You are on page 1of 7

ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

- 41 -

69. นางสาวน้้าอ้อยได้ท้าพินัยกรรมขณะมีอายุ 14 ปี ต่อมา

นางสาวน้้าอ้อยเสียชีวิตเมื่อมีอายุ 21 ปี พินัยกรรมที่ท้าขึ้นมี
ผลใช้ได้หรือไม่

1. พินัยกรรมเป็ นโมฆะ เพราะอายุไม่ครบที่จะท้า


พินัยกรรมได้

2. พินัยกรรมมีผลใช้ได้ เพราะเป็ นเรื่องที่นางสาวน้้าอ้อย


ได้ท้าเองเฉพาะตัว

3. พินัยกรรมเป็ นโมฆะ เพราะไม่ได้รับความยินยอมจากผ้้


แทนโดยชอบธรรม

4. พินัยกรรมมีผลใช้ได้ เพราะนางสาวน้้าอ้อยเสียชีวิตใน
ขณะบรรลุนิติภาวะแล้ว

70.คนเสมือนไร้ความสามารถจะท้าพินัยกรรมด้วยตัวเองได้
หรือไม่

1. ท้าได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผ้้พิทักษ์

2. ท้าได้ แต่ต้องได้รับความยินยอมจากผ้้พิทักษ์

3. ท้าไม่ได้ ต้องให้ผ้พิทักษ์กระท้าแทน

4. ท้าไม่ได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากศาลแล้ว

71. ประชาอายุ 18 ปี บริบ้รณ์ มีสิทธิใ์ นการเลือกตั้งตาม

รัฐธรรมน้ญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ถ้า


ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ประชาต้องการที่จะท้าสัญญาซื้อขายที่ดินให้มีผลส้าบ้รณ์
ในทางกฎหมาย ประชาจะต้องขอความยินยอมจากผ้้แทนโดย
ชอบธรรมหรือไม่ เพราะเหตุใด

1. ไม่ต้องขอความยินยอม เพราะรัฐธรรมน้ญรับรองสิทธิ
ดังกล่าวแล้ว

2. ไม่ต้องขอความยินยอม เพราะถือว่าประชาบรรลุ
นิ ติภาวะแล้ว

3. ต้องขอความยินยอม เพราะการซื้อขายที่ดินเป็ นการ


ขายอสังหาริมทรัพย์ท่ีกฎหมายบังคับให้ต้อง จดทะเบียน จึง
ต้องได้รับความยินยอมก่อน

4. ต้องขอความยินยอม เพราะประชายังเป็ นผ้้เยาว์ จึงถ้ก


จ้ากัดความสามารถในการท้านิ ติกรรม

- 42 -

72. เด็กชายด้าเป็ นบุตรนอกสมรสของนายเงินและนางทอง


ต่อมานางทองได้สมรสกับนายเพชร และได้น้าเด็กชายด้าไป
เลี้ยงด้ด้วย ใครเป็ นผ้้แทนโดยชอบธรรมของเด็กชายด้า

1.นายเงินและนางทอง

2.นายเงินหรือนางทอง

3.นางทองและนายเพชร

4.นางทองคนเดียว
ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เรื่องของ “รัฐ” องค์ประกอบของรัฐ , รูปของรัฐ , และ
ข้อเปรียบเทียบของรัฐ

73. ข้อใด ไม่ จัดว่าเป็ นองค์ประกอบของรัฐ

1. วุฒิสภา 2. ศาล
รัฐธรรมน้ญ

3. องค์การพัฒนาเอกชน 4. คณะ
กรรมการการเลือกตั้ง

74. เหตุผลในข้อใดท้าให้เกิดรัฐ

1. มนุษย์ต้องอย่้รวมกันเป็ นสังคม 2.
มนุษย์ต้องการขจัดความอยุติธรรม

3. มนุษย์ต้องร้้จักเสียสละและมีกฎเกณฑ์ 4. มนุษย์
ต้องการอย่้รอด

75. ความคิดที่ว่า “มนุษย์เป็ นสัตว์การเมือง” เป็ นที่มาของ


ความร้้ทางการเมืองว่าด้วยเรื่องอะไร

1. ระบอบการปกครอง 2. รัฐ

3. รัฐธรรมน้ญ 4. ร้ป
แบบของรัฐ
ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

- 42 -

76. ความในข้อใดอธิบายสถานภาพของนครวาติกันได้ ถูก


ต้อง

1. มีองค์ประกอบความเป็ นรัฐครบถ้วน จึงมีฐานะเป็ น


ประเทศเช่นเดียวกับประเทศทั่วไป

2. เป็ นรัฐประเภทนครรัฐ แต่ไม่เป็ นประเทศ เพราะมี


ขนาดเล็กมาก

3. ไม่เป็ นรัฐ แม้จะเป็ นอิสระ แต่ดินแดนอย่้ในอาณาเขต


ของอิตาลี

4. ไม่ถือว่าเป็ นรัฐทางการเมือง แต่เป็ นนครที่ส้าคัญทาง


ศาสนา

77. ข้อใดถือเป็ นรัฐบาลในองค์ประกอบของรัฐ

1. คณะบุคคลที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน

2. คณะบุคคลที่มีความชอบทางการเมือง

3. คณะบุคคลที่มาจากการแต่งตั้งโดยรัฐสภา

4. คณะบุคคลที่ได้อ้านาจมาโดยการปฏิวัติ

78. ข้อใดแสดงถึงการมีอ้านาจอธิปไตย
ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
1. ประชาชนเลือกรัฐบาลเอง 2. มีสภาผ้้
แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง

3. อ้านาจส้งสุดมาจากประชาชน 4. ประเทศ
เป็ นเอกราช

79. ปั จจัยใดแสดงความเป็ นพลเมืองของรัฐได้ดีท่ีสุด

1. เชื้อชาติ 2. วัฒนธรรม

3. สิทธิและหน้าที่ 4. ภาษาประจ้าชาติ
ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
- 42 –

80. “ประชากร” ของประเทศที่มีความเป็ น “รัฐชาติ” จะต้องมี


ลักษณะอย่างไร

1. มีความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันและสมานสามัคคีกัน

2. มีเอกราชและอธิปไตยทางการเมืองการปกครอง

3. อย่้ภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองของรัฐบาล
เดียวกัน

4. มีเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และอย่้ในอาณาเขต


เดียวกัน

81. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชนในระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยยึดหลักการตามข้อใด

1. มนุษย์เกิดมาเพื่อรัฐ 2. รัฐเกิด
มาเพื่อมนุษย์

3. มนุษย์เป็ นเครื่องมือของรัฐ 4. รัฐมี


ความส้าคัญเท่าเทียมกับมนุษย์

82. แนวคิดเรื่อง “โลกพระศรีอาริย”


์ มีลักษณะสอดคล้องกับ
แนวคิดของชาติตะวันตกในเรื่องใด

1. รัฐในอุดมคติ 2. รัฐ
สวัสดิการ

3. เสรีนิยม 4.
สังคมนิ ยม
ADMISSIONS สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
83. ในเนื้ อร้องเพลงชาติไทย ไม่ได้ กล่าวถึงเรื่องใด

1. ลักษณะนิ สัยของประชากรของรัฐ

2. ระบอบการปกครองของรัฐ

3. องค์กรที่ใช้อ้านาจการปกครองของรัฐ

4. ความเป็ นอิสระในการใช้อ้านาจการปกครองของรัฐ

นางสาวปราริษา ปั สสาไพร ชั้นม.5/1 เลขที่ 22

You might also like