You are on page 1of 18

หน่ วยที่ 6 สิทธิ เสรีภาพและหน้ าที่ของ

พลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย
สาระสาคัญ

 คนไทยทุกคนมีสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองตาม


ระบอบประชาธิปไตย จึงควรรักษาสิทธิ เสรีภาพ และทา
หน้าที่ของตนให้ดีท่ีสุด โดยไม่ล่วงละเมิดสิทธิ เสรีภาพ และ
หน้าที่ของผูอ้ ่ืน จะทาให้ตนเอง สังคมเจริญก้าวหน้า และใน
ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จึงต้องปฏิบตั ิ 3 ด้าน
คือ ด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม
สาระการเรี ยนรู้

1. สิทธิของพลเมือง
2. เสรีภาพของพลเมือง
3. หน้าที่ของพลเมือง
4. พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
5. อาชี วศึกษาที่พึงประสงค์
6. ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
7. ความสาคัญของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. สิทธิของพลเมือง
2. เสรีภาพของพลเมือง
3. หน้าที่ของพลเมือง
4. พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
5. อาชี วศึกษาที่พึงประสงค์
6. ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
7. ความสาคัญของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

8. ระบุคุณลักษณะของพลเมืองดีได้
9. จาแนกพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยได้
10. วิเคราะห์อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ได้
11. ยกตัวอย่างวิธีปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยได้
12. สรุปความสาคัญของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยได้
1. สิทธิของพลเมือง

 1.1 ความหมายของสิ ทธิ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช


2554 ได้อธิบายว่า
 สิทธิ (Right) หมายถึง อานาจที่จะกระทาการใด ๆ ได้อย่งอิสระ โดยได้รบั การรับรองจาก
กฎหมาย
 สิทธิ (Right) หมายถึง อานาจหรือประโยชน์อนั ชอบธรรมหรือบุคคลที่กฎหมายคุม้ ครอง
กระทาอย่างใดอย่างหนึ่ งภายใต้กรอบของกฎหมายโดยไม่ละเมิดสิ ทธิของผูอ้ ื่น
1. สิทธิของพลเมือง

 1.2 สิทธิของคนไทย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดสิทธิคนไทย คือ


 บุคคลมีสิทธิเสรภาพเท่ากัน
 สิ ทธิเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
 สิ ทธิส่วนตัว
 สิ ทธิในทรัพย์สินและสื บมรดก
 สิ ทธิทราบข้อมูล ร้องทุกข์ และฟ้องหน่ วยงานรัฐ
 สิ ทธิเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ ทธิของชุมชน
 สิ ทธิของผูบ้ ริโภค
 สิ ทธิได้รบั ริการสาธารณสุข
 สิ ทธิของมารดา คนชรา และผูย้ ากไร้
 ห้ามใช้สิทธิลม้ ล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย
2. เสรีภาพของพลเมือง

 2.1 ความหมายของเสรีภาพ
เสรีภาพ (Freedom) หมายถึง การกระทาอย่างใด
อย่างหนึ่ งได้อย่างอิสระ ไม่กระทบต่อสิ ทธิเสรีภาพของ
ผูอ้ ื่น และไม่เกินขอบเขตที่กฎหมายกาหนด มิฉะนัน้ ต้อง
ได้รบั โทษตามกฎหมาย
2. เสรีภาพของพลเมือง

 2.2 เสรีภาพของคนไทย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดสิทธิคนไทย คือ


 เสรีภาพในการนับถือศาสนา
 เสรีภาพในเคหสถาน
 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
 เสรีภาพในติดต่อสื่อสาร
 เสรีภาพในเดินทางและเลือกที่อยู่
 เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
 เสรีภาพในการรวมกันเป็ นสมาคม องค์กร หรือหมู่คณะ
 เสรีภาพในการชุมนุม
 เสรีภาพในการจัดตัง้ พรรคการเมือง
3. หน้ าที่ของพลเมือง

 3.1 ความหมายของหน้าที่
 หน้าที่ (Role) หมายถึง กิจที่ตอ้ งทาหรือกิขที่ควรทา เป็ นสิ่งที่กาหนดให้ทาหรือ
ห้ามมิให้กระทา จะเกิดผลต่อตนเอง ครอบครัว หรือสังคมแล้วแต่กรณี

 ส่วนกิจที่ควรทา หมายถึง สิ่งที่คนส่วนใหญ่เห็นว่าควรทาหรือละเว้นการกระทา จะ


ได้รบั ผลทางอ้อม
3. หน้ าที่ของพลเมือง

 3.2 หน้าที่ของคนไทย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดหน้าที่ขอ


คนไทย คื อ
 พิทกั ษ์รกั ษาไว้ซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
 ป้องกันประเทศ
 ปฏิบตั ิ ตนตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
 เข้ารับการศึ กษาอบรมในการศึ กษาภาคบังคับ
 รับราชการทหารตามที่กฎหมายกาหนด
 ใช้สิทธิเลื อกตัง้ หรือลงประชามติ
 เสี ยภาษี อากรตามที่กฎหมายกาหนด
 ไม่ทุจริตหรือประพฤติ มิชอบ
 ร่วมมือสนับสนุน อนุรกั ษ์และคุม้ ครองสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทัง้ มรดกทางวัฒนธรรม
4. พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

 4.1 ความหมายของพลเมืองดี
 พลเมืองดี หมายถึง ผูท้ ่ีปฏิบตั ิหน้าที่พลเมืองได้ครบถ้วนทัง้ กิจที่ตอ้ งทาและกิจที่
ควรทา
 ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ
เพื่อประชาชนที่ถือเสียงข้างมากเป็ นสาคัญ
4. พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

 4.2 คุณลักษณะของพลเมืองดี
 เคารพและปฏิบตั ิตนถูกต้องตามกฎหมาย
 ประพฤติปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเคารพนับถือ
 มีความรับผิ ดชอยต่อหน้าที่ของตนเอง
 ตระหนักรูแ้ ละให้ควาสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วม
 สืบสาน รักษา ต่อยอดวัฒนธรรมประเพณี อนั ดีงาม
4. พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

 4.3 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 ด้านการเมืองการปกครอง
 - มีส่วนร่วมในการสร้างความก้าวหน้าแก่สงั คมและการพัฒนาประเทศ
 - เคารพและปฏิ บตั ิตนถูกต้องตามกฎหมาย
 ด้านเศรษฐกิจ
 - สรางงาน สร้างอาชีพ ต่อยอดสร้างสรรค์นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่
 - ตระหนักและรูค้ ณ
ุ ค่าของเงิน
 ด้านสังคม
 - มีน้าใจ จิตสาธารณะ คือเต็มใจทางานเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม
 - สื บสาน รักษา ต่อยอดวัฒนธรรมประเพณี ของชุมชนและประเทศ
5. อาชีวศึกษาที่พงึ ประสงค์

 สานักงานคณะกรรมการการอาชี วศึกษากาหนดคุณธรรม จริยธรรม ค่านิ ยม และคุณลักษณะที่


พึงประสงค์ ดังนี้
1) ความมีวินัย
2) ความรับผิดชอบ
3) ความซื่อสัตย์สุจริ ต
4) ความสนใจใฝ่ รู ้
5) ความเชื่อมัน
่ ในตนเอง
6) ความประหยัด
5. อาชีวศึกษาที่พงึ ประสงค์

7) มีมนุษยสัมพันธ์
8) รักสามัคคี
9) การพึ่งตนเอง
10) ความกตัญญูกตเวที
11) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
12) ละเว้นอบายมุข
6. ปฏิบัตติ นเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

 พลเมืองที่ดีควรปฏิ บตั ิ ดังนี้


 1. การปฏิ บตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของครอบครัว
 - สมาชิ กของครอบครัวควรทากิจกรรมร่วมกันอย่างสมา่ เสมอ
 2. การปฏิ บตั ิตนเป็ นพลเมืองดี ของสถานศึ กษา
 - ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรียน เพียรศึ กษาหาความรู ้ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีมีประโยชน์ต่อการเรียน
 3. การปฏิ บตั ิตนเป็ นพลเมืองดี ของชุมชน
 - ปฏิ บตั ิตนให้ถกู ต้องตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกติกาของชุมชน
 4. การปฏิ บตั ิตนเป็ นพลเมืองดีของประเทศ
 - ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
7. ความสาคัญของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

 โดยแบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ


 1. ด้านการเมืองการปกครอง
 - สามารถรักษาเอกราชและอธิปไตยไว้ได้
 - มีเสถียรภาพ ความมัน่ คง เข้มแข็ง
 2. ด้านเศรษฐกิจ
 - ผู ป้ ระกอบการธุ รกิจของประเทศไทยมีศกั ยภาพ
 - รัฐบาลบริ หารจัดการแรงงานต่างด้าวให้ถูกต้องตามกฎหมาย
 3. ด้านสังคม
 - การเป็ นพลเมืองดีทาให้คนไทยอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสุ ข
 - ทาให้ประเทศเจริ ญก้าวหน้า
 - ทาให้คนไทยอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข

You might also like