You are on page 1of 23

Findme7@hotmail.

com

หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม

สังคมวิทยา
สังคม หมายถึง กลุ่มคนจานวนหนึ่งที่อยู่ร่วมกัน มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ตามระเบียบ กฎเกณฑ์
โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีภูมิลาเนาเป็นหลักแหล่ง มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง มีการสืบทอดวัฒนธรรมอย่าง
ต่อเนื่อง

ลักษณะของสังคม
• มีดินแดนหรืออาณาเขตแน่นอน
• อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มถาวร
• มีวัฒนธรรม วิถีชีวิตของตนเอง
• มีความสัมพันธ์และการกระทาต่อกันทางสังคม
หน้าที่ของสังคม
• ผลิตสมาชิกใหม่
• สมาชิกของสังคมได้พึ่งพาอาศัยกัน
• อบรมสั่งสอนสมาชิกผ่านกระบวนการขัดเกลา

องค์ประกอบของสังคม
1) กลุ่มคน คือคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป รวมกันฐาวร มีอาณาเขต มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เกิดความสัมพันธ์
ที่มีแบบแผน
- ความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ มีความใกล้ชิด เป็นส่วนตัว สมาชิกน้อย เช่น ครอบครัว กลุ่ม
เพื่อน เพื่อนบ้าน
- ความสัมพันธ์แบบทุติยภูมิ มีความเป็นทางการ สัมพันธ์ตามสถานภาพ
2) สถานภาพ คือ ตาแหน่งฐานะของบุคคล
- สถานภาพโดยกาเนิด เช่น เพศ เชื้อชาติ ลาดับญาติ สูง ต่า ดา ขาว ชาย หญิง
- สถานภาพที่เกิดจากความสามารถ เช่น การศึกษา อาชีพ สถานภาพทางการเมือง
3) บทบาท คือพฤติกรรมของบุคคลในสังคมที่เป็นไปตามข้อตกลง หรือความคาดหวังของกลุ่มคนที่
กาหนดให้บุคคลต้องมีพฤติกรรมตามหน้าที่รับผิดชอบ ตามสภาวะที่ตนมีสถานภาพในแต่ละกลุ่มสังคม เช่น
สถานภาพครู บทบาทคืออบรมสั่งสอนศิษย์
4) สถาบันทางสังคม เกิดจากการรวมกลุ่มของบุคคลที่มีแนวคิดแนวปฏิบัติและความต้องการที่
คล้ายกัน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา สถาบันเศรษฐกิจ
ข้อใดกล่าวถึงประเภทของสถานภาพที่แตกต่างจากข้ออื่น
1. นายสมศักดิ์เป็นผู้ใหญ่ใจดี
2. นายทองพันชั่งเป็นลูกเศรษฐี
3. นางสวยสดเป็นภรรยาดาราภาพยนตร์
4. นางสาวสร้อยเพชรเป็นคนไทยเชื้อสายญี่ปุ่น

โครงสร้างทางสังคม
หมายถึง ส่วนประกอบของสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผนความสัมพันธ์ของบุคคลและกลุ่มสังคม มี
ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมทางความคิด มีองค์ประกอบ 2 อย่าง คือ
• การจัดระเบียบทางสังคม
• สถาบันทางสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม
คือ กระบวนการจัดความสัมพันธ์ของสมาชิกสังคม กระบวนการจัดระเบียบต้องอาศัยเครื่องมือสาคัญ
คือ ค่านิยม, บรรทัดฐาน (วิถีชาวบ้าน จารีต กฎหมาย)
ค่านิยมทางสังคม
หมายถึง สังคมหนึ่งเห็นแบบพฤติกรรมบางอย่างว่าควรกระทา สมควรยกย่อง ค่านิยมเป็นแบบแผน
ในการประเมินคุณค่าว่าพฤติกรรมใดควรกระทา ค่านิยมมีทั้งที่ควรปลูกฝัง และควรแก้ไข แบ่งเป็น
1) ค่านิยมทางจิตใจ เช่น ความสามัคคี รับผิดชอบ เอื้อเฟื้อ
2) ค่านิยมทางวัตถุ ประเมินความสาเร็จของบุคคลด้วยฐานะ ตาแหน่ง ความมั่งคั่ง
บรรทัดฐาน
1) วิถีประชา หรือ วิถีชาวบ้าน เป็นแนวปฏิบัติที่ชาวบ้านทั่วไปทาตามกันด้วยความเคยชิน
2) จารีต คือ แนวปฏิบัติที่มีการบังคับให้สมาชิกปฏิบัติ มีเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง
3) กฎหมาย คือข้อบังคับที่รัฐมีขึ้นเพื่อควบคุมการกระทาของคนในสังคม หากมีการฝ่าฝืนจะมี
มาตรการลงโทษ

ข้อใดมีความถูกต้องน้อยที่สุดเมื่อกล่าวถึงค่านิยม
1. สิ่งที่มีค่าและถูกต้องเสมอมา
2. กาหนดทัศนคติและแนวทางปฏิบัติของบุคคล
3. เป็นที่มาที่สาคัญของบรรทัดฐานทางสังคม
4. กาหนดสิ่งที่พึงปรารถนาสาหรับทุกคน
การกาหนดให้หญิงชายเมื่อแต่งงานกันต้องจดทะเบียนสมรส เป็นการจัดระเบียบทางสังคมในข้อใด
1. บรรทัดฐานทางสังคม 2. สถานภาพทางสังคม
3. บทบาททางสังคม 4. หน้าที่ทางสังคม

สถาบันทางสังคม
คือ แบบอย่างพฤติกรรมที่ตั้งขึ้น ปฏิบัติต่อกันมา และเป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น ประเพณีต่างๆ
ถือว่ามีลักษณะเป็นสถาบัน องค์ประกอบที่สาคัญของสถาบันทางสังคมได้แก่
- กลุ่มบุคคลที่เป็นตัวแทนทาหน้าที่ตามสถานภาพ
- สถานที่ อุปกรณ์ สัญลักษณ์
- แบบแผนการปฏิบัติ
- หน้าที่ ภาระผูกพันที่ต้องทาเพื่อสนองความต้องการและเป้าหมายของสถาบัน
ประเภทของสถาบันทางสังคม
1) สถาบันครอบครัว หน้าที่ผลิตสมาชิกใหม่ ขัดเกลาทางสังคมให้สมาชิก ให้ความรักความอบอุ่น
2) สถาบันการศึกษา ทาหน้าที่ถ่ายทอดความรู้แก่สมาชิก
3) สถาบันเศรษฐกิจ หน้าที่ผลิตและกระจายสินค้าที่จาเป็นต่อการดารงชีพแก่สมาชิก
4) สถาบันการเมืองการปกครอง หน้าที่รักษาความสงบ บังคับใช้กฎหมาย กาหนดนโยบายการ
ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม
5) สถาบันศาสนา เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในสังคม ควบคุมความประพฤติ กาหนดแนวปฏิบัติตาม
พิธีกรรม เป็นที่พึ่งในยามทุกข์ใจ
6) สถาบันนันทนาการ (การพักผ่อน กีฬา การละเล่น) หน้าที่สร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต
แก่บุคคล
7) สถาบันสื่อสารมวลชน ให้ข้อมูลข่าวสาร ความบันเทิงแก่สมาชิก เป็นสื่อกลางในการ
ประชาสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานและกลุ่มคนในสังคม

ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สถาบันทางสังคม
1. นายกรัฐมนตรี 2. พรรคการเมือง
3. สภากาชาดไทย 4. ธนาคารแห่งประเทศไทย
การขัดเกลาทางสังคม
คือ กระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับสถานภาพ และบทบาท มี 2 วิธี คือ
1) การขัดเกลาทางตรง อบรมสั่งสอนโดยตรงจากครอบครัวและสถาบันการศึกษา
2) การขัดเกลาทางอ้อม เรียนรู้โดยการสังเกต เลียนแบบ เช่น พ่อแม่พูดคาหยาบ ลูกก็พูดตาม

สถานการณ์ใดที่เป็นกระบวนการขัดเกลาทางสังคมทางอ้อม
1. ด.ช.ดาเล่นซ่อนหากับเพื่อนอนุบาล 3
2. น.ส.วารี ถูกลงโทษเนื่องจากทุจริตในการสอบ
3. ปู่ย่าสอนให้ ด.ช.แดง เป็นผู้มีสัมมาคารวะ
4. ตารวจราจรออกใบสั่งแก่นายธาราข้อหาฝ่าฝืนกฎจราจร

วัฒนธรรม
หมายถึง แบบแผนทางความคิด ความเชื่อ อุดมคติ ค่านิยมของคนในสังคมที่กาหนดรูปแบบการ
ดาเนินชีวิต สร้างสม เปลี่ยนแปลง แก้ไข และพัฒนา เพื่อให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีการสืบทอด
จนถึงปัจจุบัน

ลักษณะของวัฒนธรรม
• เกิดจากการคิดค้นของมนุษย์
• มีการเปลี่ยนแปลงไม่คงที่
• มีความแตกต่างหลากหลายในแต่ละสังคม เพราะสภาพแวดล้อมต่างกัน
• วัฒนธรรมมีทงั้ วัฒนธรรมหลัก และวัฒนธรรมย่อย

ประเภทของวัฒนธรรม
• วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ ประดิษฐกรรมที่เป็นวัตถุ เช่น ที่อยู่อาศัย เครื่องใช้
• วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (นามธรรม) เช่น ความเชื่อ ความรู้ อุดมคติ บรรทัดฐาน ประเพณี จารีต
คุณธรรม คาสอนของศาสนา

เนื้อหาสาระของวัฒนธรรม
• คติธรรม คือ สาระทางความคิด ความเชื่อค่านิยม อุดมคติ
• เนติธรรม คือ สาระทางกฎระเบียบของสังคม เช่น กฎหมาย
• สหธรรม คือ สาระทางการอยู่ร่วมกันในสังคม เช่น มารยาทการปฏิบัติตน
• วัตถุธรรม คือ สาระทางประดิษฐกรรม เครื่องใช้ บ้านเรือน อาหาร ยารักษาโรค
ข้อใดเป็นคาอธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมได้ถูกต้องทีส่ ุด
1. วัฒนธรรมไทยมีวิวัฒนาการแบบสายเดี่ยว
2. วัฒนธรรมที่ดีต้องมีความคงที่ตลอดเวลา
3. วัฒนธรรมสามารถหยิบยืมและเปลี่ยนแปลงได้
4. วัฒนธรรมมีความหมายเฉพาะในทางวัตถุเท่านั้น

ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
1. ระบบเครือญาติมีความสาคัญน้อยลง
2. การนาระบบเงินตรามาใช้ในการแลกเปลี่ยน
3. ความผูกพันของสมาชิกในครอบครัวมีน้อยลง
4. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของสตรีภายหลังจากการเข้าสู่ตลาดแรงงาน

การเมืองการปกครอง
รัฐ หมายถึง กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ร่วมกันในชุมชนทางการเมืองเดียวกัน ประกอบด้วยดินแดนที่มี
อาณาเขตแน่นอน มีรัฐบาลปกครอง มีอานาจอธิปไตยซึ่งเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ดาเนิน
กิจการของรัฐทั้งภายในและภายนอกประเทศ
องค์ประกอบของรัฐ
1) ประชากร
2) อาณาเขต (ดินแดน)
3) รัฐบาล
4) อานาจอธิปไตย (เอกราช)

ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของรัฐ
1. อานาจอธิปไตยในการปกครองตนเอง
2. ดินแดนที่มีอาณาเขตแน่นอน
3. รัฐสภาที่ทรงอานาจ
4. ประชากรที่มีคุณภาพ
ประเภทของรัฐ
1) รัฐเดี่ยว มีรัฐบาลชุดเดียวบริหารประเทศ
2) รัฐรวม มีรัฐบาล 2 ระดับ เกิดจากการที่รัฐอย่างน้อย 2 รัฐมารวมกัน แบ่งอานาจหน้าที่กันโดย
กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
- รัฐบาลกลาง ดาเนินกิจการที่สาคัญต่อความมั่นคงของรัฐ เช่น การป้องกันประเทศ
การต่างประเทศ การเงินการคลัง
- รัฐบาลท้องถิ่น จัดการสาธารณูปโภค การศึกษา จราจร สวนสาะารณะ ดูแลความสะอาด
รัฐรวม

รัฐใดมีลักษณะเป็นรัฐเดี่ยว
1. สหรัญอเมริกา 2. มาเลเซีย
3. อังกฤษ 4. รัสเซีย

ระบอบการปกครอง
1. ประชาธิปไตย
2.เผด็จการ

ข้อใดเป็นการแบ่งระบอบการเมืองการปกครอง
1. ประชาธิปไตย – เผด็จการ 2. ประชาธิปไตย – คอมมิวนิสต์
3. สังคมนิยม – ประชาธิปไตย 4. สังคมนิยม – เสรีนิยม

1. ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย คือระบอบการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการใช้อานาจปกครองประเทศ เป็น
การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน
หลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย
1) หลักอานาจอธิปไตย คืออานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แยกการใช้อานาจออกเป็น 3 ฝ่าย
คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
2) หลักสิทธิ เสรีภาพ
3) หลักความเสมอภาค
4) หลักเสียงข้างมาก ใช้เพื่อแก้ปัญหา หาข้อยุติ ตลอดจนการตัดสินใจในกิจการสาธารณะ
5) หลักนิติธรรม คือ ทุกคนยึดกฎหมายเป็นหลัก เพื่อให้เกิดการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ รักษา
ผลประโยชน์ร่วมกัน ป้องกันการละเมิดสิทธิเสรีภาพคนอื่น ทาให้ประเทศสงบสุข
6) หลักการใช้เหตุผล ประชาธิปไตยเน้นการประนีประนอม ไม่ใช้ความรุนแรง

สิทธิในการเลือกตั้งถือว่าเป็นหัวใจหลักของสิทธิทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแบบใด
1. ประชาธิปไตยทางตรง 2. ประชาธิปไตยแบบผู้แทน
3. ประชาธิปไตยตามแนวดิ่ง 4. ประชาธิปไตยแนวราบ

รูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
• ประชาธิปไตยทางตรง (ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม)
จะให้ประชาชนมีบทบาทสาคัญในการตัดสินใจกิจการต่างๆของส่วนรวมโดยไม่ผ่านผู้แทน
เช่น การลงประชามติ
• ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน
1) ระบบรัฐสภา
2) ระบบประธานาธิบดี
3) ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา

ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของอังกฤษมีลักษณะเด่นตามข้อใด
1. ให้อานาจสูงสุดแก่รัฐสภา
2. มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
3. พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
4. ใช้ระบบสองสภาและมีพรรคการเมืองสองพรรค

ระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีมีความแตกต่างกันในเรื่องใด
1. ที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
2. ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา
3. ที่มาของฝ่ายบริหาร
4. ที่มาของฝ่ายตุลาการ
ระบอบประชาธิปไตยแบบใดที่ผู้นาฝ่ายบริหารไม่มีอานาจในการยุบสภา
1. รัฐสภา
2. ประธานาธิบดี
3. กึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี
4. ประชาธิปไตยแบบเบ็ดเสร็จ

ข้อดีของประชาธิปไตย
• ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ
• ประชาชนปกครองตนเอง คนดีคนเก่งมีโอกาสบริหารประเทศ
• ประเทศมีความเจริญมั่นคง
ข้อเสียของประชาธิปไตย
• ดาเนินการยาก เพราะการดาเนินการตามความต้องการของประชาชนทุกคนเป็นไปไม่ได้
• เสียค่าใช้จ่ายสูงในการเลือกตั้ง
• มีความล่าช้าในการตัดสินใจ เพราะต้องให้เสียงส่วนใหญ่ยอมรับ

2.เผด็จการ
การปกครองระบอบเผด็จการ
• อานาจนิยม
• เบ็ดเสร็จนิยม
ข้อดีของเผด็จการ
• ทางานได้รวดเร็ว
• แก้ไขปัญหาบางอย่างได้ เพราะมีอานาจเด็ดขาด เช่น ปัญหาอาชญากรรม การก่อการร้าย
• รัฐบาลมีเสถียรภาพ มีความเป็นเอกภาพ ทางานได้ต่อเนื่อง
ข้อเสียของเผด็จการ
• มีข้อผิดพลาดได้ง่าย เพราะตัดสินใจคนเดียวหรือกลุ่มเดียว
• ไม่ให้โอกาสคนดีคนเก่งเข้ามามีส่วนร่วม
• ทาให้ประเทศชาติพัฒนาล่าช้า
จุดอ่อนในการบริหารประเทศตามระบอบเผด็จการตรงกับข้อใด
1. มีค่าใช้จ่ายสูง
2. ดาเนินการยาก
3. ขาดความเป็นเอกภาพ
4. เกิดความผิดพลาดได้ง่าย

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินไทย
• ส่วนกลาง
• ส่วนภูมิภาค
• ส่วนท้องถิ่น

ข้อใดแตกต่างจากกลุ่ม
1. กรุงเทพมหานคร
2. จังหวัดพิจิตร
3. เทศบาลนครขอนแก่น
4. เมืองพัทยา

กฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎหรือข้อบังคับของรัฐซึ่งกาหนดความประพฤติของมนุษย์ ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับผลร้าย
หรือถูกลงโทษ
ลักษณะสาคัญของกฎหมาย
1) ใช้ได้ทั่วไป กับทุกคนภายในประเทศ รวมถึงชาวต่างชาติ
2) ใช้ได้ตลอดไป ตลอดเวลาจนกว่าจะยกเลิก
3) ตราโดยผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์)
4) ควบคุมการกระทาของมนุษย์
5) มีสภาพบังคับทางกฎหมาย
ระบบกฎหมาย
1) กฎหมายจารีตประเพณี (Common Laws)
- ใช้ในประเทศ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
2) ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Laws) หรือระบบประมวลกฎหมาย
- บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และมักมีการจัดทา “ประมวลกฎหมาย”
- ใช้ในประเทศ ฝรั่งเศส เยอรมนี ไทย
ประเภทของกฎหมายไทยแบ่งตามที่มาของกฎหมาย
1) กฎหมายที่ผ่านความเห็นชอบด้วยการลงประชามติ คือ รัฐธรรมนูญ
2) กฎหมายที่ตราโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย กฎมณเฑียรบาล
3) กฎหมายที่ตราโดยฝ่ายบริหาร ได้แก่ พระราชกาหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
4) กฎหมายที่ตราโดยสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ข้อบัญญัติ กทม. ข้อบัญญัติ อบจ.
ข้อบัญญัติ อบต. ข้อบัญญัติเมืองพัทยา เทศบัญญัติ

กฎหมายใดมีที่มาแตกต่างจากกฎหมายอื่น
1. พระราชบัญญัติ
2. พระราชกาหนด
3. พระราชกฤษฎีกา
4. กฎกระทรวง

คณะรัฐบาลมีอานาจถวายคาแนะนาการบัญญัติกฎหมายใด
1. รัฐธรรมนูญ
2. กฎกระทรวง
3. พระราชบัญญัติ
4. พระราชกฤษฎีกา

ประเภทของกฎหมายแบ่งตามความสัมพันธ์ของคู่กรณี
1) กฎหมายมหาชน : ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและพาณิชย์
2) กฎหมายเอกชน : ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน เช่น กฎหมายครอบครัว กฎหมายมรดก
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3) กฎหมายระหว่างประเทศ : รัฐต่อรัฐ เช่น สนธิสัญญาทางการฑูต สนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน
ประเภทของกฎหมายแบ่งตามหน้าที่ (วิธีการใช้)
1) กฎหมายสารบัญญัติ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงเนื้อหาของสิทธิ หน้าที่ ข้อห้าม ควบคุมความ
ประพฤติของคนในสังคมโดยตรง เช่น กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2) กฎหมายวิธีสบัญญัติ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงกระบวนการในการยุติข้อพิพาทที่เกิดขึ้นตาม
กฎหมายสารบัญญัติ (กระบวนการบังคับให้เป็นไปตามกฎหมายสารบัญญัติ) เช่น กฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ลาดับชั้นของกฎหมายไทย

การเรียงลาดับศักดิ์ของกฎหมายจากสูงไปต่าในข้อใดถูกต้อง
1. รัฐธรรมนูญ พระราชกฤษฎีกา พระราชกาหนด ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
2. ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ
3. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด
4. ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง ข้อบังคับตาบล

กฎหมายแพ่ง
• กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
• กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
1. การหมั้น
• ชายหญิงมีอายุ 17 ปี บริบูรณ์ ผู้ปกครองยินยอม และมีของหมั้น
• สมบูรณ์เมื่อส่งมอบของหมั้นแก่หญิง เป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้วของหมั้นตก
เป็นสิทธิของหญิง
• หากผิดสัญญาหมั้น อีกฝ่ายมีสิทธิเรียกค่าทดแทน หากหญิงผิดสัญญาต้องคืนของหมั้น
• การสมรสต้องเกิดจากความสมัครใจ ไม่สามารถร้องขอต่อศาลเพื่อบังคับให้มีการสมรสได้
• แต่งงานโดยไม่ต้องหมั้นก่อนได้ เพราะการหมัน้ ไม่ใช่เงื่อนไขของการสมรส
2. การสมรส
• ชายหญิงอายุ 17 ปีบริบูรณ์ ผู้ปกครองยินยอม ถ้าอายุต่กว่ า านี้และมีความจาเป็น เช่น หญิงตั้งครรภ์
ต้องให้ศาลสั่งให้มีการสมรส
• ต้องไม่เป็นคนวิกลจริตหรือศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
• พี่น้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมแต่บิดาหรือมารดา สมรสกันไม่ได้
• บุตรบุญธรรมห้ามสมรสกับผู้รับบุตรบุญธรรม
• หญิงหม้ายจะสมรสได้ต้องผ่านไป 310 วัน เว้นแต่คลอดบุตรแล้วระหว่างนั้น หรือแพทย์รับรองว่า
ไม่ได้ตั้งครรภ์ หรือศาลสั่งให้สมรสได้
3. การรับบุตรบุญธรรม
• ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องอายุ 25 ปีขึ้นไป และอายุห่างจากบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
• หากผู้รับบุตรบุญธรรมมีคู่สมรส ต้องได้รับการยินยอมจากคู่สมรส
• การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาของผู้เยาว์ และคณะกรรมการ
รับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม

ของหมั้นจัดเป็นทรัพย์สินประเภทใดระหว่างสามีภรรยา
1. สินส่วนตัวของหญิง
2. สินส่วนตัวของชาย
3. สินสมรส
4. ถูกทุกข้อ

ข้อใดเป็นเงื่อนไขที่เป็นข้อห้ามเรื่องการสมรส
1. ผู้รับบุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรม
2. ชายหรือหญิงป่วยเป็นโรคเอดส์
3. หญิงหม้ายสมรสใหม่เมื่อเวลาผ่านไปไม่น้อยกว่า 310 วัน
4. ชายหญิงอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์

มรดก
คือทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย รวมถึงสิทธิและหน้าที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่เจ้ามรดกมีทรัพย์สิน
น้อยกว่าหนี้สิน ทายาทไม่ต้องรับผิดในหนี้สินที่เกินมา โดยผู้มีสิทธิรับมรดกได้แก่
1) ผู้รับพินัยกรรม ที่ระบุตามพินัยกรรม
2) ทายาทโดยธรรม ในกรณีไม่ทาพินัยกรรม มรดกจะตกแก่ทายาทโดยธรรม
ทายาทโดยธรรม
- ผู้สืบสันดาน (ลูก หลาน ตามลาดับ)
- บิดามารดา
- พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
- พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
- ปู่ ย่า ตา ยาย
- ลุง ป้า น้า อา
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
นิติกรรม หมายความว่า การใดๆอันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งตรงต่อการผูกนิติ
สัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
- นิติกรรมฝ่ายเดียว เช่น พินัยกรรม
- นิติกรรมหลายฝ่าย (ตั้งแต่สองขึ้นไป) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัญญา

ผู้เยาว์
• คือบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ การทานิติกรรมสัญญาต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบะรรม
• ผู้เยาว์จะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ หรือสมรสตามกฎหมายก่อนอายุ 20 ปี

บุคคลมีความสามารถในการทาพินัยกรรมได้ด้วยตนเองเมื่อมีอายุเท่าไร
1. อายุครบ 15 ปีบริบูรณ์
2. อายุครบ 16 ปีบริบูรณ์
3. อายุครบ 17 ปีบริบูรณ์
4. อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์

โมฆะ

โมฆียะ

คนไร้ความสามารถ
คือ คนวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ โดยมีผู้เสนอเรื่องกับศาล ให้อยู่ในความอนุบาล
ของ “ผู้อนุบาล” ซึ่งจะทานิติกรรมแทนคนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
คือ บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้ หรือจัดการในทางทาให้ทรัพย์เสื่อม ด้วยเพราะกาย
พิการ หรือจิตไม่สมประกอบ สุรุ่ยสุร่ายเสเพล ติดสุรายาเมา จึงมีผู้เสนอเรื่องต่อศาลให้อยู่ในความดูแลของ “ผู้
พิทักษ์” โดยคนเสมือนไร้ความสามารถ สามารถทานิติกรรมด้วยตนเองได้ เว้นนิติกรรมบางอย่างที่กฎหมาย
กาหนด จะต้องขอความยินยอมจากผู้พิทักษ์เสียก่อน

การกู้ยืมเงิน
• การกู้เงิน 2,000 บาทขึ้นไป ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือถึงจะฟ้องร้องได้
• คิดดอกเบี้ยได้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี หรือ ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน หากคิดดอกเบี้ยเกินนี้ ดอกเบี้ยเป็น
โมฆะ เรียกคืนได้แค่เงินต้นเท่านั้น
• จานา คือ สัญญาที่ผู้จานาส่งมอบ “สังหาริมทรัพย์” ให้แก่ผู้รับจานา เพื่อประกันการชาระหนี้
• จานอง คือ สัญญาที่ผู้จานองเอา “อสังหาริมทรัพย์” ไปจดทะเบียนกับผู้รับจานองเพื่อเป็น
หลักประกันการชาระหนี้ โดยผู้จานองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือทรัพย์สินดังกล่าวแก่ผู้รับจานอง
• ทรัพย์สินที่ใช้จานองส่วนใหญ่เป็นอสังหาริมทรัพย์ เช่น บ้าน ที่ดิน
• แต่กฎหมายกาหนดให้สังหาริมทรัพย์บางอย่างใช้จานองได้ เช่น เรือที่มีระวางห้าตันขึ้นไป
แพ เครื่องจักรขนาดใหญ่ รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง รถบดถนน และรถแทรกเตอร์ที่
จดทะเบียนแล้ว

กฎหมายอาญา
กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทาที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม ซึ่งรัฐกาหนดให้
เป็นความผิดและต้องรับโทษ
โทษทางอาญา
1) ประหารชีวิต ด้วยการฉีดยาพิษ
2) จาคุก ขังไว้ที่เรือนจา
3) กักขัง ขังไว้ในสถานที่อื่น ไม่ใช่เรือนจา
4) ปรับ
5) ริบทรัพย์สิน
ลักษณะสาคัญของกฎหมายอาญา
• เป็นกฎหมายที่ต้องระบุไว้ชัดเจนแน่นอนว่าการกระทานั้นเป็นความผิด
• ไม่มีผลย้อนหลัง
ประเภทของความผิดอาญา
1) ความผิดอาญาแผ่นดิน คือความผิดที่กระทบต่อสังคม รัฐจึงเข้ามาเป็นผู้เสียหาย เช่น ฆ่าผู้อื่น ลัก
ทรัพย์
2) ความผิดต่อส่วนตัว หรือความผิดยอมความกันได้ เช่น หมิ่นประมาท ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
1) ลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปโดยเจตนา โดยเจ้าของทรัพย์ไม่ยินยอม เช่น การเอาของ
คนอื่นไปโดยไม่มีการทาร้าย
2) วิ่งราวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์โดยใช้กิริยาฉกฉวยไปซึ่งหน้า เช่น กระชากสร้อยโดยไม่มีการทาร้าย
3) ชิงทรัพย์ คือ การลักทรัพย์โดยใช้กาลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กาลังประทุษร้าย เช่น การวิ่ง
เข้าไปชกแล้วกระชากสร้อย
4) ปล้นทรัพย์ คือ การชิงทรัพย์โดยร่วมกระทาความผิดตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
5) ยักยอกทรัพย์ คือ การเบียดบังเอาทรัพย์ของคนอื่นหรือทรัพย์ที่ตัวเองถือกรรมสิทธิ์ร่วมด้วยมาเป็น
ของตนโดยทุจริต
6) รีดเอาทรัพย์ คือ การขู่ว่าจะเปิดเผยความลับแลกกับทรัพย์สิน (ไม่ใช้กาลังประทุษร้าย)
7) กรรโชกทรัพย์ คือ การข่มขู่ว่าจะใช้กาลังประทุษร้ายร่างกาย ทรัพย์สิน เพื่อให้ผู้อื่นมอบทรัพย์แก่
ตน

ข้อใดเป็นความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์
1. ยักยอกทรัพย์สินของผู้อื่นแล้ววิ่งหนี
2. ลักทรัพย์ของผู้อื่นแล้ววิ่งหนี
3. ลักทรัพย์ของผู้อื่นโดยการฉกฉวยเอาซึ่งหน้า
4. ชิงทรัพย์ของผู้อื่นจนได้ทรัพย์ของผู้นั้นไป

ประเภทของศาลไทย
1. ศาลรัฐธรรมนูญ พิพากษาคดีที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญกาหนดไว้
2. ศาลปกครอง พิจารณาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับ เอกชน อันเนื่องมาจากการใช้อานาจทาง
ปกครอง แบ่งเป็นศาลปกครองชั้นต้น (ได้แก่ศาลปกครองกลาง และ ศาลปกครองในภูมิภาค) กับ ศาลปกครอง
สูงสุด
3. ศาลทหาร พิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทาผิดอยู่ในอานาจศาลทหาร
4. ศาลยุติธรรม พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายกาหนดให้อยู่ใน
อานาจศาลอื่น แบ่งเป็น 3 ชั้น คือ
1) ศาลชั้นต้น
- ศาลแพ่ง : ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี
- ศาลอาญา : ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี
- ศาลจังหวัด ศาลแขวง และศาลชานัญพิเศษอื่นๆที่ พรบ.จัดตั้งกาหนดให้เป็นศาล
ชั้นต้น เช่น ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สิน
ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลล้มละลาย
2) ศาลอุทธรณ์ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ และ ศาลอุทธรณ์ภาค
3) ศาลฎีกา สูงสุด มีศาลเดียว

ลาดับชั้นศาลของไทยข้อใดถูกต้อง
1. ศาลแขวง ศาลแพ่ง ศาลฎีกา
2. ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
3. ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลฎีกา
4. ศาลชั้นต้น ศาลชั้นกลาง ศาลฎีกา

แนวข้อสอบ O-NET หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม

1. ประเทศคู่ใดมีรูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองคล้ายคลึงกันมากที่สุด
1. กัมพูชา – เวียดนาม
2. ฟิลิปปินส์ - เกาหลีใต้
3. มาเลเซีย – อินโดนีเซีย
4. ออสเตรเลีย - นิวซีแลนด์
5. สิงคโปร์ – บรูไนดารุสซาลาม

2. ระบอบเสรีประชาธิปไตยมีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1. กองทัพมีบทบาทสาคัญในการประกันเสถียรภาพของรัฐบาลเลือกตั้ง
2. ลดอานาจรัฐ เพิ่มอานาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน
3. ตัวกระทาทางการเมืองยอมรับกฎกติกาประชาธิปไตย
4. ให้เสรีภาพพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในระดับสูง
5. ใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือในการปกครอง
3. ข้อใดไม่ใช่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. องค์การบริหารส่วนตาบล
2. เทศบาลนคร
3. กรุงเทพมหานคร
4. เทศบาลเมือง
5. ตาบล

4. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตนแก่องค์กรใด
1. กรมบัญชีกลาง สังกัดกระทรวงการคลัง
2. นายทะเบียนพรรคการเมือง
3. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
4. ผู้ตรวจแผ่นดิน
5. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

5. การกระทาใดเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว
1. นายดาทาพินัยกรรมยกที่ดินให้แก่นายแดง
2. นายขาวยกที่ดินให้แก่นายเขียวโดยเสน่หา
3. นายส้มตกลงขายที่ดินแก่นายแสด
4. นายม่วงทาสัญญากู้ยืมเงินนายมืด
5. นายน้าตาลจานาแหวนไว้กับนายน้าตก

6. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องบุคคล
1. นิติบุคคลมีสิทธิและหน้าที่เหมือนกับบุคคลธรรมดาทุกประการ
2. สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาสิ้นสุดลงเมื่อตาย
3. บุคคลที่ไร้ความสามารถต้องเกิดจากการที่ศาลมีคาสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถเสมอ
4. นิติบุคคลถูกกาหนดกรอบอานาจหน้าที่ให้อยู่ในขอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น ๆ
5. บุคคลซึ่งเป็นผู้เยาว์อาจบรรลุนิติภาวะได้ แม้อายุยังไม่ถึง 20 ปี
7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเงื่อนไขการสมรสตามกฎหมาย
1. บุคคลจะทาการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่แล้วไม่ได้
2. คนไร้ความสามารถจะทาการสมรสไม่ได้
3. ผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้
4. บุคคลที่แม้เป็นเพียงพี่น้องร่วมแต่บิดา ก็จะทาการสมรสกันไม่ได้
5. คนล้มละลายจะทาการสมรสไม่ได้

8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายมรดก
1. นายแสงมีทรัพย์สิน 10,000 บาท มีบุตร 1 คน คือ นางสาย นายแสงมีหนี้เงินกู้ต่อนางสวยอยู่
12,000 บาทเมื่อนายแสงตาย ทรัพย์สิน 10,000 บาทและ หนี้เงินกู้ 12,000 บาท จะตกเป็นมรดกแก่นางสาย
นางสายมีหน้าที่ ต้องใช้เงินกู้แก่นางสวยแต่ไม่เกิน 10,000 บาทที่นางสายรับมา
2. นางพลอยเป็นผู้รับบุตรบุญธรรม มีนายเพชรเป็นบุตรบุญธรรม เมื่อนายเพชรตาย นางพลอยมีสิทธิ
รับมรดกทรัพย์สินที่เป็นของนายเพชรในฐานะทายาทโดยธรรม
3. นางหมอนเป็นบุตรบุญธรรมของนายมุ้ง เมื่อนายมุ้งตาย นางหมอนมีสิทธิรับมรดกทรัพย์สินที่เป็น
ของนายมุ้งในฐานะทายาทโดยธรรม
4. นายกล้าเป็นหลานของนายกุ๊ก โดยมีนายกุ๊กเป็นตา นายกล้าไม่มีคู่สมรสและบุตร นายกล้าทา
พินัยกรรมให้นายกุ๊กเป็นผู้รับพินัยกรรมในทรัพย์สินของนายกล้า พินัยกรรมนี้มีผลสมบรูณ์ตามกฎหมายได้
เพราะผู้รับพินัยกรรมจะเป็นญาติหรือไม่ก็ได้ หรือจะเป็นทายาทโดยธรรมอยู่แล้วหรือไม่ก็ได้
5. นายเดชเป็นบุตรบุญธรรมของนางดาวแล้ว ก็ยงั มีสิทธิได้รับมรดกของนางเดือนและนายเดี่ยวซึ่ง
เป็นมารดาและบิดาของตนอยู่

9. นายบุญน้อยอาศัยอยู่กับพ่อแม่และน้องชายชื่อนายบุญเนื่อง ตัวนายบุญน้อยเองเป็นม่ายและมีลูกสาวเพียง
คนเดียวชื่อน้องนิดหน่อย หากนายบุญน้อยตายโดยไม่ได้ทาพินัยกรรมไว้และมีมรดก 1 ล้าน 2 แสนบาท น้อง
นิดหน่อยจะได้รับมรดกเท่าใด
1. 3 แสนบาท 2. 4 แสนบาท
3. 6 แสนบาท 4. 8 แสนบาท
5. 1 ล้าน 2 แสนบาท
10. นิติกรรมในข้อใดมีผลเป็นโมฆียะ
1. อั้มหมั้นกับอ้อยเมื่ออายุ 16 ปี
2. เอื้อยทาพินัยกรรมเมื่ออายุ 15 ปี
3. อ้นทาสัญญาขายที่ดินเมื่ออายุ 18 ปี
4. อู๊ดจดทะเบียนสมรสซ้อนเมื่ออายุ 19 ปี
5. อั๋นรับรอง ด.ช.อ๊อดเป็นบุตรเมื่ออายุ 17 ปี

11. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาห้ามไม่ให้มีการบัญญัติความผิดย้อนหลัง
2. ความรับผิดทางอาญาโดยหลักบุคคลจะรับผิดต่อเมื่อกระทาโดยเจตนา
3. ความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดต่อเนื้อตัวร่างกายหรือต่อความเป้นอยู่ส่วนตัวของผู้เสียหาย
4. การให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่ใช่โทษทางกฎหมายอาญา
5. การเทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่บุคคลจะกระทามิได้

12. นายโอ่งขู่นายอ่างว่าไม่ให้เงินแก่ตน 5,000 บาท ระวังจะมีชีวิตสั้น นายอ่างกลัวจึงมอบเงิน 5,000 บาท ให้


นายโอ่ง จากเหตุการณ์นี้นายโอ่งมีความผิดฐานใด
1. ลักทรัพย์ 2. กรรโชกทรัพย์
3. รีดเอาทรัพย์ 4. ยักยอกทรัพย์
5. ชิงทรัพย์

13. ข้อใดกล่าวถึงวัฒนธรรมไม่ถูกต้อง
1. เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2. เป็นสิ่งที่ตกทอดทางสังคม
3. เป็นแบบแผนในการดาเนินชีวิต
4. เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
5. เป็นเครื่องยึดโยงสมาชิกของสังคม

14. สถานภาพทางสังคมมีความหมายสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
1. หน้าที่ทางสังคม 2. บทบาททางสังคม
3. ตาแหน่งทางสังคม 4. แบบแผนทางสังคม
5. มาตรฐานทางสังคม
15. หากจัดประเภทของวัฒนธรรมตามเนื้อหา ข้อใดจัดอยู่ในประเภทของสหธรรม
1. จารีต 2. ศาสนา
3. ศีลธรรม 4. มารยาท
5. กฎหมาย

แนวข้อสอบวิชาสามัญ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม

1. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสัญญา
1. เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียว สองฝ่าย หรือหลายฝ่าย
2. เป็นการตกลงที่สร้างความผูกพันระหว่างบุคคล
3. เป็นการแสดงเจตนาเสนอและสนองที่ต้องตรงกัน
4. เป็นการตกลงระหว่างบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
5. เป็นการตกลงที่ทาให้เกิดความเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้

2. ข้อใดเป็นข้อความที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมไทย
1. นากฎหมายอิสลามทุกชนิดมาใช้บังคับสาหรับชาวมุสลิมในภาคใต้
2. เป็นประเทศใช้ระบบประมวลกฎหมายมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5
3. ผู้หญิงที่สัมผัสตัวพระภิกษุไม่มีโทษอาญาเพราะเป็นเพียงการฝ่าฝืนกฎหมายจารีตประเพณี
4. การทาร้ายร่างกายผู้อื่นแม้ได้รับความยินยอมยังเป็นความผิดอาญา
5. ศาลยุติธรรมไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม

3. ข้อใดเป็นข้อความที่ถูกต้อง
1. หญิงทาแท้งให้ตนเองไม่เป็นความผิด
2. ศาลเยาวชนและครอบครัวมีแห่งเดียวในประเทศไทย
3. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมีอานาจพิจารณาคดียึดทรัพย์ในกรณี
ร่ารวยผิดปกติด้วย
4. คดีอุทลุมหมายถึง การที่พี่น้องมีเพศสัมพันธ์ระหว่างกันไม่ได้
5. พยาบาลทาแท้งให้หญิงมีครรภ์ เพราะผู้หญิงนัน้ มีปัญหาสุขภาพร้ายแรง ไม่เป็นความผิด
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อความที่ถูกต้อง
1. การซื้อขายนาฬิกามูลค่า 1,000,000 บาท ต้องทาสัญญาเป็นหนังสือ
2. การกู้ยืมเงินตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไปนั้น ต้องมีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ จึงจะฟ้องร้องให้บังคับคดีได้
3. การจานากระบือไม่ต้องมีการส่งมอบทรัพย์แก่ผู้รับจานา
4. การซื้อขายคอนโดมิเนียมราคา 400,000 บาท ต้องทาเป็นสัญญาหนังสือและจดทะเบียน
5. สัญญาจะซื้อจะขายบ้านต้องทาสัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียน

4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อความที่ถูกต้อง
1. การซื้อขายนาฬิกามูลค่า 1,000,000 บาท ต้องทาสัญญาเป็นหนังสือ
2. การกู้ยืมเงินตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไปนั้น ต้องมีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสือ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ จึงจะฟ้องร้องให้บังคับคดีได้
3. การจานากระบือไม่ต้องมีการส่งมอบทรัพย์แก่ผู้รับจานา
4. การซื้อขายคอนโดมิเนียมราคา 400,000 บาท ต้องทาเป็นสัญญาหนังสือและจดทะเบียน
5. สัญญาจะซื้อจะขายบ้านต้องทาสัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียน

6.เพื่อสนับสนุนการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย รัฐควรส่งเสริมให้หน่วยงานใดเป็นหน่วยงานหลักในการ
จัดทาบริการสาธารณะ
1. หน่วยการปกครองท้องที่
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. หน่วยงานส่วนภูมิภาคระดับอาเภอ
4. หน่วยงานส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด
5. กรมหรือส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม

7. ความในข้อใดสอดคล้องกับลักษณะของการปกครองระบบเผด็จการมากที่สุด
1. กฎหมายต้องศักดิ์สิทธิ์
2. รัฐบาลต้องมีอานาจมั่นคง
3. พลเมืองต้องมีหน้าที่ต่อรัฐ
4. ประชาชนต้องเท่าเทียมกัน
5. บ้านเมืองต้องสงบเรียบร้อย
8. ข้อใดเป็นข้อจากัดที่สาคัญของการจัดการปกครองตามระบอบเผด็จการ
1. รัฐบาลไม่ได้รับการควบคุมตรวจสอบอย่างเหมาะสม
2. รัฐบาลมีค่าใช้จ่ายสูงในการดาเนินการบริหารประเทศ
3. รัฐบาลขาดเอกภาพในการดาเนินการปกครองประเทศ
4. รัฐบาลไม่สามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
5. รัฐบาลมีอานาจจากัดในการบริหารและปกครองประเทศ

9. ประเทศในขอใดอยู่ในกลุ่มอาเซียน+3
1. จีนและอินเดีย
2. ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้
3. เกาหลีใต้และอินเดีย
4. สหรัฐอเมริกาและจีน
5. ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์

10.องค์การระหว่างประเทศใดมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาการค้าหญิงมากที่สุด
1. AI 2. ILO
3. UNHCR 4. GAATW
5. UNICEF

11. หลักการใดอยู่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร


1. สามัคคี 2. สถาบัน
3. เอกภาพ 4. ปลอดภัย
5. สันติภาพ

12. สถาบันสังคมในข้อใดมีบทบาทสาคัญในการกาหนดสถานภาพของคนในสังคม
1. สถาบันการศึกษาและสถาบันศาสนา
2. สถาบันศาสนาและสถาบันครอบครัว
3. สถาบันเศรษฐกิจและสถาบันการเมือง
4. สถาบันการเมืองและสถาบันการศึกษา
5. สถาบันครอบครัวและสถาบันเศรษฐกิจ
13.กิจกรรมใดเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยในด้านสหธรรม
1. การเล่นดนตรีไทย
2. การไหว้ทักทายกัน
3. การทาบุญตักบาตร
4. การปลูกบ้านทรงไทย
5. การบริโภคอาหารไทย

You might also like