุ คือ เหตุให ้เกิดขึน ้ สว่ นใน
การงอกขึน ้ แห่งต ้นไม ้ เมล็ดพืชเป็ นอสาธารณเหตุ คือ เหตุไม่
ทั่วไป สภาพเหล่านี้ ชอ ื่ ว่า เหตุ (เหตุหลัก)
สว่ นเหตุทชี่ ว่ ยสนับสนุน ชอ ื่ ว่า ปั จจัย ซงึ่ จำแนกเป็ นวิ
สภาคะ (ไม่เสมอกับผล) พาหิยะ (ภายนอก) อุปถัมภกะ
(ค้ำจุน) และสาธารณะ (ทั่วไป) ได ้แก่ สว่ นทีเ่ หลือมีน้ำมัน
เป็ นต ้น รูปารมณ์ เป็ นต ้น อวิชชาเป็ นต ้น ปฐวี เป็ นต ้น
ในคำว่า ปูชา จ ปูชนียานํ เหตุของจิตตุปบาทอันเป็ นองค์
ธรรมของคำว่า ปูชา ได ้แก่ ศรัทธา เครือ ่ งไทยธรรม
ทักขิไณยบุคคล โยนิโสมนสก ิ าร เมตตา ปั ญาว ต ั ถุ
ทวาร อารมณ์ การคบหาสต ั บุรษ
ุ การสงั่ สมบารมี เป็ นต ้น ดัง
พระบาลีเป็ นต ้นว่า
ติณฺณํ ภิกฺขเว สมฺมข
ุ ภ
ี าวา สทฺโธ กุลปุตฺโต พหุํ ปุญฺญํ
ปสวติ.
“ภิกษุ ทงั ้ หลาย กุลบุตรผู ้มีศรัทธาย่อมสงั่ สมบุญอันมาก
43

เพราะอยูเ่ ฉพาะหน ้าสงิ่ ๓ อย่าง


ในบรรดาธรรมเหล่านัน ้ ศรัทธา เป็ นสภาคะ อัชฌัตติกะ
ชนกะ และอสาธารณะ จึงชอ ื่ ว่า เหตุ
ไทยธรรม และทักขิไณยบุคคล เป็ นวิสภาคะ พาหิยะ
อุปถัมภกะ และสาธารณ จึงชอ ื่ ว่า ปั จจัย
โยนิโสมนสก ิ าร เป็ นสภาคะ อัชฌัตติกะ ชนกะ และอสา
ธารณะ จึงชอ ื่ ว่า เหตุ และชอ ื่ ว่า ปั จจัย เพราะประกอบทั่วไป
ในกุศลทัง้ ปวง
เมือ
่ ถือเอากิรย ิ าการบูชาว่า ได ้แก่ วิญญัตติรป ู ๒ แล ้ว
มหาภูตรูป ชอ ื่ ว่า เหตุ เพราะเป็ นสภาคะ อัชฌัตติกะ และชน
กะ และชอ ื่ ว่า ปั จจัย เพราะทั่วไปแก่ผลอืน ่ มีวณ
ั ณะ คันธะ รสะ
และโอชาเป็ นต ้น
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า ปริกขารหาระ เพราะ
เป็ นแนวทางในการแสดงเหตุปัจจัยอย่างนี้
๑๖. สมาโรปนหาระ
สมาโรปนหาระ คือ แนวทางในการยกขึน ้ แสดงด ้วยเหตุ
ใกล ้ คำไวพจน์ การภาวนา และการละกิเลส
หาระนีเ้ ป็ นตัวอย่างของการนำเสนอแนวทางทีก ่ ล่าวไว ้
ในหาระอืน่ มาใชอธิ้ บายความเรือ ่ งใดเรือ ่ งหนึง่ โดยเพิม ่ การ
เจริญกุศลธรรม และการละอกุศลธรรม มี ๔ ลักษณะ คือ
๑. ปทัฏฐาน สงิ่ ทีเ่ ป็ นมูลฐานทีม ่ าของธรรมะนัน ้
่ สล
เชน ี ขันธ์เป็ นปทัฏฐานแก่สมาธิขน ั ธ์ สมาธิขน ั ธ์เป็ นปทัฏ
ฐานแก่ปัญญาขันธ์ ทัง้ สล ี ขันธ์และสมาธิขน ั ธ์เป็ นปทัฏฐานแก่
สมถะ ปั ญญาขันธ์เป็ นปทัฏฐานแก่วป ิ ั สสนา เป็ นต ้น
๒. เววจนะ คำไวพจน์
44

๓. ภาวนา วิธป ี ฏิบต


ั เิ พือ
่ ให ้เจริญขึน
้ ในกรณีทเี่ ป็ น
ธรรมทีค ่ วรเจริญ เชน่ เมือ ่ เจริญสติปัฏฐาน ๔ สม ั มัปปธาน ๔ ก็
เป็ นอันเจริญไปด ้วย เมือ ่ เจริญสม ั มัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ ก็
เป็ นอันเจริญไปด ้วย เป็ นต ้น
๔. ปหานะ การขจัดให ้หมดสน ิ้ ไป ในกรณีทเี่ ป็ น
ธรรมทีค ่ เมือ
่ วรขจัด เชน ่ ตามรู ้ในกองรูปว่าเป็ นกองรูปอยู่ ย่อม
ละวิปัลลาสว่าสวยงาม เป็ นต ้น
ตัวอย่าง
ปูชา จ ปูชนียานํ . (ขุ.ธ. ๒๕/๓/๔)
“การบูชาผู ้ทีค่ วรบูชา”
๑. ปทัฏฐานสมาโรปนะ คือ การยกปทัฏฐานต่อๆ ไป
ของจิตตุปบาทอันเป็ นองค์ธรรมของคำว่า ปูชา ได ้แก่ โยนิโส
มนสก ิ าร สทั ธัมมสวนะ และสป ั ปุรส
ิ ป
ู นิสสยะ เป็ นต ้น
๒. เววจนหาระ คือ การยกขึน ้ แสดงด ้วยคำไวพจน์
เหมือนข ้อความทีก ่ ล่าวมาแล ้วในเววจนหาระ
๓. ภาวนาสมาโรปนะ คือ การยกธรรมฝ่ ายโวทานทีเ่ กิด
ขึน
้ เพราะการบูชาเป็ นเหตุ อีกอย่างหนึง่ ภาวนาสมาโรปนะ
คือ การยกขึน ้ อย่างนีว้ า่ โพธิปักขิยธรรมมีสท ั ธินทรีย ์ สท ั ธา
พละ สม ั มัปปธาน วิรย ิ ทิ ธิบาท วิรย ิ น
ิ ทรีย ์ วิรย
ิ พละ วิรย ิ สม ั
โพชฌงค์ ั มาวายาม
สม
มัคคังคะ เป็ นต ้น และธรรมฝ่ ายโวทานทีน ่ อกจากนัน ้ ย่อม
เจริญขึน้ ในกระแสจิตของกุลบุตรผู ้กระทำการบูชาบุคคลที่
ควรบูชา
๔. ปหานสมาโรปนะ คือ การยกธรรมฝ่ ายสงั กิเลสทีค ่ วร
ละด ้วยการบูชา อีกอย่างหนึง่ ปหานสมาโรปนะ คือ เมือ ่ ธรรม
45

ฝ่ ายโวทานเจริญขึน
้ ย่อมทำลายอสท ั ธิยะ โกสช ั ชะ ปมาทะ
โมหะ และธรรมฝ่ ายสงั กิเลสอันเป็ นปฏิปักษ์ ให ้หมดสนิ้ ไป
พระบาลีวา่ ปูชา จ ปูชนียานํ ชอ ื่ ว่า สมาโรปนหาระ
เพราะเป็ นแนวทางในการยกขึน ้ แสดงด ้วยเหตุใกล ้ คำไวพจน์
การภาวนา และการละกิเลสอย่างนี้

You might also like