You are on page 1of 23

หน7าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

ชั้นมัธยมศึกษาป.ที่ ๔ - ๖
กลุKมสาระการเรียนรู7สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
หนfวยการเรียนรูjที่ ๑ หนfวยการเรียนรูjที่ ๒ หนfวยการเรียนรูjที่ ๓ หนfวยการเรียนรูjที่ ๔ หนfวยการเรียนรูjที่ ๕ หนfวยการเรียนรูjที่ ๖ หนfวยการเรียนรูjที่ ๗

๑_หลักสูตรวิชาสังคมศึกษา
๒_แผนการจัดการเรียนรู7
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ข้อสอบประจำหนKวย_เฉลย
๗_ การวัดและประเมินผล
๘_เสริมสาระ
๙_สื่อเสริมการเรียนรู7

บริษัท อักษรเจริญทัศน/ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท/ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หนKวยการเรียนรู7ที่ ๕
ระบอบการเมือง
การปกครอง

จุดประสงค์การเรียนรู7
๑. วิเคราะห/ปtญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศจากแหลfงข้อมูลตfางๆพรjอมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขชื่อขุดประสงค์ไดj
๒. เสนอแนวทางการเมืองการปกครองที่นำไปสูfความเข้าใจและการประสานประโยชน/รfวมกันระหวfางประเทศไดj
๓. วิเคราะห/ความสำคัญและความจำเป•นที่ตjองธำรงรักษาไวj ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย/ทรงเป•นประมุขไดj
ลักษณะการเมืองการปกครอง

• ประเทศตfางๆ ยfอมมีระบบการเมืองการปกครองที่ประชาชนสfวนใหญfของประเทศเชื่อวfาเหมาะสม กับสภาพ


ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม หากระบอบการเมืองการปกครองในขณะนั้นเกิดความไมfเหมาะสมตjองมี
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนารูปแบบการเมืองการปกครองใหjเหมาะสม ระบอบการปกครองที่ประเทศตfางๆ
ใช้กันอยูf มี ๒ ระบอบ คือ ระบอบประชาธิปไตย และ ระบอบเผด็จการ
ระบอบประชาธิปไตย

• อำนาจอธิปไตยเป•นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป•นอำนาจที่มาจากปวงชน ผูjปกครอง


ตjองไดjรับความยินยอมจากประชาชนสfวนใหญfในประเทศ

• รัฐบาลตjองเคารพสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน ตjองไมfละเมิดสิทธิ เวjนแตfเพื่อรักษาความ


มั่นคงของชาติ

• ประชาชนมีสิทธิเสมอภาคกันที่จะไดjรับการบริการจาก
ภาครัฐ

• รัฐบาลยึดหลักนิติรัฐเป•นบรรทัดฐานในการปกครองประเทศ และในการแก้ไขประเทศ ไมfออกกฎหมาย


ที่มีผลเป•นการลงโทษบุคคลยjอนหลัง
ระบอบเผด็จการ

• มีผูjนำหรือพรรคการเมืองเพียงกลุfมเดียว มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง
ประเทศ

• การรักษาความมั่นคงของผูjนำสำคัญกวfาการคุ้มครองสิทธิของประชาชน

• ผูjนำหรือคณะผูjนำสามารถที่จะอยูfในอำนาจไดjตลอดชีวิต หรือนานเทfาที่กลุfมผูjรfวมงานหรือ
กองทัพใหjการสนับสนุน ประชาชนทั่วไปไมfมีสิทธิที่จะเปลี่ยนผูjนำไดj

• รัฐธรรมนูญและการเลือกตั้ง ไมfสำคัญตfอกระบวนการปกครอง โดย


รัฐธรรมนูญเป•นเพียงแค่รากฐานรองรับอำนาจของผูjนำหรือคณะผูjนำ
เทfานั้น
รูปแบบของรัฐ

รูปแบบของรัฐแบKงได7เปjน ๒ รูปแบบ

เอกรัฐหรือรัฐเดี่ยว สหพันธรัฐหรือรัฐรวม
เอกรัฐหรือรัฐเดี่ยว

• รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียวใช้อำนาจอธิปไตย
ปกครองดินแดนทั้งหมด อาจมีการกระจาย
อำนาจใหjทjองถิ่นไดjบริหารกิจการของทjองถิ่นไดj
ตามที่รัฐบาลเห็นสมควร
ประเทศที่มีรูปแบบของรัฐเดี่ยว เช่น

• ราชอาณาจักรสเปน
• ญี่ปุlน
• ผลดีที่เกิดจากการปกครองรูปแบบนี้ คือ
• สาธารณรัฐสิงคโปรn
มีความเป•นเอกภาพสูง มีความเป•นปŠกแผfนมั่นคง
และประหยัดงบประมาณในการบริหารประเทศ • ราชอาณาจักรไทย
สหพันธรัฐหรือรัฐรวม

• รัฐที่มีรัฐบาลสองระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาล


ทjองถิ่นของแตfละมลรัฐ รัฐบาลแตfละระดับจะใช้
อำนาจอธิปไตยปกครองตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไวj
ประเทศที่มีรูปแบบของรัฐรวม เช่น

• สหรัฐอเมริกา
• สหพันธรัฐรัสเซีย
• ผลดีจากการปกครองรูปแบบนี้ คือ ทำใหjการปกครอง
• มาเลเซีย
สfวนทjองถิ่นเป•นไปอยfางทั่วถึงสามารถแก้ปtญหาตfางๆ
ไดjอยfางรวดเร็ว ประเทศมีความเจริญก้าวหนjา
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยnทรงเปjนประมุข

• ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย มีรูปแบบสำคัญ ๒ รูปแบบ คือ พระมหากษัตริยnทรงเปjนประมุขและประธานาธิบดี


เปjนประมุข โดยทั้ง ๒ รูปแบบนี้ ประมุขจะใช้อำนาจตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไวj โดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย/ทรงเป•นประมุข
พระองค์จะทรงใช้อำนาจอธิปไตยผfานสถาบันการปกครอง ไดjแก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยมีนายกรัฐมนตรีเป•นหัวหนjา
รัฐบาลหรือฝŒายบริหาร

• สถาบันพระมหากษัตริย/มีบทบาทสำคัญตfอการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยในฐานะที่เป•นสถาบันใหjความชอบธรรมแก่
สถาบันการปกครองอื่น เป•นสถาบันที่อยูfในฐานะสูงสุดที่จะใหjคำแนะนำตักเตือนรัฐบาล อยูfในฐานะสูงสุดในการที่จะแก้ไข
วิกฤตการณ/ทางการเมืองใหjลดความรุนแรงลงหรือขจัดใหjหมดไปไดj
การใช้อำนาจอธิปไตย
อำนาจนิติบัญญัติ

รัฐสภา

สมาชิกสภาผู7แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา

อำนาจหน7าที่ อำนาจหน7าที่
• เสนอและพิจารณากฎหมาย • พิจารณารfางพระราชบัญญัติ
• ควบคุมการบริหารราชการแผfนดิน • ควบคุมการบริหารราชการแผfนดิน
• มีสิทธิเข้าชื่อเพื่อถอดถอนผูjดำรงตำแหนfงทางการเมือง • ควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดตfอรัฐธรรมนูญ
• ควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแยjงตfอรัฐธรรมนูญ • มีอำนาจในการถอดถอนผูjดำรงตำแหนfงทางการเมือง
อำนาจบริหาร

คณะรัฐมนตรี

อำนาจหน7าที่
• กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผfนดินใหjมีความเป•นระเบียบเรียบรjอย
• รักษากฎหมายและความสงบเรียบรjอยเพื่อใหjประชาชนปลอดภัยในการดำเนินชีวิต
• ควบคุมข้าราชการประจำใหjนำนโยบายไปปฏิบัติและประสานงานกับกระทรวงตfางๆ ใหjเป•นไปในทางเดียวกัน
• ออกมติตfางๆ เพื่อใหjกระทรวง กรมตfางๆ ถือปฏิบัติและเป•นแนวทางในการบริหารจัดการ
• เสนอกฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ รวมทั้งออกพระราชกำหนดใหjใช้บังคับ
ดังเช่นพระราชบัญญัติ ในกรณีฉุกเฉินรีบดfวนมีความจำ เป•นอันมิอาจหลีกเลี่ยงไดjในอันที่จะรักษาความ
ปลอดภัยของประเทศ ใหjประเทศมีความมั่นคง
อำนาจตุลาการ

• พิจารณารfางพระราชบัญญัติที่ผfานการเห็นชอบจากรัฐสภา
ศาลรัฐธรรมนูญ • พิจารณาวินิจฉัยบทบัญญัติแหfงกฎหมาย
• พิจารณาปtญหาหนjาที่ขององค์กรตfางๆ

• พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง
ศาลยุติธรรม • พิจารณาคดีแพfงและคดีอาญาที่มีการอุทธรณ/
• พิจารณาคดีตามที่กฎหมายบัญญัติ

ศาล
ศาลปกครอง • พิจารณาคดีที่เกี่ยวกับการใช้อำนาจทางการปกครองตาม
กฎหมายตามที่กฎหมายบัญญัติ

ศาลทหาร • พิจารณาคดีอาญาซึ่งผูjกระทำผิดเป•นบุคคลที่อยูfในอำนาจ
ศาลทหาร
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริยn

รัฐธรรมนูญบัญญัติวfา “ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยnทรงเปjนประมุข”


และ “อำนาจอธิปไตยเปjนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยnผู7ทรงเปjนประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และศาลตามบทบัญญัติแหKงรัฐธรรมนูญนี้”

พระมหากษัตริยnของประเทศไทยทรงอยูKเหนือการเมือง และทรงมีฐานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ดังนี้

๑ ทรงอยูKในฐานะประมุขของประเทศ
๒ ทรงเปjนกลางและทรงอยูKเหนือการเมือง
๓ ทรงดำรงอยูKในฐานะอันเปjนที่เคารพสักการะ
๔ ทรงเปjนตัวแทนของปวงชนชาวไทย
๕ ทรงเปjนเอกลักษณnและศูนยnรวมแหKงความสามัคคี
อิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองที่มีผลตKอการดำเนินชีวิต

• ประชาชนทุกคนตกอยูfภายใตjอิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองไมfวfาจะเป•นระบอบเผด็จการ หรือระบอบ
ประชาธิปไตย ยfอมสfงผลตfอการดำเนินชีวิตของประชาชน อาจดีขึ้นหรือเลวรjายลง ขึ้นอยูfกับการนำมาใช้ใหjสอดคลjอง
กับวัฒนธรรมและสังคมของประเทศนั้นๆ

อิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองมีผลตKอการดำเนินชีวิตของคนไทย ดังนี้

๑ ทำให7ประชาชนในสังคมเห็นความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
๒ ประชาชนเกิดความตระหนักในสิทธิและหน7าที่ของตนเองตKอการปกครอง
๓ ทำให7ประชาชนตื่นตัวทางการเมือง มีสKวนรKวมสนับสนุนกิจกรรมทางการเมือง
๔ ทำให7เกิดการแสดงความคิดเห็นอยKางมีเหตุผล ทั้งที่เห็นด7วยและไมKเห็นด7วย
๕ ทำให7คนในท7องถิ่นรKวมมือกันปกปuองผลประโยชนnของท7องถิ่นตน
สถานการณnการเมืองการปกครองของสังคมไทย

ปvจจัยสำคัญที่เกื้อหนุนให7สถานการณnการเมืองการปกครองของไทยมีความขัดแย7ง
ระหวKางรัฐบาลกับประชาชนน7อยกวKาบางประเทศ

• สามารถปรับสถานการณ/ดjานตfางๆ ของประเทศใหjสอดคลjองกับกระแสโลกาภิวัตน/ ทั้งดjานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม


รวมทั้งพยายามพึ่งพาตัวเองในดjานเศรษฐกิจและสังคมใหjมากที่สุด เช่น การนjอมนำเอาโครงการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

• ไมfมีความขัดแยjงระหวfางกลุfมตfางเชื้อชาติหรือกลุfมตfางศาสนาเหมือนบางประเทศ คนไทยสfวนใหญfไมfลบหลูfศาสนาอื่น มีจิตใจ


เอื้ออารีตfอ ทำใหjคนทุกเชื้อชาติทุกศาสนาสามารถอยูfรfวมกันไดjอยfางสันติ

• มีสถาบันพระมหากษัตริย/เป•นทั้งเอกลักษณ/ของชาติและศูนย/รวมแหfงความสามัคคีของคนในชาติ พระมหากษัตริย/ของไทยทรง
เป•นอัครศาสนูปถัมภก ทรงหfวงใยชาวไทยทุกหมูfเหลfาทุกภูมิภาค ทำใหjทรงเป•นที่เคารพสักการะและเป•นศูนย/รวมจิตใจของชาว
ไทยทั้งประเทศ

• มีการปฏิรูปการเมืองไทยทั้งระบบใหjเป•นการเมืองของพลเมือง เพื่อใหjมีความโปรfงใส ตรวจสอบไดj นักการเมืองมีคุณธรรม


จริยธรรม ลดปtญหาทุจริตคอร/รัปชัน การแสวงหาผลประโยชน/สfวนตน มีบทลงโทษที่เด็ดขาด มีองค์กรทางการเมืองและ
ประชาชนเป•นผูjตรวจสอบ
ปvญหาการเมืองสำคัญที่เกิดขึ้นภายในประเทศ

• แมjวfาประเทศไทยจะมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย/ทรงเป•นประมุข แตfสถานการณ/


ปtญหาทางการเมืองของประเทศก็ยังคงมีมาอยfางตfอเนื่อง ซึ่งอาจเกิดจากปtจจัยหลายประการดjวยกัน เช่น
ประชาชนสfวนใหญfของประเทศยังขาดการมีสfวนรfวมในกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง ผลประโยชน/แอบแฝง
ของนักการเมืองบางสfวน เป•นตjน

ปvญหาการเมืองสำคัญที่เกิดขึ้นภายในประเทศ

• ความคิดเห็นทางการเมืองของคนไทยแตกตfางกัน

• ความอfอนแอของฝŒายบริหาร

• พรรคการเมืองมีจำนวนมากเกินไป

• เกิดปtญหาทุจริตคอร/รัปชั่นในวงกวjาง

• นักการเมืองบางคนอาศัยอำนาจทางการเมืองเพื่อหาผลประโยชน/ใหjกับตนเอง
การดำเนินนโยบายด7านความสัมพันธnระหวKางประเทศของไทย

• ปtจจุบันประเทศตfางๆ ทั่วโลกใหjความสำคัญกับการสรjางสันติภาพและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
มีการติดตfอแลกเปลี่ยนช่วยเหลือกัน ทั้งภายในภูมิภาคและภายนอกภูมิภาค มีรูปแบบการสรjาง
ความสัมพันธ/ทั้งทางดjานการทูต การค้า การแลกเปลี่ยนทางดjานวัฒนธรรม การศึกษา กีฬา
และเทคโนโลยี

• ประเทศไทยไดjมีการรfวมมือแลกเปลี่ยนและสรjางความสัมพันธ/กับประเทศตfางๆ ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตjและประเทศตfางๆ ทั่วโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อการประสานประโยชน/รfวมกัน
และสรjางความสัมพันธ/ที่ดีตfอกันในรูปแบบตfางๆ เช่น รfวมจัดตั้งองค์กรระหวfางประเทศ เข้ารfวม
เป•นสมาชิกองค์การดjานความรfวมมือตfางๆ เป•นตjน
การเปjนสมาชิกองค์การความรKวมมือระหวKางประเทศ
องค์การสหประชาชาติ (UN)

• ไดjรับการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕)


หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง มีสำนักงานใหญfตั้งอยูfที่กรุงนิวยอร/ก
ประเทศสหรัฐอเมริกา ปtจจุบันมีประเทศเอกราชทุกภูมิภาคเป•นสมาชิก
ไมfต่ำกวfา ๑๙๐ ประเทศ

วัตถุประสงค์

• รักษาสันติภาพ ความมั่นคง และพัฒนาความสัมพันธ/ระหวfางประเทศ โดยอยูfบนพื้นฐานของหลักสิทธิมนุษยชนและความเทfาเทียมกัน


ของมนุษย/
• สfงเสริมประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค บนพื้นฐานของหลักความยุติธรรมและกฎหมายระหวfางประเทศ
• อนุรักษ/และบูรณะสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร/ วัฒนธรรม และสถาปtตยกรรม
สมาคมประชาชาติแหKงเอเชียตะวันออกเฉียงใต7 (ASEAN)

• ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. ๒๕๑๐ (ค.ศ. ๑๙๖๗) โดยมีสมาชิกเริ่มแรก ๕ ประเทศ


คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟ˜ลิปป˜นส/และสิงคโปร/ ปtจจุบันมีสมาชิก
๑๐ ประเทศ โดยสมาชิกเพิ่มเติม ไดjแก่ บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมา
และกัมพูชา มีสำนักงานใหญfตั้งอยูfที่กรุงจาการ/ตา ประเทศอินโดนีเซีย

วัตถุประสงค์

• สfงเสริมเสถียรภาพ สันติภาพ และความมั่นคงภายในภูมิภาค


• เสริมสรjางความสัมพันธ/อันดีกับประเทศนอกภูมิภาค
• เพื่อเรfงรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหนjาทางสังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาค
• สfงเสริมความรfวมมือในทางวิชาการ ทั้งการฝŠกอบรม การแลกเปลี่ยนเรียนรูjและการวิจัย
เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

• เป•นความรfวมมือทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุfมอาเซียน ซึ่งเป•นความคิด
ริเริ่มของนายอานันท/ ปtนยารชุน นายกรัฐมนตรีของไทยในขณะนั้น ที่เสนอตfอ
ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร/ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕

วัตถุประสงค์

• สfงเสริมการค้าในอาเซียนใหjขยายตัวเพิ่มขึ้น
• ลดภาษีและอุปสรรคข้อกีดขวางทางการค้า เพื่อดึงดูดการลงทุนจากตfางชาติ
• เพิ่มขีดความสามารถในการตfอรองทางการค้าโลก
• เป•นเป•นเวทีแสดงความคิดเห็นหากถูกเอารัดเอาเปรียบทางการค้าจากประเทศอื่น
ความรKวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟ•ก (APEC)

• ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๒ (ค.ศ. ๑๙๘๙) ตามข้อเสนอของนายบ™อบ ฮอร/ก


(Bob Hawke) อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย ปtจจุบันมีสมาชิก
๒๑ เขตเศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์

• สfงเสริมและพัฒนาระบบการค้า เพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก
• เป•นเวทีสำหรับใหjสมาชิกปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกันทางดjานเศรษฐกิจ
• สfงเสริมใหjการค้าและการลงทุนเป•นไปอยfาเสรี
• ลดอุปสรรคและอำนวยความสะดวกทางการค้าและบริการระหวfางประเทศสมาชิก
องค์การการค้าโลก (W
orld Trade Organization : WTO)

• เป•นองค์การระหวfางประเทศที่จัดตั้งขึ้นตามข้อตกลงทั่วไปวfาดjวยภาษีศุลกากร
และการค้าหรือแกตต/ (GATT) โดยไดjรับการจัดตั้งอยfางเป•นทางการ เมื่อ
วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ สำหรับประเทศไทยก็เป•นสมาชิกรfวมก่อตั้งดjวย

วัตถุประสงค์
• สfงเสริมใหjการค้าระหวfางประเทศเป•นไปโดยเสรีมากขึ้น
• สfงเสริมการแข่งขันทางการค้าที่เป•นธรรมไมfเลือกปฏิบัติ
• กำกับดูแลการดำเนินงานของประเทศสมาชิกใหjเป•นไปตามข้อตกลงขององค์การการค้าโลก
• ยุติข้อพิพาทที่อาจมีขึ้นระหวfางประเทศสมาชิก
• เป•นเวทีเจรจาการค้าของประเทศสมาชิก
• ติดตามและตรวจสอบนโยบายทางการค้าของประเทศสมาชิกอยfางสม่ำเสมอ
การแลกเปลี่ยนเพื่อช่วยเหลือและสKงเสริมด7านเศรษฐกิจการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม

ด7านเศรษฐกิจ

• ความรfวมมือระหวfางไทย - ลาว เช่น เช่น สะพานมิตรภาพไทย - ลาว แหfงที่ ๑,๒ เพื่อเดินทางสะดวกและช่วยเหลือเกื้อกูลดjานเศรษฐกิจ


• ความรfวมมือระหวfางไทย - ลาว - เวียดนาม - จีน ในการสรjางเสjนทางคมนาคมเชื่อมตfอกัน เพื่อความสะดวกในการติดตfอค้าขาย
• ความรfวมมือระหวfางไทย - สหภาพพมfา - ลาว - กัมพูชา - เวียดนาม ตามโครงการความรfวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี - เจ้าพระยา - แมfโขง
เพื่อสรjางความเจริญก้าวหนjาทางดjานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และการทfองเที่ยว
• ความรfวมมือระหวfางไทย - ลาว - กัมพูชา - เวียดนาม ในโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในลุfมแมfน้ำโขงตอนลfาง เพื่อการใช้ประโยชน/จาก
แมfน้ำโขงรfวมกัน

ด7านการศึกษา
• มีการไปศึกษาดูงาน การไปศึกษาตfอที่ตfางประเทศ โครงการทุนการศึกษาจากประเทศตfางๆ การแลกเปลี่ยนนักศึกษา
โครงการทำวิจัยรfวมกัน เป•นตjน

ด7านสังคมและวัฒนธรรม
• ความรfวมมือในการเผยแพรfและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับประเทศในกลุfมอาเซียน ดjวยการจัดแสดงนิทรรศการดjานศิลปวัฒนธรรม
ประกวดวรรณกรรมรางวัลซีไรต/ แข่งขันกีฬา การจัดนิทรรศการทางดjานศิลปะ เป•นตjน

You might also like