You are on page 1of 16

หนั ง สื อ ซี ไ รต (รวมเรื่องสั้น) ป 2560

ผู แ ต ง จิ ด านัน ท เหลื องเพี ยรสมุท


พิ มพ ค รั้ งแรก แพรวสํานั กพิม พ
พิ มพ ค รั้ งล าสุ ด แพรวสํานักพิม พ
มุง่ เสนอประเด็นการตั ้งคําถามถึงความเชื่อที่ปรากฏในเรื่ อ งสั ้น
ผ่านมุ มมองความคิ ด เห็ น ของตั วละครผู้ เ ล่า เรื่ อ งที่ มีต่ อ สัง คมในเชิ ง
เปรี ยบเทียบผ่านคนดี คนอื่นและคนนอก (คอก) จากเรื่ อ งสั ้นจํ านวน 3
เรื่ อง ได้ แก่ ในโลกที่ทุกคนอยากเป็ นคนดี กุ หลาบย้ อ มสีและสิงโตนอก
คอก และหากโลกนี ้ไร้ คนเลว เป็ นไปได้ หรื อไม่ที่จ ะมีแต่ ค นดีเ ท่ านั น้ มัน
จึงกลายเป็ นความย้ อ นแย้ งที่ แฝงไปด้ วยปรั ช ญาน่ าสืบ ค้ นกับ เหตุ ผล
“ความชอบธรรม” หรื อ “ความชอบทํา”
ที่ สุด ท้ ายแล้ วมนุ ษ ย์ ไ ด้ ชื่ อ ว่าเป็ นสัต ว์ ดุ ร้ ายและจ้ อ งทํ าลาย
พวกเดียวกั นตามสัญชาตญาณเพื่อ ความอยู่ ร อดของตน โดยมีค วาม
กลัวเป็ นตัวบงการนั่นเอง
“มนุ ษ ย์ ทุ ก คนในโลกนี เ้ กิ ด มาพร้ อมไ พ่ ค นละหนึ่ ง ใบ
ด้ านหลังไพ่จะเป็ นลายตารางสีขาวสลับ ลาย ประดั บ ตรารั ฐ บาลโลก
ส่วนด้ านหน้ าของไพ่นั ้น… ในตอนแรกจะเป็ นสีขาวหมดจดไร้ ลวดลาย
ใดๆ แต่ เ มื่ อ ใดก็ ต ามที่ ค นคนนั น้ ทํ าสิ่ งที่ สัง คมตั ด สินว่ าผิ ด ไพ่ จ ะ
กลายเป็ นสีดํา และคนคนนั น้ จะกลายเป็ นคนเลวของสังคม เมื่อ นั น้
บรรดาคนดีของสังคมที่ครอบครองไพ่สีขาวจะมีสิทธิ์สังหารคนเลวได้
โดยไม่ผดิ กฎหมาย” (น.39-40)
จากข้ อความข้ างต้ น ดู เ หมือ นจะเป็ นสารั ต ถะของเรื่ อ งสั ้น
เรื่ องดังกล่าว หากจิดานันท์ ไม่ไ ด้ เ สริ มรายละเอี ยดการฆ่ า เหตุ ผลใน
การฆ่า ความรู้ สกึ นึกคิ ด ในจิ ต ใจ ตรรกะความเชื่ อ การตั ง้ คํ าถามถึ ง
มาตรฐานคุณธรรมของตนเอง รวมไปถึ งข้ อ สงสัยต่ อ ไพ่ ซึ่ งไม่มีใคร
สงสัยมาก่อน และความสงสัยนี ้สามารถเปลีย่ นไพ่ให้ กลายเป็ นสีดํ าได้
โดยไม่ต้องกระทําผิด
จิดานันท์ พยายามสือ่ ให้ ผ้ อู ่ านเข้ าใจในสิทธิ์อั นชอบธรรมของ
มนุ ษ ย์ กับ การกระทํ าที่ ยังคงความหมายของความเป็ นมนุ ษ ย์ ต่อ การ
ดํ ารงอยู่ บ นพื ้นฐานทางศี ลธรรมและความถู กต้ อ งดี งามว่า ใครเป็ น ผู้
กําหนดกฎเกณฑ์ และเราเองมีมาตรฐานมากพอที่จะสามารถเชื่ อ ถื อ หรื อ
ทําสิง่ ใดที่เรี ยกว่าถูกหรื อผิด
ดังนั ้น คนในสังคมจึงควรตระหนักถึงคําถามเหล่านั น้ ว่า ความ
ดีคืออะไร คนดีคือใคร (กันแน่?) แล้ วคิดหาคําตอบต่อไป และความเป็ น
คนดีเป็ นสิง่ ที่ทุกคนภาคภูมใิ จใช่หรื อไม่ แม้ ว่าเราจะต้ อ งฆ่ าใครที่ ไ ด้ ช่ือ
ว่าเป็ นคนเลวก็ตาม
“ตัดทอนบางส่วนจากบันทึกของเซท” (น.151)
จิดานันท์ เปิ ดเรื่ องด้ วยประโยคดังกล่าวและเล่าทุกเรื่ อ งราวใน
รูปแบบบันทึกตัดทอนบางส่วน ร้ อยเรี ยงกั นได้ อ ย่ างน่ าสนใจและใคร่
ติดตามพฤติกรรม ความคิด และความเชื่ อ ของบรรดาตั วละครในเรื่ อ ง
สั ้นที่ดําเนินชีวติ อิงกับเทพเจ้ า เพราะทุกคนถูกปลูกฝังให้ เ ชื่ อ ฟั งเทพเจ้ า
ชีวติ จึงปราศจากอิสระ
แน่นอนว่าศาสนาเป็ นสถาบั นที่ ยึด เหนี่ ยว คํ าสอนเป็ นแนวทางปฏิ บั ติ
แต่ประกาศิตจากเทพเจ้ าผ่านผู้นําทางจิตวิญญาณนั ้นมีความน่ าเชื่ อ ถื อ
หรื อหักล้ างได้ หรื อไม่
กลายเป็ นคํ าถามสําคั ญที่ ท้าทายความคิ ด และอาจลบหลูด่ ู
หมิน่ เทพเจ้ าที่เราไม่ร้ ู วา่ เป็ นใคร อยู่ที่ไหน ไม่มใี ครเคยพบเห็ นหรื อ เป็ น
อะไรกันแน่
แม้ กระทั่งผู้ถูกเลือกให้ ทําหน้ าที่ รั บ สารเองก็ ไ ม่สามารถตอบได้
ตัวละคร “ผม” จึงตั ้งข้ อสงสัยและเกิดคํ าถามทั ง้ จากความเชื่ อที่ มีต่ อ เทพ
เจ้ าที่ดูเหมือนจะบงการทุกชีวติ ในสังคมได้ โดยจิดานันท์ ให้ ทุกคนที่ เ ข้ ารี ต
มีดอกกุหลาบสีขาวประจําตัวและอาศัยอยู่ในเมือ ง ส่วนคนนอกรี ต มีด อก
กุหลาบสีนํ ้าเงินและอาศั ยอยู่ ในป่ าสุด ท้ าย “ผม” ได้ พบรั กกั บ หญิ งสาว
นอกรี ต และหนี เ ข้ า ป่ า แต่ ก ลับ เป็ นคนอื่ นในสายตาแม่ และสั งคมที่ มี
ความคิด ความเชื่อที่นําศาสนามาบดบั งความจริ ง จนเป็ นความงมงาย
มุง่ ร้ ายและเกลียดชังหมูม่ นุ ษ ย์ ด้ วยกั น จากการยึ ด ถื อ จากรุ่ นสู่รุ่ น โดยมี
เทพเจ้ าเป็ นศูนย์ กลาง
จิดานันท์ จบเรื่ องสั ้นด้ วยบันทึกก่อนตายของเซทที่ หักมุมให้
ผู้อ่านเห็นถึงความหลอกลวงและเบื ้องหลังของข้ อ อ้ างทางศี ลธรรมที่
คนในสังคมยึดถือปฏิบัติอย่างไร้ การตรวจสอบ เมือ่ ผู้ทําหน้ าที่ รั บ สาร
จากเทพเจ้ ามีกลีบดอกกุหลาบด้ านในสามกลีบ เป็ นสีนํา้ เงินและต้ อ ง
ให้ ผ้ นู ํานอกรี ตย้ อมมันเป็ นสีขาวอยู่เสมอ จึงกลายเป็ นความย้ อ นแย้ ง
ระหว่างความคิด ความเชื่ อ กั บ คํ าถามและคํ าตอบที่ อ าจไม่กระจ่ าง
ชัด สําหรั บคนที่มศี รั ทธาแต่ปราศจากปั ญญา จึ งควรตระหนั กรู้ และ
เท่าทันในเรื่ องถูกหรื อผิด ปิ ดบังหรื อเปิ ดเผย
นอกจากสีของดอกกุ หลาบจะแบ่ งแยกคนออกจากศาสนา
และสังคมแล้ ว ผู้อ่านจะเห็ นถึ งความไร้ เหตุ ผลของมนุ ษ ย์ ที่เ กลียดชั ง
และไล่ ล่ าพวกเดี ยวกั น เพราะเขาเลื อ กเกิ ด ไม่ ไ ด้ หรื อ เลื อ กที่ จ ะ
เปลีย่ นตัวเอง จึงอาจนํามาเปรี ยบเที ยบกั บ สังคมปั จ จุ บั นที่ทุกปั ญหา
ล้ วนเกิดขึ ้นจากความแตกต่าง
ดังนั ้น กรอบมาตรฐานทางศี ลธรรมหรื อ ความยุ ติ ธ รรมจึ งไม่อ าจชี ว้ ัด
ตัดสินถูกผิดดีชั่วของมนุษย์ ได้ อย่างซื่อตรง เพราะสิ่งที่ ถูกสร้ าง ยึ ด ถื อ
หรื ออุปโลกน์ ขึ ้นมานั ้นไม่ได้ อยู่บนพื ้นฐานบนหลักความจริ งเสมอไป
“ในสังคมวิปลาสไล่ฆ่ากัน คนที่ กล้ าถามหาสันติ ภ าพ ก็ นับ ว่า
บ้ าเหมือนกันนั่นแหละ บ้ าเพราะกล้ ากระโจนเข้ าหาอั นตราย… เพราะ
ในสังคมแบบนั ้น ทุกคนไม่ได้ ไล่ฆ่าแต่ ฝ่ายตรงข้ าม คนที่ เ ป็ นกลางก็ ไ ม่
เคยถูกละเว้ น…” (น.214)
ในเรื่ อ งสั ้น “สิ ง โตนอกคอก” จิ ด านั นท์ เ ล่ า เรื่ อ งซ้ อนเรื่ อ งสลั บ กั บ
เหตุการณ์ อดีตและปั จจุบัน เรื่ องซ้ อนเรื่ องเชื่อมโยงกับชีวติ ของตั วละคร
ผู้เล่าเรื่ องที่ ผจญอยู่ กับ สงคราม ท่ ามกลางความเหน็ บ หนาวและอ่ าน
นิ ทานเรื่ อ งหนึ่ ง ซึ่ งสะท้ อนชี วิต ของตนและคนอื่ น ผู้ มีช ะตากรรมไม่
ต่างกัน คือคําสัง่ ออกล่าฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ ด้ วยเหตุ ผลเป็ นคน (มี) ตาขาว
จิดานันท์ เปรี ยบโลกในชีวติ ของตัวละครกับโลกในนิทานที่ต่างมีทัง้ ความ
จริ งและความลวงที่ ถูกบิ ด เบื อ น เมื่อ มนุ ษ ย์ ถือ เอาความแตกต่ างมา
หยามเหยียดเบียดเบียน กดขี่และข่มเหงกั นอย่ างไร้ เหตุ ผล ขาดสํานึ ก
ตรึ กตรองเรื่ องเมตตาธรรม
แต่สดุ ท้ ายเรื่ องราวก็จบลงด้ วยความหวัง หากเราเลือ กปฏิ เ สธ
การฆ่า สงครามใดคงไม่เกิดขึ ้น เช่ นเดี ยวกั บ บรรณารั กษ์ สาวในเรื่ อ งสั ้น
ในโลกที่ทุกคนอยากเป็ นคนดี ที่เลือ กจะไม่ฆ่าเพราะจิ ต สํานึ กความเป็ น
มนุษย์ ที่ยังคงหลงเหลืออยู่นั่นเอง
นอกจากนี ้ จิดานั นท์ ยังให้ “นิ กสัน” อ่ านนิ ทานเรื่ อ งสิงโตนอก
คอกและอ่านชีวติ ผ่านความคิดของตัวละครซ้ อนตัวเองเปรี ยบเทียบกั นไป
ด้ วย คล้ ายจะเป็ นการทบทวนเหตุการณ์ และเรื่ องราวที่ เ กิ ด ขึ ้นในโลกแห่ ง
ความจริ ง อั น แสนโหดร้ าย จะมี สัก กี่ ค นที่ ร อดปลอดภั ย จากสงคราม
ระหว่างชนชั ้น เชื ้อชาติและสีผวิ ที่ถูกผลักไสให้ เป็ นคนนอก คนอื่ น คนเลว
อยู่ครั ง้ แล้ วครั ง้ เล่า
จากเรื่ อ งสั ้นทั ง้ 3 เรื่ อ ง จิ ด านั นท์ ใช้ สัญลักษณ์ หรื อ ภาพแทน
สังคมร่ วมสมัยที่น่าตีความ ไม่วา่ จะเป็ นไพ่ ดอกกุ หลาบและตาที่ มีค วาม
แตกต่างในเรื่ องของ “สี” ที่ แบ่ งมนุ ษ ย์ อ อกเป็ นฝั กฝ่ ายให้ เ กิ ด เป็ นความ
ขัดแย้ ง ทั ้งในระดับปั จเจกบุคคลและค่านิยมหรื อวัฒนธรรมในสังคม
จนตัวละครในเรื่ องสั ้นเหล่านั น้ กลายเป็ นทั ง้ ผู้กระทํ าและผู้ถูกกระทํ าใน
นามของคนดี เทพเจ้ า รั ฐบาล สงครามและความอยู่ ร อดของตั วเอง ทุ ก
คนจึงตกเป็ นเหยื่อของคําว่ามาตรฐานทางศี ลธรรมหรื อ บรรทั ด ฐานทาง
สังคมโดยไม่ร้ ู ตัว
คนที่เป็ นกลาง ไม่เลือกข้ าง สุดท้ ายก็ถูกฆ่าตายเช่ นเดี ยวกั บ ไพ่
ที่ไม่มวี นั เป็ นสีเทา โลกนี ้จึงมีแต่ขาวกับดําเท่านั ้น หรื อกระทั่งดอกกุ หลาบ
ขาวที่อาจเปลีย่ นสีได้ และต้ อ งใช้ สีย้อ มตบตาตั วเองหรื อ ผู้อื่ นเพื่อ รั กษา
ความศักดิ์สทิ ธิ์ของกฎเกณฑ์ หรื อจารี ตมืดบอด
แต่ในโลกนี ้จะมีคนกล้ าคิดต่าง คิดนอกกรอบหรื อ กลายเป็ นคน
นอก (คอก) ของสังคมแบบบรรณารั กษ์ สาวในเรื่ อ งสั ้น ในโลกที่ ทุกคน
อยากเป็ นคนดี หรื อ เซทและจู เ ลียนในเรื่ อ งสั ้น กุ หลาบย้ อ มสี หรื อครู
ผู้ชายและแซคคารี ในเรื่ อ งสั ้น สิงโตนอกคอก มากน้ อ ยแค่ ไ หน เพราะ
ความชอบธรรม ความยุติธรรมถูกตั ้งข้ อ สงสัยหรื อ ตั ง้ คํ าถาม เมื่อ มนุ ษ ย์
ต่างมีความรู้ สกึ นึกคิดเป็ นของตนเอง แล้ วคํ าตอบนั น้ ต้ อ งอาศั ยเหตุ ผล
ความรู้ หรื อ สิ่งใดมาชี ว้ ั ด ตั ด สินสิ่ง ผิด หรื อ ถู ก หรื อ สุด ท้ ายจะถู กจํ ากั ด
มุมมองต่ อ สัญญะที่ ป รากฏในเรื่ อ งสั ้น เพราะต่ างเคารพศรั ทธากั นมา
แบบนี ้ รั ฐกําหนดมาเช่นนี ้หรื อคนส่วนใหญ่ยอมรั บนั บ ถื อ และต้ อ งการให้
เป็ นอย่างนี ้
ในที่สดุ จึ งไม่หลงเหลือ ความหมายใดให้ กับ เรื่ อ งราวที่เ ล่ามา
ทั ้งหมด
ทั ้งนี ้ อาจสรุ ป คํ าตอบของความสัมพันธ์ จ ากเรื่ อ งสั ้นดั งกล่าวว่า ได้ ทํา
หน้ าที่สะท้ อนโครงสร้ างทางสังคม (social instructure) ที่มีอยูและระบบ
วัฒนธรรมของสังคมก็ไดสรางความเปนอื่นใหเกิดขึ้นตามมา สิ่งสําคัญที่ สุ ด
ของความเปนอื่นคือพหุวัฒนธรรม (multicultural-society) ซึ่ งบุ ค คลแต่
ละคนจะเป็ นส่วนหนึ่งของกลุม่ โดยมีลกั ษณะวัฒนธรรมเป็ นของตนเอง
และหลายๆ กลุม่ จะรวมตั วกั นเป็ นสังคมใหญ่ การอยู่ ร อดของกลุ่มเกิ ด
จากการเห็ นคุ ณค่ าของกระบวนการคิ ด และสัญลักษณ์ ที่เ กิ ด จากการ
สร้ างของวัฒนธรรม ปั จ จั ยทางศาสนา เชื อ้ ชาติ อายุ เพศ ชนชั น้ ทาง
สังคม และการศึกษาจะเป็ นตัวแปรสําคัญที่กําหนดความเชื่ อ ความรู้ สึก
และการกระทําของบุคคล
ส่วนการกี ด กั น ออกจากสังคม (social exclusion) ให้ ไ ปสู่
ความเป็ นอื่ นจะมี ค วามแนบเนี ย น แม้ แต่ ผ้ ถู ู กกี ด กั นก็ ยัง ยอมรั บ ใน
ตําแหน่งแห่งที่ที่สงั คมกําหนดให้ เ ขา เช่ นเดี ยวกั บ ธรรมชาติ การเป็ นคน
นอก (คอก) ในเรื่ องสั ้น สิงโตนอกคอก ที่ เ กิ ด จากการที่ สังคมไม่ยอมรั บ
อั นเนื่ อ งมาจากโครงสร้ างทางสังคมและเศรษฐกิ จ ได้ กํ าหนดความ
แตกต่างขึ ้นมาเพือ่ ทําลายความเป็ นตั วตนทางสังคมและถู กกํ าจั ด ออก
จากสังคม ล้ วนขึ ้นอยู่กับปั จจัยทางวัฒนธรรม สังคมและการเมืองทั ้งสิ ้น
ดั งนั น้ คนอื่ น ความเป็ นอื่ น ถู กสร้ างขึ ้นมาโดยระบบสังคม
(social systems) แต่ใช่วา่ มนุษย์ จะยอมจํานนเพียงอย่ างเดี ยว มีการใช้
วัฒนธรรมเป็ นพื ้นที่ ในการต่ อ รอง ต่ อ สู้อํ านาจในการนิ ยามวาทกรรม
ดังกล่าว จึงอยู่ที่ชุ ด ความรู้ หรื อ กฎเกณฑ์ ใดกฎเกณฑ์ หนึ่งของสังคมที่
แบ่งเขาแบ่งเราออกจากกันเพราะชนชั ้น เชื ้อชาติ สีผวิ ศาสนา เพศ
อย่างในเรื่ องสั ้น กุหลาบย้ อมสี อาจกล่าวถึ งความเป็ นอื่ นใน
แง่ของอุดมการณ์ อํานาจนิ ยม (authorianism) ที่ แสดงอํ านาจผ านวั จ
นภาษา (verbal language) และอวั จนภาษา (non-verbal language)
ไมวา่ จะเป็ นความรุ นแรง การทํ าร้ าย ขู่ให้ กลัวหรื อ แม้ การใช้ ตํ าแหน่ ง
หน้ าที่จัดการสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ความรุ นแรงนั ้นเองส่งผลให้ เ กิ ด การลดทอน
ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ ให้ กลายเป็ นคนป่ าเถื่อน ไม่มีค วามเมตตาต่ อ
เพือ่ นมนุษย์ ด้วยกัน เป็ นต้ น
ซึ่ ง การจ ะอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ ใ นสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม
พื ้นฐานเบื ้องต้ นมนุษย์ ในสังคมจะต้ องเคารพสิทธิ ของกั นและกั น รู้ จั ก
ใช้ สทิ ธิของตนโดยไม่ละเมิดสิทธิเสรี ภาพของผู้อื่น รวมถึงยอมรั บ ความ
แตกต่างของกันและกันด้ วย

You might also like