You are on page 1of 14

สรุปเนื้ อหาเตรียมสอบสังคมจากแมวส้ม

เรามาทบทวนเนื้อหาก่อนสอบไปด้วยกันนะงับ ช่วยเพิม่ ความมันใจก่


่ อนเข้าห้องสอบ แมวเป็ น
กาลังใจให้น้องๆ สิบล้านดวงเลย สูไ้ ปด้วยกันคับ!!

ประเภทของศาสนา แบ่งเป็ น
1. ศาสนาประเภทเทวนิยม : มีพระเจ้า ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม
ศาสนาสิข
2. ศาสนาประเภทอเทวนิยม : ไม่มพี ระเจ้า ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน

วรรณะในศาสนาพราหมณ์-ฮิ นดู
1. พราหมณ์ เป็ นวรรณะสูงสุด ทาหน้าทีส่ งสอนให้
ั่ ความรูก้ บั ประกอบพิธกี รรมให้คนวรรณะต่างๆ
2. กษัตริย์ เป็ นนักรบกับผูป้ กครอง
3. แพศย์ เป็ นชาวนา คนเลี้ยงสัตว์ พ่อค้า ช่างฝีมอื
4. ศูทร เป็ นแรงงาน

อาศรม 4 เป็ นขัน้ ตอนการดาเนินชีวติ ในแต่ละช่วงวัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แบ่งเป็ น


1. พรหมจารี : อายุ 0-25 ปี ศึกษาเล่าเรียน
2. คฤหัสถ์ : อายุ 26-50 ปี แต่งงาน มีครอบครัว ประกอบอาชีพ
3. วานปรัสถ์ : อายุ 51-75 ปี แสวงหาความสงบ
4. สันยาสีหรือสันยาสะ : อายุ 76 ปี ขน้ึ ไป ละทิง้ ทุกอย่าง ออกไปบาเพ็ญเพียรอยู่ในป่ า เพือ่ บรรลุสู่
โมกษะ (เป้ าหมายของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู)

ศาสนาพุทธเน้ นการพัฒนาคน โดยมุ่งพัฒนาเหตุผลกับปัญญา

ศาสนาพุทธเชื่อเรื่องการเวียนว่ายตายเกิ ด แต่มองว่ามีสาเหตุมาจากอวิ ชชา (ความไม่ร้)ู

1
วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
วันมาฆบูชา – โอวาทปาฏิโมกข์ (ทาความดี ละเว้นความชัว่ ทาจิตใจให้ผ่องใส)
วันวิสาขบูชากับวันอัฎฐมีบูชา – อัปปมาทธรรม (ความไม่ประมาท)
วันวิสาขบูชาตอนประสูติ – อาสภิวาจา (แสดงถึงความเชื่อมันในศั
่ กยภาพของตนเอง)
วันวิสาขบูชาตอนปรินิพพาน – พระพุทธเจ้าแสดงปั จฉิมโอวาท (แสดงธรรมครัง้ สุดท้าย) เรื่อง
อัปปมาทธรรม (ความไม่ประมาท)
วันอาสาฬหบูชา – พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา (แสดงธรรมครัง้ แรก) เกิดพระสงฆ์องค์แรกคือ
โกณฑัญญะ
วันออกพรรษา – พิธมี หาปวารณา (ให้พระสงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนกันเพือ่ นาไปปรับปรุงตัวต่อไป)
วันทีม่ เี วียนเทียน – วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฎฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา

หลักธรรมสาคัญ
อริยสัจ 4 เป็ นหลักธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสรู้
ไตรสิกขา คือ การจัดแบ่งมรรค 8 ออกเป็ น 3 ด้านเพือ่ พัฒนาชีวติ แบ่งเป็ น
1. อธิศลี เกีย่ วกับความประพฤติ
2. อธิจติ เกีย่ วกับการแน่วแน่ของจิต เกิดสมาธิ
3. อธิปัญญา เกีย่ วกับความรูค้ วามเข้าใจทีเ่ ป็ นจริง
อธิปไตย 3 เป็ นหลักว่าด้วยแนวทางการปกครองของพุทธศาสนา มี 3 ประการ คือ
1. อัตตาธิปไตย : ยึดเอาคนๆ เดียวเป็ นใหญ่
2. โลกาธิปไตย : ยึดเอาคนส่วนมากเป็ นใหญ่
3. ธรรมาธิปไตย : ยึดเอาหลักธรรมเป็ นใหญ่
มิจฉาวณิชชา 5 ห้ามค้าขายสิง่ ทีไ่ ม่ดี 5 อย่าง คือ
1. ค้ามนุษย์
2. ค้าสัตว์
3. ค้ายาพิษ
4. ค้าอาวุธ
5. ค้าสุรา

2
ทศพิธราชธรรม เป็ นหลักธรรมสาหรับผูป้ กครอง 10 ประการ แบ่งเป็ น
1. ทาน : การให้ (เป็ นการให้โดยให้ใครก็ได้)
2. ศีล : การตัง้ อยู่ในศีลหรือมีความประพฤติทเ่ี หมาะสม
3. ปริจจาคะ : การบริจาค จาว่าจาคะตรงกับบริจาค (เป็ นการให้โดยให้เฉพาะเจาะจง)
4. อาชชวะ : ความซื่อตรง
5. มัททวะ : ความอ่อนโยน
6. ตบะ : การแผดเผากิเลสตัณหา ใช้ช่อื ว่าบาเพ็ญตบะ
7. อักโกธะ : ความไม่โกรธ
8. อวิหงิ สา : ความไม่เบียดเบียน ตรงกับคาว่าอหิงสา
9. ขันติ : ความอดทน
10. อวิโรธนะ : การตัง้ มันอยู
่ ่ในธรรม
หลักอปริหานิยธรรม 7 กับหลักสาราณียกรรม 6 เป็ นหลักธรรมเกีย่ วกับความสามัคคี
หลักปฏิจจสมุปบาท บอกถึงความสัมพันธ์กนั ระหว่างเหตุกบั ผล เพราะสิง่ นี้มสี งิ่ นัน้ จึงมี
โยนิโสมนสิการ เป็ นการคิดด้วยตนเอง
ปรโตโฆสะ เป็ นการคิดจากผูอ้ ่นื มาบอกให้คดิ
หิรโิ อตตัปปะ หมายถึง ความละอายใจต่อบาป
กฎไตรลักษณ์ หมายถึง ความไม่เทีย่ งประกอบด้วยอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ทางสายกลางของพระพุทธศาสนาคือไม่เข้มงวดกับไม่หย่อนยานเกินไป

ศีล (พิ ธีกรรม) ในศาสนาคริ สต์ แบ่งเป็ น


1. ศีลล้างบาป ศีลจุ่ม หรือบัพติศมา : พิธรี บั เข้าเป็ นคริสต์ศาสนิกชนสาหรับเริม่ นับถือศาสนาคริสต์ เป็ น
การชาระล้างบาปกาเนิด
2. ศีลมหาสนิท : ระลึกถึงพระเยซู กินขนมปั งกับเหล้าองุน่
3. ศีลกาลัง : รับพลังจากพระจิต
4. ศีลอนุกรมหรือศีลบวช : สาหรับบวชเป็ นบาทหลวง
5. ศีลเจิม : สาหรับคนป่ วยหนัก
6. ศีลอภัยบาปหรือศีลสารภาพบาป : สาหรับทาผิดแล้วไปสารภาพกับบาทหลวงเพือ่ สานึกความผิด
7. ศีลสมรส : ทาพิธแี ต่งงานในโบสถ์โดยมีบาทหลวงเป็ นผูท้ าพิธใี ห้
3
นิกายโรมันคาทอลิกกับนิกายกรีกออทอดอกซ์นบั ถือ 7 ศีล ส่วนนิกายโปรเทสแตนนับถือ 2 ศีล คือ
ศีลล้างบาปกับศีลมหาสนิท

หลักตรีเอกานุภาพ (Trinity) เป็ นหลักความเชื่อประกอบด้วยพระบิดา (พระเจ้า) พระบุตร (พระเยชู)


พระจิต (พระวิญญาณของพระเจ้าทีส่ ง่ ถึงมนุษย์ทุกคน)

หลักปฏิ บตั ิ ในศาสนาอิ สลาม แบ่งเป็ น


1. การปฏิญาณตน : ชาวมุสลิมทุกคนต้องปฏิบตั โิ ดยไม่มขี อ้ ยกเว้น เป็ นหัวใจของการเป็ นมุสลิมด้วยการ
ปฏิญาณตนว่า "ไม่มพี ระเจ้าอื่นใดนอกจากพระอัลลอฮ์และมูฮมั หมัดเป็ นศาสนทูตของพระองค์“
2. การละหมาด : การแสดงความเคารพต่อพระเจ้า ทาวันละ 5 ครัง้ เริม่ ทาตอนโตเป็ นผูใ้ หญ่
3. การถือศีลอด : อดอาหารช่วงพระอาทิตย์ขน้ึ จนถึงพระอาทิตย์ตกในเดือนรอมฏอน ยกเว้นสาหรับคน
เดินทางไกล คนป่ วย มารดาทีอ่ ยู่ระหว่างให้นมบุตรทีไ่ ม่ตอ้ งถือศีลอด
4. การบริจาคซะกาต : ให้สละทรัพย์เพื่อสังคมตามสถานภาพเพื่อช่วยเหลือสงเคราะห์ผอู้ ่นื เป็ นจานวน
2.5 % ของรายได้ทงั ้ หมดต่อปี
5. การไปทาพิธฮี จั ญ์ : เดินทางไปทีเ่ มืองเมกกะ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย ต้องเป็ นคนทีม่ คี วามพร้อมทาง
ทรัพย์สนิ (ไม่ยมื เงินใคร) มีความพร้อมทางด้านร่างกาย (ต้องมีร่างกายทีแ่ ข็งแรงเพียงพอ) และปฏิบตั ิ
ตามหลักปฏิบตั อิ ่นื ๆ อย่างเคร่งครัด

ความเชื่อมโยงของแต่ละศาสนา
ศีลล้างบาป ตรงกับ พิธแี สดงตนเป็ นพุทธมามกะกับการปฏิญาณตนในศาสนาอิสลาม
ศีลอภัยบาป ตรงกับ หิรโิ อตตัปปะ
ศีลมหาสนิท ตรงกับ การเข้าวัด ใส่บาตร ทาบุญ เพือ่ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
การบริจาคซะกาต ตรงกับ การให้ทาน (การให้โดยให้ใครก็ได้) กับการบริจาค (การให้โดยให้
เฉพาะเจาะจง)

4
บรรทัดฐาน คือ การกาหนดแบบแผนของพฤติกรรม แบ่งออกเป็ น
1. วิถปี ระชา : แนวทางปฏิบตั แิ บบไม่เป็ นทางการ เกิดจากความคุน้ ชิน
2. จารีต : แนวทางปฏิบตั แิ บบไม่เป็ นทางการ เกิดจากหลักคาสอนทางศาสนา
3. กฎหมาย : แนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นทางการ เกิดจากรัฐตรากฎหมายขึน้ มาบังคับใช้

สถานภาพทางสังคม หมายถึง ตาแหน่งทีไ่ ด้รบั มาในสังคม


1. สถานภาพติดตัวมาแต่กาเนิด เช่น เพศ เชือ้ ชาติ
2. สถานภาพทีไ่ ด้มาทีหลัง เช่น อาชีพ การสมรส
ส่วนสัญชาติเป็ นได้ทงั ้ สถานภาพติดตัวมาแต่กาเนิดกับสถานภาพทีไ่ ด้มาทีหลัง

สถาบันทางสังคม คือ แบบแผนทางสังคม แบ่งเป็ น


1. สถาบันครอบครัว
2. สถาบันศาสนา
3. สถาบันการศึกษา
4. สถาบันสือ่ สารมวลชน
5. สถาบันการเมืองการปกครอง
6. สถาบันเศรษฐกิจ

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เป็ นการเปลีย่ นแปลงแบบแผนทางสังคม เน้นไปทีส่ ถาบันทางสังคม ได้แก่


สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา สถาบันสื่อมวลชน สถาบันการเมืองการปกครอง
สถาบันเศรษฐกิจ เพราะคาว่าสถาบันทางสังคมหมายถึงแบบแผนทางสังคมนัน่ เอง

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เป็ นการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม คือ ด้านวัตถุธรรม (วัตถุสงิ่ ของ)


คติธรรม (ความคิดความเชื่อ) เนติธรรม (กฎหมาย) สหธรรม (มารยาท)

5
ความแตกต่างระหว่างรัฐเดี่ยวกับรัฐรวม
1. รัฐเดีย่ ว : มีรฐั บาลเดีย่ ว รัฐบาลมีอานาจในการบริหารงานประเทศทีเ่ ป็ นหนึ่งเดียวกัน เช่น ไทย
2. รัฐรวม : เรียกชื่อว่า “สมาพันธรัฐ” มีรฐั บาล 2 ระดับ แบ่งเป็ นรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิน่ มีการ
แบ่งแยกอานาจระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิน่ เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมันนี สวิตเซอร์แลนด์

ผลงานของนักปรัชญาการเมือง
1. อริลโตเติล : Politic
2. โทมัส ฮ็อบส์ : Liviathan
3. จอห์น ล็อก : Two Treatises of Goverment
4. มองเตสกิเออร์ : The Spirit of Laws
5. ชอง ชาร์ก รุสโซ : The Social Contract

โทษทางอาญา มีทงั ้ หมด 5 สถาน ได้แก่


1. ริบทรัพย์
2. ปรับ
3. กักขัง
4. จาคุก
5. ประหารชีวติ

อายุความคดีฉ้อโกงกับยักยอกทรัพย์ ต้องแจ้งความภายใน 3 เดือนนับตัง้ แต่รเู้ รื่องและรูต้ วั ผูก้ ่อเหตุ


มิฉะนัน้ จะขาดอายุความ

6
ระบบเศรษฐกิ จ แบ่งออกเป็ น
1. แบบทุนนิยม ขึน้ กับกลไกราคา เอกชนมีเสรีภาพในการผลิต ผูบ้ ริโภคสามารถเลือกซือ้ สินค้าและ
บริการได้อย่างหลากหลาย
2. แบบสังคมนิยม ขึน้ อยู่กบั การวางแผนของรัฐบาล ไม่มกี ารแข่งขัน ไม่มกี ลไกราคา
3. แบบผสม ใช้ทุนนิยม (กลไกราคา) + สังคมนิยม (การแทรกแซงกลไกราคาของรัฐบาล) ร่วมกัน

สหกรณ์ เป็ นการรวมกลุ่มของสมาชิกเพือ่ พึง่ พาช่วยเหลือซึง่ กันและกัน แบ่งเป็ น


1. สหกรณ์รา้ นค้า : เปิ ดให้ทุกคนเป็ นสมาชิกได้ จะได้รบั ส่วนลดจากการซือ้ สินค้า
2. สหกรณ์นิคม : จัดสรรทีด่ นิ ทากิน เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะเกษตรกรต้องการทีด่ นิ ทากิน
3. สหกรณ์บริการ : เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะคนทีท่ าอาชีพบริการเหมือนกัน
4. สหกรณ์ออมทรัพย์ : เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะอาชีพเดียวกัน เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ครู
5. สหกรณ์เครดิตยูเนียน : เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะคนทีอ่ ยู่อาศัยในชุมชนเดียวกัน
6. สหกรณ์เกษตร : เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะเกษตรกร
7. สหกรณ์ประมง : เปิ ดรับสมาชิกเฉพาะผูท้ ท่ี าอาชีพประมง
สหกรณ์ 2-7 ทาหน้าทีร่ บั ฝากเงิน ให้กเู้ งิน ช่วยเหลือการประกอบอาชีพ

อุปสงค์ หมายถึง ความต้องการซือ้ + ความสามารถในการซือ้ + มีการซือ้ เกิดขึน้ จริง

อุปทาน หมายถึง ความต้องการขาย

อุปสงค์ส่วนเกิ น หมายถึง ความต้องการซือ้ ทีม่ มี ากเกินไป ทาให้ราคาสินค้าและบริการปรับตัวเพิม่


สูงขึน้

อุปทานส่วนเกิ น หมายถึง ความต้องการขายทีม่ มี ากเกินไป ทาให้ราคาสินค้าและบริการปรับตัวลดลง

7
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอุปสงค์ เกิดจาก 2 กรณี คือ
1. ปั จจัยทางด้านราคา (ราคาเพิม่ ขึน้ ราคาลดลง - กฎอุปสงค์) ทาให้อุปสงค์เคลื่อนบนเส้นเดียวกัน
2. ปั จจัยอื่นๆ นอกเหนือราคา ทาให้อุปสงค์เคลื่อนย้ายทัง้ เส้น

การเปลี่ยนแปลงทางด้านอุปทาน เกิดจาก 2 กรณี คือ


1. ปั จจัยทางด้านราคา (ราคาเพิม่ ขึน้ ราคาลดลง - กฎอุปทาน) ทาให้อุปทานเคลื่อนบนเส้นเดียวกัน
2. ปั จจัยอื่นๆ นอกเหนือราคา ทาให้อุปทานเคลื่อนย้ายทัง้ เส้น

การแทรกแซงกลไกราคาโดยรัฐบาล
1. ในภาวะเศรษฐกิจทีร่ าคาสินค้าตกต่าเรื่อยๆ รัฐบาลควรใช้มาตรการการกาหนดราคาสินค้าขัน้ ต่า คือ
การกาหนดราคาให้สงู กว่าราคาดุลยภาพ
2. ในภาวะเศรษฐกิจทีร่ าคาสินค้าแพงขึน้ เรื่อยๆ รัฐบาลควรใช้มาตรการการกาหนดเพดานราคาสินค้า
คือ การกาหนดราคาให้ต่ากว่าราคาดุลยภาพ

ประเภทของตลาด แบ่งออกเป็ น
1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ สินค้าต้องมีลกั ษณะและคุณภาพเหมือนกันทุกประการ จึงใช้แทนกันได้ทงั ้ หมด
ผูผ้ ลิตไม่มอี านาจกาหนดราคาสินค้า
2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ แบ่งออกเป็ น
2.1 ตลาดผูกขาด มีผขู้ ายเพียงรายเดียว กีดกันไม่ให้ผขู้ ายรายอื่นสามารถเข้ามาแข่งขันได้ เกิดการ
ครอบครองตลาดเพียงผูเ้ ดียว เกิดการประหยัดต่อขนาดการผลิต (ผลิตได้คราวละจานวนมากๆ)
2.2 ตลาดแข่งขันน้อยราย มีผขู้ ายไม่ก่รี าย เพราะต้องลงทุนเยอะ เช่น หนังสือพิมพ์ รถยนต์ มือถือ
2.3 ตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด มีผขู้ ายจานวนมาก เกิดการแข่งขันสูง สินค้าใช้ทดแทนกันได้ เช่น
ร้านชานมไข่มุก ร้านอาหารตามสัง่ ร้านกาแฟ
8
เงิ นฝื ด ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจไม่หมุนเวียน ความต้องการซือ้ ต่า ราคาสินค้า และบริการลดลง
ค่าเงินเพิม่ ขึน้ (อานาจซือ้ ของเงินเพิม่ ขึน้ )

เงิ นเฟ้ อ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมีมากเกินไป ความต้องการซือ้ สูง ราคาสินค้าและบริการเพิม่ ขึน้


ค่าเงินลดลง (อานาจซือ้ ของเงินลดลง)

นโยบายการเงิ น กาหนดดูแลโดยธนาคารกลาง
เงินเฟ้ อ เงินฝืด
นโยบายการเงิน ใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย
ธนาคารกลาง 1. ปรับเพิม่ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย 1. ปรับลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย
2. ขายสินทรัพย์ 2. ซื้อสินทรัพย์
3. เพิม่ อัตรารับซื้อช่วงลด 3. ลดอัตรารับซื้อช่วงลด
4. ลดการปล่อยสินเชื่อ 4. ผ่อนปรนการปล่อยสินเชื่อ
5. ขายพันธบัตรรัฐบาล 5. ซื้อพันธบัตรรัฐบาล
6. เพิม่ อัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย 6. ลดอัตราเงินสดสารองตามกฎหมาย

นโยบายการคลัง กาหนดดูแลโดยรัฐบาล
เงินเฟ้ อ เงินฝืด
นโยบายการคลัง ใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว ใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว
รัฐบาล 1. เก็บภาษีมากขึน้ 1. เก็บภาษีน้อยลง
2. ใช้จ่ายเงินลดลง 2. ใช้จ่ายเงินเพิม่ ขึน้
3. ใช้เงินประมาณแผ่นดินแบบเกินดุล 3. ใช้งบประมาณแผ่นดินแบบขาดดุล

เศรษฐกิ จพอเพียง เน้นการพึง่ พาตัวเองกับระวังความเสีย่ งทีเ่ กินพอดี มีหลักการ 3 หลักการ คือ


พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุม้ กัน (ความรอบคอบ) มีเงื่อนไข 2 เงือ่ นไข คือ ความรูก้ บั คุณธรรม

สหกรณ์ กบั เศรษฐกิ จพอเพียงมีความสอดคล้องกันในเรื่องของการพึ่งพาตนเอง

9
ความแตกต่างระหว่างยุคก่อนประวัติศาสตร์กบั ยุคประวัติศาสตร์
1. ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ เป็ นยุคทีม่ นุษย์ยงั ไม่รจู้ กั การใช้ตวั อักษร
2. ยุคประวัตศิ าสตร์ เป็ นยุคทีม่ นุษย์รจู้ กั การใช้ตวั อักษร

ความแตกต่างระหว่างหลักฐานชัน้ ต้นกับหลักฐานชัน้ รอง


1. หลักฐานชัน้ ต้น : เป็ นหลักฐานทีท่ าขึน้ ในช่วงเวลาขณะนัน้
2. หลักฐานชัน้ รอง : เป็ นหลักฐานทีท่ าขึน้ ในช่วงเวลาถัดจากนัน้

ความแตกต่างระหว่างพระราชพงศาวดารกับเอกสารบันทึกการเดิ นทางของชาวต่างชาติ
1. พระราชพงศาวดาร : เน้นจดบันทึกเรื่องราวขององค์พระมหากษัตริย์ การสร้างวัดวาอาราม การทา
สงคราม การติดต่อทางการทูต
2. เอกสารบันทึกการเดินทางของชาวต่างชาติ : เน้นจดบันทึกเรื่องการแต่งกาย การกินอยู่ ประเพณี
ความเชื่อของคนทัวไป
่ ตลอดจนสภาพภูมอิ ากาศ สภาพภูมปิ ระเทศ พืชพรรณธรรมชาติทไ่ี ด้พบเห็น

ลาลูแบร์ เป็ นทูตฝรังเศสที


่ เ่ ข้ามากรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ได้บนั ทึกเรื่องราววิถชี วี ติ คน
ไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์

ปาเลอกัวซ์ เป็ นบาทหลวงชาวฝรังเศส


่ ได้บนั ทึกสภาพสังคม การปกครอง ราชสานัก ชีวติ ผูค้ นในสมัย
รัชกาลที่ 3-4

สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชิ นีนาถ เป็ นพระอัครมเหสีของรัชกาลที่ 5 ทรงได้รบั


การแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์เมื่อครัง้ รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปครัง้ ที่ 1
(ปี พ.ศ.2440) พอถึงสมัยรัชกาลที่ 6 ได้รบั การสถาปนาเป็ นสมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชินีนาถ พระ
บรมราชชนนีพนั ปี หลวง

10
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร ได้แก่ เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา

แผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่งชาติ เริม่ ต้นใช้ครัง้ แรกในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรัชต์

ศรีเทพ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ขน้ึ ทะเบียน


ศรีเทพเป็ นมรดกโลกแห่งใหม่ของไทยเมื่อปี พ.ศ.2566 ศรีเทพมีความสัมพันธ์กบั อาณาจักรโบราณใน
ดินแดนประเทศไทยปั จจุบนั คือ อาณาจักรทวารวดีกบั อาณาจักรเขมร

นิ โคลัส โคเปอร์นิคสั เป็ นคนแรกทีเ่ สนอแนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของระบบสุรยิ ะจักรวาล


แต่ขอ้ เสนอของเขาได้รบั การตีพมิ พ์เผยแพร่โดยลูกศิษย์หลังจากทีเ่ ขาเสียชีวติ ไปแล้ว

กาลิ เลโอ กาลิ เลอี เป็ นนักวิทยาศาสตร์ทส่ี นับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคสั จนถูกศาสนจักรต่อต้าน


และบังคับให้ยุตเิ ผยแพร่ความรูด้ งั กล่าวแก่สาธารณชน

11
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ แบ่งเป็ น
1. แผนทีอ่ า้ งอิงหรือแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ : เป็ นแผนทีท่ แ่ี สดงลักษณะของภูมปิ ระเทศกับแสดงระดับความ
สูงต่าของภูมปิ ระเทศ
2. แผนทีเ่ ฉพาะเรื่อง : เป็ นแผนทีท่ ใ่ี ห้ขอ้ มูลเพิม่ เติมต่อจากแผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ เช่น แผนทีป่ ระเทศต่างๆ
แผนทีค่ มนาคม แผนทีท่ รัพยากรธรรมชาติ แผนทีท่ ่องเทีย่ ว
3. ภาพถ่ายทางอากาศ : เป็ นภาพถ่ายทีไ่ ด้จากการถ่ายภาพบนเครื่องบินหรือโดรน ต้องถ่ายภาพตอนที่
มีอากาศแจ่มใสเท่านัน้ ภาพถ่ายทางอากาศใช้กล้องสามมิตใิ นการถ่ายภาพ
4. ภาพถ่ายดาวเทียม : เป็ นภาพถ่ายทีไ่ ด้จากดาวเทียม ภาพถ่ายจากดาวเทียมทางานเก็บข้อมูลตลอด
24 ชัวโมงจึ
่ งใช้ตรวจดูขอ้ มูลย้อนหลังได้ ใช้แสดงการเคลื่อนทีข่ องพายุ ตรวจหาสิง่ ผิดปกติบนพืน้ ผิวโลก
ใช้เปรียบเทียบความแตกต่างก่อนหลังของพืน้ ทีจ่ ากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ (แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด
คลื่นสึนามิ)
5. ระบบนาทางด้วยดาวเทียม (GPS) : ใช้ตดิ ตามการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ
6. ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ (GIS) : นาเอาข้อมูลทางภูมศิ าสตร์หลายๆ ชุดมาประกอบกันเพือ่ ใช้
วิเคราะห์กบั ตัดสินใจเชิงพืน้ ที่

ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม

12
แผ่นดิ นไหว มีสาเหตุหลักๆ เกิดจากการเคลื่อนทีข่ องแผ่นเปลือกโลกกับภูเขาไฟระเบิด

ภูเขาไฟ
- แบ่งเป็ น 3 ประเภทตามพลังของภูเขาไฟ ได้แก่ 1. พร้อมจะปะทุ 2. สงบ 3. ดับสนิทแล้ว
- แบ่งเป็ น 3 ประเภทตามรูปทรงของภูเขาไฟ ได้แก่ 1. ทรงกรวย (ฐานแคบ ระเบิดรุนแรง) 2. สลับชัน้
(ฐานแคบ ระเบิดรุนแรง) 3. รูปโล่ (ฐานกว้าง ระเบิดไม่รุนแรง)
- การปะทุของภูเขาไฟทาให้เกิดลาวากับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทท่ี าให้มผี เู้ สียชีวติ
- ประเทศไทยมีภูเขาไฟ แต่เป็ นภูเขาไฟทีด่ บั สนิทแล้วทัง้ หมด
- การระเบิดของภูเขาไฟทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของภูมปิ ระเทศ เช่น เกิดภูเขาบนพืน้ ทวีป เกิดเกาะ
กลางมหาสมุทร เกิดภูเขาใต้มหาสมุทร
- ดินภูเขาไฟมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชสวนไม้ผล

คลื่นสึนามิ
1. เป็ นภาษาญี่ป่ นุ แปลว่า เป็ นคลื่นทะเลขนาดใหญ่ทเ่ี คลื่อนตัวอย่างรวดเร็วและมีพลังมาก
2. มีสาเหตุเกิดจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทรกับภูเขาไฟระเบิดใต้มหาสมุทร
3. ตอนคลื่นเคลื่อนตัวอยู่ในทะเลคลื่นมีความสูงน้อยกว่า 1 เมตร แต่เมื่อเคลื่อนเข้าใกล้ฝัง่ จะกลายเป็ น
คลื่นขนาดใหญ่
4. บริเวณทีเ่ สีย่ งต่อการเกิดสึนามิ ได้แก่ วงแหวนไฟมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก

วงแหวนแห่งไฟ เป็ นรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกรอบมหาสมุทรแปซิฟิก เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ


ระเบิด และคลื่นสึนามิ

กระแสน้าอุ่น-กระแสน้าเย็น มีสว่ นกาหนดสภาพอากาศบนผิวโลก


- กระแสน้าอุ่น ไหลจากเส้นศูนย์สตู รมาสูข่ วั ้ โลก ทาให้อากาศอบอุ่น เช่น กระแสน้ าอุ่นกัลฟ์ สตรีม
กระแสน้ าอุ่นแอตแลนติกเหนือ กระแสน้ าอุ่นอะแลสกา
- กระแสน้าเย็น ไหลจากขัว้ โลกมาสูเ่ ส้นศูนย์สตู ร เช่น กระแสน้ าเย็นลาบาเดอร์ กระแสน้าเย็นกรีนแลนด์
- บริเวณทีก่ ระแสน้าอุ่นกับกระแสน้ าเย็นบรรจบกัน เกิดหมอกทะเล เกิดแหล่งปลาชุกชุม ทาประมงได้ดี
ได้แก่ เขตแกรนด์แบงส์ คูรลิ แบงก์ ดอกเกอร์แบงก์
.
13
ภาวะเรือนกระจกกับโลกร้อน
- มีสาเหตุหลักจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยมนุษย์ ทาให้อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ สูงขึน้
- ส่งผลให้ธารน้ าแข็งขัว้ โลกละลาย เกิดน้ าท่วมบริเวณพื้นที่รมิ ฝั ง่ ทะเล เกิดไฟป่ า เกิดพายุหมุนรุนแรง
และถีข่ น้ึ ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ลดลง การเพาะปลูกไม่ได้ผล ฤดูกาลแปรปรวน

ข้อตกลงทางสิ่ งแวดล้อม แบ่งเป็ น


1. อนุสญ ั ญาแรมซาร์ : ดูแลพืน้ ทีช่ ุ่มน้ า
2. อนุสญ ั ญาไซเตส : ดูแลคุม้ ครองสัตว์ป่าและพืชป่ าใกล้สญ ู พันธุ์
3. อนุสญ ั ญาเวียนนากับพิธสี ารมอลทรีออล : ยับยัง้ การใช้สาร CFCs กับสาร Halon ทีท่ าลายชัน้ โอโซน
4. อนุสญ ั ญาบาเซิล : ห้ามขนย้ายของเสีย สารพิษ ขยะอันตรายข้ามพรมแดน
5. พิธสี ารเกียวโต อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (UNFCCC)
ข้อตกลงปารีส การประชุม COP : ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
6. อนุสญ ั ญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) : ดูแลความหลากหลายทางชีวภาพ
7. อนุสญ ั ญารอตเตอร์ดมั : ยับยัง้ การใช้ยาฆ่าแมลง คือ พาราควอตกับคลอร์ไพริฟอส

การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ คือ การรักษาความสมดุล หรือดุลยภาพของระบบนิเ วศ แบ่งเป็ น


วิธกี ารทางตรง คือ การลงมือทา เช่น การดูแลรักษาดิน การดูแลรักษาป่ า การดูแลรักษาสัตว์น้ า กับ
วิธกี ารทางอ้อม คือ การการเผยแพร่ความรูท้ างด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

การพัฒนาอย่างยังยื
่ น คือ แนวทางการพัฒนาทีไ่ ม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ จนหมดสิ้นไป แต่ยงั คง
เหลือทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้คนรุ่นหลังได้ใช้ประโยชน์ต่อ

ขอบทวีป หมายถึง บริเวณริมฝัง่ ของพืน้ ทวีปทีต่ ดิ กับมหาสมุทร

อิ นทรีย์
ปุ๋ ยอินทรีย์ = ปุ๋ ยคอก
ขยะอินทรีย์ = ขยะทีเ่ ป็ นเศษอาหาร
อาหารอินทรีย์ = อาหารปลอดสารพิษจากยาฆ่าแมลง
14

You might also like