You are on page 1of 38

โยคะสูตร

มหัศจรรย์แห่งโยคะ

อาจารย์ปตัญชลี : เรียบเรียง
ไชย ณ พล : ถอดความ
ISBN 974-88333-6-4
© All Rights Reserved
by ChaiNaPol Akarasupaset

ชือ% หนังสือ
โยคะสูตร
มหัศจรรย์แห่งโยคะ

เรียบเรียง
อาจารย์ปตัญชลี

ถอดความ
ไชย ณ พล

บรรณาธิการ
อิมสุข อุทยานธรรม
กรรณิกา ตะล่อมสิน
ศรีสนั ต์ ตะล่อมสิน

คณะศิษย์ได้รบั อนุญาตจากท่านเจ้าของลิขสิทธิI
อาจารย์ไชย ณ พล อัครศุภเศรษฐ์
ให้พมิ พ์หนังสือเล่มนีNเพือ% เผยแพร่ธรรมแด่กลั ยาณชนผูม้ ปี ญญา ั
ท่านใดต้องการนําเนืNอหาบางส่วนไปเผยแพร่เพือ% ประโยชน์สขุ แก่สว่ นรวม
สามารถทําได้เพียงอ้างอิงให้ถกู ต้องดามหลักสากล
ท่านใดต้องการหนังสือนีNไปแจกในโอกาสต่างๆ สามารถติดต่อได้ททีี % มงาน
ปจั จัยทีไ% ด้รบั บริจาคจากผูม้ จี ติ ศรัทธาขอมอบให้มลู นิธอิ ทุ ยานธรรม

ติดต่อ : sudathipc@gmail.com
www.uttayarndham.org
จากผูจ้ ดั ทํา

โยคะเป็ นศาสตร์สากลทีกําลังเป็ นทีนิย มในโลกกว้าง เพราะสามารถประยุก ต์เข้ากับ


ชีว ิตประจําวัน ได้โ ดยง่าย กู รูปตัญชลีเ ป็ น บิด าผู้ให้กํา เนิ ดวิช าโยคะศาสตร์ โยคะสูตรนี/เ ป็ น
แม่แบบแห่งวิชาโยคะทัง/ หมดทีปรากฏอยู่ในโลก
ผูถ้ อดความเล่าว่า โยคะศาสตร์เป็ นพืน/ ฐานทีเหมาะสมของนักปฏิบตั ทิ งั / หลาย ซึงผูถ้ อด
ความได้ศกึ ษาและปฏิบตั ิจริงจังเมือสมัยหนุ่ มๆ หลังจากศึกษาคริสต์ศาสนาและก่อนทีจะไป
ศึกษาเต๋า และศาสนาพุทธในทีสุด
หนังสือเล่มนี/เป็ นหนังสือลํ/าค่าทีหายากอีกเล่มหนึง เราจึงจัดทําขึน/ เพือประโยชน์สุขของ
มนุษยชาติทงั / หลาย

บรรณาธิการ
สารบัญ

ภาคทีหนึง : หลักปฏิบตั ิ
ปฐมบาท : ว่าด้วยสมาธิ
ทุตยิ บาท : ว่าด้วยหลักปฏิบตั โิ ยคะ
ตติยบาท : ว่าด้วยองค์แห่งความสําเร็จ
จตุตถบาท : ว่าด้วยการบรรลุ

ภาคทีสอง : พลังแห่งโยคะ
พลังกาย
รังสีทพิ ย์
พลังจิต
ธรรมชาติของพลังจิต
การใช้พลังกายและพลังจิต
ความพร้อมของพลังจิต
การอยูเ่ ป็ นสุข
การเปลียนศัตรูให้เป็ นมิตร
จิตตกีฬา
พิจารณาสัจจะแห่งโลก
การก้าวล่วงออกจากโลกิยธรรม
ยานคือมนตรา
การอยูเ่ หนือความกลัวตาย
การเกิดปญั ญา
การปรับปรุงพฤติวตั ร
อตีตงั สญาณ
ปรจิตตญาณ
การหายตัว
มรณญาณ
กําลังภายใน
ตาทิพย์
จิตรูจ้ ติ
ปฏิภาณญาณและทิพยอินทรีย์
การลอยเหนือนํ/าและดงหนาม
การเหาะเหินเดินอากาศ
การถอดจิต
การควบคุมอารมณ์
การยังกายให้อยู่ในอํานาจ
จิตรูแ้ จ้ง
จิตบรรลุไกวัลย์
จิตเบิกบาน
ณ เบืองบาทพระศาสดา
ณ แทบตักพระองค์ธรรม
ณ หว่างอกบิดรมารดา
ณ หทัยคูช่ วี ิตแท้
และในกมลธรรมมิตรทังปวง
ขอคุณค่าแห่งหนังสือนีมอบแด่มนุษยชาติ
อานิสงส์แห่งการเขียนหนังสือนีมอบแด่ทุกท่านทีก+ ล่าวมา
แบบแห่งโยคะทีโยคีทงั / หลายฝึกฝนกันทุกวันนี/ ล้วน
ปฏิบตั ติ ามแนวโยคะสูตรทีท่านมหามุนีปตัญชลีรวบรวมคําสอน
ของโบราณจารย์และเหล่าศาสดาทัง/ หลายแห่งแดนภารตะไว้ ซึง
มีเนื/อหาดังต่อไปนี/
ภาค 1
โยคะสูตร
ปฐมบาท : ว่าด ้วยสมาธิ
ณ บัดนี/ คือ บทสาธยายแห่งโยคะ
โยคะ คือ การดับอาการของจิต
(แล้ว) ผูร้ ตู้ งั / มันในสภาวะแห่งตนและประจักษ์อาการทัง/ ปวงของจิตเป็นหนึงเดียว
อาการทัง/ หลายนัน/ บ้างก็ปราศจากกิเลส บ้างก็ประกอบด้วยกิเลส
ปรากฏเป็นการประมาณการ การหลับ การรําลึกความทรงจํา ความวิปลาส และความ
หลงผิด
จิตย่อมประมาณด้วยการประจักษ์ แล้วอนุมานเอาตามความหมายแห่งภาษา
จิตทีหลับ คือ จิตทีไม่ปรากฏอยู่
ความไม่ขาดหายไปในสิงทีจิตได้รบั รูม้ าแล้ว คือ สติระลึกความทรงจํา
อาการทีคลาดเคลือนจากความเป็ นจริง คือ จิตวิปลาส
ความหลงผิด คือ จิตทีจําผิด เข้าใจผิด รูผ้ ดิ ยึดถือในภาวะทีผิดด้วยคิดว่าถูก
อาการทัง/ หมดของจิตนี/สามารถสงบระงับได้ดว้ ยการปฏิบตั ลิ ะวาง (วิราคะ)
การปฏิบตั แิ ห่งโยคะ คือ การตัง/ จิตให้มนในสภาวะที
ั ปราศจากการเปลียนแปลงใด ๆ
ซึงคือ ภูมแิ ห่งความมันคงอันเป็ นผลจากการบําเพ็ญเพียรในกุศลธรรมมายาวนาน
วิราคธรรม คือ การควบคุมตนให้ปราศจากตัณหาทัง/ ในอดีตทีสะสมไว้และในปจั จุบนั ที
ประสบอยู่
วิราคธรรมอันประเสริฐยิง คือ การละตัณหาแม้ในปญั ญาญาณอันบังเกิดจากการปฏิบตั ิ
ปญั ญาแห่งสมาธิย่อมเกิดขึน/ ด้วยการตรึกตามตรรกและการพิเคราะห์ดว้ ยสติสมั ปชัญญะ
และความเบิกบานใจ
สมาธิแห่งปญั ญาย่อมเกิดขึน/ เมือจิตเข้าใจสิงทัง/ ปวงแล้ว และละวางแม้ปญั ญา จึงสงบ
ระงับ
เมือนัน/ เหตุปจั จัยทีจะทําให้จติ ปรารถนาร่างกายอีกย่อมสลายไปสิน/
สิงทีดํารงอยู่คอื ศรัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ และปญั ญา สําหรับผูท้ มีี ความเพียรอย่างแรง
กล้า สมาธินนั / ย่อมอยู่ไม่ไกล
และความแรงกล้าแห่งความเพียรนัน/ ย่อมจําแนกเป็ นอย่างอ่อน อย่างกลาง และอย่าง
ยอดเยียม
โยคีจะเพียรเพ่งถึงพระศิวะ (พระศิวะคือพระโพธิสตั ว์องค์หนึง) ก็ได้
พระศิวะ คือ ผูไ้ ม่ตดิ ข้องด้วยกิเลส กรรมวิบาก หรือตัณหา
พระศิวะ คือ ผูร้ ทู้ ุกสิงทุกอย่างอยูต่ ลอดกาล
ท่านเป็ นปรมาจารย์ แม้ของบูรพาจารย์ทงั / หลาย
เครืองแสดงนามของท่าน คือ โอม
พึงบริกรรม โอม และภาวนาในความหมายแห่ง โอม
จากนัน/ ย่อมบรรลุจติ ตน และย่อมปราศจากภยันตรายใด ๆ
อันตรายดังกล่าวคือ ความเจ็บป่วย ความเชืองช้า ความสงสัย ความประมาท ความ
เกียจคร้าน ความไม่ละวาง ความสําคัญผิด การไม่บรรลุธรรม ความไม่ตงั / มัน อันเป็ นเหตุ
ลังเลแห่งจิต
ซึงก่อให้เกิดความทุกข์ ความโศก ความสะทกสะท้าน การหายใจเข้า และการหายใจ
ออก
เพือละวางความลังเลแห่งจิต ต้องบําเพ็ญเพียรอย่างต่อเนืองประการเดียว
ความสงบเบิกบานในจิตย่อมบังเกิดขึน/ จากการภาวนา เมตตา กรุณา มุทติ า อุเบกขา
และการพิจารณาละวางสุข – ทุกข์ บุญ – บาป ทัง/ ปวงเสีย
หรือด้วยการภาวนาในลมปราณ (ปราณายามา)
หรือด้วยเหตุอนั จักทําให้จติ ตัง/ มัน
หรือด้วยปญั ญาอันบังเกิดจากแสงสว่างแห่งจิตทีปราศจากความโศก
หรือด้วยการสลัดวางซึงราคะโดยสิน/
หรือด้วยการละวางความหวังอันเป็นความฝนั ในโลก
หรือด้วยการดับจิตดิงเงียบไป
หรือด้วยการเพ่งในสิงทีชอบ
เมือทําได้ดงั กล่าวแล้ว ทีสุดแห่งสิงทีเล็กทีสุด และทีสุดแห่งสิงทีใหญ่ทสุี ด ย่อมอยู่ใน
อํานาจของผูป้ ฏิบตั ิ
สมาบัตอิ นั เจริญด้วยการปฏิบตั แิ ละละวางอาการแห่งจิตได้โดยหมดสิน/ นัน/ ย่อมตัง/ มัน
เป็ นหนึงเดียวในผูร้ ู้ สิงทีถูกรู้ และความรู้
สมาบัตอิ นั กอปรด้วยรูป นาม และความรู้ คือ คือ สวิตรรกสมาบัติ
สมาบัตอิ นั กอปรด้วยนามล้วนๆ ในสติบริสทุ ธิ @ คือ นิรวิตรรกสมาบัติ
สวิตรรกสมาบัติ และนิรวิตรรกสมาบัตยิ อ่ มเป็ นสวิจารภาวะ เมือละแล้ว โยคียอ่ มก้าว
เข้าสู่นิรวิจารภาวะ อันเป็ นสมาบัตทิ สาม ี
ครัน/ แล้วสภาวะอันประณีตสุขมุ ย่อมสิน/ สุด ณ ความไม่ม ี
สมาบัตทิ งั / สองนัน/ ย่อมเป็นสมาบัตทิ ยัี งมีเชือ/ อยู่ ส่วนสมาบัตทิ สามย่
ี อมเป็ นสมาบัตทิ ี
ปราศจากเชือ/
ประสาทย่อมบริสทุ ธิ @ในนิรวิจารสมาบัติ
ปญั ญาทีปรากฏ คือ ความเป็ นจริงล้วนๆ
ปญั ญานี/เป็ นปญั ญานอกเหนือจากการสดับฟงั แล้วจดจํา และจากการพิจารณาใคร่ครวญ
ผลอันบังเกิดจากปญั ญาสูงสุดนี/ ย่อมมีอํานาจตัดผลหยาบ ๆ แห่งปญั ญาระดับต้น ๆ
ในนิโรธแห่งอาการของจิต ย่อมเป็ นอันเดียวกับนิโรธแห่งสรรพสิง ในสภาวะนี/ย่อม
ปราศจากเชือ/ แห่งการกําเนิด
ทุตยิ บาท : ว่าด ้วยหลักปฏิบตั แิ ห่งโยคะ
หลักปฏิบตั แิ ห่งโยคะประกอบด้วย ตบะ การศึกษาในตน และการมุง่ สูค่ วามบริสทุ ธิ @
ภาวนามัยแห่งสมาธิ เป็ นไปเพือความเสือมไปของกิเลส
ก็กเิ ลสอันคือ อวิชชา ความหลงตน ราคะ ความเกลียดชัง และการติดยึดในความมี
ความเป็ น
อวิชชาเป็ นบ่อเกิดของกิเลสนัน/ ๆ มักมีลกั ษณะหลับอยู่ ประณีต มีความจําเก็บ เอิบอาบ
ไปทัว และเต็มตืน/
ความเข้าใจในสิงทีไม่แน่ นอนถาวรว่าถาวรแน่ นอน ความเข้าใจในสิงไม่บริสทุ ธิ @ว่าบริสทุ ธิ @
ความเข้าใจในทุกข์วา่ สุข ความเข้าใจในอนัตตาว่าเป็ นอัตตา เหล่านี/คอื ผลของอวิชชา
ความหลงตน คือ การหลงผิด คิดว่าการรับรู้ (ทางตา หู จมูก ลิน/ กาย ใจ) และความรู้
คือตน
กําหนัดราคะ คือ สิงทีสืบต่อมาจากการติดยึดในความสุข
ความเกลียดชัง คือ สิงทีสืบต่อมาจากการติดยึดในทุกข์
การติดยึดอยู่ในภาวะทีมีทเป็ ี น เป็ นกิเลสอันประณีตประการสุดท้าย
กิเลสทัง/ หมดนี/ละทิง/ ได้ดว้ ยกิรยิ าอันตรงข้ามกัน
พึงละทิง/ การกําเริบของกิเลสเหล่านัน/ ด้วย ฌาน
กรรมทัง/ หลายทัง/ ในอดีตชาติและปจั จุบนั ชาติ ย่อมมีกเิ ลสเป็ นมูล
ถ้ายังมีกเิ ลสเป็ นมูล ย่อมเกิดมามีอายุและรับวิบากกรรมนัน/
การเสวยชาติ ย่อมยังผลเป็ นปีตแิ ละโทมนัสอันเป็ นผลแห่งบุญและบาป
สําหรับมุนีผมู้ ปี ญั ญาย่อมประจักษ์วา่ สรรพสิงทัง/ ปวงคือความทุกข์ ด้วยเหตุแห่งการ
เปลียนแปลง ความปรารถนา การปรุงประกอบ การระคน และความข้องกันแห่งคุณลักษณะ
เช่น ดี – ชัว, ถูก – ผิด, ชอบ – ชัง ทุกข์จงึ เป็ นสิงทีมุนีควรละทิง/
การระคนระหว่างผูเ้ ห็นกับสิงทีถูกเห็น (ผัสสะ) คือ เหตุแห่งสิงทีควรละทิง/
สิงทีถูกเห็น คือ ความปรากฏอยู่แห่งอินทรียใ์ นภาวะหยาบ ยังประโยชน์เพียงเพือการ
บริโภค (ทางตา หู จมูก ลิน/ กาย ใจ)
สิงทีถูกเห็นย่อมปรากฏเป็ นสิงทีมีลกั ษณะจําเพาะบ้าง ไม่จาํ เพาะบ้าง ปรากฏชัดบ้าง
ไม่ปรากฎชัดบ้าง
ผูเ้ ห็นเป็ นเพียงการเห็น แม้มนุ ีผบู้ ริสุทธิ @เมือรับรูก้ ส็ กั แต่วา่ รู้
แต่การระคนกันแล้วย่อมกลายเป็นตนแห่งสิงทีถูกเห็น (อันผูเ้ ห็นยึดถือเอา)
สิงทีถูกเห็นทัง/ หลายนัน/ แม้ไม่เทียงก็ปรากฏเสมือนว่าเทียงสําหรับผูท้ ยึี ดถือไว้ดว้ ย
อํานาจแห่งปรารถนาหรืออํานาจแห่งการมีอยูเ่ ป็นอยู่
เมือครอบครองและยึดถืออยู่ จึงเสมือนว่าเป็ นเจ้าของของสิงทีถูกเห็น
เหตุแห่งการยึดถือและครอบครองนัน/ คือ อวิชชา (การไม่รคู้ วามจริง)
เมือปราศจากอวิชชา ย่อมไม่ยดึ ถือครอบครอง การไม่ยดึ ถือครอบครองใด ๆ คือไกวัลย์
(การหลุดพ้น) ของผูร้ ู้
สภาวะแห่งความไม่ยดึ ถือ คือ วิเวกอันศานติ และสงบระงับ
ผูด้ าํ รงอยู่ในศานติยอ่ มมีแก้วปญั ญาเจ็ดประการคือ ปญั ญารูส้ จั จะในโลก ปญั ญารูค้ วาม
เสือมสลายของสายร้อยรัดในโลก ปญั ญาแห่งการหลุดพ้น ปญั ญาแห่งความแตกฉาน ปญั ญา
ตัง/ มันในสมาธิ ปญั ญารูแ้ จ้งทวิคุณ (ถูก – ผิด, ชอบ – ชัง เป็ นต้น) และปญั ญาอันดํารงอยู่ใน
เอกภาพนิรนั ดร
เพราะการปฏิบตั ติ ามวิถแี ห่งโยคะ มุนียอ่ มก้าวล่วงจากความไม่บริสทุ ธิ @สูค่ วามบริสทุ ธิ @
และเมือความไม่บริสุทธิ @หมดสิน/ ไป แสงญาณ (แสงสว่างแห่งปญั ญา) ย่อมบังเกิดขึน/ ในวิเวก
นัน/
บันไดแห่งโยคะมีแปดลําดับ คือ ศีลธรรม จริยธรรม อาสนะ ปราณายามา การ
สํารวมจิต การเพ่ง การพิจารณา และสมาธิ
ศีลธรรม คือ อหิงสา สัจจะ การไม่ขโมย การประพฤติพรหมจรรย์ และการไม่สะสม
การประพฤติศลี ธรรมโดยไม่จาํ กัดชาติกาํ เนิด กาล โอกาส และสมัยนิยมย่อมเป็ นมหา
พรต
จริยธรรม คือ ความบริสทุ ธิ @ ความสันโดษ ตบะ การศึกษาในตน และการมุ่งสู่สภาวะ
สูงสุด
การระงับเสียซึงวิตกธรรมควรคํานึงถึงปฏิปกั ษ์ธรรม เช่น การระงับความวิตกในความ
รุนแรง ควรระงับเสียด้วยการคํานึงถึงผลแห่งทุกข์อนั นับไม่ถว้ น และความหลงผิดอับปญั ญา
แม้อย่างอ่อนอย่างกลางหรืออย่างแรงก็ด ี ย่อมมีโลภะ โทสะ โมหะ อันเป็ นประธานของกิเลส
ทัง/ หลายเกิดขึน/ แม้จะโดยผูอ้ นเร้
ื าให้กระทําหรือโดยความยินดียนิ ยอมของผูก้ ระทําเองก็ดี
เมือมุนีตงั / มันในอหิงสาแล้ว ย่อมละความเป็ นศัตรูทงั / ต่อหน้าและลับหลัง
เมือมุนีตงั / มันในสัจจะแล้ว ย่อมบังเกิดวาจาสัตย์ นํามาซึงผลสําเร็จทัง/ ปวง
เมือมุนีตงั / มันในการไม่ขโมยแล้ว ทรัพย์สนิ เงินทองทัง/ หลายย่อมหลังไหลเข้ามา
เมือมุนีตงั / มันในพรหมจรรย์แล้ว ย่อมบรรลุความเพียรอันยิง
เมือมุนีตงั / มันในการไม่สะสมแล้ว ย่อมรูแ้ จ้งในชาติกาํ เนิดต่าง ๆ
ด้วยการรักษาความบริสุทธิ @ มุนีย่อมควบคุมตนได้จากกามารมณ์ใด ๆ
จิตทีตัง/ มันอยู่ในความบริสทุ ธิ @ ย่อมบังเกิดโสมนัส
ด้วยสันโดษ มุนีย่อมบรรลุความสุขอันไม่มสี ขุ อืนยิงกว่า
ด้วยตบะ มุนีย่อมเผากิเลสอันเป็ นมูลเหตุแห่งความไม่บริสุทธิ @ให้เสือมสลายไป และยังให้
บังเกิดฤทธิ @
ด้วยการศึกษาในตน มุนีย่อมสมาคมกับเทวดาในสวรรค์ได้ตามปรารถนา
ด้วยการมุง่ สูส่ ภาวะสูงสุด มุนีย่อมตัง/ มันในสมาธิ
อาสนะ คือ การนังอย่างสมดุล สบาย และเสถียร
เพราะความอ่อนโยนแห่งมานะ และสมาบัตอิ นั ไร้ขอบเขต พร้อมด้วยความเป็ นหนึงใน
อาสนะ มุนีย่อมไม่ถูกทรมานด้วยทวิคณ ุ
ครัน/ แล้ว มุนีย่อมบริหารการหายใจเข้า-ออกให้เหมาะสม
มุนีย่อมควบคุมการหายใจเข้า การหายใจออก และการหยุดนิงตามกาล โอกาส ด้วย
ระดับความประณีตและความสัน/ ยาวทีเหมาะสม จนกระทังปราณไหลเวียนเองอัตโนมัตโิ ดยไม่
ต้องหายใจ
จิตย่อมมีศกั ยภาพเต็มเปียมตัง/ มันอยู่
อินทรียท์ งั / หลายย่อมปราศจากอารมณ์และตัง/ มันเบิกบานอยู่ในจิต
มุนีย่อมควบคุมอินทรียท์ งั / หลายไว้ได้ดว้ ยการปฏิบตั ปิ ราณายามานี/
ตติยบาท : ว่าด ้วยองค์แห่งความสําเร็จ
องค์ประกอบเบือ/ งต้นของการหลุดพ้นแห่งจิต คือ การมีจติ ตัง/ มันในอารมณ์เดียว
ความเป็ นหนึงเดียวของจิต คือ ฌาน
ความสว่างทีว่างอยู่ในความรูต้ วั คือ สมาธิ
เมือจิตดําเนินตามองค์ประกอบแห่งความสําเร็จสามลําดับดังกล่าวสมบูรณ์แล้ว จึงชือว่า
จิดสํารวมจิต
การสํารวมจิตย่อมนํามาซึงปญั ญาแห่งโลก
การนําจิตสํารวมมาใช้ (โยนิโสมนสิการ) ย่อมเป็นไปตามภูมจิ ติ
องค์แห่งความสําเร็จทัง/ สามนี/ ย่อมลึกซึง/ กว่าองค์ประกอบก่อนหน้านี/
แต่กย็ งั จัดเป็ นองค์ประกอบภายนอกสมาธิแบบไร้เชือ/ (กิเลส)
เมือใดปญั ญาแห่งจิตอุบตั แิ ล้วครอบงําอยู่ เมือนัน/ ย่อมปรากฏนิโรธ ความดับไปแห่ง
อาการของจิต นัน/ แลคือนิโรธ
กระแสแห่งความสงบย่อมปรากฏแก่จติ ในภาวะนิโรธ
ความหมายแห่งภาษาย่อมหายไปเมือเข้าสูส่ มาธิแห่งจิตหนึง
เมืออรรถภาษาสลายไป โลกุตตรปญั ญาย่อมปรากฏ
การเปลียนแปลงแห่งคุณภาพ การเปลียนแปลงแห่งลักษณะ และการเปลียนแปลงแห่ง
ฐานะย่อมบังเกิดขึน/ เมือภาวะจิตเปลียนไป
เมือฐานะแห่งคุณลักษณะหนึงดับลง ฐานะแห่งคุณลักษณะใหม่ยอ่ มเกิดขึน/
เป็ นดังนี/เนืองไปในสายแห่งการเปลียนแปลง
การสํารวมจิตพินิจการเปลียนแปลงทัง/ สามโดยละเอียด ย่อมล่วงรูถ้ งึ อดีต ปจั จุบนั และ
อนาคตได้
จากการระคนกันของถ้อยคํา ความหมาย และความรู้ ย่อมทําให้ปญั ญาไม่ละเอียด
ด้วยการสํารวมจิตวินิจฉัยการจําแนกแห่งถ้อยคํา ความหมาย และความรู้ ย่อมล่วงรู้
ภาษาแห่งสรรพสิงทัง/ หลายได้
ด้วยการประจักษ์แจ้งในสังขาร ย่อมสามารถระลึกชาติได้
ด้วยการประจักษ์แจ้งในปจั จัย ย่อมสามารถล่วงรูจ้ ติ ใจผูอ้ นได้

ด้วยการสํารวมในรูปแห่งกาย กําจัดเสียได้ซงผั ึ สสะ และสลายเสียได้ซงรู
ึ ปอันสัมผัสกับ
ประสาทจักษุ ย่อมสามารถหายตัวได้
ด้วยการสํารวมจิตพินิจในกรรมทัง/ สอง คือ กรรมทีจรมาตามวาระและกรรมทีพยายามดึง
มา ย่อมสามารถรูว้ นั และเวลาตายได้
ด้วยการสํารวมจิตในเมตตาเป็นอาทิ ย่อมบังเกิดพลังอํานาจขึน/
ด้วยการสํารวมจิตในพลังทัง/ หลาย ย่อมบังเกิดกําลังต่าง ๆ เช่น กําลังพญาช้างสารขึน/
ด้วยการแผ่แสงสว่างแห่งจิต ย่อมบังเกิดตาทิพย์ สามารถเห็นสิงทีอยู่ไกลและสิงทีซ่อน
เร้นได้
ด้วยการสํารวมจิตพินิจดวงอาทิตย์ ย่อมรูแ้ จ้งในสกลจักรวาล
ด้วยการสํารวมจิตพินิจดวงจันทร์ ย่อมรูแ้ จ้งในหมูด่ าวทัง/ หลาย
ด้วยการสํารวมจิตในสะดือ ย่อมรูช้ ดั อวัยวะภายในร่างกาย
ด้วยการสํารวมจิตในบริเวณใต้ลกู กระเดือก ย่อมดับความหิวและความกระหายได้
ด้วยการสํารวมจิตในหัวใจ ย่อมบังเกิดความมันคงขึน/
ด้วยการสํารวมจิตในแสงสว่างแห่งศีรษะ ย่อมบังเกิดการเห็นพระผูส้ าํ เร็จแล้ว
ด้วยการแผ่ญาณ ย่อมสามารถรูแ้ จ้งสรรพสิงทัง/ หลาย
ด้วยการสํารวมจิต ณ ขัว/ หัวใจย่อมรับรูส้ ญ ั ญาในอดีตได้
เพราะความสมานกันแห่งผูร้ กู้ บั ความรูโ้ ภคะอันคือความทุกข์ ความสุขจึงปรากฏแก่ตน
ด้วยการสํารวมจิตในประโยชน์แห่งตน โยคีย่อมจําแนกผูร้ แู้ ละความรูอ้ อกจากกัน บุรุษ
ญาณจึงปรากฏขึน/
บนพืน/ ฐานของบุรุษญาณทีผูร้ รู้ ตู้ นเองอยู่ (self referral) ปฏิภาณญาณและทิพยอินทรีย์
ย่อมบังเกิดขึน/
ทิพย์วสิ ยั เหล่านัน/ เป็นอุปสรรคอันละเอียดแก่สมาธิขนั / สูง แต่เป็ นอิทธิฤทธิ @ดังอยู่ใน
สวรรค์
ด้วยการปล่อยวางเหตุแห่งความผูกมัดในกาย และด้วยความแจ่มชัดในวิถแี ห่งความ
บริสทุ ธิ @ ทิพยกายย่อมปรากฏ
ด้วยการควบคุมปราณภายในได้สมบูรณ์ นักปฏิบตั เิ มือปรารถนาย่อมไม่เปียกนํ/า เปื/อน
โคลน หรือโดนหนามแทง แม้เมือสิน/ ชีพลมย่อมดับลง ณ กระหม่อม (คนบาป – ลมจะดับทีคอ,
คนดี – ลมจะดับทีจมูก, นักปฏิบตั ขิ นั / สูง – ลมจะดับทีกระหม่อม)
ด้วยการควบคุมปราณสมาน (ลมทีผสานระหว่งอากาศทีเคลือนทีกับอากาศทีไม่เคลือนที
ภายในร่างกาย) ไว้ได้ แสงสว่างภายในย่อมปรากฏโรจน์รงุ่
ด้วยการสํารวมจิตในความสัมพันธ์ระหว่างโสตธาตุและอากาศธาตุ ย่อมบังเกิดหูทพิ ย์
ขึน/
ด้วยการสํารวมจิตในความสัมพันธ์ระหว่างกายธาตุกบั อากาศธาตุ ย่อมสามารถเหาะไป
ได้ดว้ ยความเบาแห่งกายดังอากาศ
ด้วยบรรลุความเป็ นจริงแห่งธรรมชาติ อัญญาณทีห่อหุม้ ญาณรัศมีไว้ย่อมคลายหายไป
ด้วยการสํารวมจิตในมหาภูตรูปทัง/ ห้า คือ ดิน นํ/า ลม ไฟ อากาศ ย่อมได้ชยั ชนะเหนือ
มหาภูตรูปนัน/
เมือนัน/ ย่อมบังเกิดฤทธิ @นานาคือ ย่อกายให้เล็กลง ทํากายให้เบาเพือลอยไป ทํากายให้
ใหญ่ เรียกสิงทีต้องการให้มาอยู่ในมือ ทําความตัง/ ใจดีๆ ให้สมั ฤทธิผล เนรมิตสรรพสิงให้
เป็ นไปตามปรารถนาได้ ทัง/ ย่อมไม่ได้รบั การทรมานใด ๆ จากภูตเหล่านัน/
กายสมบัติ คือ ความงาม ราศี กําลัง และสมรรถภาพย่อมสมบูรณ์
เมือสํารวมจิตจากผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ได้ ย่อมบรรลุอนิ ทรียช์ ยั คือความ
มีอํานาจเหนืออินทรียท์ งั / หลาย เมือนัน/ กายย่อมเป็ นไปดังใจ รวดเร็วดังใจ ใจย่อมเป็ นใหญ่และ
ย่อมได้ชยั ชนะ
จากนัน/ ย่อมบรรลุความเป็ นหนึงเดียวกับสรรพสิง เป็ นผูร้ รู้ อบสามารถกําจัดอวิชชาอัน
หยาบได้
ด้วยการสลัดซึงราคะแม้ในความเป็นหนึงเดียวกับสรรพสิง และความเป็ นผูร้ รู้ อบนัน/ เชือ/
แห่งโทษภัยจึงอันตรธานไปและได้บรรลุไกวัลย์ (ความเป็ นเอก)
โยคีผบู้ รรลุยอ่ มไม่พสิ มัยการดํารงอยู่ในโลกใดๆ เพราะการข้องเกียวในโลกคือภัย
ด้วยการสํารวมในปจั จุภาพและลําดับภาพแห่งสรรพสิง ความแตกฉานย่อมปรากฏ
เพราะการเห็นชัดในธรรมชาติสามัญ ความแตกต่าง และลักษณะจําเพาะย่อมบังเกิดความเบิก
บานในปญั ญา
ปญั ญาอันแตกฉานนัน/ ย่อมนําข้ามพ้นอวิชชา ย่อมรูแ้ จ้งสรรพสิงตลอดกาลอวกาศ และ
ไม่มขี ดี ขัน/ จํากัด
เมือจิตและญาณบริสทุ ธิ @เสมอกัน ย่อมบรรลุไกวัลย์
จตุตถบาท : ว่าด ้วยการบรรลุ
ความสําเร็จย่อมปรากฏได้ดว้ ยการเกิด ความรู้ มนตรา การบําเพ็ญ และสมาธิ
การแปรไปเป็ นสภาวะใหม่ย่อมเกิดขึน/ เพราะกายและจิตเต็มเปียมแล้ว
นิมติ มิได้เป็นเหตุแห่งการบรรลุ แต่การกําจัดเครืองขวางกัน/ (ตัณหา อุปาทาน) เสีย คือ
วิถแี ห่งการบรรลุ
แท้จริงจิตมีหนึงเดียว แต่อาจก่อให้เกิดภาวะหลายภาวะตามสภาพแห่งการดําเนินไป
ในบรรดาสภาวะจิตอันหลากหลาย จิตทีเกิดขึน/ จากฌานย่อมเป็ นจิตทีรูไ้ ด้โดยทีไม่องิ
อาศัยปจั จัยอืนใด
กิรยิ าของผูบ้ รรลุย่อมมีความเป็ นกลาง ส่วนกรรมของบุคคลทัวไปย่อมมีทงั / ดี ทัง/ ชัว
บุคคลทัวไปจึงมีพฤติกรรมอันสืบเนืองมาจากวิบากแห่งกรรมนัน/ ๆ
ชาติ ชรา มรณะย่อมไม่อาจปิดกัน/ การสืบต่อแห่งจิตใจและสังขารได้
ตัณหาเหล่านัน/ ไม่มเี บือ/ งต้น เพราะความต่อเนืองไม่รจู้ บของความหวังทีถูกรวบรวมด้วย
เหตุผลและอารมณ์ทอาศั ี ย
ครัน/ กําจัดเสียได้ซงเหตุ
ึ ผลและอารมณ์ทอาศั ี ยแล้ว ความหวังและตัณหาย่อมดับไป
อดีตและอนาคตย่อมแตกต่างกันตามการประกอบขององค์ประกอบทัง/ หลาย
ธรรมชาติทงั / หลายย่อมปรากฏชัดอยู่ดว้ ยคุณประการต่าง ๆ
สรรพวัตถุย่อมดํารงอยูเ่ พราะลักษณะจําเพาะแห่งความแตกต่าง
ถึงแม้เป็ นวัตถุอย่างเดียวกัน (เช่น กายมนุษย์) ก็จริง แต่เนืองจากความแตกต่างของ
จิตใจ และวิถแี ห่งการดําเนิน รูปจึงปรากฏต่างกัน
วัตถุย่อมมิได้เป็ นไปตามอํานาจจิตโดยสิน/ เชิง แต่ยอ่ มคงคุณแห่งความเป็ นวัตถุไว้โดย
ธรรมชาติ
วัตถุอาจถูกรับรู้ หรืออาจไม่ถกู รับรู้ ด้วยการเข้าสัมผัสหรือการวางเฉยแห่งจิต
แต่พฤติกรรมของจิตทัง/ หลายย่อมถูกรับรู้ เพราะความมีสติอยู่ของจิตเจ้าของพฤติการ
นัน/ ๆ
จิตย่อมไม่มโี อภาสในตน หากปราศจากความเป็ นหนึง
จิตย่อมไม่อาจมีญาณและมีอารมณ์ในขณะเดียวกันได้ (นันคือเมือมีอารมณ์จะไม่ปรากฏ
ญาณ)
ถ้าจิตแปรปรวนหลายอารมณ์แล้วไซร้ ย่อมมีโทษอันเกิดแต่ความขัดแย้งในความเห็น
ผิดและความเห็นถูก และสติย่อมสับสน
ด้วยสภาวะจิตทีไม่แปรปรวน (ตามอารมณ์) ครัน/ บรรลุแล้ว ย่อมบังเกิดญาณแจ่มแจ้งขึน/
จิตอันถูกย้อมด้วยอารมณ์และทัศนคติ ย่อมไหลไปกระทบในสภาพแวดล้อมทัง/ หลาย
จิตนัน/ แม้อาจจะกอปรด้วยตัณหาอันนับไม่ถว้ น แต่กอ็ าจยังเป็ นคุณต่อผูอ้ นอยู ื ่บา้ งด้วย
การไม่คลุกคลีในประโยชน์ตน
แท้จริง ความสํานึกว่ามีตวั ตนของผูเ้ ห็นวิเศษย่อมดับลงโดยสิน/ เชิง
และหากสภาวะจิตยังตํากว่าวิเวกญาณ ย่อมบรรลุไกวัลย์ขนั / ต้น
ในบรรดาประตูแห่งจิตนัน/ ปจั จัยทัง/ หลายย่อมรุกรานได้ดว้ ยการปรุงประกอบอันประณีต
(คิดว่าตนเป็ นผูว้ เิ ศษ)
การกําจัดสังขารเหล่านี/ (อหังการ, มมังการว่าเป็ นผูว้ เิ ศษหรือผูส้ าํ เร็จ) ก็เสมือนการ
กําจัดกิเลสอันละเอียด
เพราะวิเวกญาณโดยประการทัง/ ปวงของผูม้ คี วามเพียร สมาธิอนั สงบเย็นย่อมบังเกิดขึน/
เมือนัน/ กิเลสและกรรมทัง/ หลายย่อมสิน/ สุดลงโดยประการทัง/ ปวง
และด้วยความไม่จาํ กัดแห่งญาณในการรูแ้ จ้งสรรพสิง จึงไม่มสี งใดให้
ิ อยากรูอ้ กี
นันคือการประมวลเหล่าคุณอันมีวตั ถุประสงค์เพือความเป็ นทีสุดจึงสัน/ ลง
ลําดับนัน/ ย่อมส่งสู่การเข้าถึงสภาวะอันเป็ นไปเอง
การบรรลุ คือ ญาณศักดิ @อันผูบ้ าํ เพ็ญเพียรพึงเข้าถึง
ภาค 2
มหัศจรรย์แห่งโยคะ
ก่อนทีจะศึกษาถึงอํานาจแห่งโยคะ ควรมีความเข้าใจในองค์ประกอบสําคัญพืน/ ฐาน ๒
ประการก่อน คือ พลังกายและพลังจิต

พลังกาย
พลังกายมี ๒ ชัน/ คือ พลังกายธาตุ ได้แก่กระแสปราณ และพลังกายทิพย์ ได้แก่รงั สี
ทิพย์
กระแสปราณ ในกายธาตุของมนุษย์โดยทัวไป มักมีพลังแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่ ซึงพลังนี/
สามารถถ่ายทอดให้กนั ได้ จุดทีถ่ายทอดได้ดที สุี ดคือดวงตา ฝา่ มือ และปลายนิ/ว
พลังแม่เหล็กไฟฟ้าเป็ นพลังสําคัญในกลไกการทํางานของระบบประสาท ซึงโยคะศาสตร์
เรียกว่า ปราณ

รังสีทพิ ย์ คือ พลังทีแผ่ออกมาจากกายมนุษย์ เพราะโดยทัวไปแล้วกายมนุษย์จะมีสอง


กายซ้อนกันอยู่คอื กายธาตุและกายทิพย์ โดยกายทิพย์ซอ้ นอยู่ในกายธาตุ กายทิพย์น/ีมแี สง
สว่างในตัวเอง ส่องออกมาโดยรอบกายธาตุ
ในขณะทีอาหารของกายธาตุคอื ข้าว ขนม ผลไม้ นํ/า แต่อาหารของกายทิพย์คอื ธรรมปีติ
ดังนัน/ บุคคลใดทีมีธรรมปีตนิ ้อย รังสีทพิ ย์จะเศร้าหมอง บุคคลใดทีมีธรรมปีตมิ าก รังสีทพิ ย์จะ
ผ่องใส
อนึง รังสีทพิ ย์ผ่องใสหรือเศร้าหมองไม่เกียวกับสีผวิ สีผวิ นัน/ เป็ นไปตามพันธุแ์ ละอาหาร
ทีบริโภค แต่รงั สีทพิ ย์ยอ่ มเป็ นไปตามทัศนคติ กุศลกรรม การสละ และความยินดีในธรรม
รังสีทพิ ย์ของมนุษย์ ปกติจะแผ่ออกมารอบกายประมาณหนึงถึงสามฟุต เป็ นแสงไม่มสี ี
แต่เมือมีความเข้มข้นมากอาจเห็นคล้ายสีครามอ่อนๆ ได้

พลังจิต
พลังจิตคืออานุภาพของจิตใจซึงจะแผ่ออกมาในรูปของรัศมีธรรมรอบรังสีทพิ ย์อกี ชัน/ หนึง
รัศมีธรรม คือพลังอํานาจของจิตใจ จิตใจทีสะอาดบริสุทธิ @ย่อมมีรศั มีธรรมทีเจิดจํารัส
จิตใจทีเต็มไปด้วยกิเลส ตัณหา อุปาทาน รัศมีธรรมย่อมเศร้าหมองหรือขุน่ มัว
พลังจิตประกอบด้วยกระแสความคิด กระแสความทรงจํา และกระแสวิญญาณ
กระแสความคิด ปกติกระแสความคิดทีโปร่งปรุแจ่มแจ้งจะเป็ นสีเหลืองอ่อน แต่ถา้ เป็ น
ความคิดทียังไม่โปร่ง มีอาการตือ/ กระแสความคิดจะเป็นสีน/ําเงินอ่อน แต่ถา้ เป็นความคิดชัว
ปรารถนาชัว หรือคิดไม่ออกตีบตันไปหมด กระแสความคิดจะเป็ นสีดาํ
กระแสความทรงจํา สีภาวะความทรงจําขึน/ อยู่กบั ว่า ในขณะนัน/ กําลังรําลึก ทรงจํา หรือ
ปรากฏอารมณ์อย่างใดอยู่ เช่น ในขณะนอนหลับกําลังทรงจําอยู่กบั ความหลงใหล สีจะเป็นสี
แดงคลํ/าชํ/าเลือดชํ/าหนอง เวลาโกรธหรือระลึกถึงความโกรธจะเป็ นสีแดงเข้ม เวลารักหรือระลึก
ถึงคนรักจะเป็ นสีแดงเรือ ๆ (ชมพู) เวลาเศร้าโศกหรือระลึกถึงความโศกเศร้าจะเป็นสีเทาอ่อน
เวลามีความภาคภูมใิ จหรือนึกถึงความมักใหญ่ใฝส่ งู จะมีสแี สดสด เวลาเพลิดเพลินกับอํานาจ
หรือระลึกถึงอํานาจจะมีสเี ขียว เป็ นต้น ซึงสีเหล่านี/จะเปลียนไปมาตามสภาวะจิตใจ
กระแสวิญญาณ สีของวิญญาณเป็ นสีขาวนวลแผ่ซ่านอยู่ทวไป

รัศมีธรรมทัง/ สามประการ คือ กระแสความคิด กระแสความทรงจํา และกระแสวิญญาณ
หรือทีเราเรียกรวมๆ ว่าพลังจิต ซึงเป็ นพลังทีทุกคนมีอยู่ในตนเอง ใครจะมีพลังจิตมากน้อย
เพียงใดขึน/ อยู่กบั ความบริสทุ ธิ @และความชํานาญในการควบคุมจิตใจ
ธรรมชาติของพลังจิต
พลังจิตมีคุณสมบัติ ๓ ประการ คือ
๑. สือหรือส่งให้แก่กนั ได้
๒. เหนียวนําได้
๓. ควบคุมได้

การสือ% พลังจิต มี ๓ วิธคี อื การนึกถึง การเพ่ง และการแผ่


โดยธรรมชาติของจิตทีมีอํานาจนัน/ เมือนึกหรือคิดก็จะถึงกันตามสายสัมพันธ์ จึงเรียกว่า
นึกถึงหรือคิดถึง ถ้าจิตไม่มอี ํานาจ บางทีอาจจะนึกแล้วคิดอีกก็ไม่ถงึ กัน จิตอย่างนี/ควรต้อง
ได้รบั การฝึกฝนให้มาก
การเพ่ง คือการส่งพลังจิตโดยแรงและเร็ว ซึงจุดทีนิยมเพ่งกันมี ๒ จุด คือ หว่างคิว/ และ
ทีตา การเพ่งมักใช้สอความในยามจํ
ื าเป็ น เช่น ต้องการยับยัง/ ความคิดหรือการกระทําทีอาจ
นําไปสูค่ วามหายนะของผูร้ บั โดยฉับพลันทันที
การแผ่ คือการกระจายพลังจิตออกไปโดยรอบรัศมี เสมือนการส่องแสงของพระอาทิตย์
จุดทีเหมาะสมต่อการแผ่มากทีสุดคือทีหทัย
การเหนีย% วนําจิต เป็ นกลไกธรรมชาติของพลังจิตอีกประการหนึง กล่าวคือพลังจิตทีดีจะ
ดึงดูดสิงทีดีเข้ามาโดยธรรมชาติ (โดยมิตอ้ งอยาก) และสามารถเหนียวนําให้สงที ิ อยู่ใกล้ให้
กลายเป็ นสิงทีดีได้ดว้ ยโดยรอบ ในขณะเดียวกัน พลังจิตทีไม่ดจี ะดึงดูดสิงทีไม่ดเี ข้ามาโดย
ธรรมชาติ (แม้ไม่อยากก็ตาม) และสามารถเหนียวนําสิงทีอยู่ใกล้ให้กลายเป็ นสิงทีไม่ดไี ด้ดว้ ย
การทีจะดึงดูดสิงต่างๆ ให้เข้ามาหรือเหนียวนําให้เป็ นไปได้มากน้อยเพียงใดนัน/ ขึน/ อยู่กบั
พลังจิต ปกติแล้วจิตทีมีพลังสูงกว่าย่อมดึงดูดและเหนียวนําจิตทีมีพลังอ่อนกว่าได้ และจิตทีมี
พลังอ่อนกว่าย่อมรบกวนจิตทีมีพลังสูงกว่าได้
การควบคุมจิตใจ พลังจิตนัน/ สามารถควบคุมได้ทงั / ภายในและภายนอก
การควบคุมภายใน คือความสามารถควบคุมอารมณ์ ควบคุมความคิด และควบคุม
พฤติกรรมของตนเองได้โดยการกําหนดหรือสังตนเอง
บุคคลทีควบคุมตนเองได้โดยสมบูรณ์ ย่อมสามารถควบคุมผูอ้ นที ื เขาควบคุมตนเองได้
น้อยกว่าด้วยการสะกดจิต การทรง และการเข้าสิง
การสะกดจิต คือ การใช้พลังจิตควบคุมตนเองหรือผูอ้ นโดยการสั
ื งให้เป็ นไปตามกําหนด
การทรง คือ การทีจิตดวงหนึงส่งพลังควบคุมจิตอีกดวงหนึงให้คดิ พูด หรือทําตาม
โดยผูถ้ กู ควบคุมยังมีความรูต้ วั อยู่ แต่ไม่อาจควบคุมตนเองได้ ต้องทําตามการควบคุมของผู้
ทรง
การสิง คือ การทีจิตดวงหนึงบีบจิตอีกดวงหนึงให้หยุดทํางานชัวคราว แล้วมาอาศัยร่าง
แสดงกิรยิ าหรือประกอบพฤติกรรมตามปรารถนา ในกรณีเช่นนี/ ผูถ้ กู สิงจะหมดความรูต้ วั ไป
ชัวขณะ ครัน/ จิตทีสิงออกไปแล้ว ก็จะฟื/น รูส้ กึ ตัวขึน/ มาใหม่ และจะไม่รถู้ งึ เหตุการณ์ทเกิ
ี ดขึน/
ในขณะทีถูกสิง
การควบคุม และการถูก ควบคุม ด้วยพลังจิตโดยวิธตี ่างๆ กันนี/ ย่อมเป็ น ไปตามระดับ
อํานาจของจิต ผูใ้ ดทีสามารถควบคุมคนเองโดยสมบูรณ์ ผูอ้ นย่ ื อมไม่อาจเข้าควบคุมได้ ผูใ้ ดที
ไม่อาจควบคุมตนเอง ย่อมมีโอกาสทีผูอ้ นจะเข้ ื าควบคุมได้
การควบคุมตนเอง คือ การรักษาสติสมั ปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่ตลอดเวลา
เมือศึกษาพลังภายในต่างๆ ของมนุษย์แล้ว ต่อไปจะแนะนําการใช้พลังเหล่านี/เพือ
ประโยชน์ต่อตนเองและต่อผูอ้ นื

การใช้พลังกายและพลังจิต
การมีพลังอํานาจอยูแ่ ต่มไิ ด้ใช้ให้เกิดประโยชน์นนั / ก็เหมือนการมีพลังไฟฟ้าอยู่แต่มไิ ด้
ใช้ให้เกิดแสงสว่าง เสียง หรือความร้อน หรือพลังงานอืนใด อันพลังไฟฟ้าอาจแปรสภาพหรือ
สร้างขึน/ ได้โดยปฏิกริ ยิ าตามธรรมชาติ กระนัน/ เมือจะใช้พลังกายพลังจิตก็ตอ้ งตระหนักให้ดวี า่
ทุกสิงในธรรมชาติมที งั / คุณทัง/ โทษอยู่ในตัวมันเอง แม้พลังกายและพลังจิตก็เช่นกัน หากใช้ไป
ในทางไม่ดยี อ่ มเป็นโทษ ทําลายตนเองและทําให้ผอู้ นเดื
ื อดร้อน หากใช้ในทางทีดีเพือสร้างสรรค์
เพือเกือ/ กูล ย่อมเป็นคุณประโยชน์อนั พึงมีพงึ ได้แก่ผบู้ ําเพ็ญโดยควร

ความพร้อมเบื5องต้น
โยคีผปู้ ระสงค์ใช้พลังภายในต้องมีความพร้อมเบือ/ งต้น ๓ ประการคือ
๑. ฝึกโยคะโดยลําดับตามภาคหนึงอย่างสมําเสมอ
๒. มีความตัง/ ใจทีจะใช้อํานาจทีมีอยู่เพือประโยชน์ตนและประโยชน์ผอู้ นื
๓. มีความเข้าใจถ่องแท้วา่ ผลอันเกิดขึน/ จากพลังแห่งโยคะเป็ นเพียงดอกไม้รมิ ทางทีให้
ชืนชม และเรียนรู้ แต่เป้าหมายทีแท้จริงของโยคีคอื ความบริสุทธิ @ ดังนัน/ เมือพบดอกไม้กจ็ งใช้
ประโยชน์จากดอกไม้แต่ไม่หลงใหลเพลิดเพลิน และคุณวิเศษใดๆ ทีเกิดขึน/ ก็เป็นปรากฏการณ์
ธรรมชาติตามปกติวสิ ยั ของผูบ้ าํ เพ็ญเพียร มิใช่สงที
ิ จะนํามาประกอบเป็นตน หรือสร้างความ
ยิงใหญ่ใดๆ จากคุณวิเศษต่างๆ อันอาจบังเกิดนัน/ เพราะหากตัวตนเติบโตขึน/ ความเสือมย่อม
ปรากฏ แต่หากมีปญั ญานําคุณวิเศษนัน/ สลายตัวตนเสียได้ ความเจริญย่อมปรากฏ

มหัศจรรย์แห่งโยคะทีขอแนะนําให้โยคีนําไปพิจารณาเลือกเฟ้นฝึกฝน มีดงั นี/

การอยู่เป็ นสุข
เมือโยคีผบู้ าํ เพ็ญเพียร ไม่สะสมซึงทรัพย์ ไม่มกั มากในการบริโภค และไม่คลุกคลีดว้ ย
ผูค้ น โยคียอ่ มมีวถิ แี ห่งความสุขอันประเสริฐคือพรหมธรรม
โยคียอ่ มปรารถนาดีต่อชีวติ ทุกชีวติ (ไมตรี) ไม่เบียดเบียน (กรุณา) ยินดีในการแสวงหา
สัจจะของปญั ญาชนทัง/ หลาย (มุทติ า) และหนักแน่นมันคงในทวิลกั ษณ์แห่งโลก (อุเบกขา)
โยคียอ่ มแผ่พรหมธรรมทัง/ ในขณะตืนและขณะหลับ จึงเป็ นสุขอยูท่ ุกเมือ เพราะพรหม
ธรรมคือธรรมแห่งความสุข และด้วยพรหมธรรมอันเต็มเปียม โยคีย่อมปลอดภัยจากอสรพิษ
ศาสตรา และอาคม
สภาพทีพรหมธรรมเต็มเปี ยมคือแม้มผี อู้ นมาฆ่
ื าตนอยู่ ก็ไม่มคี วามโกรธแม้แต่น้อย นัน
คือดวงใจอันเต็มเปียมด้วยพรหมธรรม
เมือพรหมธรรมทัง/ สีประการนี/เต็มเปียมในดวงใจของโยคี ดวงใจของโยคีย่อมสงบเย็น
และมีอานุภาพเหนียวนําใจของผูค้ นรอบข้างให้สงบเย็นได้ดว้ ย ดังแม่เหล็กสามารถเหนียวนํา
เหล็กอืนให้กลายเป็ นแม่เหล็กได้ดว้ ยกระนัน/

เปลียนศัตรูให้เป็ นมิตร
เมือเจริญพรหมธรรมเต็มรอบแล้ว โยคีย่อมแผ่ความสงบเย็นไปยังโลกทัง/ หลาย เมือนัน/
แม้ผทู้ หวั
ี งร้ายก็จะกลายเป็ นมิตร
อานุภาพแห่งพรหมธรรมนัน/ จะมากเพียงใด ขึน/ อยู่กบั ความบริสทุ ธิ @ของใจและความ
ไพศาลในการแผ่
ถ้าใจบริสุทธิ @มาก พรหมธรรมจะมีอานุภาพมาก ถ้าใจบริสทุ ธิ @น้อย พรหมธรรมจะมี
อานุภาพน้อย นอกจากนัน/ ใจทีแผ่พรหมธรรมได้กว้างขวางจะมีอํานาจมาก ส่วนใจทีแผ่พรหม
ธรรมได้จาํ กัดจะมีอํานาจน้อย
อนึง อาจมีศตั รูบางประเภททีเลวสมบูรณ์แบบจนความดีใดๆ ไม่อาจเปลียนแปลงจิตใจ
ของเขาได้ ในกรณีเช่นนี/ โยคียอ่ มทรงอุเบกขาอยู่ในพรหมธรรม

จิตตกีฬา
เมือโยคีมคี วามสุข สงบอยู่เสมอแล้ว ควรฝึกจิตตกีฬาเพือให้จติ มีอํานาจและเพือความ
ฉลาดในการวินิจฉัยจิต จิตจะได้มอี ํานาจและอยู่ภายใต้การควบคุมของโยคี การฝึกจิตตกีฬามี
วิธดี งั นี/
ให้โยคีน้อมใจว่า กระดูกไขสันหลังคือท่อท่อหนึง มีดอกบัวอยู่ ๕ ดอก
ดอกที ๑ อยู่ ณ ตําแหน่งก้นกบ ปรากฏมี ๔ กลีบ แต่ละกลีบเรืองรองด้วยแสงสว่าง
ดอกที ๒ อยู่ ณ ตําแหน่งกลางเชิงกราน ปรากฏมีกลีบ ๖ กลีบ แต่ละกลีบเรืองรองด้วย
แสงสว่าง
ดอกที ๓ อยู่ ณ ตําแหน่งเอว (ในไขสันหลังระดับเดียวกับสะดือ) ปรากฏมีกลีบ ๑๐ กลีบ
แต่ละกลีบเรืองรองด้วยแสงสว่าง
ดอกที ๔ อยู่ ณ ตําแหน่งกลางอก (ในไขสันหลัง) ปรากฏมีกลีบ ๑๒ กลีบ แต่ละกลีบ
เรืองรองด้วยแสงสว่าง
ดอกที ๕ อยู่ ณ ตําแหน่ งท้ายทอย ปรากฏมีกลีบ ๑๖ กลีบ แต่ละกลีบเรืองรองด้วยแสง
สว่าง
ดอกบัวทัง/ ๕ ดอกนัน/ อยูใ่ นกระดูกสันหลัง จากนัน/ ให้ราํ ลึกถึงดอกบัวอีก ๒ ดอก คือ
ดอกที ๖ อยู่ ณ ตําแหน่งหว่างคิว/ ปรากฏมีกลีบ ๒ กลีบ แต่ละกลีบรุ่งโรจน์ดว้ ยแสงสว่าง
ดอกที ๗ อยู่ ณ ตําแหน่งกระหม่อม (ด้านบนสุดของศีรษะ) ปรากฏมีกลีบ ๑,๐๐๐ กลีบ
แต่ละกลีบรุง่ โรจน์ดว้ ยแสงสว่าง
โยคีควรหมันฝึกอย่างนี/เนือง ๆ จิตจะมีความตัง/ มัน เป็ นระเบียบ ประณีตและมีอํานาจ
ขึน/ โดยลําดับ
หากยังไม่สามารถเห็นแสงสว่างเรืองรองหรือรุง่ โรจน์ได้ แสดงว่าจิตยังระคนด้วยความ
กําหนัด ความโกรธ หรือความหลงมาก ให้กลับไปเจริญพรหมธรรมให้มากจนเต็มเปี ยม ก็จะ
เห็นดอกบัวเป็ นแสงสว่างได้โดยไม่ยากเย็น

พิจารณาสัจจะแห่งโลก
เมือแสงสว่างปรากฏแจ่มชัด จิตของโยคีย่อมมีสมรรถนะแห่งญาณ รับรูส้ จั จะโดยตรงได้
โดยปกติทชาวโลกรั
ี บรูส้ งต่
ิ าง ๆ ในโลกนี/ จะรับรูผ้ า่ นองค์ประกอบ ๓ ประการคือ
๑. ศัพท์และหรือปรากฏการณ์
๒. ความหมายแห่งศัพท์และปรากฏการณ์นนั / ๆ
๓. ความรูแ้ ละความทรงจํา
ตัวอย่างเช่น เมือนาย ก เกิดมา ผูเ้ ป็ นพ่อแม่กเ็ รียกนาย ก ด้วยศัพท์ว่า "ลูก" ด้วย
ความหมายว่าเป็ นผูถ้ อื กําเนิดมาจากตนและควรต้องเชือฟงั ตน และรับรูท้ รงจําว่านาย ก คือลูก
ทีตนให้กาํ เนิดมาซึงควรต้องเชือฟงั ตน ครัน/ นาย ก มีน้อง ผูเ้ ป็ นน้องก็เรียกนาย ก ด้วยศัพท์วา่
"พี" ด้วยความหมายว่าเป็นผูเ้ กิดมาก่อนและมีหน้าทีดูแล และรับรูท้ รงจําว่านาย ก คือพีมี
หน้าทีดูแลน้อง เมือนาย ก มีภรรยา ภรรยาของนาย ก ก็เรียกนาย ก ด้วยศัพท์วา่ "สามี" ด้วย
ความหมายว่าเป็ นคูค่ รองและมีหน้าทีหาเลีย/ ง และรับรูท้ รงจําว่านาย ก คือสามีมหี น้าทีหาเลีย/ ง
ครัน/ นาย ก มีบุตร บุตรของนาย ก ก็เรียกนาย ก ว่า "พ่อ" ด้วยความหมายว่าผูใ้ ห้กําเนิดและมี
หน้าทีเลีย/ งดู และรับรูท้ รงจําว่านาย ก คือพ่อมีหน้าทีเลีย/ งดู.....
ดังนัน/ นาย ก ซึงก็คอื คนคนหนึงเหมือนทุกๆ คน จึงเป็ นทัง/ ลูก เป็ นทัง/ พี เป็ นทัง/ สามี
เป็ นทัง/ พ่อ และอืนๆ อีกมาก ตามทีแต่ละคนบัญญัตใิ ห้เขาเป็ น
ดังนัน/ ความเป็ นคนหนึงของนาย ก จึงถูกย้อมสีสนั ตามรูปแบบแห่งฐานะ (ศัพท์) ตาม
นิยามแห่งความหมายทีแต่ละคนกําหนดไว้ แต่ละคนรับรูน้ าย ก ในมุมมองต่างกัน และมุง่ หมาย
ทีจะได้สงต่ิ างๆ จากนาย ก ต่างกัน และในการรับรูข้ องแต่ละคนนัน/ เมือรับรูแ้ ล้วก็ทรงจํานาย
ก ไว้ทงั / โดยฐานะ (ศัพท์) ความหมาย (ความสัมพันธ์และหน้าที) ระคนไป จนแยกไม่ออก
ระหว่างศัพท์หรือฐานะ กับความหมายหรือนิยาม และกับการรับรูห้ รือความทรงจํา
สําหรับโยคีผบู้ รรลุอํานาจจิตเบือ/ งต้นแล้วย่อมสามารถจําแนกศัพท์ (หรือปรากฏการณ์)
และความหมาย (หรือนิยาม) และการรับรู้ (หรือความทรงจํา) และย่อมประจักษ์วา่ แท้จริงแล้ว
มนุษย์เราจะรับรูแ้ ละทรงจําโลกอย่างไร ขึน/ อยู่กบั ว่าเขาผูน้ ัน/ นิยามหรือให้ความหมายแก่
ปรากฏการณ์นัน/ อย่างไร ซึงนิยามทัง/ หลายนัน/ เป็ นสิงทีมนุษย์สมมติกนั ขึน/ มาตามปรารถนาหา
ใช่สจั จะแท้ไม่ การจะเข้าสู่สจั จะต้องข้ามนิยามอันเป็ นสมมติบญ ั ญัตเิ สีย เพือรับรูส้ จั จะโดยตรง
เมือ% ละนิยามในโลกเสียได้ จิตของโยคีย่อมเปิดกว้าง จึงรับรูส้ จั จะได้อย่างไม่จาํ กัด
ขอบเขต เมือนั % นN โยคียอ่ มเห็นโลกทิพย์อนั ประณีตและย่อมรูเ้ ห็นความเป็นจริงตลอดกาละ เทศะ
และสายแห่งเหตุผล
เมือ% จิตของโยคีรบั รูส้ จั จะโดยตรงโดยไม่ผ่านสมมติ เมือ% นันN ความรูข้ องโยคีย่อมอยู่เหนือ
การวิเคราะห์ วิจารณ์ กล่าวคือไม่ตอ้ งอาศัยการวิเคราะห์ วิจารณ์เพือ% รูอ้ กี แต่รไู้ ด้ดว้ ยการ
ประจักษ์แจ้งสัจจะในอํานาจแห่งสมาธิจติ

การก้าวล่วงออกจากโลกิยธรรม
เมือทราบแล้วว่าสิงต่างๆ ในโลกนัน/ เป็ นเพียงของสมมติ แม้จริงก็เป็ นความจริงทีสมมติ
ขึน/ มา โยคียอ่ มก้าวล่วงออกจากโลกิยธรรมนัน/ เสีย
การออกจากโลกิยธรรมก็อาศัยโลกิยธรรมนัน/ แล ด้วยโลกิยธรรมนัน/ มีสองประเภท
ประเภทหนึงคือสมมติททํี าให้มนุ ษย์มวั เมา อีกประเภทหนึงเป็ นวิธบี ําเพ็ญเพียร มีศลี ธรรม
จริยธรรม อาสนะ ปราณายามา การเพ่ง การพินิจ และสมาธิกอปรเป็ นสภาวะ ทีจะช่วยนําพา
จิตใจของโยคีออกจากโลกสมมติเสียได้
ถ้าจะเปรียบให้เห็นชัด โลกิยธรรมทัง/ สองประเภทก็เสมือนหนามสองอันในโลก เมือ
หนามอันหนึงตําเราให้เจ็บปวด ก็ต้องใช้หนามอีกอันหนึงบ่งหนามทีตําอยู่ออกเสีย เมือบ่ง
หนามทีตําอยูอ่ อกได้แล้ว ก็ละหนามทัง/ สองเสีย
แต่การจะใช้หนามบ่งหนามออกนัน/ ก็มวี ธิ ี วิธที จะล้
ี างสมมติแห่งโลกิยธรรมออกจากใจ
เสียได้นนั / ต้องอาศัยหฐโยคะและราชโยคะกอปรกับสภาวะ ๔ จึงจะบรรลุความสําเร็จ สภาวะทัง/
๔ นัน/ คือ
๑. สาธนสมบัติ อันได้แก่ การสํารวมอินทรีย์ ความอดกลัน/ การสํารวมใจ และความ
ศรัทธา
๒. ความหน่ายหรือความไม่ปรารถนาในผล ไม่วา่ ในโลกนี/หรือในโลกหน้า
๓. ความแตกฉาน รูแ้ จ่มแจ้งแทงตลอดในสมมติและสัจจะ
๔. ความปรารถนาทีจะยกระดับตนให้พน้ จากโลกิยธรรมทัง/ หลาย
ยานคือมนตรา
ในการยกระดับจิตตนให้กา้ วล่วงโลกิยธรรมนัน/ ในเบือ/ งต้นโยคีพงึ อาศัยมนตราเป็ นยาน
นําจิตไปสูส่ ภาวะใหม่ โดยบริกรรม โอม นุ่มลึกอยู่ภายในใจให้จติ เกาะรูอ้ ยู่อย่างพิถพี ถิ นั แล้ว
บริกรรมให้ประณีตแผ่วลึกยิงขึน/ โดยลําดับ จนกระทังจิตก้าวล่วงเข้าสูค่ วามว่าง มนตราก็จะ
หายไปโดยธรรมชาติ หากมีความคิดผุดขึน/ มาแสดงว่าจิตหลุดออกมาจากความว่าง ให้บริกรรม
มนตราเพือก้าวล่วงเข้าสูค่ วามว่างใหม่ แล้วรักษาสภาวะจิตว่างนี/ไว้ให้ด ี แม้ในขณะประกอบกิจ
ตืน หลับ ฝนั

การอยู่เหนือความกลัวตาย
เมือละโลกิยธรรม (สมมติ) ได้แล้ว โยคีย่อมดํารงอยู่ในสัจจะล้วนๆ จึงไม่กลัวต่อความ
ตาย เพราะความตายเป็ นเพียงสมมติในโลกอันเกิดมาจากเหตุ ๒ ประการคือ
๑. การยึดไว้ซงความมี
ึ ความเป็ นตามทีสมมติไว้
๒. ความกลัวต่อความไม่มไี ม่เป็ นนัน/

ดังนัน/ เมือโยคีละเสียซึงความมีความเป็ นและความไม่มคี วามไม่เป็ นในโลกเสียได้ จึง


เป็ นผูไ้ ม่กลัวต่อการเปลียนแปลงใดๆ ในโลก แม้แต่ความตาย

การบังเกิดปั ญญา
เมืออยู่เหนือโลกิยธรรมและการเปลียนแปลงทัง/ หลายได้แล้ว จิตของโยคียอ่ มบรรลุ
วิเวกขญาณอันเป็ นบ่อเกิดแห่งปญั ญา ๗ ประการ คือ
๑. ปญั ญารูช้ ดั ในโลกิยธรรม
๒. ปญั ญารูช้ ดั ในความเสือมสลายไปของเหตุแห่งการข้องเกียวกับโลกิยธรรม
๓. ปญั ญารูช้ ดั ซึงสภาวะวิเวก
๔. ปญั ญารูช้ ดั แตกฉานในเหตุผล
๕. ปญั ญารูช้ ดั ถึงการเจริญและการรักษาสมาธิจติ
๖. ปญั ญารูช้ ดั ในการดับแห่งคุณต่าง ๆ ในโลก (เช่น ดี – ชัว เป็ นอาทิ)
๗. ปญั ญารูช้ ดั ในจิตเอกภาพ (ความเป็ นหนึงแห่งจิต)

การปรับปรุงพฤติวตั ร
เมือปญั ญาบังเกิดขึน/ โลกทรรศน์และชีวทรรศน์ของโยคียอ่ มเปลียนไป เมือโลกทรรศน์
และชีวทรรศน์เปลียนย่อมทําให้พฤติกรรมเปลียนไป โยคีพงึ ปรับปรุงพฤติวตั รดังนี/
๑. การบริโภค โยคีควรบริโภคเฉพาะอาหารทีประณีตและมีประโยชน์ เช่น ข้าว ถัว
กล้วย ผัก ผลไม้ นม เนย เป็ นต้น ควรหลีกเลียงอาหารทีมีโทษ เช่น เนื/อสัตว์ ของดอง ของหมัก
ของทอด ของไหม้ เหล้า บุหรี ยาเสพติดอืนๆ เป็นต้น และควรรับประทานในปริมาณทีเหมาะสม
คือ มือ/ หนึงรับประทานอาหารเพียงครึงกระเพาะ และดืมนมกับนํ/าอีกหนึงในสี อีกหนึงในสี
ของกระเพาะควรปล่อยว่างไว้เพือให้ลมเดินสะดวก การย่อยจะได้สมบูรณ์
๒. การนอน โยคีควรเว้นจากการนอนกลางวัน เพราะการนอนกลางวันเป็ นเหตุแห่ง
ความเกียจคร้านและทําให้สมองเสือม โยคีควรนอนหลับในเวลากลางคืน คืนละสีชัวโมง ช่วง
ระยะเวลาทีดีทสุี ด คือ ระหว่าง ๒๒.๐๐ – ๐๒.๐๐ น. จากนัน/ ค่อยๆ ลดลงให้เหลือคืนละสาม
ชัวโมง การทีจะนอนน้อยได้นนั / จะต้องฝึกให้มากและพักให้ลกึ จึงจะเป็ นทีสบาย
ื ว พีงทําความสะอาดร่างกาย ถ่ายปสั สาวะ อุจจาระ แปรง
๓. ความสะอาด เมือโยคีตนแล้
ฟนั อาบนํ/า ให้เรียบร้อย
๔. การบูชาครู เมือทําความสะอาดเรียบร้อยแล้ว นังบนอาสนะบูชาบูรพาจารย์ของตน
อาราธนาอิทธิฤทธิ @ของบูรพาจารย์ให้ปกป้องตนโดยรอบ จนไม่อาจมีสงใดเข้
ิ ามารบกวนการ
บําเพ็ญได้
๕. การบริกรรม เมือบูชาครูแล้วให้เริมการฝึกด้วยอาสนะ ปราณายามา จิตตกีฬา
บริกรรมมนตรา อิทธิฤทธิ @ (สิทธิ) และการเพ่งพินิจโดยลําดับ
และตลอดทัง/ วันให้สาํ รวมจิต รักษาสมาธิไว้ทุกขณะ

อตีตงั สญาณ
เมือโยคีบาํ เพ็ญโยคะเป็ นทียิงแล้ว สํารวมจิตพิจารณาสังขาร ย่อมบังเกิดอตีตงั สญาณ
คือญาณล่วงรูค้ วามเป็ นมาในอดีตขึน/ เพราะสังขารทัง/ หลายคือมวลรวมของกรรมในอดีต ดังนัน/
เมือสํารวมจิตพิจารณาละวางสังขารในปจั จุบนั จนจิตสว่างผ่องใสแล้ว สังขารในอดีตย่อมปรากฏ

ปรจิตตญาณ
เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว พิจารณาปจั จัยแห่งจิตโดยพิสดารนัย ครัน/ ผูอ้ นเข้
ื ามาในรัศมี
ญาณจักษุ โยคียอ่ มสามารถล่วงรูค้ วามรูส้ กึ และภาวะจิตของผูน้ นั / ได้

การหายตัว
เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว สํารวมพิจารณากายโดยความเป็ นธาตุ แล้วละวางธาตุเหล่านัน/
เสีย ครัน/ แล้วพิจารณากายโดยความเป็ นของไม่ปรากฏ เมือนัน/ โยคียอ่ มหายตัวได้ คือทําตน
ให้ไม่ปรากฏ แม้อยู่ในท่ามกลางหมูช่ นได้

มรณญาณ
เมือโยคีมสี มาธิกล้า สํารวมจิตพิจารณากรรมของตนโดยตลอด ย่อมบังเกิดมรณญาณ
คือล่วงรูว้ นั เวลามรณะของตนเองในชาติน/ไี ด้
สําหรับคนทัวไปทีสมาธิยงั ไม่กล้า แต่อยากทราบมรณะสัญญาณ ให้เอานิ/วอุดรูหทู งั / สอง
ข้าง ถ้าได้ยนิ เสียงอือ/ เหมือนพายุพดั อยู่ภายใน แสดงว่าอายุยงั อีกยาว ถ้าไม่ได้ยนิ เสียงอือ/
ภายใน แสดงว่าปราณอ่อนกําลัง ธาตุลมวิปริต อายุใกล้จะสิน/ แล้ว
(เรืองอายุน/ีเป็ นธรรมชาติทเพิ
ี มได้ลดได้ ท่านทีสนใจศึกษาเพิมเติมได้จากหนังสือ “วิธ ี
บริหารดวงชะตาชีวติ ” โดยผูเ้ ขียนเดียวกัน)

กําลังภายใน
เมือโยคีมสี มาธิกล้า และมีพรหมธรรมบริสทุ ธิ @แล้ว สํารวมจิตในพลังของสัตว์ทมีี กาํ ลัง
ย่อมมีกําลังดังสัตว์นนั / เช่น สํารวมจิตในพลังช้างสารย่อมมีพลังดังพญาคชสีห์ หากสํารวมจิต
ในพลังสิงโตย่อมมีพลังดังพญาราชสีห์ หากสํารวมจิตในพลังอินทรียย์ อ่ มมีพลังดังพญาอินทรีย์
เป็ นต้น เพราะอํานาจสมาธิทบํี าเพ็ญดีแล้ว ครัน/ สํารวมจิตในสิงใดจิตจะปลุกธรรมชาตินนั / ๆ ให้
ปรากฏขึน/ ได้ และด้วยพรหมธรรมอันบริสทุ ธิ @จะทําให้พลังทีปลุกขึน/ มานัน/ เป็นอันหนึงอัน
เดียวกัน (ไม่แตกต่าง) กับพลังของพญาคชสีห์ หรือพญาราชสีห์ หรือพญาอินทรีย์ หรือตามที
สํารวมจิตไว้

ตาทิพย์
เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว แผ่แสงจิตไป ณ ทีใดย่อมเห็นปรากฏการณ์ ณ ทีนัน/ ได้ แม้จะ
อยู่ในทีซ่อนเร้นหรืออยู่ไกลจากสายตาเพียงใดก็ตาม

จิตรูจ้ ติ
เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว สํารวมจิตไว้ทหทั
ี ย ย่อมระลึกความทรงจําเป็ นอันมากของตน
โดยไม่จาํ กัด
และด้วยการจําแนกแยกแยะอัตตปจั จัย (ความทรงจําอันเป็ นปจั จัยแห่งตน) และพุทธิ
ปจั จัย (ความทรงจําอันเป็ นปจั จัยแห่งปญั ญา) ได้โดยเด็ดขาด แล้วจําแนกอัตตากับปจั จัยและ
พุทธิกบั ปจั จัยออกจากกันอีกชัน/ หนึงก็จะบรรลุภาวะจิตรูจ้ ติ (Self Referral) ขึน/ เมือจิตรูจ้ ติ โดย
สมบูรณ์แล้วและรักษาไว้มใิ ห้เสียสภาวะ ครัน/ สภาวะจิตนี/รบั รูส้ งอื
ิ นก็จะสักแต่วา่ รับรู้ คือไม่ม ี
อารมณ์ทุกข์หรือสุขระคนกับการรูใ้ ดๆ แม้จะรูเ้ รืองราวในอดีต ปจั จุบนั หรืออนาคต เสมือน
หนึงพยานผูร้ เู้ ห็นเหตุการณ์ใดๆ ในโลกย่อมไม่ดใี จ หรือทุกข์โศกไปกับโลก เป็ นเพียงผูร้ เู้ ห็น
ครัน/ รูเ้ ห็นก็เฉยอยู่ ในขัน/ นี/เรียกว่ามีสมั ปชัญญะโดยสมบูรณ์

ปฏิภาณญาณและทิพยอินทรีย์
เมือจิตรูจ้ ติ สมบูรณ์แล้ว ครัน/ โยคีพนิ ิจสิงใด ย่อมมีปฏิภาณวินิจฉัยเข้าใจและสนองตอบ
ต่อสิงนัน/ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และหากโยคีรบั รูป้ รากฏการณ์ภายนอกด้วยจิตรูจ้ ติ ย่อม
รับรูผ้ า่ นทิพยอินทรีย์ (ทีแฝงอยู่ในกายธาตุ) คือ ตาทิพย์ หูทพิ ย์ จมูกทิพย์ ลิน/ ทิพย์ ผิวทิพย์ จึง
ย่อมสามารถรับรูไ้ ด้อย่างประณีตลึกซึง/ กว้างไกลกว่าคนทัวไป

การลอยเหนือนํ5าและดงหนาม
เมือโยคีมสี มาธิกล้า และสามารถควบคุมลมอุทานปราณซึงอยู่ระหว่างอกกับศีรษะได้
ย่อมสามารถลอยอยู่เหนือนํ/า โคลนตม และดงหนามได้

การเหาะเหินเดินอากาศ
เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว สํารวมจิตไว้ทความสั
ี มพันธ์ระหว่างกายกับอากาศ แล้ว
กําหนดให้เป็ นความว่าง (อวกาศ) เพือตัดแรงดึงดูดของโลกได้แล้ว ย่อมสามารถเหาะเหินหรือ
เดินไปในอากาศได้
อีกวิธหี นึง เมือโยคีมสี มาธิกล้าแล้ว สํารวมจิตไว้ทธาตุ
ี ลมในกาย แผ่วาโยธาตุครอบงํา
กายจนกายเบาดังอากาศ แล้วกําหนดให้ลอย กายก็ลอยได้เช่นกัน
การถอดจิต
เมือโยคีมสี มาธิกล้า สามารถควบคุมจิตไว้ในอํานาจได้แล้ว ย่อมกําหนดให้จติ ตัง/ อยู่ใน
กายก็ได้ หรือตัง/ อยู่นอกกายก็ได้ เมือโยคีตงั / จิตไว้นอกกาย ย่อมเห็นชัดในความเป็ นสมมติ
แห่งกายและคลายความผูกพันในกายเสียได้ เมือนัน/ จิตย่อมบังเกิดญาณรัศมีอนั เจิดจํารัส

การควบคุมอารมณ์
โยคีแม้มสี มาธิแก่กล้าและมีอทิ ธิฤทธิ @นานาดังกล่าวแล้ว หากไม่สามารถควบคุมอารมณ์
ได้ ก็อาจเสือมจากสมาธิและฤทธิ @ก็หายไปได้ ดังนัน/ โยคีผแู้ ก่กล้าต้องสํารวมจิตในผัสสะแห่ง
อินทรียแ์ ละควบคุมอารมณ์มใิ ห้กําเริบได้

โดยปกติ อารมณ์จะเกิดตามกลไกดังนี/
๑. อินทรีย์ (ตา หู จมูก ลิน/ กาย) รับสิงเร้ามา
๒. วิสยั ทีอินทรียร์ บั มาเคลือนเข้าสูใ่ จ บังเกิดเป็ นอารมณ์สนองตอบ
๓. อารมณ์นนั / ระคนกับตน เกิดเป็ นมมังการ อหังการ ยึดถือว่าอารมณ์เป็ นตน หรือตน
เป็นอารมณ์นัน/ ๆ
๔. ยอมรับให้อารมณ์นนั / ๆ เป็ นองค์ประกอบของชีวติ ถ้าชีวติ ปราศจากอารมณ์นนั / จะ
รูส้ กึ ขาดพร่อง ไร้ความหมาย

ตัวอย่างกลไกอารมณ์ เช่น เมือเห็นสตรีคนหนึง จักขุอนิ ทรียร์ บั รูปของสตรีคนนัน/ เข้ามา


แล้วส่งต่อไปยังใจ ใจสนองตอบเป็ นอารมณ์ชอบ – ชัง ถ้าชอบก็อาจเกิดกามารมณ์ต่อเนืองขึน/
ได้ ครัน/ อารมณ์นนั / ระคนกับตัวตน มีความต้องการเกิดขึน/ ว่า ฉันต้องการเธอ เธอต้องเป็ น
ของฉัน (มมังการ) หรือฉันเป็นของเธอ (อหังการ) หากยอมรับอหังการ มมังการจนเป็ น
องค์ประกอบของชีวติ ครัน/ ชีวติ ไม่มเี ธอก็จะรูส้ กึ ขาดพร่อง เหงา ไร้ความหมาย เป็ นต้น นีคือ
กลไกอารมณ์ทวไป ั
สําหรับโยคีผแู้ ก่กล้า ครัน/ ประจักษ์แจ้งกลไกอารมณ์ดงั นี/แล้ว ย่อมสามารถควบคุม
อินทรียม์ ใิ ห้ส่งอาการมายังใจ คือเห็นก็สกั แต่วา่ เห็นได้ จึงไม่เกิดอารมณ์ใดๆ ขึน/

การยังกายให้อยู่ในอํานาจ
เมือโยคีมสี มาธิกล้าสามารถควบคุมอินทรียแ์ ละอารมณ์ได้โดยสมบูรณ์แล้ว จิตย่อมมี
อํานาจเหนือกาย โยคีนนั / ย่อมยังกายให้เคลือนทีไปได้เร็วเท่าใจ คือคิดจะไปทีใด กายก็เคลือน
ตามอํานาจใจไปปรากฏ ณ ทีนัน/ ได้เลย

จิตรูแ้ จ้ง
เมือจิตมีอํานาจเหนือกายแล้ว ย่อมเป็ นอิสระจากกายโดยเด็ดขาด กายย่อมหมด
ความหมายสําหรับโยคีนนั / เมือนัน/ โยคีจะสามารถรับรูค้ วามเป็ นจริงทัง/ ปวงได้ดว้ ยจิตโดยตรง
โดยไม่ตอ้ งอาศัยอินทรีย์ (ตา หู จมูก ลิน/ กาย) อีกต่อไป

จิตบรรลุไกวัลย์
เมือโยคีผแู้ ก่กล้าสามารถควบคุมกาย ควบคุมอารมณ์และควบคุมปญั ญาได้โดยเด็ดขาด
แล้ว เพียรถอนราคะ โทสะ โมหะทีนอนเนืองอยู่มาเป็ นเวลานานทิง/ เสียโดยไม่เหลือเชือ/ จน
อหังการ มมังการไม่อาจกําเริบได้อกี ก็จะบรรลุไกวัลย์
ไกวัลย์ คือสภาวะแห่งความบริสุทธิ @ เป็ นหนึงเดียว ปราศจากสรรพสิงและสรรพภาพ
ใดๆ เจือปน กว่าจะบรรลุไกวัลย์ได้นัน/ โยคีตอ้ งผ่านโลกอันประณีตหรือทิพยธาตุอนั สุขมุ และ
อิทธิฤทธิ @นานา โยคีผมู้ งุ่ การบรรลุสภาวะสูงสุดย่อมไม่ยนิ ดียนิ ร้ายแม้สขุ มุ ธาตุและอิทธิฤทธิ @ ละ
วางทิพยธาตุและอิทธิฤทธิ @ได้แล้ว จิตจึงดําเนินสูไ่ กวัลย์
จิตเบิกบาน
เมือบรรลุไกวัลย์ย่อมรูแ้ จ้งในสรรพธาตุ การรูแ้ จ้งในสรรพธาตุอย่างไม่มคี วามจํากัดย่อม
ยังจิตให้เบิกบาน
ความเบิกบานแห่งจิตทีรูแ้ จ้งคือบรมสุขทีมนุษย์ทกุ คนปรารถนา ดังนัน/ ปญั ญาชนผูช้ าญ
ฉลาดจึงไม่ควรลังเลหรือรีรอทีจะเริมพัฒนาตนและเร่งการบําเพ็ญเพียรให้ยงๆ ิ ขึน/ ไป
การเรียบเรียงโยคะศาสตร์และมหัศจรรย์แห่งโยคะมาโดยลําดับนี/ ก็เพือประโยชน์สุขแก่
มหาชนเป็ นสําคัญ

ผูเ้ ขียน/ผูถ้ อดความ

You might also like