You are on page 1of 19

หน่ วยที่ 8 ศาสนากับการดารงชีวิต

สาระสาคัญ
• ศาสนามีความสาคัญและจาเป็ นมากต่ อมนุษย์ เพราะศาสนาเป็ นทัง้ คาสั่งและคาสอน
ของศาสนาที่ให้ ศาสนิกชนของแต่ ละศาสนาปฏิบัตบิ างอย่ างและละเว้ นบางอย่ าง
ศาสนาเป็ นศูนย์ รวมของความเคารพ นับถือสูงสุดของมนุษย์ เป็ นบ่ อเกิดแห่ ง
ศีลธรรมและจริยธรรม เป็ นเข็มทิศนาทางการดาเนินชีวิตให้ ประสบความสุขห่ างไกล
ความทุกข์ แม้ ว่าแต่ ละศาสนาจะมีสาเหตุการเกิด ประเภทคัมภีร์ นิกาย และ
หลักธรรมที่แตกต่ างกันแต่ เป้าหมายตรงกัน คือ ทาความดี ละเว้ นความชั่ว ทาจิตใจ
ให้ บริสุทธิ์
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของศาสนา
2. ความสาคัญของศาสนา
3. สาเหตุของการเกิดศาสนา
4. ลักษณะของศาสนา
5. ประเภทของศาสนา
6. องค์ ประกอบของศาสนา
7. ศาสนาและลัทธิสาคัญสาคัญของโลก
8. ศาสนาสาคัญที่มีผ้ ูนับถือมากที่สุดในโลก
9. ศาสนาสาคัญในประเทศไทย
10. ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสังคมไทย
1. ความหมายของศาสนา
• ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ นิยามคาว่ า “ศาสนา” คือ
ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์ อันมีหลัก คือ แสดงกาเนิดและสิน้ สุดของโลก อันเป็ นไป
ในส่ วนของปรมัตถ์ ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็ นไปในฝ่ าย
ศีลธรรม พร้ อมทัง้ ลัทธิพธิ ีกระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนัน้
• ศาสนา (Religion) หมายถึง คาสั่งสอนของศาสดาหรือผู้ประกาศศาสนา
ประกอบด้ วย หลักศีลธรรม จรรยาและพิธีกรรมตามความเชื่อของแต่ ละศาสนา
เพื่อให้ ผ้ ูปฏิบัตมิ ีความสงบสุขและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่ างสันติสุข
2. ความสาคัญของศาสนา 10 ประการ คือ
1) ทาให้ มนุษย์ ประเสริฐกว่ าสัตว์
2) เป็ นที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ
3) เป็ นบ่ อเกิดแห่ งศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม
4) เป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติ
5) ทาให้ มนุษย์ มีจติ ใจร่ มเย็นเป็ นสุข
6) เป็ นดวงประทีปที่ส่องโลกจากความมืดเป็ นความสว่ าง
7) เป็ นบรรทัดฐานสังคมให้ มีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยและเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
8) เป็ นบ่ อเกิดศิลปวิทยาการต่ าง ๆ และถ่ ายทอดให้ มนุษย์
3. สาเหตุของการเกิดศาสนา 7 ประการ คือ
1) เกิดจากความไม่ร้ ูหรื ออวิชา
2) เกิดจากความกลัว
3) เกิดจากความจงรักภักดี
4) เกิดจากต้ องการความรู้แจ้ ง
5) เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสาคัญ
6) เกิดจากต้ องการให้ สงั คมมีความสงบสุข
7) เกิดจากมนุษย์ต้องการเครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจ
4. ลักษณะของศาสนา

ท่ านพุทธทาสภิกขุ ได้ สรุ ปลักษณะของศาสนา 4 ประการ คือ


1) ลักษณะที่ถือธรรมชาติเป็ นหลัก
2) ลักษณะที่ถือพระเจ้ าหรือเทวดาเป็ นหลัก
3) ลักษณะที่ถือการประพฤติศีลและวัตรปฏิบัตขิ องศาสนาเป็ น
หลัก
4) ลักษณะที่นิยมการรู้หลักปรัชญาเป็ นหลักการพ้ นทุกข์
5 . ประเภทของศาสนา
• ศาสนาแบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. เทวนิยม (Theism) เป็ นศาสนาที่นับถือว่ า พระผู้เป็ นเจ้ าสูงสุดเป็ น
ผู้สร้ างโลก ได้ แก่ เอกเทวนิยม หพุเทวนิยม

2. อเทวนิยม (Atheism) ไม่ เชื่อว่ าพระพุทธเจ้ าเป็ นผู้สร้ างโลก แต่ เชื่อว่ า
ทุกสิ่งเกิดขึน้ จากเหตุปัจจัย เชื่อกฎแห่ งกรรม คือเชื่อการกระทา ทาดได้ ดี ทา
ชั่วได้ ช่ ัว
6 . องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
1) ศาสดา คือ ผู้ก่อตัง้ ศาสนา เช่ น
พระพุทธเจ้ าเป็ นศาสดาของ
พระพุทธศาสนาและ
พระพิฆเนตรเป็ นศาสดา
ของศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู
6 . องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
2) ศาสนธรรม คือ หลักธรรม ประกอบด้ วย ศีลธรรม จรรยา
และกฎเกณฑ์ เช่ น พระไตรปิ ฎก รวบรวมหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา
6 . องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
3) ศาสนบุคคล คือ นักบวช หรือผู้ปฏิบัตศื าสนกิจในการสืบ
ทอดศาสนา
6 . องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
4) ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจากคาสั่งสอนของ
ศาสดา
6 . องค์ประกอบของศาสนา
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
5) ศาสนสถาน คือ สถานที่ท่ ศี าสนิกชนของแต่ ละศาสนาไป
ประกอบพิธี
เช่ น วัด โบสถ์
มัสยิด
6 . องค์ประกอบของศาสนา มุสลิม
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
6) ศาสนิกชน คือ ผู้ท่ นี ับถือ
เคารพ ศรัทธา เช่ น
พุทธศาสนิกชน
6 . องค์ประกอบของศาสนา มุสลิม
• ศาสนามีองค์ ประกอบ 7 ประการ คือ
7) สัญลักษณ์ คือ เครื่องหมาย หรือตราสัญลักษณ์ ท่ เี ป็ น
ตัวแทนของแต่ ละศาสนา เช่ น ศาสนาคริสต์ (ไม้ กางเขน)
7 . ศาสนาและลัทธิสาคัญของโลก
• สัญลักษณ์ไม้ กางเขน คือ ศาสนาคริสต์
• สัญลักษณ์จนั ทรเสี ้ยวกับดาว คือ ศาสนาอิสลาม
• สัญลักษณ์ธรรมจักร คือ ศาสนาพุทธ
• สัญลักษณ์มงกุฎ คือ ซิกข์
• สัญลักษณ์หยิงหยาง คือ ศาสนาเต๋า
• สัญลักษณ์อกั ษรจีน คือ ศาสนาขงจื๊อ
• สัญลักษณ์อกั ษณเยาวี คือ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
• สัญลักษณ์หกแฉก คือ ศาสนายิวหรื อยูดาน
• สัญลักษณ์ประตูวดั ญี่ปนุ่ คือ ศาสนาชินโต
8 . ศาสนาที่มีผนู้ บั ถือมากที่สุดในโลก

 ศาสนาคริ สต์
มีผ้ ูนับถือมากที่สุดในโลก
 ศาสนาอิสลาม มีผ้ ูนับถือมากเป็ นอันดับสองของโลก
 ศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู มีผ้ ูนับถือมากเป็ นอันดับสามของโลก
 พระพุทธศาสนา มีผ้ ูนับถือมากเป็ นอันดับสี่ของโลก
 ศาสนาซิกข์ มีผ้ ูนับถือมากเป็ นอันดับห้ าของโลก
9 . ศาสนาสาคัญในประเทศไทย
1) พระพุทธศาสนา
2) ศาสนาอิสลาม
3) ศาสนาคริสต์
4) ศาสนาพรหมณ์-ฮินดู ศาสนาซิกข์ ฯลฯ
10 . ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสังคมไทย
1) เป็ นศาสนาที่ประชาชนส่ วนใหญ่ ของไทยนับถือ
2) เป็ นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย
3) เป็ นสถาบันที่ดารงอยู่ค่ กู ับชาติไทย
4) เป็ นหลักเกณฑ์ แห่ งเสรีภาพในการนับถือศาสนา
5) เป็ นศูนย์ รวมจิตใจของคนไทย
6) เป็ นแหล่ งสาคัญที่หล่ อหลอมอัตลักษณ์ ของชาติไทย
7) เป็ นหลักคาสอนที่สอดคล้ องกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่รักความอิสระ

You might also like