You are on page 1of 60

คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

ตอนที่ 67
ตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)

โดย
รองศาสตราจารย์ จิตรจวบ เปาอินทร์

สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2555
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ


สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 18 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ


2. เนื้อหาตอนที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ
- สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและทฤษฎีบทพีทาโกรัส
- อัตราส่วนตรีโกณมิติ
- อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60
3. เนื้อหาตอนที่ 2 เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและวงกลมหนึ่งหน่วย
- เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
- วงกลมหนึ่งหน่วย การวัดมุมและหน่วยของมุม
4. เนื้อหาตอนที่ 3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
- ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม
- ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
- ความแตกต่างและความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
กับฟังก์ชันตรีโกณมิติ
- ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมในจตุภาคต่างๆ
6. เนื้อหาตอนที่ 5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
- ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของมุม
- สูตรผลคูณ ผลบวกและผลต่างของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7. เนื้อหาตอนที่ 6 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์
- กฎของไซน์
- กฎของโคไซน์
8. เนื้อหาตอนที่ 7 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
- การเปิดตารางหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
- กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ

1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9. เนื้อหาตอนที่ 8 ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
- ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
- สมบัติและความสัมพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
10. แบบฝึกหัดตอนที่ 1 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
11. แบบฝึกหัดตอนที่ 2 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
12. แบบฝึกหัดตอนที่ 3 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
13. แบบฝึกหัดตอนที่ 4 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
14. แบบฝึกหัดตอนที่ 5 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
15. แบบฝึกหัด ตอนที่ 6 แบบฝึกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ

2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

16. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง มุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย


17. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติและฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
18. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กฎของไซน์และกฎของโคไซน์

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
สาหรับครูและนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง
ตรีโกณมิติ นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆ ที่คณะผู้จัดทาได้
ดาเนินการไปแล้วท่านสามารถดูชื่อเรื่องและชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
ทั้งหมดในตอนท้าย ของคู่มือฉบับนี้

3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ตรีโกณมิติ

หมวด แบบฝึกหัด

ตอนที่ 2 (2/6)

หัวข้อย่อย 1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน

2. แบบฝึกหัดขั้นสูง

3. แบบทดสอบ

จุดประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้ผู้เรียน

1. เข้าใจมโนทัศน์ของการวัดมุมในวงกลมหนึ่งหน่วย

2. เข้าใจมโนทัศน์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม

3. สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุมได้

4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน

แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน ใช้เพื่อวัดความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียน ประกอบด้วยข้อคาถาม


แบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนด โดย
ผู้จัดทาได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็นแบบฝึกหัดที่มีความแตกต่างกันได้ มาก
ถึง 310 แบบ

5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : การวัดมุมในหน่วยองศา


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 1 คือ หามุมในหน่วยองศาจากรูปวงกลม

1.1 นาฬิกากลมเรือนหนึ่งบอกเวลา 7.00 น. จงหาว่าเข็มสั้นทามุมกี่องศากับเข็มยาว

1. 100 2. 120 3. 150 4. 170

เฉลย 3

เวลา 1 ชั่วโมง เข็มสั้นเดิน 30

จากรูป มุมที่เข็มสั้นทากับเข็มยาว = 180  30 = 150

1.2 นาฬิกากลมเรือนหนึ่งบอกเวลา 16.00 น. จงหาว่าเข็มสั้นทามุมกี่องศากับเข็มยาว

1. 100 2. 120 3. 150 4. 170

เฉลย 2

เวลา 1 ชั่วโมง เข็มสั้นเดิน 30

จากรูป มุมที่เข็มสั้นทากับเข็มยาว = 90 + 30 = 120

1.3 นาฬิกากลมเรือนหนึ่งบอกเวลา 10.00 น. จงหาว่าเข็มสั้นทามุมกี่องศากับเข็มยาว

1. 45 2. 60 3. 70 4. 80

เฉลย 2

เวลา 1 ชั่วโมง เข็มสั้นเดิน 30

จากรูป มุมที่เข็มสั้นทากับเข็มยาว = 90  30 = 60

6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : การหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากวงกลมหนึ่งหน่วย


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 2 คือ ใช้วงกลมหนึ่งหน่วยในการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริง
 3
บางค่า เช่น , , และ 2
2 2

3 sin    cos (  )
2.1 เมื่อพิจารณาจากวงกลมหนึ่งหน่วย จงหาค่าของ 2
 3
2 cos    sin   + tan ( 2 )
2  2 
1. 4 2. 4 3. 2 4. 2
เฉลย 1
จากวงกลมหนึ่งหน่วย ได้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติต่างๆ ดังนี้
 
sin   = 1 , cos (  ) = 1 , cos   = 0 ,
2 2
3
sin   = 1 , tan ( 2 ) = 0
 2 
3  ( 1) 4
ดังนั้นเมื่อแทนค่าต่างๆ จะได้ = =4
2  0  ( 1 ) + 0 1

5 cos (  ) + tan ( 2 )
2.2 เมื่อพิจารณาจากวงกลมหนึ่งหน่วย จงหาค่าของ
 3
sin   + 3 cos  
2  2 
5 5
1. 5 2. 5 3.  4.
4 4
เฉลย 1
จากวงกลมหนึ่งหน่วย ได้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติต่างๆ ดังนี้
  3 
cos (  ) = 1 , tan ( 2 ) = 0 , sin   = 1 , cos   = 0
2  2 
5 ( 1 ) + 0
ดังนั้น เมื่อแทนค่าต่างๆ จะได้ = 5
1+3  0

7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3
sin   + 2 cos ( 2 )
2.3 เมื่อพิจารณาจากวงกลมหนึ่งหน่วย จงหาค่าของ
 2 
tan (  ) + 3 cos (  )
1 1
1. 1 2. 1 3.  4.
3 3
เฉลย 3

จากวงกลมหนึ่งหน่วย ได้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติต่างๆ ดังนี้

3 
sin   = 1 , cos ( 2 ) = 1 , tan (  ) = 0 , cos (  ) = 1
 2 
1 + 2  1 1 1
ดังนั้น เมื่อแทนค่าต่างๆ จะได้ = = 
0 + 3 ( 1 ) 3 3

8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : การหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจากวงกลมหนึ่งหน่วย


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 3 คือ หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมในวงกลมหนึ่งหน่วย

3.1 กาหนดมุม  ให้ดังรูป จงหาค่าของ cos (  )  sin (  )

1. a + b 2. a + b

3. a  b 4. a  b

เฉลย 4
จากรูป จะได้ cos (  )  sin (  ) = b  a

3.2 กาหนด  ให้ดังรูป จงหาค่าของ tan (  )


a a
1. 2.
b b

b b
3. 4.
a a
เฉลย 2
sin (  ) a
จากรูป จะได้ tan  = =
cos (  )  b

3.3 กาหนด  ให้ดังรูป จงหาค่าของ cot (  )


a a
1. 2.
b b

b b
3. 4.
a a
เฉลย 4
cos (  ) b
จากรูป จะได้ cot (  ) = =
sin (  ) a
9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ และการพิจารณาเครื่องหมายของค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติจาก


สิ่งที่โจทย์กาหนด
จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 4 คือ หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติโดยใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ

3
4.1 กาหนดให้ tan (  ) = 2 และ  <  < จงหาค่าของ cos (  )
2
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
5 5 5 5
เฉลย 1
1
ใช้ sec2 (  ) = tan2 (  ) + 1 = 4 + 1 = 5 และ cos (  ) < 0 ดังนั้น cos (  ) =
5


4.2 กาหนดให้ cosec (  ) = 5 และ <  <  จงหาค่าของ tan (  )
2
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
6 6 6 6
เฉลย 1
1
ใช้ cot2 (  ) = cosec2 (  ) 1 = 5  1 = 4 และ tan (  ) < 0 ดังนั้น tan (  ) = 
2

1 3
4.3 กาหนดให้ sin (  ) =  และ <  < 2 จงหาค่าของ sec (  )
2 2
2 2 4 4
1. 2. 3. 4.
3 3 3 3
เฉลย 2
1 3 2
ใช้ cos2 (  ) = 1  sin2 (  ) = 1  = และ sec (  ) > 0 ดังนั้น sec (  ) =
4 4 3

10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : การพิจารณาเครื่องหมายของค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 5 คือ หาเครื่องหมายของค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงที่กาหนดให้
ในช่วงต่างๆ

5.1 จงพิจารณาว่า ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


 3
1. ถ้า <  <  แล้ว sin (  ) > 0 2. ถ้า  <  < แล้ว cos (  ) < 0
2 2
3 3
3. ถ้า  <  < แล้ว tan (  ) < 0 4. ถ้า <  < 2 แล้ว cosec (  ) < 0
2 2
เฉลย 3
พิจารณา  จากรูปของแต่ละข้อดังนี้

1. sin (  ) > 0 2. cos (  ) < 0

3. tan (  ) > 0 4. cosec (  ) < 0


ซึ่งไม่ตรงกับตัวเลือก

11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.2 จงพิจารณาว่าข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


3 
1. ถ้า <  < 2 แล้ว sin (  ) > 0 2. ถ้า <  <  แล้ว cos (  ) < 0
2 2
 3
3. ถ้า <  <  แล้ว cot (  ) < 0 4. ถ้า  <  < แล้ว sec (  ) < 0
2 2
เฉลย 1
พิจารณา  จากรูปของแต่ละข้อ ดังนี้

1. sin (  ) < 0 2. cos (  ) < 0


ซึ่งไม่ตรงกับตัวเลือก

3. cot (  ) < 0 4. sec (  ) < 0

5.3 จงพิจารณาว่า ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


3 3
1. ถ้า  <  < แล้ว sin (  ) < 0 2. ถ้า <  < 2 แล้ว cos (  ) > 0
2 2
3 
3. ถ้า <  < 2 แล้ว tan (  ) > 0 4. ถ้า <  <  แล้ว sec (  ) < 0
2 2
เฉลย 3
พิจารณา  จากรูปของแต่ละข้อ ดังนี้

1. sin (  ) < 0 2. cos (  ) > 0

3. tan (  ) < 0 4. sec (  ) < 0


ซึ่งไม่ตรงกับตัวเลือก

12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 
โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่า เช่น , และของค่าจริงอื่นที่
6 3
มีความสัมพันธ์กัน
จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 6 คือ หาผลเฉลยของสมการตรีโกณมิติ โดยต้องรู้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ของค่าจริงบางค่าในช่วง [ 0 , 2 )

6.1 ถ้า 1 และ 2 เป็นผลเฉลยของสมการ tan (  ) sin (  ) + cos (  ) = 2 และ

1 , 2  [ 0 , 2 ) จงหาค่าของ 2  21 เมื่อ 2 ≥ 1


3
1. 0 2.  3. 4. 2
2
เฉลย 2
sin (  )
จากสมการ จะได้ sin (  ) + cos (  ) = 2
cos (  )
คูณตลอดด้วย cos (  ) , sin2 (  ) + cos2 (  ) = 2 cos (  )
1
ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ , 1 = 2 cos (  ) นั่นคือ cos (  ) =
2
 5 5 2
แล้ว 1 = และ 2 = ดังนั้น 2  2 1 =  =
3 3 3 3

13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6.2 ถ้า 1 และ 2 เป็นผลเฉลยของสมการ 3 sin (  ) + cos (  ) = 0 และ


1 , 2  [ 0 , 2 ) จงหาค่าของ 2  31 เมื่อ 2 ≥ 1
2  2  
1. 2. 3. 4.
3 3 3 3
เฉลย 1
จากสมการ จะได้ 3 sin (  ) =  cos (  )
sin (  ) 1 1
เนื่องจาก cos (  ) ≠ 0 ดังนั้น = นั่นคือ tan (  ) =
cos (  ) 3 3
 5  11
แล้ว 1 =   = และ 2 = 2   =
6 6 6 6
11 15 4  2 
ดังนั้น 2  31 =  = =
6 6 6 3

6.3 ถ้า 1 และ 2 เป็นผลเฉลยของสมการ 3 sin (  ) + 3 cot (  ) cos (  ) + 2 = 0


และ 1 , 2  [ 0 , 2 ) จงหาค่าของ 22  1 เมื่อ 2 ≥ 1
11
1. 0 2. 3.  4. 2
6
เฉลย 4
cos (  ) 2
จากสมการ จะได้ sin (  ) + cos (  ) =
sin (  ) 3
2
คูณตลอดด้วย sin (  ) , sin2 (  ) + cos2 (  ) = sin (  )
3
2  3
ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ , 1= sin (  ) นั่นคือ sin (  ) =
3 2
 4  5
แล้ว 1 =  + = และ 2 = 2  =
3 3 3 3
10  4  6
ดังนั้น 2 2  1 =  = = 2
3 3 3

14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

   
โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่า เช่น , , , และของค่า
6 4 3 2
จริงอื่นที่มีความสัมพันธ์กัน
จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 7 คือ รู้จักกราฟของฟังก์ชันโคไซน์ และค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบาง
   
ค่า เช่น , , , ที่ควรจา
6 4 3 2
7.1 จงพิจารณาว่าจุดในข้อใดต่อไปนี้ ไม่อยู่ในกราฟของฟังก์ชันโคไซน์
 
1. ( 0 , 1 ) 2.  , 1
 2 
 3   2
3.  ,  4.  ,
3 2   4 2 
เฉลย 3
 
1. cos ( 0 ) = 1 2. cos  = 1
 2 

3. cos 
 = 1 3    = 2
4. cos 
  
3 2 2  4  2

7.2 จงพิจารณาว่าจุดในข้อใดต่อไปนี้ ไม่อยู่ในกราฟของฟังก์ชันโคไซน์


 1 
1.  ,  2. (  , 1 )
 3 2
  3  2
3.  , 4.  ,
 6 2  4 2 

เฉลย 2
  1
1. cos   = 2. cos (  ) = 1 ≠ 1
 3  2
   = 3
3. cos  4. cos 
 = 2
 
 6  2 4 2

15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7.3 จงพิจารณาว่าจุดใดในข้อต่อไปนี้ ไม่อยู่ในกราฟของฟังก์ชันโคไซน์


3 
1. (  , 1 ) 2.  , 0
 2 
 3  1 
3.  ,  4.  , 
6 2   3 2 
เฉลย 4
3 
1. cos (   ) =  1 2. cos   =0
 2 

3. cos 
 = 3 4. cos 
  1 1
  = 
6 2  3  2 2

16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุม เช่น 30 , 45 , 60 , 90


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 8 คือ หาผลเฉลยของสมการพีชคณิต ซึ่งมีสัมประสิทธิ์เป็นค่าฟังก์ชัน
ตรีโกณมิติของมุมบางมุม เช่น 30 , 45 , 60 , 90
8.1 ถ้า x1 และ x2 เป็นผลเฉลยของสมการ 4x2  tan2 ( 60 ) x  sin ( 90 ) = 0
จงหาค่าของ | x1 + x2 |
3 5
1. 2. 1 3. 4. 0
4 4
เฉลย 1
เนื่องจาก tan ( 60 ) = 3 และ sin ( 90 ) = 1 เราได้สมการ 4x2  3x  1 = 0
1 1 3
หาผลเฉลยได้ x = และ 1 แล้ว | x1 + x2 | = | +1| =
4 4 4
8.2 ถ้า x1 และ x2 เป็นผลเฉลยของสมการ x2 + 3 sin2 ( 45 ) x + cot ( 45 ) = 0
จงหาค่าของ | x1  x2 |
3 5
1. 2. 3. 1 4. 0
2 2
เฉลย 2
2 3
เนื่องจาก sin ( 45 ) = และ cot ( 45 ) = 1 เราได้สมการ x 2 + x  1 = 0
2 2
1 1 5
หาผลเฉลยได้ x = 2 และ แล้ว | x 1  x 2 | = |  2  | =
2 2 2
8.3 ถ้า x1 และ x2 เป็นผลเฉลยของสมการ 4 sin2 ( 60 ) x2  sec ( 60 ) x  tan ( 45 ) = 0
จงหาค่าของ | x1 | + | x2 |
4 5 7
1. 2. 3. 2 4.
3 3 3
เฉลย 1
3
, sec ( 60 ) = 2 และ tan ( 45 ) = 1 เราได้สมการ 3x2  2x  1 = 0
เนื่องจาก sin ( 60 ) =
2
1 1 4
หาผลฉลยได้ x = และ 1 แล้ว | x 1 | + | x 2 | = | | +|1| =
3 3 3
17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 
โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่า เช่น , และของค่าจริงอื่นที่มี
3 4
ความสัมพันธ์กัน
 
จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 9 คือ หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่านอกจาก ,
3 4

9.1 กาหนดให้  = จงหาค่าของ 2 sin2 ( 3 )  cos ( 4 )
12
1
1. 0 2. 3. 3 1 4. 1
2
เฉลย 2
  1 1 1
2 sin2 ( 3 )  cos ( 4 ) = 2 sin2    cos   = 2   =
4 3 2 2 2

 9
9.2 กาหนดให้  = จงหาค่าของ 2 cos     2 sin ( 3 )
9 4 
1. 1  3 2. 1 + 3 3. 0 4. 1  2 3

เฉลย 1

2 cos  
9
4
  2 sin ( 3 ) = 2 cos 

4
 2 sin 
3
=
 1  2 3 =1  3
2 
 2
  
 2 

9.3 กาหนดให้  =

จงหาค่าของ cos 
 8   + 2 sin (  2 )

8  3 
1 1 3 1
1. 2. 3. 0 4.
2 2 2
เฉลย 1

cos  
8
3
 + 2 sin (  2  ) = cos  

3
+ 2 sin  

4
=
1
2
+ 2   1
2
1
= 1 =
2
1
2

18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุม เช่น 30 , 45 , 60 และของมุมอื่นที่มี


ความสัมพันธ์กัน
จุดประสงค์ของข้อ 10 คือ หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุมนอกจาก 30 , 45 , 60

10.1 จงหาค่าของ 3 cosec ( 405 ) + 2 cot ( 300 )

2 3 2 2 3 2
1. 3 2 + 2. + 3. 3 2  4. 
3 2 3 3 2 3
เฉลย 1
2
3 cosec ( 405 ) + 2 cot ( 300 ) = 3 cosec ( 45 ) + 2 cot ( 60 ) = 3 2 +
3

10.2 จงหาค่าของ 3 tan ( 330 ) + 2 sec ( 660 )

1. 5 2. 3 3. 3 4. 5

เฉลย 4
1
3 tan (  330 ) + 2 sec (  660 ) = 3 tan ( 30 ) + 2 sec (  60 ) = 3( ) + 2 ( 2 ) = 1+ 4 = 5
3

10.3 จงหาค่าของ 2 cos ( 765 ) + 3 sin (  300 )


1 3 5
1. 0 2. 3. 4.
2 2 2
เฉลย 4

2 cos ( 765 ) + 3 sin (  300 ) = 2 cos ( 45 ) + 3 sin ( 60 )


1 3 3 5
= 2( )+ 3 ( ) =1+ =
2 2 2 2

19
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. แบบฝึ กหัดขั้นสู ง

แบบฝึ กหัดขั้นสูง ใช้เพือ่ วัดความรู ้ความสามารถขั้นสูงของผูเ้ รี ยน ครอบคลุมตามจุดประสงค์การ

เรี ยนรู ้กาหนด ประกอบด้วยข้อคาถามแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 15 ข้อ พร้อมเฉลยที่ผใู ้ ช้สื่อ

สามารถเลือกดูคาอธิบายได้จากสื่อการสอน

19
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 1 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 1 คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก

โจทย์กาหนดรู ปสามเหลี่ ยม ABCD มาให้ โดยรู ปสามเหลี่ยมนี้ ประกอบด้วยรู ปสามเหลี่ยมมุ ม

ฉากสองรู ป คือ  ABC และ  ACD ซึ่ งมีดา้ น AC เป็ นด้านร่ วม เราจะใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสสอง

ครั้ง โดยครั้ง แรกจะใช้กบั  ABC เพือ่ หาความยาวด้าน AC ก่อน แล้วใช้ครั้งที่สองกับ  ACD เพื่อ

หาความยาว ด้าน AD ที่โจทย์ตอ้ งการ

20
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 2 เนื้อหาหลัก : บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และพืน้ ที่ของรูปสามเหลี่ยม

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 2 คือ ตรวจสอบว่ารู ปสามเหลี่ยมที่กาหนดให้เป็ นรู ปสามเหลี่ยม มุมฉาก

หรื อไม่ และถ้าเป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก เราสามารถหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมได้โดยง่าย คือ ครึ่ งหนึ่ ง

ของผลคูณของความยาวด้านประกอบมุมฉาก

โจทย์กาหนดรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD โดยให้ความยาวทุกด้าน และความยาวเส้นทแยงมุมหนึ่ งเส้น

นักเรี ยนควรเฉลียวใจว่ารู ปสามเหลี่ยมสองรู ปที่ประกอบเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม จะเป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากหรื อ

ไม่ และจะตรวจสอบได้โดยบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ซึ่ งกล่าวว่าถ้ากาลังสองของความยาวด้านที่

ยาวสุด เท่ากับผลบวกของกาลังสองของความยาวด้านที่เหลือ แล้วเราสรุ ปได้ว่า รู ปสามเหลี่ยมนั้นเป็ นรู ป

สามเหลี่ยมมุมฉาก

21
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 3 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติ และทฤษฎีบทพีทาโกรัส

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 3 คือ หาอัตราส่วนตรี โกณมิติ จากรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากที่ กาหนดความ

ยาวด้านมาให้สองด้าน

โจทย์กาหนดรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC โดยให้ความยาวด้านสองด้าน เราสามารถหาความยาว

ด้านที่เหลือจากทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเมื่อมีความยาวด้านครบสามด้าน ทาให้เราสามารถหาอัตราส่ วน

ตรี โกณมิติต่างๆ ของมุมแหลม A ได้ แล้วจะได้ค่าที่โจทย์ตอ้ งการ

22
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 4 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีพีทาโกรัส และพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม

จุดประสงค์ข องโจทย์ข ้อ 4 คือ ใช้ทฤษฎี บ ทพีทาโกรั สในการหาความยาวด้านที่โ จทย์ไ ม่ ไ ด้


1
กาหนดมาให้ และใช้ความรู ้เรื่ องพื้นที่ของสามเหลี่ยมเท่ากับ  ฐาน  สูง จะเห็นว่าความสู ง คือ ค่าที่โจทย์
2
ต้องการ และขณะเดียวกันเราสามารถหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากรู ปนี้ จาก  ผลคู1 ณของความยาว
2
ด้านประกอบมุมฉาก เราจะได้สมการ ซึ่งทาให้หาความสูงที่ตอ้ งการได้

เรายังมีอีกหลายวิธีในการทาโจทย์ขอ้ นี้ คือ ใช้ทฤษฎีพีทาโกรัสอย่างเดียว หรื อใช้ความรู ้เรื่ อง รู ป

สามเหลี่ยมคล้าย กับ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หรื อ ใช้อตั ราส่วนตรี โกณมิติ กับ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

23
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 5 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 60

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 5 คือ หาความด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุ มฉาก ซึ่ งกาหนดพื้นที่ ของรู ป

สามเหลี่ยม และมุมแหลมมุมหนึ่งมาให้

เราจะใช้ค วามรู ้ เรื่ อ งอัต ราส่ ว นตรี โ กณมิ ติ ของมุ ม 60 มาช่ ว ยในการท าโจทย์ เนื่ อ งจากเรารู ้

อัตราส่วนตรี โกณมิติต่างๆ ของมุม 60 เราก็หาความสัมพันธ์ของความยาวด้านต่างๆ ของรู ปสามเหลี่ยมมุม

ฉากได้ และเราก็เลือกด้านประกอบมุมฉาก 2 ด้านมาพิจารณา เนื่ องจาก พื้นที่ของ รู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก


1
เท่ า กับ  ผลคู ณ ของความยาวด้า นประกอบมุ ม ฉาก เมื่ อ ด้า นประกอบมุ ม ฉาก ทั้ง สองต่ า งมี
2
ความสัมพันธ์กบั ด้านตรงข้ามมุมฉาก ดังนั้นเราจะได้สมการซึ่งสามารถหาค่าความยาวของด้านตรงข้ามมุม

ฉากได้

24
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 6 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 45

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 6 คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยกาหนดขนาดของ

มุมแหลมมุมหนึ่ง กับ ความยาวด้านด้านหนึ่งมาให้

เนื่องจากอัตราส่วนตรี โกณมิติ คือ อัตราส่วนของความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก และ เรา

รู ้อตั ราส่วนตรี โกณมิติของมุมบางมุม เช่น 30 , 45 , 60 ( โจทย์ขอ้ นี้ใช้มุม 45 ) เมื่อโจทย์ กาหนด

ความยาวด้านหนึ่งมาให้ เราย่อมหาความยาวด้านอื่นๆ ของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากได้

25
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 7 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และพืน้ ที่ของรู ป สามเหลี่ยม

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 7 คือ ใช้อตั ราส่ วนตรี โกณมิติหาความยาวด้านของรู ป สามเหลี่ยมมุ ม

ฉาก โจทย์กาหนดมุม 30 และ 45 มาให้ เพือ่ จะได้นาอัตราส่ วนตรี โกณมิติของมุมนั้นๆ ไปใช้ ประโยชน์

คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ ยมมุมฉาก สาหรับโจทย์ขอ้ นี้ เราใช้ค่า tan 30 และค่า tan 45 ซึ่ ง

นักเรี ยนควรจาได้ แล้วนาค่าที่ได้ท้งั หมดมาหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยม

ถ้ามุ มที่โจทย์กาหนดให้ไ ม่ ใช่ 30 หรื อ 45 หรื อ 60 เราไม่ สามารถทาโจทย์น้ ี ได้ในทัน ที

เนื่ องจากอัตราส่ วนตรี โกณมิติของมุ ม ใดๆ นั้น เรายังไม่ รู้ค่า จนกว่าจะได้เรี ยนเรื่ อง การเปิ ดตารางหาค่า

ฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ

26
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 8 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 และ 60

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 8 คือ ให้ใช้อตั ราส่วนตรี โกณมิติของมุม 30 และ 60 ในการหาความ

ยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก

นอกจากวิธีทาที่ได้แสดงในสื่อการสอนไป ยังมีวธิ ีอื่น อีกดังเช่น


  
60 และ = 30BCD
จากที่โจทย์กาหนด =DCA 
เราจะได้ = 60 + 30
BCA
= 90 ดังนั้น  ABC เป็ น

สามเหลี่ยมมุมฉาก และเราได้ดว้ ยว่า = 90 – 30 =ABC
60 แล้ว tan 60 =
AC
a

ดังนั้น AC = a tan 60 = 3a

   
ซึ่งวิธีน้ ีจะทาได้เฉพาะโจทย์ขอ้ นี้ แต่ถา้ กาหนด และ +  90 เราก็DCA
DCAที่ทาให้ BCD ตอ้ ง กลับBCD
ไปใช้วิธีที่แสดงให้

ดูในสื่อการสอน แต่ก็ตอ้ งรอจนกว่าจะได้เรี ยนเรื่ อง การเปิ ดตารางหาค่าฟังก์ชนั ตรี โกณมิติเสียก่อน

27
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 9 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรีโกณมิติ

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 9 คือ นาเอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรี โกณมิติมาใช้ประโยชน์ เนื่ องจาก

โจทย์ไม่ได้กาหนดความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากมาให้ และไม่ได้กาหนดอัตราส่ วน ตรี โกณมิติ

ใดมาให้ แต่กาหนดมาให้เป็ นสมการ ดังนั้นให้นักเรี ยนนึ กถึงเอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรี โกณมิติ ซึ่ งเริ่ ม

จาก sin2 A + cos 2 A = 1 และในตอนนี้ A จะเป็ นมุ มแหลม เท่ านั้น เพราะการนิ ย ามอัต ราส่ ว น

ตรี โกณมิติน้ นั เราเริ่ มจากรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก มุมที่พจิ ารณาต้องเป็ นมุมแหลม

28
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 10 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติ

จุด ประสงค์ข องโจทย์ข ้อ 10 คื อ หาอัต ราส่ ว นตรี โ กณมิ ติ ต่ า งๆ จากการก าหนดอัต ราส่ ว น

ตรี โกณมิติหนึ่งของมุมเดียวกันมาให้ โจทย์ขอ้ นี้ไม่ได้ระบุว่า A เป็ นมุมแหลม แต่ให้นักเรี ยนเข้าใจว่า A

เป็ นมุมแหลมก่อน จนกว่าจะได้เรี ยนเรื่ อง ฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ ซึ่งจะพิจารณา A เป็ นมุมใดๆ

จากสื่ อการสอน ได้แสดงให้ดู 2 วิธี และนักเรี ยนสามารถเลือกใช้ได้ท้ งั สองวิธี และเนื่ องจาก A

เป็ นมุมแหลม วิธีที่ 2 จึงไม่ตอ้ งพิจารณาเครื่ องหมายของ a และ b เราสามารถกาหนดว่า a > 0 และ

b > 0 ได้เลย

29
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 11 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติ และทฤษฎีบทพีทาโกรัส

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 11 คือ หาอัตราส่วนตรี โกณมิติต่างๆ จากอัตราส่วนตรี โกณมิติ หนึ่ งของ

มุมเดียวกัน โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสช่วยหาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก

30
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 12 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรีโกณมิติ

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 12 คือ ให้นกั เรี ยนได้ทบทวนความจาเกี่ยวกับเอกลักษณ์ของ อัตราส่ วน

ตรี โกณมิติ และให้รู้วธิ ีที่จะสรุ ปว่า ข้อความใดไม่ใช่เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรี โกณมิติ

ในตอนนี้ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรี โกณมิติ จะเป็ นจริ งสาหรับมุมแหลมใดๆ

31
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 13 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเอกลักษณ์ของ อัตราส่ วน

ตรีโกณมิติ

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 13 คือ หาอัตราส่วนตรี โกณมิติต่างๆ จากอัตราส่วนตรี โกณมิติ หนึ่ งของ

มุมเดียวกัน มีวธิ ีทา 2 วิธี วิธีหนึ่ งใช้เฉพาะบทนิ ยามของอัตราส่ วนตรี โกณมิติ และทฤษฎีบท พีทาโกรัส

ส่วนอีกวิธีจะใช้เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรี โกณมิติ tan2 A = sec2 A – 1 ซึ่ งจะทาให้ 3 sec2 A + 2 tan2 A


1 17
เขียนได้ในพจน์ของ sec2 A แล้วแทนค่า sec A ด้วย จะได้คาตอบเท่ากับ เช่นกัน
cos A 4

32
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 14 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรีโกณมิติ

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 14 คือ ใช้เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรี โกณมิติ เพื่อช่วยหาค่า อัตราส่ วน

ตรี โกณมิติหนึ่ง

จากโจทย์กาหนดสมการมาให้ และต้องการหาค่าอัตราส่วนตรี โกณมิติ sec A เราต้องแปลงสมการ

ให้มี sec A ปรากฏ หรื อ cos A ปรากฏ ดังนั้น เราต้อ งใช้เอกลักษณ์ sin2 A = 1 – cos2 A เพื่อกาจัด

sin2 A ออกไป ให้เหลือแต่ cos2 A ซึ่งก็คือ นัน่ เอง12


sec A

33
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 15 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 60 และการประยุกต์

จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 15 คือ นาอัตราส่ วนตรี โกณมิติมาประยุกต์กบั โจทย์ปัญหาจริ ง ต้องการ

ให้นัก เรี ยนแก้ปัญ หาจริ ง ที่ สามารถเขี ยนภาพเป็ นรู ปสามเหลี่ ยมมุ มฉาก และหาความยาวด้านของรู ป

สามเหลี่ ยมจากอัตราส่ วนตรี โกณมิ ติของมุ มบางมุม เช่ น 30 , 45 , 60 โดยโจทย์ขอ้ นี้ เป็ นมุ ม 60

นักเรี ยนต้องจาได้วา่ sin 60 = และ2 cos 60 = เพือ่ นามาใช้


3 1
2
ในการหาคาตอบ

34
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. แบบทดสอบ

แบบทดสอบ ใช้เพื่อ ทดลองความรู ้ความสามารถขั้นสู งของผูเ้ รี ยน ประกอบด้วยข้อ คาถามแบบ

ปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่กาหนด โดยผูจ้ ดั ทา

ได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็ นแบบฝึ กหัดที่มีความแตกต่างกันได้มากถึง 310

แบบ

35
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 1 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีบทพีทาโกรัส


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 1 คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก

1.1 กาหนดรู ปสามเหลีย่ ม ABCD ดังนี้ จงหาว่ าด้ าน AD ยาวกี่หน่ วย


1. 2 3 2. 2 5
3. 22 4. 5

เฉลย 3
AC = 32 + 2 2 = 9+4 = 13 แล้ว AD = AC2 + 32 = 13 + 9 = 22

1.2 กาหนดรู ปสามเหลีย่ ม ABCD ดังนี้ จงหาว่ าเส้ นทแยงมุม BD ยาวกี่หน่ วย

1. 15 2. 2 5

3. 3 5 4. 39

เฉลย 1

BC = 20 12 = 8 แล้ว BD = BC2 + 7 = 8+7 = 15

1.3 กาหนดรู ปสามเหลี่ยม ABCD ดังนี้ จงหาว่ าเส้ นรอบรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD ยาวกี่หน่ วย

1. 3 + 7 + 2 3 2. 5 + 7 +2 3

3. 6 + 7 + 2 3 4. 7 + 7 + 2 3

เฉลย 2
CD = 4 2  7 = 16  7 = 9 = 3 และ AB = 4 2  12 = 4 = 2
แล้วเส้นรอบรู ปยาว = AB + BC + CD + AD + = 2 + 2 3 + 3 + 7 = 5 + 7 + 2 3

36
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 2 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ


จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ข ้อ 2 คื อ ตรวจสอบว่ า รู ป สามเหลี่ ย มที่ ก าหนดให้ เ ป็ นรู ป
สามเหลี่ยมหรื อไม่ ถ้าเป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก เราสามารถหาพืน้ ที่ได้โดยง่าย

2.1 จากรู ปสี่ เหลีย่ ม ABCD ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ ารู ปสี่ เหลีย่ ม ABCD มีพนื้ ที่กี่หน่ วย

1. 65 2. 6

65 + 6
3. 4. 65 + 6
2

เฉลย 3
ตรวจสอบว่า  ABC และ  BCD ว่าเป็ นรู ปสามเหลี่ยมมุมฉากหรื อไม่
1 1
เนื่องจาก (3 2 ) 2 = 13 + 5 และ 13 = 32 + 22 ดังนั้น พื้นที่ของรู ปสี่เหลี่ยม ABCD = ( 13) ( 5) + ( 3 ) ( 2 )
2 2

2.2 จากรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ ารู ปสี่ เหลีย่ ม ABCD มีพนื้ ที่กี่หน่ วย

1. 2 2 2. 12

3. 21 + 6 4. 2 21 + 12

เฉลย 3
1 1
เนื่องจาก 52 = 21 + 4 และ 52 = 9 + 16 ดังนั้น พืนที่ของรู ปสี่เหลี่ยม ABCD = ( 2 ) 21 + ( 3 ) ( 4 )
2 2

2.3 จากรู ปสี่ เหลีย่ ม ABCD ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ ารู ปสี่ เหลีย่ ม ABCD มีพนื้ ที่กี่หน่ วย

1. 2 15 2. 12

3. 15 + 6 4. 2 5 + 12

เฉลย 4
1 1
เนื่องจาก 42 = 10 + 6 และ 52 = 9 + 16 ดังนั้น พื้นที่ของรู ปสี่เหลี่ยม ABCD = 10 6+ (3)(4)
2 2
37
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 3 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และอัตราส่ วนตรีโกณมิติ


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 3 คือ ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการหาความยาวด้านของรู ป
สามเหลี่ยมมุมฉาก แล้วนาค่าที่ได้ไปหาอัตราส่วนตรี โกณมิติ

3.1 กาหนดให้ sin A = เมื่อ A เป็ นมุมแหลม จงพิจารณาว่ าข้ อใดต่ อไปนี้ไม่ ถูกต้ อง


2
 2 
2
 2
1. cos A = 2. tan A =
 

 
3. sec A = 4. cosec A =

2
 2 
เฉลย 2

จากโจทย์ sin A = เขียนรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก และพิจารณามุมแหลม A

โดยมีความยาวด้านตรงข้ามมุม A = 
ความยาวด้านตรงข้ามุมฉาก = 
แล้วใช้ทฤษฎีบทพีมาโกรัส
ได้ความยาวด้านประชิดมุม A = 
2
 2

พิจารณาทีละตัวเลือก


2
 2
1. cos A = ? cos A = ข้อนี้ถูกต้อง

 
2
 2
2. tan A = ? tan A = ≠

2
 2 


3. sec A = ? sec A = ข้อนี้ถูกต้อง

2
 2


4. cosec A = ? cosec A = ข้ อนี้ถูกต้ อง

38
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


3.2 กาหนดให้ cos A = เมื่อ A เป็ นมุมแหลม จงพิจารณาว่ าข้ อใดไม่ ถูกต้ อง


2
 2 
2
 2
1. sin A = 2. tan A =
 

 
3. sec A = 4. cosec A =
 
2
 2
เฉลย 4

จากโจทย์ cos A = เขียนรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก และพิจารณามุม A

โดยมีความยาวด้านประชิดมุม A = 
ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก = 
แล้วใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ได้ความยาวด้านตรงข้ามมุม A = 
2
 2

พิจารณาทีละตัวเลือก


2
 2
1. sin A = ? sin A = ข้อนี้ถูกต้อง


2
 2
2. tan A = ? tan A = ข้อนี้ถูกต้อง


3. sec A = ? sec A = ข้อนี้ถูกต้อง

 
4. cosec A = ? cosec A = ≠
   
2 2 2 2

39
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


3.3 กาหนด ให้ tan A = เมื่อ A เป็ นมุมแหลม จงพิจารณาว่ าข้ อใดต่ อไปนี้ไม่ ถูกต้ อง

 
1. sin A = 2 2
2. cos A = 2 2
 +  +

2 2
  +
3. cot A = 4. sec A =
 

เฉลย 4

จากโจทย์ tan A = เขียนรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก และพิจารณามุมแหลม A

โดยมีความยาวด้านตรงข้ามมุม A = 

ความยาวด้านประชิดมุม A = 

แล้วใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

ได้ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก = 
2
 2

พิจารณาทีละตัวเลือก

1. sin A = ? sin A = 2 2
ข้อนี้ถูกต้อง
 +


2. cos A = ? cos A = 2 2
ข้อนี้ถูกต้อง
 +


3. cot A = ? cot A = ข้อนี้ถูกต้อง

2 2 2 2
 +  +
4. sec A = ? sec A = ≠
 

40
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 4 เนื้อหาหลัก : ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และอัตราส่ วนตรีโกณมิติ


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 4 คือ ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการหาความยาวด้านของรู ป
สามเหลี่ยมมุมฉาก แล้วนาค่าที่ได้ไปหาอัตราส่วนตรี โกณมิติ

4.1 กาหนดให้ tan 35 = a จงหาค่าของ sin2 55 + cos2 35


2
1. 1 2. 2 3. a + 1 4. 2a
2
a +1 2
a +1 a2 + 1 a2 + 1

เฉลย 2

เขียนรู ป  มุมฉาก พร้อมมุม 35 มุมที่เหลือ = 90 35 = 55
a 2 +1 55
a จาก tan 35 = a และทฤษฎีบทพีทาโกรัส ได้ความยาวทุกด้านของ 
35 1 1 2
แล้ว sin2 55 + cos2 35 = 2 + 2 = 2
1 a +1 a +1 a +1

4.2 กาหนดให้ cot 25 = a จงหาค่าของ sec2 65 + cosec2 25


2 2 2 1 2 a2 + 1
1. 2 ( a + 1 ) 2. 2 a +1 3. a + 2 + 2 4. a + 1 +
a a
เฉลย 1
 เขียนรู ป  มุมฉาก พร้อมมุม 25 มุมที่เหลือ = 90  25 = 65
a 2 +1 65
1 จาก cot 25 = a และทฤษฎีบทพีทาโกรัส ได้ความยาวทุกด้านของ 

25 a2 + 1 a2 + 1
a 2  2 
แล้ว sec 65 + cosec 25 = + = 2 ( a2 + 1 )
1 1

4.3 กาหนดให้ cosec 20 = a จงหาค่าของ tan2 70 + cos2 20


1 1 1
1. a 2  2 2. a 2 + 2 3. a 2  2 + 2 4. 2 ( a2  1 )
a a a
เฉลย 1

เขียนรู ป  มุมฉากพร้อมมุม 20 มุมที่เหลือ = 90  20 = 70


a 70
1 จาก cosec 20 = a และทฤษฎีบทพีทาโกรัส ได้ความยาวทุกด้านของ 
20 2  2  a2 1 1
a2 1 แล้ว tan 70 + cos 20 = a  1 + 2 = a 2  2
2

a a
41
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 5 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 5 คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยใช้อตั ราส่วน
ตรี โกณมิติ

5.1 จงหาค่าของ a และ b จากรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ ต่ อไปนี้


C 3
1. a = 3 , b = 3 3 2. a = 3 , b =
b 2
a
 3 3
A 60 B 3. a = 3 3 , b = 4. a = 3 3 , b = 6
3 2
เฉลย 4
3
a = 3 tan 60 = 3 3 และ b = = 3 2 = 6
cos 60

5.2 จงหาค่าของ b และ c จากรู ปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้


A 10
c 1. b = 5 3 , c = 10 2. b = 5 3 , c =
b 3
B 30
C 5 10 5
5 3. b = ,c= 4. b = , c = 10
3 3 3
เฉลย 3
5 5 2 10
b = 5 tan 30 = และ c = = 5  =
3 cos 30 3 3

5.3 จงหาค่าของ a และ c จากรู ปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้


A
1. a = 2 3 , c = 2 3 2. a = 2 3 , c = 2 2
c 45

4

B C 3. a = 2 2 , c = 2 3 4. a = 2 2 , c = 2 2
a
เฉลย 4
2 2
a = 4 sin 45 = 4  =2 2 และ c = 4 cos 45 = 4  =2 2
2 2

42
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 6 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 6 คือ หาความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมโดยใช้อตั ราส่วนตรี โกณมิติ

6.1 จากรู ปสามเหลี่ยม ABC ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ าด้ าน BC ยาวกี่หน่ วย


C 4 3
1. 2. 4 2
3 1 2 1

A 45 120
4
B 3. 4 3 4. 4 2
D 3 +1 2 +1

เฉลย 1
 BC 4 3
3 = tan 60 = ได้สมการ ( 3 1) BC = 4 3 ดังนั้น BC =
BC  4 3 1

6.2 จากรู ปสามเหลี่ยม ABC ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ าด้ าน AD ยาวกี่หน่ วย


A
1. 8 2. 16
3 3
3. 6 4. 4
D
30
B 30 C
เฉลย 2
8 8 8 1 8 8 16
BC = = และ BD = BC tan 30 =  = แล้ว AD = 8  =
tan 60 3 3 3 3 3 3

6.3 จากรู ปสามเหลี่ยม ABC ที่กาหนดให้ ต่อไปนี้ จงหาว่ าเส้ นรอบรู ปสามเหลี่ยม ABC ยาวกี่หน่ วย
A 20 10
AB = BC 1. 10 + 2. 20 +
3 3
5
120
3. 30 4. 10 3
C
D B
เฉลย 1
5 2 10  1 5
AB = =5  = และ B C A = (180  120 ) = 30 และ AC = = 10
sin 60 3 3 2 sin 30
20
AB + BC + AC = 2AB + AC = + 10
3 43
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 7 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรีโกณมิติ


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 7 คือ ใช้เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรี โกณมิติช่วยในการหาค่าต่างๆ
2
7.1 กาหนดให้ tan A  sec A =  จงหาค่าของ sec A + tan A
3
1. 2 2. 3 3. 1 4. 3
3 2 3

เฉลย 2
2 2
จาก tan A  sec A =  แล้ว tan 2 A  sec2 A =  ( tan A + sec A )
3 3
2 3
แต่ sec2 A  tan2 A = 1 ดังนั้น 1 =  ( tan A + sec A ) นั้นคือ sec A + tan A =
3 2
5
7.2 กาหนดให้ cosec A + cot A = จงหาค่า cosec A  cot A
4
4 5 1
1. 2. 3. 4. 4
5 4 4
เฉลย 1
5 5
จาก cosec A + cot A = แล้ว cosec 2 A  cot2 A = ( cosec A  cot A )
4 4
5 4
แต่ cosec A  cot A = 1 ดังนั้น 1 = ( cosec A  cot A ) นั้นคือ cosec A  cot A =
2 2

4 5

7.3 กาหนดให้ sin A + cos A = 2 จงหาค่าของ sin A cos A

1. 1 2. 3 3. 1 4. 1
2 4 2 4

เฉลย 3

จาก sin A + cos A = 2 แล้ว sin2 A + 2 sin A cos A + cos2 A = 2

แต่ sin2 A + cos2 A = 1 ดังนั้น 1 + 2 sin A cos A = 2


1
ฉะนั้น sin A cos A =
2
44
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 8 เนื้อหาหลัก : เอกลักษณ์ของอัตราส่ วนตรีโกณมิติ และอัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 ,


45 , 60
จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 8 คือ ใช้เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรี โกณมิติ และอัตราส่วนตรี โกณมิติ
ของมุม 30 , 45 , 60 เพือ่ หาค่าของมุมที่ตอ้ งการ
3 5
8.1 จงหาขนาดของมุมแหลม A ที่ทาให้ sin 2 A + cos A =
4 8
1. 30 2. 45 3. 60 4. ไม่มีคาตอบใดถูก

เฉลย 1
3 5 3 5
จาก sin 2 A + cos A = และ sin2 A = 1  cos2 A ดังนั้น 1  cos2 A + cos A =
4 8 4 8
3 3 3 3
ได้ cos2 A  cos A  = 0 ซึ่งได้วา่ cos A = หรื อ 
4 8 2 4
 3 
เนื่องจาก cos 30 = และ A เป็ นมุมแหลม ดังนั้น A = 30
2

8.2 จงหาขนาดของมุมแหลม A ที่ทาให้ 2 tan2 A  sec A = 4


1. 30 2. 45 3. 60 4. ไม่มีคาตอบใดถูก
เฉลย 3

จาก 2 tan2 A  sec A = 4 และ tan2 A = sec2 A  1 ดังนั้น 2 ( sec2 A  1 )  sec A = 4


3
ได้ 2 sec2 A  sec A  6 = 0 ซึ่งได้วา่ sec A = 2 หรื อ 
2
เนื่องจาก sec 60 = 2 และ A เป็ นมุมแหลม ดังนั้น A = 60

8.3 จงหาขนาดของมุมแหลม A ที่ทาให้ sec2 A + tan A = 3


1. 30 2. 45 3. 60 4. ไม่มีคาตอบใดถูก
เฉลย 2
จาก sec2 A + tan A = 3 และ sec2 A = 1 + tan2 A ดังนั้น 1 + tan2 A + tan A = 3
ได้ tan2 A + tan A  2 = 0 ซึ่งได้ tan A = 1 หรื อ 2
เนื่องจาก tan 45 = 1 และ A เป็ นมุมแหลม ดังนั้น A = 45
45
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 9 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 9 คือ ใช้อตั ราส่วนตรี โกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60 ในการแก้สมการ

9.1 จงหาผลเฉลยของสมการ ( sin 90 ) x2 + ( tan 60 ) x  cot 45 = 0

1. 3+ 7 และ 3 7 2. 3  1 และ 3+1


2 2 2 2

3.  3+ 7 และ  3  7 4.  3  1 และ  3+ 1
2 2 2 2
เฉลย 3
จาก sin 90 = 1 , tan 60 = 3 และ cot 45 = 1 ได้สมการ x2 + 3 x  1 = 0

 3  3+4  3+ 7  3 7
ผลเฉลยคือ x = นัน่ คือ และ
2 2 2

9.2 จงหาผลเฉลยของสมการ ( tan 45 ) x2 + ( sin 60 ) x  sin 30 = 0

 3+ 11  3  11 3 + 11 3  11
1. และ 2. และ
4 4 4 4

 3+ 7  3 7 3+ 7 3 7
3. และ 4. และ
4 4 4 4
เฉลย 1
3 1 3 1
จาก tan 45 = 1 , sin 60 = และ sin 30 = ได้สมการ x2 + x = 0
2 2 2 2

 3 3+8  3 + 11  3  11
ผลเฉลย คือ x = นั้นคือ และ
4 4 4

46
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9.3 จงหาผลเฉลยของสมการ ( cot 60 ) x2 + ( cos 30 ) x  tan 60 = 0

3  57 3 + 57 3 + 57
1. 3 + 57 และ 2. และ
4 4 4 4

3  21
3. 3 + 21 และ 4. 3 + 21 และ 3  21
4 4 4 4

เฉลย 2
1
จาก cot 60 = , cos 30 = 3 และ tan 60 = 3 ได้สมการ 1 x 2 + 3 x  3 = 0
3 2 3 2
3  9 + 48
หรื อสมการ 2x2 + 3x  6 = 0 ผลเฉลยคือ x =
4
3 + 57 3  57
นั้นคือ และ
4 4

47
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ขอ้ 10 เนื้อหาหลัก : อัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม 30 , 45 และ 60 และการประยุกต์


จุดประสงค์ของโจทย์ขอ้ 10 คือ นาความรู ้เรื่ องอัตราส่วนตรี โกณมิติมาประยุกต์กบั ปั ญหาใน
โลกจริ ง

10.1 เด็กหญิงดาวยืนมองยอดเสาอากาศสถานีโทรทัศน์ แห่ งหนึ่งเป็ นมุมเงย 30 เมื่อเธอเดินเข้ าใกล้ เสา

อากาศไปอี ก 100 เมตร เธอจะมองยอดเสาอากาศเป็ นมุ ม เงย 60 จงหาว่ า เสาอากาศสู ง เท่ า ไหร่

ถ้ าเด็กหญิงดาวสู ง 160 เซนติเมตร

1. 25 3 + 1.6 เมตร 2. 50 3 + 1.6 เมตร

100
3. 100 3 + 1.6 เมตร 4. + 1.6 เมตร
3
เฉลย 2

 ABD , AB = BD tan 60 = 3 BD


A
1
 ABC , AB = ( BD + 100 ) tan 30 = ( BD + 100 )
? 3
1
60 
30  จะได้สมการ 3 BD = ( BD + 100 )
B D C 3
100
แล้ว BD = 50 จะได้ AB = 50 3

ดังนั้น เสาอากาศสูง = 50 3 + 1.6 เมตร

48
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.2 เรือสองลาทอดสมออยู่ห่างกัน 50 เมตร และอยู่ในแนวเส้ นตรงเดียวกับประภาคาร ถ้ าผู้โดยสารใน

เรือแต่ ละลาเห็นยอดประภาคารเป็ นมุมเงย 45 กับ 30 จงหาว่ าเรือลาที่อยู่ห่างจากประภาคารที่สุดนั้นอยู่

ห่ างจากประภาคารเท่ าไร

1. 25 ( 3 + 3 ) เมตร 2. 50 ( 3 + 3 ) เมตร

3. 100 ( 3 + 3 ) เมตร 4. 100 ( 3  3 ) เมตร

เฉลย 1
AB
 ABD , 1 = tan 45 = ดังนั้น AB = BD
BD
A 1 AB 1
 ABC , = tan 30 = ดังนั้น AB = ( BD + 50 )
3 BD + 50 3

B 45 30 1
ได้สมการ BD = ( BD + 50 )
D 50 C 3
50 50
แล้ว BD = คาตอบคือ + 50 เมตร
3 1 3 1

49
คู่มือสื่ อการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.3 เด็กชายพจน์ ยืนอยู่ห่างจากตึกหลังหนึ่ง 16 เมตร เขามองเห็นยอดตึก และยอดเสาอากาศ ซึ่ งอยู่บน

ยอดตึกเป็ นมุมเงย 45 และ 60 ตามลาดับ อยากทราบว่ าเสาอากาศสู งเท่ าไร
3
1. 8 ( 3  1 ) เมตร 2. 8 ( 1  ) เมตร
2
3. 16 ( 3 1 ) เมตร 4. 32 ( 3  2 ) เมตร

เฉลย 3
DC
A  DBC , 1 = tan 45 = ดังนั้น DC = BC = 16
BC
?
D  ABC , 3 = tan 60 = AC ดังนั้น AC = 16 3
BC

60 ดังนั้น AD = 16 3  16 = 16 ( 3 1 ) เมตร


B 45 C
16

50
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
ประจําปงบประมาณ 2555

ผ-1
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
(ประจําปงบประมาณ 2555)

เรื่อง ตอน
คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ บทนําเรื่องคณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
ทฤษฎีจํานวน แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
จํานวนจริง แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 6)
เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย บทนําเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จุดและสวนของเสนตรง
ความชันและเสนตรง
ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
วงกลม
พาราโบลา
วงรี
ไฮเพอรโบลา
การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย
ความสัมพันธและฟงกชัน แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5)
เมทริกซ บทนําเรื่องเมทริกซ
ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซขนาด 2x2
ดีเทอรมิแนนต
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน

ผ-2
เรื่อง ตอน
เวกเตอร บทนําเรื่องเวกเตอร
เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร
จํานวนเชิงซอน บทนําเรื่องจํานวนเชิงซอน
จํานวนเชิงซอน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน
พิกัดเชิงขั้ว
รากของจํานวนเชิงซอน
ตรีโกณมิติ แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน ภาษีและเครดิต
ดอกเบี้ยและคางวด
ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน
ลําดับและอนุกรม แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5)
แคลคูลสั บทนําเรื่องแคลคูลัส
ลิมิต
ความตอเนื่อง
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ
อนุพันธ
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด
ปริพันธ 1
ปริพันธ 2
หลักคณิตศาสตร หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

ผ-3
เรื่อง ตอน
สถิติ แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 4)

ผ-4
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน
ปงบประมาณ 2554-2555

ผ-5
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน

คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง
บทนํา คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ แบบฝกหัด ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต
บทนํา เซต การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เนื้อหา ความหมายของเซต บทนํา การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เนื้อหา การใหเหตุผล
เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและ ประพจนและการสมมูล
แผนภาพเวนน-ออยเลอร สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
แบบฝกหัด เซต (ตอนที่ 1) ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
เซต (ตอนที่ 2) แบบฝกหัด การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
สื่อปฏิสัมพันธ แผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
จํานวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ หอคอยฮานอย
บทนํา จํานวนจริง ตารางคาความจริง
เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง
การแยกตัวประกอบ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
ทฤษฎีบทตัวประกอบ บทนํา ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
สมการพหุนาม เนื้อหา การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
อสมการ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
เทคนิคการแกอสมการ แบบฝกหัด ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
คาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
การแกอสมการคาสัมบูรณ
กราฟคาสัมบูรณ เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
แบบฝกหัด จํานวนจริง (ตอนที่ 1) บทนํา เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จํานวนจริง (ตอนที่ 2) เนื้อห จุดและสวนของเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 3) ความขันและเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 4) ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 5) วงกลม
จํานวนจริง (ตอนที่ 6) พาราโบลา
สื่อปฏิสัมพันธ ชวงบนเสนจํานวน วงรี
สมการและอสมการพหุนาม ไฮเพอรโบลา
กราฟคาสัมบูรณ การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย

ผ-6
ความสัมพันธและฟงกชัน ฟงกชันเลขชี้กาํ ลังและฟงกชันลอการิทึม
บทนํา ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา ฟงกชันเลขชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
เนื้อหา ความสัมพันธ เนื้อหา เลขยกกําลัง
โดเมนและเรนจ ฟงกชันเลขชี้กําลัง
อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของ ฟงกชันลอการิทึม
ฟงกชัน อสมการเลขชี้กาํ ลัง
ฟงกชันเบื้องตน อสมการลอการิทึม
พีชคณิตของฟงกชัน
อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ตรีโกณมิติ
ฟงกชันประกอบ บทนํา ตรีโกณมิติ
แบบฝกหัด ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1) เนื้อหา อัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2) เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3) และวงกลมหนึ่งหนวย
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4) ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5) ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
เมทริกซ กฎของไซนและโคไซน
บทนํา เมทริกซ กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซ แบบฝกหัด ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
ขนาด 2×2 ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
ดีเทอรมิแนนต ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
เวกเตอร สื่อปฏิสัมพันธ มุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
บทนํา เวกเตอร กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต กฎของไซนและกฎของโคไซน
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร กําหนดการเชิงเสน
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร บทนํา กําหนดการเชิงเสน
เนื้อหา การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
จํานวนเชิงซอน การหาคาสุดขีด
บทนํา จํานวนเชิงซอน
เนื้อหา จํานวนเชิงซอน คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน สารคดี ภาษีและเครดิต
พิกัดเชิงขั้ว ดอกเบี้ยและคางวด
รากของจํานวนเชิงซอน ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน

ผ-7
ลําดับและอนุกรม สถิติและการวิเคราะหขอมูล
บทนํา ลําดับและอนุกรม บทนํา สถิติและการวิเคราะหขอมูล
เนื้อหา ลําดับ เนื้อหา บทนํา เนื้อหา
การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
ลิมิตของลําดับ แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
ผลบวกยอย แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
อนุกรม การกระจายของขอมูล
ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม การกระจายสัมบูรณ 1
แบบฝกหัด ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1) การกระจายสัมบูรณ 2
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2) การกระจายสัมบูรณ 3
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3) การกระจายสัมพัทธ
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4) คะแนนมาตรฐาน
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5) ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
บทนํา แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
เนื้อหา ลิมิต แบบฝกหัด สถิติ (ตอนที่ 1)
ความตอเนื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 3)
อนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 4)
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด แบบจําลองทางคณิตศาสตร
ปริพันธ 1 สารคดี แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ปริพันธ 2 ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

การนับและความนาจะเปน โครงงานทางคณิตศาสตร
บทนํา การนับและความนาจะเปน วิจัย การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
เนื้อหา การนับเบื้องตน ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
การเรียงสับเปลี่ยน การถอดรากที่สาม
การจัดหมู เสนตรงลอมเสนโคง
ทฤษฎีบททวีนาม กระเบื้องที่ยืดหดได
การทดลองสุม
ความนาจะเปน 1
ความนาจะเปน 2

หลักคณิตศาสตร
เนื้อหา หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร

ผ-8

You might also like