You are on page 1of 15

หล ักธรรมทีเ่ กีย

่ วเนือ
่ งใน
ว ันสำค ัญทางพระพุทธ
ศาสนา 
ว ันมาฆบูชา
้ 15 ค่ำ เดือน 3 มีเหตุการณ์
ว ันมาฆบูชา เป็นว ันขึน
อ ัศจรรย์ทพ ี่ ระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจำนวน
1,250 รูป มาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ ว ัดเวฬุว ัน เมือง
ราชคฤห์ แคว้นมคธ โดยมิได้น ัดหมายก ัน พระสงฆ์
ทงหมดเป
ั้ ็ นพระอรห ันต์ ผูไ้ ด้อภิญญา 6 และเป็นผูท ้ ี่
ได้ร ับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้า ในว ันนี้
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหล ักธรรมทีช ื่ ว่า“โอวาท
่ อ
ปาติโมกข์”
ว ันมาฆบูชา
หล ักการ 3 อุดมการณ์ 4 ได้แก่ วิธก
ี าร 6 ได้แก่
ได้แก่ 1) ความอดทน 1) ไม่กล่าวร้าย
1) การละเว้น 2) ไม่ทำร้ายผูอ ้ น
ื่
2) ความไม่
ทำความชว่ ั 3)สำรวมในปาติโมกข์
เบียดเบียน (เคารพในระเบียบวิน ัย)
2) ทำความดีให้ 3) ความสงบ และ 4) รูป
้ ระมาณ
ถึงพร้อม 4) นิพพาน (ความ 5) อยูใ่ นสถานทีท ่ ส
ี่ ง ัด
3)ทำจิตใจให้ ด ับทุกข์) และ
ผ่องใส 6) ฝึ กห ัดจิตใจให้สงบ
ว ันวิสาขบูชา
พระพุทธเจ้าประสูต ิ ตร ัสรู ้ และเสด็จด ับข ันธ
ปรินพิ พาน เวียนมาบรรจบในว ันและเดือนเดียวก ัน
คือ ว ันเพ็ ญเดือนวิสาขะ (เดือน 6) จึงถือว่าเป็นว ัน
สำค ัญของพระพุทธเจ้า หล ักธรรมอ ันเกีย ่ วเนือ
่ งจาก
การประสูต ิ ตร ัสรู ้ และเสด็จด ับข ันธปรินพ
ิ พาน คือ
ความกต ัญญู อริยสจั 4 และความไม่ประมาท
ว ันวิสาขบูชา
ความกต ัญญู จะเกีย ่ วเนือ่ งก ับพระพุทธเจ้า ผูท้ รง
เป็นบุพพการีในฐานะทีท ่ รงสถาปนาพระพุทธศาสนา
และทรงสอนทางพ้นทุกข์ให้แก่เวไนยสตว์ ั
พุทธศาสนิกชน รูพ ้ ระคุณอ ันนี้ จึงตอบแทนด้วยอามิส
บูชา และปฏิบ ัติบชู า กล่าวคือ การจ ัดกิจกรรมในว ัน
วิสาขบูชา เป็นสว่ นหนึง่ ทีช่ าวพุทธแสดงออก ซงึ่ ความ
กต ัญญูกตเวทีตอ ่ พระองค์ ด้วยการทำนุบำรุง สง ่ เสริม
พระพุทธศาสนา และประพฤติปฏิบ ัติธรรม เพือ ่ ดำรง
อายุพระพุทธศาสนา
ว ันวิสาขบูชา
อริยสจั 4 เป็นหล ักคำสอนทีม
่ ง
ุ่ ความจริงอ ันประเสริฐ
1. ทุกข์ คือ ความจริงว่าด้วยทุกข์ ความไม่สบาย กายไม่สบายใจ
ทุกข์ม ี 2 ประเภท คือ ทุกข์ประจำ ได้แก่ ความคิด ความแก่ ความตาย
และทุกข์จร ได้แก่ ความโศกเศร้า เป็นต้น
2. สมุท ัย คือ ความจริงว่าด้วยเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ต ัณหาหรือความ
ทะยานอยาก
มี 3 ประการ คือ กามต ัณหา ภวต ัณหา และวิภวต ัณหา
3. นิโรธ คือ ความจริงว่าด้วยการด ับทุกข์ หมายถึง การด ับหรือการละ
ต ัณหา
4. มรรค คือ ความจริงว่าด้วยวิถท ี างแห่งความด ับทุกข์
ว ันวิสาขบูชา
ทางทีจ่ ะด ับทุกข์นน
ั้ คือ “ มรรคมีองค์ 8 ” หรืออริยมรรคแปลว่า ทางอ ันประเสริฐทางนนมี
ั้
ทางเดียว
แต่มอ
ี งค์ประกอบ 8 ประการ คือ


1. สมมาทิ ฎฐ ิ ความเห็นชอบ ปัญญา

2. สมมาส ั ัปปะ
งก ดำริชอบ ปัญญา

3. สมมาวาจา การพูดชอบ ี
ศล
4. สมมาก ั ัมม ันตะ การกระทำชอบ ี
ศล
5. สมมาอาช ั วี ะ ้ งชพ
การเลีย ี ชอบ ศล ี
6. สมมาวายามะ ั ความพยายามชอบ สมาธิ
7. สมมาสติ ั ความระลึกชอบ สมาธิ
8. สมมาสมาธิ ั ความตงจิั้ ตมน่ ั ชอบ สมาธิ
ว ันวิสาขบูชา
ความไม่ประมาท หล ักความไม่ประมาทนี้
พระพุทธเจ้าทรงตร ัสไว้กอ ่ นทีพ
่ ระพุทธองค์จะเสด็จ
ด ับข ันธปรินพิ พาน โดยกล่าวเป็นปัจฉิมวาจาว่า “ภิก
ษุทงหลาย
ั้ บ ัดนีเ้ ราของเตือนเธอทงหลายว่
ั้ ั
า สงขาร
ทงหลายมี
ั้ ความเสอ ื่ มไปเป็นธรรมดา เธอทงหลายจง
ั้
ทำหน้าทีใ่ ห้สำเร็จด้วยความไม่ประมาทเถิด”
ว ันอาสาฬหบูชา
พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา (เทศน์ก ัณฑ์แรก) เนือ ้ หา
ในหล ักธรรมว่าด้วยทางสายกลาง (ม ัชฌิมาปฏิปทา) ทีน ่ ำไปสู่
การบรรลุนพ ิ พาน ท่านโกณฑ ัญญะ ได้บรรลุโสดาปัตติผล แล้ว
ทูลขอบวชเป็นพระสาวกรูปแรก ทีเ่ ป็นประจ ักษ์พยานในการ
ตร ัสรูข
้ องพระพุทธเจ้า
ทางสายกลาง (ม ัชฌิมปฏิปทา) เป็นข้อปฏิบ ัติทท ี่ ำให้บรรลุ
จุดหมายสูงสุดของชวี ต ิ นน
่ ั คือ “นิพพาน” ได้ โดยการปฏิบ ัติท ี่
ไม่ตงึ เกินไป หรือ หย่อนยานเกินไป ซงึ่ ประกอบด้วย ความเห็น
ชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ การทำงานชอบ เลีย ้ งชวี ต
ิ ชอบ มี
ความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตงใจม ั้ น่ ั ชอบ
ว ันอาสาฬหบูชา
พระพุทธองค์ทรงเป็นแบบอย่างของการดำเนินตาม
ทางสายกลาง ในขณะทีพ ่ ระพุทธองค์ทรงทำทุกรกิรย ิ า
(ทรมานตน) เป็นการปฏิบ ัติทเี่ คร่งคร ัดเกินไปใน
ล ักษณะ “สุดโต่ง” เมือ ่ พระพุทธองค์ได้ยน ิ พิณสามสาย
นน ่ ั คือ หากปฏิบ ัติตนเคร่งคร ัดเกินไป หรือหย่อนยาน
เกินไป เสย ี งก็ไม่ไพเราะ น่าฟัง หากสายพิณตึงพอดี
พอดีดเข้าไปก็บ ังเกิดเสย ี งไพเราะน่าฟัง พระพุทธองค์
จึงทรงเห็นว่า การดำเนินทางสายกลางเท่านนจึ ั้ งจะนำ
ไปสูห ่ นทางพ้นทุกข์ หรือสูน ่ พ
ิ พานได้
ว ันเข้าพรรษา
• 1. พระภิกษุจะหยุดจาริกไปย ังสถานทีอ
่ น
ื่ ๆ แต่จะเข้าพ ักอยูป
่ ระจำในว ัดแห่งเดียว
ตามพุทธบ ัญญ ัติ

• 2. การทีพ
่ ระภิกษุอยูป
่ ระจำทีน
่ าน ๆ ย่อมมีโอกาสได้สงเคราะห์กล ุ บุตรทีป
่ ระสงค์จะ
อุปสมบทเพือ ึ ษาพระธรรมวิน ัย และสงเคราะห์พท
่ ศก ุ ธบริษ ัททว่ ั ไป

• 3. เป็นเทศกาลทีพ ุ ธศาสนิกชนงดเว้นอบายมุขและความชว่ ั ต่าง ๆ เชน


่ ท ่ การดืม

สุรา สงิ่ เสพติด และการเทีย
่ วเตร่เฮฮา เป็นต้น

• 4. นอกจากเป็นเทศกาลทีพ ุ ธศาสนิกชนงดเว้นอบายมุขและความชว่ ั ต่าง ๆ แล้ว


่ ท
ในชว่ งเวลาพรรษา พุทธศาสนิกชนทว่ ั ไปจะบำเพ็ ญทาน ร ักษาศล
ี ฟังธรรม และ
เจริญภาวนามากขึน้
ว ันเข้าพรรษา
• หล ักธรรม “วิร ัติ” เป็นหล ักธรรมสำค ัญทีส
่ น ับสนุน คุณ
ความดีในระหว่างเทศกาลเข้าพรรษา
ว ันต ักบาตรเทโวโรหณะ
พระสงฆ์ได้ร ับพระบรมพุทธานุญาตให้จาริกไป
ค้างแรมทีอ
่ น
ื่ ได้
• ปวารณา คือหล ักธรรมสำค ัญทีค ่ วรไปปฏิบ ัติ เพือ

เปิ ดโอกาสให้ผอ
ู้ น
ื่ ว่ากล่าวต ักเตือนตนเองได้
พระพุทธเจ้าตร ัสประโยชน์ของการทำปวารณาของ
พระภิกษุสงฆ์ไว้ 3 ประการคือ
ว ันต ักบาตรเทโวโรหณะ
จ ัดทำขึน ้ หล ังว ันออกพรรษา 1 ว ัน คำว่า “เทโว
โรหณะ” แปลว่า การหยง่ ั ลงจากเทวโลก หมายความ
ว่า ว ันทีพ
่ ระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก 
ว ันธรรมสวนะ
หมายถึง วันฟั งธรรม คือวันขึน
้ 8 ค่ำ แรม 8 ค่ำ และวัน
ขึน
้ 15 ค่ำ แรม 15 ค่ำ (หรือแรม 14 ค่ำ) เรียกอีกอย่าง
หนึง่ ว่า “ว ันพระ”

หล ักธรรมสำค ัญ
ทีช
่ าวพุทธทุกคนควรนำไปปฏิบตั ใิ นวันธรรมสวนะ
ี และการเจริญจิตภาวนา 
คือ การให ้ทาน การรักษาศล

You might also like