You are on page 1of 10

คำศัพท์ 20 คำ

เกียวกับ ทฤษฎีพหุ
วัฒนธรรมการศึกษา
นางสาวจิรัฏฐกานต์ จิตร์เกษม สาขาการศึกษาพิเศษ รหัสนักศึกษา 630210414
ชาตินิยม อนุรักษ์นิยม
(Nationalism) (Conservatim)

อุดมการณ์และการเคลื่อนไหวทางสังคม

การเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของจิตสำนึก อาจ คนที่ปกป้องคุณค่าทางสังคมแบบดั้งเดิมเรียกว่า


อนุรักษ์นิยมโดยพิจารณาจากพื้นฐานของความเป็น
จะสรุปง่ายๆได้ว่าเป็นการ ถือชาติเป็นใหญ่
ระเบียบและความปรองดองในสังคมและดังนั้นจึงต่อ
ความรักชาติ ต้านการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมอย่างรุนแรง

ชาติพันธุ์ คนชายขอบ
(Marginal people)
(Ethnicity) เป็นกลุ่มคนที่ไม่มีส่วนในการกำหนดนโยบาย
กลุ่มคนที่อยู่ในประเทศใดประเทศหนึ่ง และมี การพัฒนาเศรษฐกิจ อีกทั้งความสามารถในการ
วัฒนธรรมร่วมกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณีและ เข้าถึงทรัพยากรและผลประโยชน์จากการพัฒนา
ภาษาพูดเดียวกัน ทั้งมีความเชื่อว่าสืบเชื้อสายมา เศรษฐกิจของคนกลุ่มชายขอบมีน้อยมาก คน
จากบรรพบุรุษเดียวกัน กลุ่มชาติพันธุ์ใช้หมาย ชายขอบนั้นสามารถมารถพิจารณาได้หลาย
รวมทั้งชนที่เป็นกลุ่มใหญ่และชนที่เป็นกลุ่มน้อย บริบท ตัวอย่างเช่น ชาวเขาเผ่าต่างๆ ผู้อพยพ
คนจน ชาวนาชาวไร่ ผู้ติดเชื้อเอดส์ คนพิการ
พวกรักร่วมเพศ คนขายบริการ แรงงานต่างชาติ
เป็นต้น
การตีตรา อคติ การเหยียดโดยไม่
ได้ตั้งใจ
(Stigma) (Bias/Prejudice) (Microaggression)


เป็นเครื่องหมายความอัปยศ ความรู้สึกเชิงลบ ความเชื่อที่ การกระทำหรือการแสดงออกที่ไม่


เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีภูมิหลัง ตายตัวที่ทำให้เกิดแนวโน้มที่จะ ได้ตั้งใจ แต่นำไปสู่การตัดสินจาก
ต่างๆหรือเป็นรูปแบบหนึ่ง เลือกปฏิบัติกับกลุ่มที่ตายตัว ภายนอก สู่การเหยียด และสู่ความ
ของการพิจารณาบุคคลที่แปด อคติมักเกิดจาก 'ตัดสิน รุนแรง
เปื้อน
ความเป็นอื่น ความเท่าเทียม
(Otherness) (Equality)


ความเป็นธรรมและความ
ความแปลก ความแตกต่าง ยุติธรรมได้ก็ต่อเมื่อทุกคนเริ่ม
จากจุดเดียวกัน
ความเสมอภาค

(Equity)

ทุกคนจะได้การเข้าถึงโอกาสเหมือนกัน

วาทกรรม อุดมการณ์
(Discourse) (Ideology)
รูปแบบของความคิด หรือกรอบความคิด ระบบค่านิยม ความเชื่อ ที่ได้รับการ
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็น ยอมรับจากกลุ่มบุคคลว่าเป็นเสมือนจริง
สถาบันและมีการสืบทอด หรือข้อเท็จจริง
“ซึ่งแสดงออกผ่านทางการพูดและเขียน หรือ ผลรวมของค่านิยมความเชื่อ
อย่างจริงจัง/ประโยคหรือนิยามที่ใช้ สมมติฐานและความคาดหวังของบุคคล
บ่อยๆ”
การเลือกปฏิบัติ การกดขี่
(DISCRIMINATION) (Oppression)

การกระทำหรืองดเว้นกระทำการ ใด ๆ ที่มี การกระทำของ กดขี่ ทำให้หายใจไม่ออก กดดัน


ลักษณะของการกีดกัน การแบ่งแยก การหน่วง ไม่ว่าจะเป็นบุคคลทัศนคติหรือชุมชน การกดขี่ยัง
เหนี่ยว หรือการจำกัดซึ่งสิทธิแก่บุคคลใด อันมี สามารถใช้ ความรุนแรง เพื่อแสดงให้เห็นถึงอำนาจ
ผลทำให้บุคคลนั้นไม่ได้รับโอกาสแห่งความเท่า การกระทำของเผด็จการและเป็นคำที่ค่อนข้าง
เทียมกันอย่างที่บุคคลนั้นพึงจะได้รับ เกี่ยวข้องกับประเทศรัฐบาลสังคม

การกลืนกลาย การผลิตซ้ำทางสังคม
(Assimilation) (Social reproduction)

การกลืน หรือการพยายามเปลี่ยนสิ่งใดสิ่ง เป็นการผลิตในเรื่องบทบาททางเพศ ทำให้


นึงและก่อรูปขึ้นมาใหม่ หรือการใช้อำนาจ ผู้หญิงและผู้ชายถูกกำหนดบทบาทหน้าที่
ทำกระบวนการการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ทางสังคมให้เป็นผู้รับผิดชอบต่อกิจกรรมที่
สิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อดูดกลืนสำนึกเดิมและ ต่างกัน เช่น ผู้หญิงเลี้ยงดูลูก ทำงานบ้าน
สร้างสำนึกใหม่หรือนำเข้าไปแทนที่

(Power relation)
ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ
หนึ่งในความสัมพันธ์พื้นฐานที่สุดของการอยู่รวมกันของสิ่งมีชีวิต สำหรับสิ่งชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ อำนาจมักจะ
แสดงออกมาในรูปธรรมง่าย เช่น หากสัตว์ตัวใดมีความแข็งแรงมากที่สุด สัตว์ตัวนั้นก็มักจะมีอำนาจและกลาย
เป็นจ่าฝูงของกลุ่มไป ทว่า สำหรับสังคมมนุษย์แล้ว อำนาจมักจะแสดงออกมาในรูปแบบที่หลากหลาย
รูปแบบของอำนาจก็จะยิ่งมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น

การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอำนาจ (powerless) แต่มีการ
เปลี่ยนแปลงสำคัญในทางบริบทสังคม การเมือง ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอำนาจ
ที่เพิ่มมากขึ้น

ความเป็นธรรมทางสังคม (Social justice)


เป็นผลของปฎิสัมพันธ์ของทุกๆสิ่งที่อยู่ในสังคมหนึ่ง ความเป็นธรรมเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการยึดเหนียว
กันในสังคมผ่านทางกฎเกณฑ์ต่างๆที่สังคมสร้างขึ้นมา

การเคลื่อนไหวทางสังคม (Social movement)


ขบวนการเรียกร้องของกลุ่มคนจํานวนหนึ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลงสังคมไปในทิศทางที่ตนปรารถนา
โดยกลุ่มคนจํานวนหนึ่งเหล่านี้อาจมีนับพันหรือนับหมื่น ได้เขาร่วมเรียกร้องโดยมีการจัดระเบียบ
ทางสังคมอย่างหลวมๆซึ่งแต่ละกลุ่มอาจมีระดับของการมีส่วนร่วมแตกต่างกัน

You might also like