You are on page 1of 5

เพลง ทศพิธราชธรรม พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัยสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ด้าน คือ

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง , พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ ,พัฒนาการด้าน


ทศพิธราชธรรม คือคุณธรรมของพระราชา สังคมและวัฒนธรรม ซึ่ งเราสามารถศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัยผ่าน
ทาน นั้นคือการให้ ทำแล้วสุ ขใจ พวกเราสุ ขขี เพลงทศพิธราชธรรมโดยแบ่งออกเป็ นหลักธรรมทั้ง 10 ประการ ของเพลงทศพิ
ธราชธรรมได้ดงั ต่อไปนี้
ศีล คือความประพฤติดี ความชัว่ ไม่มี ทั้งกาย วาจา
1. ทาน คือ การให้ หมายถึง การสละทรัพย์ สิ่ งของ เพื่อช่วยเหลือคนที่ดอ้ ยและ
ปริ จาคะ คือการบริ จาค ช่วยคนลำบาก ได้บุญหนักหนา อ่อนแอกว่า
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านเศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย โดยในสมัย
อาชวะ ไม่คิดนินทา พวกเรารักษา ในความซื่อตรง
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชของสุ โขทัย ทรงเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้คา้ ขาย
มัททวะ เป็ นคนอ่อนโยน ไม่เล่นโลดโผน สำรวมกิริยา กันอย่างเสรี มีเสรี ภาพในการประกอบอาชีพ ไม่มีการผูกขาดทางการค้าโดย
พระคลังสิ นค้า โดยยอมสละผลประโยชน์บางประการที่พระองค์ควรจะได้รับ
ตบะ คือใฝ่ ศึกษา พากเพียรวิชา เอาไว้เลี้ยงตน แสดงออกถึงการมีน ้ำพระทัยที่เต็มเปี่ ยมในการช่วยเหลือราษฎร ซึ่ งมีฐานะทาง
อักโกธะ คือความไม่โกรธ ไม่ควรถือโทษ ตั้งจิตเมตตา เศรษฐกิจที่ต ่ำกว่า

อวิหิงสา ผูค้ นศรัทธา บุญคอยรักษา เพราะไม่เบียดเบียน


2. ศีล คือการตั้งอยูใ่ นศีล หมายถึง มีความประพฤติดีงาม เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่คน
ขันติ คือความอดทน หมัน่ เพียรฝึ กฝน ทบทวนปัญหา
ทัว่ ไป
อวิโรธนะ จะคอยนำพา ผูค้ นทัว่ หน้า สู่ ความยุติธรรม ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านสังคมในสมัยสุ โขทัย โดยกษัตริ ย ์
สุ โขทัยทรงทำนุบ ำรุ งส่ งเสริ มพระพุทธศาสนา ทรงเป็ นผูป้ ฏิบตั ิธรรมเป็ น
ทศพิธราชธรรม กับพัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย ตัวอย่าง และได้ทรงสร้างถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนาไว้ทวั่ ไปเพื่อเป็ นที่
เคารพบูชาของประชาชนให้เกิดเลื่อมใสศรัทธายึดหลักธรรมของพระพุทธ ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านการปกครองในสมัยสุ โขทัย โดยใน
ศาสนาเป็ นหลักในการดำเนินชีวิต  สร้างความสามัคคีกลมเกลียวกันในแผ่นดิน สมัยสุ โขทัยตอนต้นมีการปกครองแบบปิ ตุราชา ซึ่ งกษัตริ ยจ์ ะคอยดูแล
ประชาชนอย่างใกล้ชิดเปรี ยบเสมือนพ่อที่คอยปกครองดูแลลูก แสดงออกถึง
3. ปริ จาคะ คือบริ จาค หมายถึง การเสี ยสละความสุ ขสำราญของตนเพื่อ
การที่กษัตริ ยท์ รงมีจิตใจที่อ่อนโยน และเต็มเปี่ ยมไปด้วยความรัก ความเมตตา
ประโยชน์สุขของหมู่คณะ
ต่อประชาชน
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านสังคมในสมัยสุ โขทัย ซึ่ งกษัตริ ยใ์ น
สมัยสุ โขทัยยอมเสี ยสละความสุ ขสำราญของตนเอง โดยการออกเยีย่ มเยียน
ราษฎร ดูแลสุ ข-ทุกข์ ของประชาชน และบริ จาคทรัพย์สินส่ วนพระองค์ในการ
6. ตบะ คือความเพียร หมายถึง การเพียรพยายามไม่ให้ความมัวเมาเข้าครอบงำ
ธำนุบ ำรุ งพระพุทธศาสนา เช่น การสร้างวัด สร้างเจดีย ์ เป็ นต้น
จิตใจ ไม่ลุ่มหลงกับอบายมุขและสิ่ งชัว่ ร้าย ไม่หมกมุ่นกับความสุ ขสำราญ
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านเศรษฐกิจในสมัยสุ โขทัย ซึ่ งประชาชน
ในสมัยสุ โขทัยมีทกั ษะ และความรู ้ในการประกอบอาชีพ โดยรู ้จกั การสร้าง
4. อาชชวะ คือความซื่อตรง หมายถึง มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีความจริ งใจ ไม่ ตระพัง และ สรี ดภงค์ ไว้กกั เก็บน้ำ เพื่อแก้ไขปั ญหาไมมีน ้ำไว้ใช้อุปโภค
กลับกลอก บริ โภค และทำการเกษตรในหน้าแล้ง พร้อมทั้งประชาชนยังประกอบอาชีพ
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านการปกครองในสมัยสุ โขทัย ในสมัย อย่างสุ จริ ต ไม่ลุ่มหลงในอบายมุข ที่ก่อให้เกิดความเสื่ อมต่อตนเองและสังคม
ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แห่งกรุ งสุ โขทัย พระยามังรายมหาราช แห่ง
7. อักโกธะ คือความไม่โกรธ หมายถึง มีจิตใจมัน่ คง มีความสุ ขมุ เยือกเย็น
เชียงใหม่ และพระยางำเมือง แห่งพะเยา ได้สญั ญากันว่าจะเป็ นพันธมิตรกัน
อดกลั้น ไม่แสดงความโกรธหรื อความไม่พอใจให้ปรากฏ
และช่วยเหลือกันป้ องกันภัยคุกคามจากพวกมองโกล ซึ่ งกษัตริ ยท์ ้ งั สาม
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านการปกครองในสมัยสุ โขทัย ในสมัย
พระองค์ทรงมีความจริ งใจต่อกัน เปรี ยบเสมือนพี่นอ้ งร่ วมท้องมารดาเดียวกัน
พระรามาธิ บดีที่ 1 (อู่ทอง) แห่งกรุ งศรี อยุธยา ได้ยกทัพไปยึดเมืองพิษณุโลก
5. มัททวะ คือความอ่อนโยน หมายถึง มีกิริยาสุ ภาพ มีสมั มาคารวะ วาจาอ่อน ของอาณาจักรสุ โขทัย พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) กษัตริ ยข์ องสุ โขทัยใน
หวาน มีความนุ่มนวล ไม่เย่อหยิง่ ไม่หยาบคาย ขณะนั้น ทรงมีจิตใจที่สุขมุ อดกลั้นต่อสิ่ งที่เกิดขึ้น โดยไม่ได้ส่งกองทัพไปยึด
เมืองพิษณุโลกคืน แต่ทรงใช้วิธีการทางการฑูตไปเจรจาของเมืองพิษณุโลกคืน 10. อวิโรธนะ คือความเที่ยงธรรม หมายถึงไม่ประพฤติผดิ ประพฤติปฏิบตั ิตน
แทน อยูใ่ นความดีงาม ไม่หวัน่ ไหวในเรื่ องดีเรื่ องร้าย
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านการปกครองในสมัยสุ โขทัย โดยใน
สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระองค์ทรงวางพระองค์อย่างบิดาปกครอง
8. อวิหิงสา คือความไม่เบียดเบียน หมายถึง ไม่กดขี่ข่มเหง กลัน่ แกล้งรังแกคน บุตรด้วยการสอดส่ องความเป็ นอยูข่ องราษฎร ใครทุกข์ร้อนจะทูลร้องทุกข์เมื่อ
อื่น ไม่หลงในอำนาจ ทำอันตรายต่อร่ างกายและทรัพย์สินผูอ้ ื่นตามอำเภอใจ ใดก็ได้ โปรดให้แขวนกระดิ่งที่ประตูพระราชวัง เมื่อราษฎรมีทุกข์กไ็ ปสัน่
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านสังคมในสมัยสุ โขทัย ในสมัยสุ โขทัย กระดิ่งนั้น เมื่อพ่อขุนรามคำแหงทรงได้ยนิ ก็จะเสด็จมาดำเนินการพิพากษาคดี
ประชาชนมีอิสระในการประกอบอาชีพ และมีอิสระในการเดินทาง สามารถ ความต่างๆ เพื่อให้ความยุติธรรมแก่ราษฎรผูร้ ้องทุกข์ดว้ ยตัวพระองค์เอง
เลือกถิ่นฐานที่อยูอ่ าศัยได้ โดยปราศจาก การกดขี่ข่มเหงจากผูป้ กครอง ซึ่ ง
แสดงออกถึงการมีน ้ำพระทัยที่กว้างขว้างของกษัตริ ยท์ ี่มีต่อราษฎร

9. ขันติ คือความอดทน หมายถึงการอดทนต่อสิ่ งทั้งปวง สามารถอดทนต่องาน


หนัก ความยากลำบาก ทั้งอดทน อดกลั้นต่อคำติฉินนินทา
ซึ่ งสอดคล้องกับพัฒนาการด้านสังคมในสมัยสุ โขทัย โดยประชาชน
ในสมัยสุ โขทัย มีความอดทนต่อความยากลำบาก ทำงานที่ได้รับมอบหมายให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ ซึ่ งประชาชนสมัยสุ โขทัยได้สร้างสรรค์ผลงานด้านต่างๆ
ซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์ของสมัยสุ โขทัยตกทอดให้ยงั คนรุ่ นหลังได้ชื่นชม เช่น เจดีย ์
ทรงพุม่ ข้างบิณฑ์ , พระพุทธรู ปปางลีลา , เครื่ องสังคโลก เป็ นต้น

พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย
อาณาจักรสุ โขทัยเป็ นราชธานีแห่งแรกของไทย ซึ่ งเราสามารถศึกษา โปรดให้แขวนกระดิ่งที่ประตูพระราชวัง เมื่อราษฎรมีทุกข์กไ็ ปสัน่ กระดิ่งนั้น
พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัยผ่านเพลงทศพิธราชธรรมโดยแบ่งออกเป็ น เมื่อพ่อขุนรามคำแหงทรงได้ยนิ ก็จะเสด็จมาดำเนินการพิพากษาคดีความต่างๆ
พัฒนาการด้านต่างๆได้ 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ ด้วยพระองค์เอง ซึ่ งสอดคล้องกับหลักธรรม มัททวะ และ อักวิโรธนะ ในหลัก
ทศพิธราชธรรม ที่หมายถึงความสุ ความเที่ยงธรรม ความยุติธรรม
1. พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง 2. สมัยสุ โขทัยตอนปลายตั้งแต่สมัยพระยาเลอไทยไปถึงสมัยสุ โขทัย
2. พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ หมดอำนาจ
3. พัฒนาการด้านสังคม ซึ่ งการปกครองในสมัยสุ โขทัยตอนปลายได้อาศัยหลักธรรมทาง
4. พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ พระพุทธศาสนามาใช้ในการปกครองเรี ยกว่า การปกครองแบบธรรมราชา 
พระมหากษัตริ ยจ์ ะทรงตั้งมัน่ อยูใ่ นทศพิธราชธรรม การปกครองแบบธรรม
1. พัฒนาการด้ านการเมืองการปกครอง
ราชานี้ถูกนำมาใช้จนประทัง่ สิ้ นสุ ดสมัยสุ โขทัย
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสอดคล้องกับหลักธรรม ศีล อัก เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ขึ้นครองราชย์สมบัติในปี 1890   
โกธะ และ อวิโรธนะ ในหลักทศพิธราชธรรม ซึ่ งการปกครองในสมัยสุ โขทัย
ทรงตระหนักถึงความไม่มนั่ คงภายใน ประกอบกับเวลานั้นกรุ งศรี อยุธยาที่ต้ งั
สามารถแบ่งเป็ น 2 ระยะคือ
1. สมัยสุ โขทัยตอนต้น   เริ่ มตั้งแต่สมัยพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ ไปถึงสิ้ น ขึ้นมาใหม่ก ำลังแผ่ขยายอำนาจจนน่ากลัวจะเกิดอันตรายกับสุ โขทัย พระมหา
สมัยของพ่อขุนรามคำแหง ธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)  ทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาทางการเมืองด้วยการใช้อ ำนาจ
เมื่อพ่อขุนรามคำแหงมหาราชขึ้นครองราชย์ การปกครองพลเมืองยัง ทางทหารอย่างเดียวนั้นไม่สามารถทำได้ เพราะอำนาจทางการทหารในสมัย
ถือตามคติของคนไทยแต่เดิมอยู่ กล่าวคือ ปกครองอย่างบิดาปกครองบุตร ดัง ของพระองค์น้ นั ไม่เข้มแข็งพอ  จึงทรงดำเนินพระราชกุศโลบาย โดยทรงทำนุ
ปรากฏในศิลาจารึ กของพ่อขุนรามคำแหง ดังข้อความในศิลาจารึ กหลักที่ 1 ว่า บำรุ งส่ งเสริ มพระพุทธศาสนา ทรงเป็ นผูป้ ฏิบตั ิธรรมเป็ นตัวอย่าง และได้ทรง
"…ในปากประตูมีกระดิ่งอันหนึ่งแขวนไว้ห้ นั ไพร่ ฟ้าหน้าปกกลาง สร้างถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนาไว้ทวั่ ไปเพื่อเป็ นที่เคารพบูชาของ
บ้านกลางเมืองมีถอ้ ยมีความ เจ็บท้องข้องใจมันจะกล่าวถึงเจ้าถึงขุนบ่ไร้ ไปลัน่
ประชาชนให้เกิดเลื่อมใสศรัทธายึดหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเป็ นหลักใน
กระดิ่งอันท่านแขวนไว้ พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองได้ยนิ เรี ยกเมือถาม สวน
ความแก่มนั โดยซื่อ ไพร่ ในเมืองสุ โขทัยนี้ จ่ ึงชม.." การดำเนินชีวิต  สร้างความสามัคคีกลมเกลียวกันในแผ่นดิน ซึ่ งสอดคล้องกับ
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงวางพระองค์อย่างบิดาปกครองบุตรด้วย หลักธรรม ศีล และ อักโกธะ ในหลักทศพิธราชธรรม ที่หมายถึง ความประพฤติ
การสอดส่ องความเป็ นอยูข่ องราษฎร ใครทุกข์ร้อนจะทูลร้องทุกข์เมื่อใดก็ได้ ในทางที่ดี และมีความสุ ขมุ เยือกเย็น ไม่โกธร

You might also like