You are on page 1of 8

บทที่ 1 ความภูมใิ จในความเป็ นไทย

สถาบันหลักของชาติ

เรื่ องที่ 1 สถาบันหลักของชาติ

สถาบันหลักของชาติ ประกอบด้วย ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่ งเป็ น


สถาบันที่อยูก่ บั สังคมไทยมาช้านาน สถาบันพระมหากษัตริ ยซ์ ่ ึ งเป็ นเสาหลัก
ในการสร้างชาติให้เป็ นปึ กแผ่น เป็ นศูนย์รวมจิตใจของปวงชน เป็ นบ่อเกิดของ
ความรัก ความสามัคคี นำพาประเทศชาติให้ผา่ นพ้นภัยนานาประการ ไม่วา่ จะ
เป็ นภัยรุ กรานของประเทศอื่น ภัยจากการล่าอาณานิคมและการแผ่ขยายลัทธิ
การปกครอง
สถาบันพระมหากษัตริ ยม์ ีบทบาทสำคัญในการพัฒนาความเป็ นอยูข่ อง
ประชาชนในทัว่ ทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในท้องถิ่นที่ห่างไกลส่ งผลให้มี
การยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในทุกมิติ และเป็ นรากฐานให้ประเทศ
ชาติมีความมัน่ คงสื บมาจนถึงปั จจุบนั
ชนชาติไทยในอดีต จึงถือว่าสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ เป็ นสถาบันสู งสุ ดของ
ชาติที่มีบทบาทสำคัญในการเป็ นผูน้ ำ รวมประเทศชาติให้เป็ นปึ กแผ่น และ
พระมหากษัตริ ยท์ ุกพระองค์ปกครอง ดูแลและบริ หารประเทศชาติโดยใช้หลัก
ธรรม ที่เป็ นคำสอนของศาสนา ด้วยความเข้มแข็งของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
ที่มีความศรัทธาเลื่อมใสในสถาบันศาสนา ที่เป็ นเสมือนเครื่ องยึดเหนี่ยวทาง
จิตใจให้คนในชาติประพฤติปฏิบตั ิในทางที่ดีงาม

แม้วา่ เราจะเคยเสี ยเอกราชและดินแดนมามากหมายหลายครั้ ง บูรพมหา


กษัตริ ยไ์ ทยก็สามารถกอบกูเ้ อกราชและรวบรวมชนชาวไทยให้เป็ นปึ กแผ่นได้
เสมอมา และเหนือสิ่ งอื่นใดพระมหากษัตริ ยไ์ ทยทุกพระองค์ เป็ นพระมหา
กษัตริ ยท์ ี่ปกครองประเทศชาติดว้ ยพระบารมีและทศพิธราชธรรม ใช้ธรรมะ
และคำสัง่ สอนของพระพุทธองค์มาเป็ นแนวในการปกครอง ทำให้คนในชาติ
อยูร่ ่ วมกันอย่างร่ มเย็นเป็ นสุ ข สมกับคำที่วา่ “ประเทศไทย เป็ นประเทศแผ่น
ดินธรรมแผ่นดินทอง”

แผ่ นดินธรรม หมายถึง แผ่นดินที่มีผปู ้ ฏิบตั ิธรรม และการปฏิบตั ิธรรมนั้น


หมายถึงการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างถูกต้อง
แผ่ นดินทอง หมายถึง แผ่นดินที่ประชาชนได้รับประโยชน์ และความสุ ขอย่าง
ทัว่ ถึงตามควรแก่อตั ภาพ

ชาติ
ความหมาย ความสำคัญของชาติ
ชาติ หมายถึง กลุ่มคนที่มีภาษา วัฒนธรรม และเชื้อชาติ ประวัติศาสตร์เดียวกัน
หรื อใกล้เคียงกัน มีแผ่นดิน อาณาเขตการปกครองที่เป็ นระบบ เป็ นสัดส่ วน มี
ผูน้ ำหรื อรัฐบาลที่ใช้อ ำนาจ หรื อมีอ ำนาจอธิปไตยที่น ำมาใช้ในการปกครอง
ประชาชนตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า ชาติ หมายถึง
ประเทศประชาชนที่เป็ นพลเมืองของประเทศ กลุ่มชนที่มีความรู ้สึกในเรื่ องเชื้ อ
ชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติความเป็ นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมอย่างเดียวกันหรื ออยูใ่ นปกครองรัฐบาลเดียวกัน

ความเป็ นมาของชนชาติไทย
เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งทำความเข้าใจก่อนที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นมาของชนชาติไทยนั้น
ยังไม่มีการสรุ ปเป็ นประเด็นที่สามารถยืนยันได้ชดั เจน เพราะการพิจารณา
ความเป็ นมาของชนชาติไทยนั้น ต้องพิจารณาจากหลักฐานหรื องานวิจยั การ
ค้นคว้าทางวิชาการที่หลากหลายจากนักวิชาการไทยและต่างประเทศ อีกทั้งยัง
ต้องพิจารณามิติทางเอกสาร โบราณคดี เชื้ อชาติหรื อชาติพนั ธุ์ ภาษา และ
วัฒนธรรม

ศาสนา
ศาสนา เป็ นลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้ นสุ ดของโลก
หลักศีลธรรมตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ จะเห็นได้วา่ แต่ละ
ประเทศนั้นจะยึดคำสัง่ สอนของศาสนาเป็ นหลักในการปกครองประเทศ และ
มีการกำหนดศาสนาเป็ นศาสนาประจำชาติ นอกจากศาสนาจะมีอิทธิพลต่อการ
ปกครองของประเทศแล้วยังมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของแต่ละประเทศเช่น
ประเทศไทยมีการหล่อพระพุทธรู ปเป็ นงานศิลปะ วัฒนธรรมการไหว้ การเผา
ศพ วัฒนธรรมเหล่านี้ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาเหมือนกัน ดังนั้น ศาสนาจึง
เป็ นสถาบันที่สำคัญต่อประเทศมาก
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ ได้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนประเทศไทยเป็ นครั้งแรก โดยพระเถระ
ชาวอินเดีย เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศก
มหาราช แห่งอินเดียซึ่ งในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยูใ่ นดินแดนที่เรี ยกว่า
สุ วรรณภูมิ มีอาณาเขตกว้างขวาง มีหลายประเทศรวมกันในดินแดนส่ วนนี้ มี
จำนวน 7 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย พม่า ศรี ลงั กา ญวน กัมพูชาลาว และ
มาเลเซี ย
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริ สต์เป็ นศาสนาที่พฒั นาหรื อปฏิรูปมาจากศาสนายูดาห์ ซึ่ งมี
ประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริ สตกาล ชนเผ่าหนึ่งเป็ น
่ ดินแดนเมโสโปเตเมีย มีหวั หน้าเผ่าชื่อ
บรรพบุรุษของชาวยิว ตั้งถิ่นฐานอยูณ
“อับราฮัม” (อับราฮัม เป็ นศาสดาของศาสนายูดาห์)
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม เข้ามาเผยแพร่ ในประเทศไทยตั้งแต่ยคุ สมัยสุ โขทัย และช่วงกรุ ง
ศรี อยุธยาเรื่ อยมา โดยกลุ่มพ่อค้าชาวมุสลิมในคาบสมุทรเปอร์เซี ยที่เข้ามา
ค้าขายในแหลมมลายู (อินโดนีเซี ยและมาเลเซี ย) ได้นำศาสนาอิสลามเข้ามา
ภายหลังคนพื้นเมืองจึงได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม และบางคนเป็ นถึง
ขุนนางในราชสำนัก ในช่วงต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์มีชาวมุสลิมอพยพมาจาก
มลายูและเปลี่ยนสัญชาติเป็ นไทย
ศาสนาซิกข์
ชาวซิ กข์ส่วนมากยึดอาชีพค้าขายอิสระ บ้างก็แยกย้ายถิ่นฐานทำมาหากินไปอยู่
ต่างประเทศบ้าง และเดินทางไปมาระหว่างประเทศ ในบรรดาชาวซิ กข์ดงั
กล่าว มีพอ่ ค้าชาวซิ กข์ผหู ้ นึ่งชื่อ นายกิรปาราม มาคาน ได้เดินทางไปประเทศ
อัฟกานิสถาน เพือ่ หาซื้ อสิ นค้าแล้วนำไปจำหน่ายยังบ้านเกิด สิ นค้าที่ซ้ื อครั้ง
หนึ่ง มีมา้ พันธุ์ดีรวมอยูด่ ว้ ยหนึ่งตัว เมื่อขายสิ นค้าหมดแล้วได้เดินทางมาแวะที่
ประเทศสยาม โดยนำม้าตัวดังกล่าวมาด้วย และมาอาศัยอยูใ่ นพระบรม
โพธิสมภารของพระมหากษัตริ ยส์ ยาม
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ถือเป็ นอีกศาสนาหนึ่งที่มีความเก่าแก่ และอยูค่ ู่
ประเทศไทยมาเป็ นระยะเวลายาวนาน เข้าไปมีส่วนในพิธีสำคัญ ๆ โดยเฉพาะ
พระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ที่เป็ นพระราชพิธีสถาปนา
พระมหากษัตริ ยข์ ้ ึนเป็ นสมมติเทพปกครองแผ่นดินเป็ นใหญ่ในทิศทั้งแปด
และเป็ นการประกาศให้ประชาชนทราบโดยทัว่ กัน ตามคติพราหมณ์จะ
ประกอบพิธีอญั เชิญพระเป็ นเจ้า เพื่อทำการสถาปนาให้พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น
สมมติเทพ ดำรงธรรมสิ บประการ

พระมหากษัตริย์
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริ ยป์ กครองประเทศสื บเนื่องมากว่า 700 ปี ตั้งแต่
สมัยสุ โขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสิ นทร์ การปกครองโดยระบบกษัตริ ย ์
เป็ นวัฒนธรรมที่ไทยรับมาจากอินเดีย พร้อมกับการรับวัฒนธรรมความเชื่อ
ทางศาสนา โดยได้ผสมผสานแนวคิดหลัก 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ แนวคิด
ในศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ที่เชื่อว่ากษัตริ ยท์ รงเป็ นสมมุติเทพ แนวคิดในพุทธ
ศาสนาที่วา่ พระมหากษัตริ ยท์ รงมีสถานะเปรี ยบประดุจพระพุทธเจ้า ทรงเป็ น
จักรพรรดิราช หรื อธรรมราชา ที่กอปรด้วยราชธรรมหลายประการ อาทิ ทศพิ
ธราชธรรม และจักรวรรดิวตั ร 12 ประการ แนวคิดทั้งสองประการดังกล่าวนี้
อยูบ่ นพื้นฐานของแนวคิดประการที่สาม คือ การปกครองแบบพ่อปกครองลูก

ความหมายของคำว่ า พระมหากษัตริย์
พระมหากษัตริ ย ์ คือ ประมุขหรื อผูป้ กครองสู งสุ ดของประเทศ จะเห็นได้ว า่
ประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุขปกครอง
ประเทศ อันเกิดจากแนวความคิดที่วา่ แต่เดิมมนุษย์ยงั มีนอ้ ยดำรงชีพแบบเรี ยบ
ง่ายอยูก่ บั ธรรมชาติ และเมื่อมนุษย์ขยายพันธุ์มากขึ้นธรรมชาติต่าง ๆ เริ่ มหมด
ไป เกิดการแก่งแย่งกันทำมาหากิน เกิดปั ญหาสังคมขึ้น จึงต้องหาทางแก้ไข
คนในสังคมจึงคิดว่าต้องพิจารณาคัดเลือกให้บุคคลที่เหมาะสมและมีความ
เฉลียวฉลาด ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นผูพ้ ิจารณาตัดสิ น เมื่อเกิดกรณี ปัญหาต่าง
ๆ ซึ่ งต้องปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความบริ สุทธิ์ ยตุ ิธรรม ทำให้คนในสังคมพอใจ และ
ยินดี ประชาชนทั้งหลายจึงเปล่งอุทานว่า “ระชะ” หรื อ “รัชชะ” หรื อราชา แปล
ว่า ผูเ้ ป็ นที่พอใจประชาชนยินดี ต่อมาเลยเรี ยกว่า พระราชา ด้วยเหตุที่วา่ การ
กระทำ
พระมหากษัตริ ยใ์ นนานาอารยประเทศที่เป็ นประมุขของรัฐที่ได้รับตำแหน่ง
โดยการสื บสันตติวงศ์น้ นั อาจจำแนกประเภทโดยอาศัยพระราชอำนาจ และ
พระราชสถานะเป็ น 3 ประการ คือ
1. พระมหากษัตริ ยใ์ นระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ (Absolute
Monarchy)
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุขของรัฐ มีพระราชอำนาจและพระบรม
เดชานุภาพเด็ดขาด และล้นพ้นแต่พระองค์เดียว และในอดีตประเทศไทยเคยใช้
อยูก่ ่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

2. พระมหากษัตริ ยใ์ นระบอบปรมิตาญาสิ ทธิราชย์ (Limited Monarchy)


คือ
พระมหากษัตริ ยท์ รงมีพระราชอำนาจทุกประการ เว้นแต่จะถูกจำกัดโดย
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญเช่น ประเทศซาอุดิอาระเบีย เป็ นต้น

3. พระมหากษัตริ ยภ์ ายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) คือ


ในระบอบนี้ มีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข แต่ในการใช้พระราชอำนาจด้าน
การปกครองนั้น ถูกโอนมาเป็ นของรัฐบาล พลเรื อน และทหาร พระมหา
กษัตริ ยจ์ ึงทรงใช้พระราชอำนาจผ่านฝ่ ายนิติบญั ญัติ ฝ่ ายบริ หาร และฝ่ าย
ตุลาการ พระองค์มิได้ใช้พระราชอำนาจ แต่มีองค์กรหรื อหน่วยงานรับผิดชอบ
ต่าง ๆกันไป เช่น ประเทศไทย อังกฤษ และญี่ปุ่นในปั จจุบนั เป็ นต้น

พระมหากษัตริย์ของไทย
หากนับย้อนอดีตประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณ คำว่า ”กษัตริ ย”์ หรื อ
นักรบผูย้ งิ่ ใหญ่ ศึกษาได้จากในสมัยกรุ งสุ โขทัยมีการปกครองแบบพ่อ
ปกครองลูก จะมีความใกล้ชิดกับประชาชนมาก เช่น ในสมัยราชวงศ์พระร่ วง
กษัตริ ยจ์ ะมีพระนามขึ้นต้นว่า “พ่อขุน” เรี ยกว่าพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ พ่อขุน
รามคำแหง

พระมหากษัตริย์ไทยกับรัฐธรรมนูญ
ในอดีตพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นเจ้าของชีวติ และเจ้าแผ่นดิน กล่าวคือ ทรง
พระบรมเดชานุภาพเป็ นล้นพ้น โดยหลักแล้วจะโปรดเกล้าฯ ให้ผใู ้ ดสิ ้ นชีวติ ก็
ย่อมกระทำได้ และทรงเป็ นเจ้าชีวติ ของที่ดินตลอดทัว่ ราชอาณาจักร แต่เมื่อ
ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
ระบบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์เป็ นระบอบ
ประชาธิปไตยซึ่ งมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ทำให้พระราชสถานะของ
พระมหากษัตริ ยไ์ ด้เปลี่ยนแปลงไปด้วยคือ ทรงเปลี่ยนฐานะเป็ นพระมหา
กษัตริ ยใ์ นระบอบประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายแม่บทในการใช้
พระราชอำนาจทั้งปวง

พระราชสถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
รู ปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ได้ก ำหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับอันเป็ นกฎหมายแม่บทสู งสุ ดในการปกครองประเทศ
จะต้องกล่าวถึงสถาบันพระมหากษัตริ ยไ์ ว้ในรัฐธรรมนูญ เพราะรู ปแบบ
ประมุขของประเทศไทย คือ พระมหากษัตริ ยท์ ี่สืบเนื่องกันมาอย่างยาวนาน
ตามประเพณี การปกครองไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
เป็ นประมุขและตามรัฐธรรมนูญพระมหากษัตริ ยจ์ ะมีพระราชสถานะและ
ตำแหน่งหน้าที่ต่าง ๆ มี 2 ประการ คือ
1) พระราชสถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริ ยท์ ี่บญั ญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญ เป็ นการกล่าวถึงพระมหากษัตริ ยต์ ามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
แต่ละฉบับ เช่น พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นองค์พระประมุข หรื อพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น
อัครศาสนูปถัมภก
2) พระราชสถานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริ ยต์ ามประเพณี การ
ปกครอง ตามหลักทัว่ ไป พระมหากษัตริ ยม์ ีพระราชอำนาจนอกเหนือจากที่
กล่าวข้างต้น คือ แต่เดิมพระมหากษัตริ ยม์ ีอ ำนาจสิ ทธิขาดในทุก ๆ เรื่ อง และ
ทุก ๆ กรณี แต่ผเู ้ ดียว ต่อมาเมื่อมีรัฐธรรมนูญเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจำกัดพระ
ราชอำนาจของพระมหากษัตริ ย ์ ถ้ากรณี ใดไม่มีบทบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
หรื อกฎหมายกำ หนดขอบเขตหรื อเงื่อนไขของการใช้พระราชอำ นาจของพระ
มหากษัตริ ยไ์ ว้พระมหากษัตริ ยก์ จ็ ะยังคงมีพระราชอำนาจเช่นนั้นอยูโ่ ดยผล
ของธรรมเนียมปฏิบตั ิ (Convention) ซึ่ งมีค่าบังคับเป็ นรัฐธรรมนูญเช่น
เดียวกัน เช่น พระราชอำนาจในภาวะวิกฤต

You might also like