You are on page 1of 22

ระบบการเมืองไทย

 ทฤษฎีทางการเมือง
1.ทฤษฎีทางการเมืองของ แซมมวล พี อันติงตั้น
1.1 การใช้ อำนาจอย่ างมีเหตุผล
1.2 แยกหน้ าทีต่ ามความชำนาญเฉพาะ
1.3 การมีส่วนร่ วมทางการเมือง
2.ทฤษฎีทางการเมืองของ ลู เซียน พาย การเมืองเป็ นสหวิทยาการคือ
2.1การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
2.2นำหลักศาสนา ความเชื่อมาใช้ เช่ น จริยธรรม ความซื่อสั ตย์
2.3การศึกษา การศึกษาต่ำจะทำให้ การเมืองไม่ สำเร็จตามสมควร
2.4การสื่ อสาร ต้ องใช้ ให้ เกิดประโยชน์
ทฤษฎีการพัฒนาทางการเมืองของไทย

1. ทฤษฎีแสนยานุภาพ
•การปกครองเกิดขึน้ จากการยึดครองและการบังคับ
•รากฐานของรั ฐคือความอยุติธรรมและความชั่วร้ าย และได้ สร้ างกฎเกณฑ์ เสมือนว่ าชอบด้ วยกฎหมายในการ
จำกัดสิทธิของบุคคลอื่น
•ศาสนจักรในสมัยกลางเห็นว่ าอาณาจักรโรมันก่ อตั้งขึน้ มาโดยแสนยานุภาพ และเป็ นสิ่งไม่ ถูกต้ อง
•ในปลายศตวรรษที่ เห็นว่ าแสนยานุภาพของรั ฐเป็ นสิ่งจำเป็ นและมีความชอบธรรม ซึ่งสะท้ อนให้ เห็นจาก
ลัทธิอาณานิคม

2..การพัฒนาแบบวิวฒั นาการ(EVOLUTION) การเมืองจะพัฒนาเป็ นลำดับขั้น จากขั้นต่ำไปสู่ ข้ นั สูง ใช้เวลานานแต่


มัน่ คง
 ทฤษฎีก ้าวกระโดด(Leap theory) คือการพัฒนา
แบบข ้ามขัน
้ ตอน
ระบบการเมืองทีใ่ ช้ อย่ ใู นปัจจบุ ัน

1.ระบบเผด็จการ(DICTATOR)
2.ระบบสั งคมนิยม(socialism)
3.ระบบประชาธิปไตย(DEMOCRACY)
ประวัติการเมืองไทย
1.สมัยสุ โขทัย ตอนต้ น เป็ นระบบพ่ อปกครองลูก คือประชาชนมีความ
ใกล้ ชิดกับผู้ปกครองเมือมีเรื่องเดือดร้ อนสามารถไปร้ องกับผู้ปกครองได้
โดยตรง เรียกพ่ อบ้ านกับลูกบ้ าน
2.ปลายสมัยสุ โขทัยบ้ านเมืองเริ่มกว้ างขึน้ แต่ กย็ งั คงปกครองแบบพ่ อกับ
ลูกแต่ เปลีย่ นชื่อเป็ น พ่ อขุน (ธรรมราชา) ขุน กับ ลูกขุน มีทศพิศราช
ธรรมเป็ นตัวกำกับ และรู ปแบบการปกครองแบ่ งหัวเมืองเป็ น 3 ชั้น
2.1 หัวเมืองชั้นใน คือทีป่ ระทับของพระเจ้ าแผ่ นดิน
2.2 หัวเมืองชั้นนอก เจ้ านายหรือข้ าราชการทีไ่ ว้ ใจไปปกครอง(ขุน)
2.3 ประเทศราช เจ้ าผู้ครองนครเป็ นผู้ปกครองแต่ ส่งเครื่องบรรณาการ
อยุธยาตอนต้ น ระบบการเมืองเหมือนกับสุ โขทัยตอนปลาย แต่ เปลีย่ น
เป็ นระบบเทวสิ ทธิ คือพระเจ้ าแผ่ นดิน เป็ นเทพอวตารมาจากสวรรค์ เรียกว่ า
สมเด็จ และเปลีย่ นรู ปแบบการปกครองเป็ น จตุสดมภ์ คือ
1.เวียง ปกครองท้ องทีท่ วั่ ประเทศ รักษาความสงบ การศาลและเรือนจำ
เรียก ขุนเวียง
2.วัง ปกครองในราชสำนักทุกเรื่อง เรียก ขุนวัง
3.คลัง เก็บภาษี รักษาและจ่ ายเงินในท้ องพระคลังและการค้ าต่ าง
ประเทศ เรียก ขุนคลัง
4.นา ดูแลทีห่ ลวง เก็บและทวงค่ าข้ าวจากราษฎร เตรียมเสบียงอาหาร
และพิจารณาเกีย่ วกับเรื่องดังกล่าเรียก ขุนนา
สมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีการเปลีย่ นแปลงการปกครอง
อีกครั้ ง โดยมี
1.สมุหกลาโหมคุมทหาร
2.สมุหนายก คุมพลเรือน และเปลีย่ น
- เวียง เป็ น นครบาล
- วัง เป็ น ธรรมาธิกรณ์
- คลัง เป็ น โกษาธิบดี
- นา เป็ น เกษตราธิบดี
จน พ.ศ.2435 สมัย รัชกาลที่ 5 เปลีย่ นเป็ นสมบูรณาญาสิ ทธิราช ได้ ยกเลิก
ระบบหัวเมืองเปลีย่ นเป็ น
- มณฑลเทศาพิบาล มีสมุเทศาภิบาลเป็ นผู้ปกครอง
- จังหวัด มี ข้ าหลวงเป็ นผู้ปกครอง
- อำเภอ มีนายอำเภอปกครอง ตำบลมี กำนันปกครอง หมู่บ้านมีผู้ใหญ่
บ้ านปกครอง
และยกเลิกจตุสดมภ์ เปลีย่ นเป็ นกระทรวง 12 กระทรวง โดยมีเสนาบดีเป็ น
เจ้ ากระทรวง และมีการประชุมทุกวันอังคารโดยรัชกาลที่ 5 เป็ นประธานการ
ประชุม ถือเป็ นจุดเริ่มต้ นของระบบสมบูรณาญาสิ ทธิราช คือพระเจ้ าแผ่ นดิน
มีอำนาจในการปกครองโดยสมบูรณ์
จนกระทัง่ พ.ศ.2475 คณะราษฎร์ ได้ ทำการยึดอำนาจและเปลีย่ นแปลงเป็ น
ระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญและ
มีรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมือ่ 27 มิถุนายน 2475 แบ่ งอำนาจเป็ น 4 อำนาจ คือ
- นิตบิ ัญญัติ
- ตุลาการ
-บริหาร
-พระมหากษัตริย์
ต่ อมาเมือ่ 10 ธันวาคม 2475 ได้ มรี ัฐธรรมนูญอีกฉบับ แบ่ งอำนาจออกเป็ น
3 อำนาจตามหลักประชาธิปไตยคือ นิตบิ ัญญัติ ตุลาการ และ ฝ่ ายบริหาร
โดยในช่ วงนีจ้ นถึง พ.ศ.2500 การปกครองเป็ นแบบสภาเดียวมี สส. 2
ประเภทคือ เลือกตั้ง และ แต่ งตั้ง เป็ นลัทธิชาตินิยม
พ.ศ.2500 – 2516 โดย จอมพลสฤษดิ์ ได้ ทำการยึดอำนาจและบุคคลใน
คณะปกครองประเทศโดยมีรัฐธรรมนูญ เรียกประชาธิปไตยแบบ
ไทย(ระบบพ่ อขุนอุปถัมถ์ ) คือ
- ไม่ มกี ารเลือกตั้งสภามาจากการแต่ งตั้ง
- ไม่ มกี ารแบ่ งแยกอำนาจ อำนาจสู งสุ ดอยู่ทฝี่ ่ ายบริหาร
-ไม่ มกี ารรับรองสิ ทธิ เสรีภาพของประชาชน
-ทีจ่ ริงก็คอื เผด็จการตกอยู่ใต้ อทิ ธิพลของตะวันตกเต็มที่
พ.ศ.2516 – 2540 มีวกิ ฤตหลายครั้ง( 14ตุลาคม 2516,6 ตุลาคม 2519
และ พฤษภาทมิฬ 2535 ) แต่ กเ็ ป็ นการปกครองในระบบประชาธิปไตยที่
ต่ างชาติยอมรับ มีรัฐบาลช่ วงสั้ นๆ ยกเว้ นสมัย พล.อ.เปรม ฯ
พ.ศ.2540 นายก ฯ บรรหารฯ เปิ ดโอกาส ให้ มกี ารแก้ ไขรัฐธรรมนูญ
เพราะประชาชนมีความต้ องการ
1.รัฐบาลมีความเข้ มแข็ง
2.สส.และ สว. มาจากการเลือกตั้ง
3.มีองค์ กรอิสระ
4.การปกครองส่ วนท้ องถิน่
5.ขยายสิ ทธิเสรีภาพของประชาชน
พ.ศ.2541 – 2549 ผลของรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2540 ทำให้ ได้ รัฐบาลทีเ่ ข้ ม
แข็ง และสามารถอยู่จนครบวาระ ทำให้ สามารถ ทำนโยบายๆ ต่ างจนสำเร็จ
และทำให้ คนรากหญ้ าศรัทธา เพราะได้ รับความช่ วยเหลือและสามารถเข้ าถึง
ทุนได้ เป็ นยุคแรก แต่ ใช้ อำนาจตามแนวทางตะวันตก ทำให้ หลาย ๆ ฝ่ ายรับ
ไม่ ได้ และเกิดการแก่ งแย่ งอำนาจนอกระบบ จนบานปลายฝ่ ายทหารต้ องเข้ า
ยึดอำนาจ
พ.ศ.2549 – ปัจจุบัน ก็เป็ นเช่ นเดียวกับ พ.ศ.2516 -2540
จดุ อ่ อนของการเมืองไทย
1.พรรคการเมืองไม่ เป็ นสถาบันทางการเมือง
- กลุ่มเครือญาติ
- เป็ นหุ่นเชิด
- เป็ นพรรคเฉพาะกิจ

2.ประชาชนไม่ มสี ่ วนร่ วมทางการเมืองอย่ างแท้ จริง


-ไม่ มจี ิตสำนำทางการเมือง
-รัฐไม่ เปิ ดโอกาส
- ขาดการสนับสนุนจากรัฐ
3.ประชาชนไม่ ยอมรับในสถาบันการเมือง ไม่ เชื่อถือ ไม่ ศรัทธา
- รณรงค์ ไม่ ให้ มกี ารเลือกตั้ง หรือ กาไม่ เลือกใคร
- ไม่ ยอมรับผลการเลือกตั้งเช่ นอ้างว่ ามีการซื้อเสี ยง โกงเลือกตั้ง
- ผลงานขององค์ กรอิสระทีเ่ กีย่ วกับการเลือกตั้งไม่ เป็ นทีย่ อมรับ
ของสั งคมเช่ น กกต. ศาลรัฐธรรมนูญ

You might also like