You are on page 1of 15

แนวสรุปข้ อสอบ

หน่ วยที่ 1
ความแตกต่างระหว่างคนอีสานกับคนลาว ถึงแม้ จะใช้ ภาษาคล้ ายกัน แต่ไม่ได้ อยูใ่ นสังคมเดียวกัน

สังคมวัฒนธรรม คือ คนที่อยูร่ ่วมกันเป็ นหมูค่ ณะ มีวิถีการดารงชีวิตที่เป็ นแบบอย่างเดียวกัน

สังคมวัฒนธรรมสากลกับสังคมวัฒนธรรมเฉพาะ มีปัญหาในการจาแนกมากในทุกๆด้ าน เช่นสังคมพม่ากับกะเหรี่ ยง

อุปกรณ์ที่เป็ นเครื่ องมือ วิธีการที่ใช้ ร่วมกันในสังคม คือ ภาษา / จินตนาการ / ระเบียบกฎเกณฑ์ / การแปรรูป
ทรัพยากร

จารี ตและกฎหมาย คือ สิ่งที่ควบคุมมนุษย์ในสังคม

โลกทัศน์ ที่แตกต่างกันทาให้ ความต้ องการของแต่ละสังคมแตกต่างกันไป

ประวัติศาสตร์ เป็ นเรื่ องของเวลา และช่วยสะท้ อนความเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ เป็ นเรื่ องของพื ้นที่

หน่ วยที่ 2
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ของสังคมและวัฒนธรรมในดินแดนประเทศไทยมีการผสมผสานกันทังด้
้ านเผ่าพันธ์ และ
วัฒนธรรม ผสานพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดการสร้ างสรรค์วฒ
ั นธรรมที่เป็ นแบบอย่างของตนเอง คือ วัฒนธรรมไทย

จดหมายเหตุของปโตเลมี ได้ กล่าวถึงการเดินทางของชาวโรมันมายังดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะชาวโรมัน


ต้ องการสินค้ าพวก เครื่ องเทศ

พัฒนาการของมนุษย์เมื่อเข้ าสูย่ คุ หินใหม่ มนุษย์ร้ ูจกั การเพาะปลูก เลี ้ยงสัตว์ เริ่มตังถิ


้ ่นฐานอยูก่ บั ที่

โลหะประเภทแรกๆที่มนุษย์ร้ ูจกั ใช้ คือ สาริ ด บ้ านเชียงเป็ นวัฒนธรรมสาริ ดที่เก่าแก่ที่สดุ ในดินแดนประเทศไทย


ศูนย์กลางของแคว้ นทวารวดี สันนิฐานว่ามีเมืองศูนย์กลาง ๒ เมือง คือ เมืองนครชัยศรี (นครปฐมโบราณ) และเมือง
ละโว้ (ลพบุรี)

โบราณสถาน ประสาทหิน เป็ นอิทธิพลของ เขมร (ขอม) ในภาคอีสานของไทย

มรดกวัฒนธรรมด้ านการเมืองการปกครองที่อยุธยาสร้ างสรรค์มี สถาบันพระมหากษัตริย์ แบบเทวราชา การปกครอง


แบบจตุสดมภ์ การจัดระบบกฎหมายซึง่ เป็ นรากฐานของกฎหมายตราสามดวงในสมัยรัตนโกสินทร์

มรดกสาคัญของอยุธยา คือ ระบบอุปถัมภ์

พระยาตากสินได้ รับการสนับสนุนจาก พวกขุนนางส่วนกลาง ทาให้ สามารถขับไล่พม่ายึดกรุงศรี อยุธยากลับคืนมาได้

สมัยรัตนโกสินทร์ ได้ ผนวกล้ านนาและอีสานเข้ ามาอยูใ่ นอาณาจักรอย่างแนบแน่นแล้ วเป็ น รัฐชาติไทย สมัย ร.๕

หน่ ายที่ 3

อยุธยาตอนกลางสมัยพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองเป็ น 2 ส่วน คือ การปกครองส่วนกลาง และการ


ปกครองหัวเมือง

การปกครองส่วนกลางตังกรมใหญ่
้ เพิ่มขึ ้นอีก 2 กรม คือ กรมกลาโหม มี สมุหพระกลาโหม ดูแลฝ่ ายทหาร

กรมมหาดไทย มี สมุหนายก ดูแลฝ่ ายพลเรื อน

สมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น กษัตริย์ทรงเป็ นราชาธิราช หรื อธรรมิกราชาธิราช โดยการปกครองแบ่งออกเป็ น ๒ ส่วน คือ


การปกครองส่วนกลาง และการปกครองส่วนภูมิภาค

สมัย ร.๔ ทรงดาเนินการแผ่นดินมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ด้ วยการจ้ างชาวตะวันตกทังยุ


้ โรปและอเมริกนั เข้ ามารับ
ราชการในกรมกองต่างๆของประเทศไทย ในฐานะที่ปรึกษาแนะนาแนวคิดใหม่แก่ข้าราชการไทย
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง สมัย ร.๕ จัดตังกระทรวงต่
้ างๆ เพิ่มขึ ้นอีก ๖กระทรวง รวมเป็ น ๑๒ กระทรวง

การปกครองแบบเทศาภิบาล แบ่งการปกครองตามลาดับขัน้ เมือง มีผ้ วู า่ การเมือง อาเภอ มีนายอาเภอ ตาบล มีกานัน


และหมูบ่ ้ าน มีผ้ ใู หญ่บ้าน เป็ นต้ น

การปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เหตุการณ์ครัง้ นี ้เกิดจากการรวมกลุม่ กันเป็ น “คณะราษฎร” จากบุคคล ๒ กลุม่ คือ


- กลุม ่ ทหาร มีพนั เอกพระพหลพยุหเสนา เป็ นผู้นา
- กลุม ่ พลเรื อน มีหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม หรื อ นายปรี ดี พนมยงค์ เป็ นผู้นา

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตังแต่
้ พ.ศ.๒๔๗๕ – ๒๕๐๐ เป็ นช่วงของจอมพล ป.พิบลู สงคราม นโยบายการสร้ างชาติ
ลักษณะลัทธิชาตินิยมทางการเมือง หลังจาก ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๐ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทาการรัฐประหาร
และได้ ทาการปกครองประเทศด้ วยระบบเผด็จการ

เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ รัฐบาลจอมพล ถนอม กิติขจรได้ ใช้ กาลังในการปราบปรามการประท้ วง จนนาไปสูก่ าร


นองเลือด แต่ก็ไม่สามารถปราบปรามได้ ในที่สดุ จอมพลถนอม กิตขิ จร ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และได้
แต่งตัง้ นายสัญญา ธรรมศักดิเ์ ป็ นนายกรัฐมนตรี คนต่อไป

เหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เป็ นนายกรัฐมนตรี มีการชุมนุมของนักศึกษาที่ ม.ลัยธรรมศาสตร์


จนนาไปสูก่ ารทารัฐประหารรัฐบาล โดยพลเรื อเอก สงัด ชลออยู่ และแต่งตังนายธานิ
้ นทร์ กรัยวิเชียร เป็ นนายก

เหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” การชุมนุมในครัง้ นี ้ส่วนใหญ่เป็ นชนชันกลาง


้ เกิดเพราะรัฐบาลเริ่มใช้ แผนไพรี พินาศ ใช้ กอง
กาลังเข้ าสลายการชุมนุม นาไปสูเ่ หตุการณ์นองเลือด พลเอกสุจินดา คราประยูร ลาออกจากนายกรัฐมนตรี และ
สนับสนุนให้ พลอากาศเอกสมบุญ ระหงส์ หัวหน้ าพรรคชาติไทยเป็ นนายก

การทารัฐประหาร พ.ศ.๒๕๔๙ พ.ต.อ.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นนายกรัฐมนตรี เกิดการปฏิวตั โิ ดยคณะทหาร ในนาม คณะ
ปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (คปค.) โดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน หลังรัฐประหารได้ เลือก
พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็ นนายกรัฐมนตรี และยกเลิกการใช้ รัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐
หน่ วยที่ ๔

ก่อนปี พ.ศ.๒๓๙๘ ไทยได้ ทาสัญญากับประเทศอังกฤษ (สัญญาเบอร์ นี่) สัญญาให้ ข้าวเป็ นสินค้ าออก แต่ไทยมีสิทธิ
ห้ ามส่งออกได้ ถ้าหากเกิดความขาดแคลนในประเทศ ในสมัย ร.3 มีการห้ ามส่งออกข้ าวตลอดเวลา โดยอ้ างว่าข้ าว
ภายในประเทศขาดแคลน

ชาวจีนได้ อพยพเข้ ามาไทยเป็ นจานวนมาก ประกอบอาชีพหลายประเภท พ่อค้ า แรงงานกุลี นักธุรกิ จ แรงงานฝี มือ
ยกเว้ นการ ทานา (ชาวนา) ที่เป็ นของคนไทย

เศรษฐกิจแบบชาตินิยม เป็ นแนวทางเศรษฐกิจที่ตอ่ ต้ านระบบศักดินา และเป็ นพื ้นฐานของระบบทุนนิยม

เศรษฐกิจตกต่าทัว่ โลก ปี ๒๔๗๐ ส่งผลให้ ธุรกิจปิ ดตัวลงและล้ มละลาย การว่างงานเพิ่มขึ ้นระดับสูง ราคาสิ ้นค้ าทัง้
อุตสาหกรรมและเกษตรกรรมลดลงอย่างต่อเนื่อง หนี ้สินต่างประเทศเพิ่มขึ ้น

มีการคาดการณ์วา่ แนวโน้ มเศรษฐกิจในอนาคต ไทยเป็ นประเทศพัฒนาประเทศแรกที่จะเข้ าสูส่ งั คม ผู้สงู อายุมากขึ ้น


ในขณะที่สดั ส่วนประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลงอย่างต่อเนื่อง

แผนพัฒนาฉบับที่ ๗ มีวตั ถุประสงค์หลัก คือ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ ๒


ประการคือ กระจายรายได้ และความเจริญสูภ่ มู ิภาคชนบทให้ กว้ างขวาง และ เร่งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพ
ชีวิต และสิ่งแวดล้ อม ในแบบ “การพัฒนาแบบยัง่ ยืน”

วิกฤษเศรษฐกิจปี ๒๕๔๐ ทาให้ ไทยต้ องเข้ าสูเ่ งื่อนไข ของ IMF เพราะเศรษฐกิจฟองสบูแ่ ตก (วิกฤษต้ มยากุ้ง)

แผนพัฒนาฉบับที่ ๙ ได้ น้อมนาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ เป็ นครัง้ แรกและใช้ อย่างต่อเนื่องในแผนที่


ฉบับที่ ๑๐-๑๒
หน่ วยที่ ๕

สมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้ นมีการอพยพของชาวจีนเข้ าในไทยมากพอควร ไม่ได้ ควบคุมให้ อยูใ่ นระบบไพร่หากแต่ให้ อิสระ


ในด้ านแรงงานและย้ ายถิ่นที่อยู่ ( ไทยไม่ควบคุมคนจีนเพราะต้ องการใช้ แรงงาน)

ในสมัยอยุธยาตอนกลาง เมื่อเกิดการค้ าขายกับต่างประเทศ เจริญรุ่งเรื องมาก ทาให้ เกิดไพร่ประเภทใหม่ คือ ไพร่สว่ ย


ไพร่สว่ ยมี ๒ ประเภท คือ ไพร่สว่ ยสิ่งของ กับไพร่สว่ ยเงิน
รัฐบาลสมัยจารี ตใช้ ระบบศักดินา เป็ นเครื่ องกาหนดสิทธิ หน้ าที่ และฐานะเจ้ านาย ไม่ใช้ หลักฐานในกรรมสิทธิ์ที่ดนิ

การเรี ยนรู้วิทยาการและรับวัฒนธรรมของตะวันตก มีผลต่อการปรับปรุงและพัฒนาประเทศ ในสมัยรับกาลที่ ๕

การยกเลิกไพร่ชว่ ยให้ ราษฎรทัว่ ประเทศพ้ นสถานะจากไพร่ เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนย้ ายที่อยู่และเดินทางอย่างมีอิสระ

ชนชันกลางเป็
้ นกลุม่ ซึง่ กาลังเข้ าสูป่ ระตูแห่งความสาเร็จ กลุม่ นี ้มักเป็ นกลุม่ ที่ต้องการและความมัน่ คง ความ
เปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป

ในสังคมจารี ต ความสัมพันธ์เมืองและบ้ าน อยู่ตามระเบียบสังคมภายใต้ ระบบไพร่ ส่วนสัมพันธ์อื่นๆเมืองไม่ได้ เข้ า


แทรกแซงบ้ าน ชุมชนจึงมีอิสระในวิถีชีวิตชุมชน

สังคมเมือง มีลกั ษณะเด่นที่การกระจุกตัวของประชาการในพื ้นที่แคบ ประกอบอาชีพต่างๆ เมืองมีขนาดใหญ่ ,กลาง,


เล็ก ปั ญหาอาชญากรรมอาจพบมากในเมืองขนาดใหญ่และกลางส่วนเมืองขนาดเล็กอาจ มีอาชญากรรมน้ อย

หน่ วยที่ ๖

องค์ประกอบประเพณี การเฉลิมฉลองเป็ นบรรยากาศและเป็ นกิจกรรมที่ทาให้ ร้ ูสึกอิ่มเอบใจ

ดนตรี ไทยเป็ นศาสตร์ และศิลป์ของคนไทยมาแต่โบราณ การไหว้ ครูดนตรี ไทย มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้ องกับ ดนตรี ดงเดิ
ั้ ม
การทาขวัญข้ าวเป็ นประเพณีก่อนนาข้ าวเข้ ายุ้ง ปั จจุบนั ถูกละเลย ปั จจัยที่ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ความเจริญ
ทางเทคโนโลยี เพราะใช้ เครื่ องนวด เครื่ องแยกเมล็ดข้ าว และเครื่ องบรรจุกระสอบโดยอัตโนมัติ

ประเพณีพิธีกรรมในศาสนาอิสลาม การปฏิบตั ิ นมาซ (ละมาด) วันละ๕ครัง้ เพื่อแสดงความเคารพ,และขอพรพระเจ้ า

ประเพณีปอยสางลอง ของชาวไทยใหญ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน คือการบวชสามเณร (บวชลูกแก้ ว)

ลักษณะประเพณีที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ผา่ นมา เช่น การเวียนเทียน

การบังสุกลุ มี ๒ ลักษณะ คือ บังสุกลุ เป็ น เชื่อว่าเป็ นการต่ออายุ รอดพ้ นจากเคราะห์ร้ายทังปวงเหมื


้ อนตายแล้ วเกิดใหม่

บังสุกลุ ตาย คือ การทาบุญให้ กบั ผู้ที่ได้ เสียชีวิตไปแล้ ว

หน่ วยที่ ๗

การละเล่นพื ้นบ้ านต่างๆหรื อการเล่นขับร้ อง เป็ นการเล่นจริงๆ แต่การเล่นการเมือง ไม่ใช่การเล่นจริง

การขับร้ องเพลงเรื อ การละเล่นพื ้นบ้ านต่างๆ มีกติกาการเล่นที่ทกุ คนจะต้ องปฏิบตั ิตาม เป็ นเครื่ องมือควบคุมสังคม

การฟ้อนสาวไหม เป็ นการแสดงขันตอนการทอผ้


้ าไหม ตังแต่
้ สาวใยไหมจนถึงการทอเป็ นผืนผ้ า นามาฟ้อนรา
เลียนแบบวิถีชีวิตการทอผ้ าของชาวเหนือทุกขันตอน

การละเล่น การเดินโถกเถก อุปกรณ์ที่ใช้ ทาด้ วย ไม้ ไผ่ การเล่นกีฬา

การละเล่นต่างๆในอดีต จะใกล้ ชิดกับธรรมชาติ การลากลอน เป็ นการแสดงเป็ นเรื่ อง

สาหรับกีฬา นอกจากฝึ กทักษะทางร่างกายแล้ วต้ องฝึ กจิตใจให้ อดทน รวมทังมี


้ คณุ ธรรม รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
วงดนตรี ของภาคเหนือ เน้ นเครื่ องดีด จุดเด่นคือ สะล้ อ , ซอ , ซึง

หน่ วยที่ ๘

ภาษาเป็ นเรื่ องของการสื่อสารอย่างมีระบบความหมาย ภาษาโบราณ ทาให้ เข้ าใจเรื่ องราวอดีตชัดเจนขึ ้น

ระบบการสื่อสารของไทยไม่ตา่ งจากภาษาอื่นๆ สิ่งที่ตา่ งคือ ระบบเสียง , ระบบคา

ภาษากลางอันเป็ นสาเนียงที่ถือเป็ นมาตรฐานจริงๆ มีความเปลี่ยนแปลงรวดเร็วกว่าภาษาถิ่นอื่น มีคาใหม่ สานวนใหม่


เกิดขึ ้นเองโดยอัตโนมัติ และเกิดด้ วยการบัญญัตขิ องทางราชการ หรื อวิชาการ

ถ้ าใช้ ภาษาเป็ นหลักพิจารณา จะเห็นได้ วา่ สังคมจะเป็ นสังคมขึ ้นมาได้ ก็เพราะภาษา การใช้ ภาษาต้ องคานึงถึงสังคม

ภาษาชนิดใดไม่ได้ ใช้ เพราะสภาพแวดล้ อมต่างไป ก็เลิกใช้ ในชีวิตประจาวันแต่อาจเหลืออยูใ่ นบันทึกหลักฐานในหนังสือ


บางคราวก็ตดิ อยูใ่ นสังคม ลักษณะเช่นนี ้ภาษาเปลี่ยนช้ ากว่าสังคม (สานวนเก็บไว้ เฉพาะภาษา แต่สงั คมเปลี่ยนไปแล้ ว)

การเรี ยนภาษาต่างประเทศไม่ได้ เป็ นเหตุให้ ภาษามีการเปลี่ยนแปลง

หน่ วยที่ ๙
ลิลิตโองการแช่งน ้า สมัยพระเจ้ าอูท่ อง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรี อยุธยา อันเป็ นพิธีที่กาหนดให้ ข้าราชการทุกฝ่ ายเข้ าพิธี
เพื่อสาบานตน ผู้เข้ าพิธีต้องดื่มน ้าที่ผา่ นการทาพิธีแล้ ว เพื่อต้ องการความสามัคคี และความซื่อสัตย์

นิยาย หรื อนิทาน คือวรรณกรรมที่จรรโลงสังคม และจรรโลงใจ

พระอภัยมณี เป็ นวรรณกรรมนิทานร้ อยกรอง ประเภทกลอน ไม่ได้ เป็ นวรรณกรรมคาสอน เป็ นเรื่ องราวให้ ความ
สนุกสนาน
พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั (ร.๕ ) คือ ลิลิตนิทราชาคริต ทรงได้ เนื ้อเรื่ องมาจากนิทาน
อาหรับในภาคภาษาอังกฤษ

ละครนอก เป็ นละครที่พฒั นาขึ ้นจากละครชาตรี เดิมเป็ นผู้แสดงชายล้ วน แสดงทุกเรื่ อง ยกเว้ นเรื่ องที่เป็ นบทละครใน
ละครนอกมุง่ ให้ สนุกขบขันมากกว่าศิลปะด้ านการฟ้อนรา

เรื่ อง คาวี ไม่ได้ เป็ นละครใน ละครในจะใช้ เล่นในพระราชฐานของพระเจ้ าแผ่นดินโดยเฉพาะ ผู้แสดงเป็ นหญิงล้ วน
เรื่ องที่แสดงมีเพียง ๔ เรื่ อง คือ รามเกียรติ์ , อุณรุฑ , ดาหลัง , และอิเหนา

ในสมัยกรุงธนบุรี พระยามหานุภาพไปเมืองจีน ได้ นิราศแนวใหม่เรื่ อง นิราศกวางตุ้ง เป็ นนิราศที่เน้ นการถ่ายทอด


ประสบการณ์ และเหตุการณ์ตา่ งๆ ไม่พรรณนาคร่ าครวญเหมือนนิราศรุ่นก่อนๆ

เรื่ องสัน้ แตกต่างกับ นวนิยาย ในแง่ของบทสนทนา เรื่ องสันจะมี


้ แนวคิด มีภาษาที่กระชับ ไม่บรรยายยืดยาว

หน่ วยที่ ๑๐
นาฏศิลป์ หมายถึง การแสดงต่างๆ ที่ใช้ สรี ระทาท่าทางกรี ดกรายร่ายรา เต้ นไปตามจังหวะและทานองเพลง

ละครพูด เกิดขึ ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อยังดารงตาแหน่งพระบรมโอรสาธิราช ทรงตัง้ ทวีปัญญาสโมสร หรื อ สโมสร


ละครสมัครเล่น เพื่อฝึ กหัดมหาดเล็ก

วงมโหรี มีเครื่ องดนตรี ควบคุมทุกประเภท เป็ นวงดนตรี ไทยที่ประกอบด้ วยเครื่ องดนตรี ผสม ทัง้ ดีด , สี , ตี , เป่ า

นาฏศิลป์และดนตรี ไทย มีความเกี่ยวข้ องและสัมพันธ์กบั ศาสตร์ อื่นๆ จานวนมาก ตังแต่


้ เกิดจนตาย สัมพันธ์กบั บ้ าน ,
วัด , วัง

การเทศน์มหาชาติ คือการเทศน์พระเวสสันดรชาดก ถ้ ามีปีพาทย์ก็จะเริ่มบรรเลงโหมโรงก่อนเริ่มงาน เมื่อพระขึ ้น

ธรรมมาสน์ ปี่ พาทย์จะบรรเลงเพลงสาธุการ ทุกๆกัณฑ์ เมื่อเทศน์มหาชาติจบลง ปี่ พาทย์จะบรรเลง เพลงสาธุการและ


เพลงกราวรา
ปั จจุบนั อาชีพที่เกี่ยวข้ องกับดนตรี และนาฏศิลป์หลายอาชีพ มัคคุเทศก์ ก็เป็ นอาชีพที่เกี่ยวข้ องอีกอาชีพหนึง่ คือ จัด
ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม , ด้ านดนตรี ไทย , ด้ านนาฏศิลป์ไทย

การเรี ยนการสอนนาฏศิลป์และดนตรี ไทยโรงเรี ยนภายในระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือโรงเรี ยนมัธยมสังคีต

วงดนตรี ประยุกต์ เป็ นที่ร้ ูจกั กันดี เพราะชาวตะวันตกคือ นายบรูซ แกสตัน เป็ นผู้ริเริ่มก่อตัง้ วงดนตรี ฟองน ้า

หน่ วยที่ ๑๑

ศาสนา คือ ระบบความเชื่ออย่างใดอย่างหนึง่ ความเชื่อที่เป็ นระบบ

ลัทธิ หมายถึง สิ่งที่รับเอามานับถือ ความหมายใกล้ เคียงหรื อเป็ นส่วนหนึง่ อาจนับเป็ นศาสนาได้ (ลัทธิขงจื ้อ ลัทธิเต๋า
ลัทธิฮินดู ) ปั จจุบนั เป็ นศาสนาฮินดู

ปรัมปราคติ เป็ นเรื่ องราวคติความคิดความเชื่อของคนโบราณ แม้ แต่คนปั จจุบนั ก็ยงั สร้ างปรัมปราคติกนั อยู่ (มนุษย์
ศาสตร์ , ความคิด , ความเชื่อ)

ศาสนาเป็ นส่วนหนึง่ ของสังคมในด้ านความเชื่อ ตังแต่


้ ครอบครัวจนถึงสังคมโดยรวม กาหนดให้ เหตุผลในสังคมและ
พฤติกรรมของบุคคลในสังคมด้ วย

การรับนับถือ ศาสนาจากอินเดีย คือ ศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนา เป็ นไปตามธรรมชาติแห่งการรับวัฒนธรรม


อารยธรรม

ศาสนาพราหมณ์ ให้ ความคิดด้ านพิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีหลวง เรี ยกกันว่าพระราชพิธี (มีบทบาทต่อชาววัง)


พุทธศาสนา เป็ นเรื่ อง พิธีการบาเพ็ญกุศล เพื่อให้ เกิดสวัสดิมงคล หรื ออุทิศให้ ผ้ วู ายชนม์ (มีบทบาทต่อชาวบ้ าน)

ศาสนาที่สาคัญอีกศาสนาหนึง่ ที่เข้ ามาในไทย คือคริสต์ศาสนา มีกลุม่ โรมันคาทอลิก และกลุม่ โปรเตสแตนต์ ผู้ที่นบั ถือ
นิกายโรมันคาทอลิก เรี ยกว่าคริสตัง ผู้ที่นบั ถือนิกายโปรเตสแตนต์ เรี ยกว่าคริสเตียน
แนวคิดสาคัญในพระพุทธศาสนาแบบไทย เรื่ องบาปบุญคุณโทษ เรื่ องบารมี เรื่ องการอุทิศส่วนกุศล เรื่ องกฎแห่งกรรม
เป็ นหลัก การตีความหลักธรรมแบบไทยๆ

แนวคิดสาคัญในพระพุทธศาสนาในสังคมไทย คือ การเวียนว่ายตายเกิด เรื่ องบาปบุญ คือ การจาแนกชนิดของผลแห่ง


กรรม กรรมดีก็คือ การทาบุญ กรรมชัว่ คือการทาบาป

การปกครองและกฎหมาย ผู้ปกครองไทยในอดีต ใช้ ความเชื่อและศาสนาเป็ นเครื่ องมือในการปกครอง แบบธรรรม


ราชา/เทวราชา คาสัง่ ของผู้ปกครองคือ โองการ (พระบรมราชโองการ) ผู้ปกครอง ต้ องกอปรด้ วยทศพิธราชธรรม

พุทธศาสนาหยัง่ รากมัน่ คงวัดเป็ นศูนย์กลางของการศึกษาตังแต่


้ วิชาหนังสือธรรมดา การช่าง สถาปั ตยกรรม ศิลปะ
ตาราพุทธศาสนา พระภิกษุเป็ นครูบาอาจารย์เป็ นผู้นาชุมชนด้ านความคิด ความรู้ตา่ งๆ

คติทางพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่ในวรรณคดีแม้ ไม่ใช้ วรรณคดีพทุ ธศาสนาโดยตรง ศาสนาพุทธมีอิทธิพลต่อจิตรกรรม


ไทยมากกว่าศิลปะแขนงอื่น จะเห็นได้ จากจิตรกรรมฝาผนัง ใช้ สอนคติทางพุทธ และใช้ ประดับศาสนาสถาน

ศาสนากับความคิดเรื่ องมนุษยธรรม ศาสนาได้ รับความไว้ วางใจจากสังคมให้ เป็ นแหล่งพึง่ พิงของคนไทย


สถานสงเคราะห์ / รักษาสิ่งแวดล้ อม การบวชต้ นไม้ คือ มนุษยธรรม

การผสมผสานความเชื่อและศาสนา พิธีกรรม ๑๒ เดือนทางภาคอีสาน เรี ยกว่า ฮีตสิบสอง

ความเชื่อหลักธรรมทางพุทธศาสนา เรื่ องกรรม กฎแห่งกรรม กฎแห่งไตรลักษณ์ ( อนิจจัง ,ทุกขัง ,อนัตตา )

หน่ วยที่ ๑๒

สถาปั ตยกรรมแบบประเพณีได้ พฒ
ั นาเป็ นสถาปั ตยกรรมร่วมสมัย มีจดุ เปลี่ยนแปลงที่ชดั เจนในสมัย รัชกาลที่ ๔ มี
แนวคิดที่จะปรับปรุงบ้ านเมืองให้ ทดั เทียมชาติตะวันตก สถาปั ตยกรรมตะวันตกจึงได้ รับความนิยม
สถาปั ตยกรรมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย จากสถาปั ตยกรรมไทยประเพณี ที่สอดคล้ องกับสถานภาพ ตามศักดิ์
ขันยศของบุ
้ คคล เปลี่ยนรูปแบบตามอิทธิพลตะวันตก และการพัฒนาบ้ านเมืองเป็ นสถาปั ตยกรรมร่วมสมัย

จิตรกรรมแบ่งตามลักษณะและยุคสมัย จิตรกรรมสมัยโบราณ , จิตรกรรมสมัยใหม่ , จิตรกรรมร่วมสมัย นอกจากนี ้


จิตรกรรมในยุคต่างๆยังแบ่งประเภทได้ อีกหลายแบบ ภาพพระบฏ เป็ นจิตรกรรมเขียนบนผืนผ้ าเพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา

จิตรกรรมไทยประเพณี แบ่งตามวัสดุและกรรมวิธีการทามี ๓ ประการ คือ ลายรดน ้า , ลายปรุปิดทอง , จิตรกรรมสีฝนุ่


ลายรดน ้ามักทาบนแผ่นไม้ หรื อชิ ้นงานไม้ เช่นที่ ลายรดน ้าสมัยอยุธยาภายในหอเขียนวังสวนผักกาด

ประติมากรรมเป็ นงานชิ ้น ในยุคก่อนจะพัฒนาเป็ นชาติตา่ งๆ มักเป็ นประติมากรรมรู ปเชิงสัญลักษณ์เลียนแบบ


ธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็ นประติมากรรมนามาใช้ ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น รูปจาหลักไม้ กนั ผีของชนเผ่าในประเทศอินโดนีเซีย
ตุ๊กตาฮานิวา ของญี่ปนุ่ ประติมากรรมไทยยุคแรก สร้ างเลียนแบบธรรมชาติ เช่น กวางหมอบ

ประติมากรรมสุโขทัย เป็ นพระพุทธรูปที่พฒ


ั นามาจากศิลปะสุโขทัยมีความประณีตมาก ดังเช่น พระพุทธชินราช , พระ
พุทธชินสีห์ , พระศรี ศาสดา , พระศรี ศากยมุนี

ประติมากรรมแบบอยุธยายังนิยมสร้ างพระพุทธรูปแบบทรงเครื่ อง ซึง่ ทากันมาก่อนตังแต่


้ ศลิ ปะแบบ ทวารวดีและลพบุรี
พระพุทธรูปอูท่ องรุ่นแรก มีลกั ษณะแบบเขมร ศิลปะเขมรบายน

หน่ วยที่ ๑๓
มนุษย์ได้ เริ่มเรี ยนรู้ธรรมชาติที่แวดล้ อมรอบตัว จากการสังเกตปรากฏการณ์ช ้าๆ แล้ วคิดไตร่ตรองจนเกิดเป็ นความรู้
ความเข้ าใจ สามารถอธิบายสิ่งต่างๆได้ เรี ยกว่า ธรรมชาติวิทยา สืบทอดส่งต่อจากคนรุ่นหนึง่ สูค่ นอีกรุ่นหนึง่ เรี ยกว่า
ภูมิปัญญา เป็ นทังความรู
้ ้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม

เทคโนโลยีก้าวหน้ า เป็ นการสร้ างสรรค์ด้วยสติปัญญาเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี จากระดับพื ้นฐานโดยอาศัยความรู้ ความ


เข้ าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์ การก่อสร้ างพระเมรุมาศ ในสมัยจารี ต (อยุธยา) เป็ นเทคโนโลยีก้าวหน้ า
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตอนต้ น เทคโนโลยีตะวันตก ได้ เข้ ามามีบทบาทในเมืองไทย โดยประเทศตะวันตกต้ องการขยาย
อิทธิพลทางการเมือง และขยายศาสนาคริสต์นิกายโปเตสแตนท์ โดยมิชชันนารี หรื อหมอสอนศาสนา มาเผยแพร่
ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่
การแพทย์ตะวันตก เมื่อนายแพทย์ แดน บรี ช แบรดลี่ย์ หรื อที่คนไทยเรี ยกหมอ บรัดเลย์ ในสมัย ร.๓ หมอบรัดเลย์
ปลูกหนองฝี กันไข้ ทรพิษแก่ประชาชนได้ และได้ ผ่าตัดสามเณรที่ประสบอุบตั เิ หตุดอกไม้ ระเบิด โดยการตัดแขนและ
รักษาจนปลอดภัยถือว่าเป็ นการผ่าตัดครัง้ แรกของเมืองไทย ส่วนนายแพทย์แซมมวล เฮาส์ ได้ ใช้ อีเธอร์ เป็ นยาสลบ
ในการผ่าตัดครัง้ แรกของเมืองไทยด้ วยเช่นกัน
สิ่งพิมพ์ หรื อการพิมพ์ คนไทยไดเรี ยนรู้การพิมพ์ นับได้ วา่ เทคโนโลยีการพิมพ์มีสว่ นเผยแพร่ความรู้สู่สาธารณะอย่าง
กว้ างขวาง พิมพ์ใบประกาศห้ ามสูบฝิ่ น , หนังสือแสดงกิจจานุกิจ , หนังสือพิมพ์บางกอกรี คอร์ เดอร์ ของหมอบรัดเลย์

ในต้ นรัชการที่ ๕ ทรงให้ ดาเนินงานเดินสายโทรเลข และโทรศัพท์ จากกรุงเทพฯ ไปสมุทรปราการ ทังโทรเลขและ



โทรศัพท์เป็ นเทคโนโลยีการสื่อสารที่เป็ นประโยชน์ทาให้ ส่งข่าวสารได้ รวดเร็ว ทาให้ ไทยรอดพ้ นจักรวรรดินิยม

เทคโนโลยีการเกษตร เนื่องจากการเพาะปลูกด้ วยเครื่ องมือทางการเกษตรแบบดังเดิ


้ ม ทีอาศัยแรงและธรรมชาติ ไม่
เพียงพอต่อการผลิตพืชทางการเกษตรเพื่อส่งออก เทคโนโลยีก้าวหน้ า เข้ ามาแทนที่เพิ่มความสะดวกรวดเร็วขึ ้น ระหัด
เทพฤทธิ์ หรื อท่อพญานาคใช้ สบู น ้าในนาแทนระหัดแบบเดิม การใช้ สารเคมีในการเพาะปลูก ทังปุ
้ ๋ ยและยาฆ่าแมลง

เทคโนโลยีชลประทาน ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ให้ จ้างผู้เชี่ยวชาญการชลประทานชาวฮอลันดา ชื่อนาย เยโฮมันวันเดอร์ ไฮเด


ศึกษาการสร้ างชลประทาน นายไฮเด เสนอให้ สร้ างเขื่อน เพื่อทดน ้าในแม่น ้าเจ้ าพระยา แต่แผนต้ องใช้ งบประมาณสูง
จึงถูกระงับ มีเพียงการขุดลอกคลองต่างๆ ต่อมาได้ มีการจัดตังกรมชลประทาน
้ งานด้ านเขื่อนที่สาคัญคือ การสร้ าง
เขื่อนพระรามหก กันแม่
้ น ้าป่ าสัก จ.พระนครศรี อยุธยา สร้ าง พ.ศ.๒๔๕๘ เสร็จ พ.ศ.๒๔๖๗

เทคโนโลยีการหล่อโลหะ การทาเครื่ องมือเครื่ องใช้ โลหะ แสดงให้ เห็นถึงการพัฒนาความรู้ ความเข้ าใจ ในเทคโนโลยี
เกี่ยวกับโลหะวิทยา และเทคโนโลยีความร้ อน เริ่มจากการใช้ ทองแดง พัฒนามาเป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบกุ
เป็ นสาริ ด แล้ วรู้จกั ใช้ เหล็ก เหล็กสันนิษฐานว่าค้ นพบโดยบังเอิญจาก กระบวนการถลุงแร่ทองแดง

การหล่อประติมากรรม เทคโนโลยีด้านหล่อโลหะที่โดดเด่นของไทย คือการหล่อประติมากรรมโลหะ นับเป็ นการพัฒนา


เทคโนโลยีโลหะวิทยาระดับสูง สมัยสุโขทัย เช่นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ พระศรี ศากยมุนี ในวิหารหลวงวัดมหาธาตุ
(ปั จจุบนั เป็ นพระประทานในวิหารวัดสุทศั น์ฯ กรุงเทพฯ ) การหล่อพระพุทธรูปโบราณ เรี ยกว่า การหล่อพิมพ์สกุ
หน่ วยที่ ๑๔
ช่างทาประเภทของชม คือ งานที่ใช้ ตาดู ช่างที่ชานาญในการประดิษฐ์ สร้ างสรรค์งานในลักษณะที่เน้ นความสวย ความ
งาม ควรค่าแก่การชมมากกว่าการใช้ อาจเป็ นของที่ทาขึ ้นใช้ ในโอกาสสาคัญ เทศกาลสาคัญ หรื อใช้ ในพิธีกรรมต่างๆ
เช่น ช่างทาเครื่ องสด , ช่างปั กสะดึง , ช่างโลหะรูปพรรณ , ช่างมุก , ช่างถม , ช่างทอง ช่างทาของชมเหล่านี ้เรี ยกว่า
ช่างประณีตศิลป์ และยังมี ช่างวิจิตรศิลป์ เช่น ช่างเขียนภาพจิตรกรรม , ช่างปั น้ ,ช่างสลัก ,

กระบวนการสืบทอดความรู้การช่างของสังคมไทยแต่โบราณมา คือการสืบทอดในชุมชนผ่านสถาบันทางศาสนาซึง่ มีวดั


เป็ นศูนย์กลาง พระสงฆ์มีความรู้ทางสาขาช่างต่างๆ ทาหน้ าที่เป็ นครูชา่ งฝึ กหัดแก่ชาวบ้ าน วัดเป็ นแหล่งรวมช่างฝี มือ
ท้ องถิ่น

งานช่างพื ้นบ้ าน ผ้ าพานช้ าง จ. ตรัง เป็ นผ้ าที่ทอขึ ้นใช้ สาหรับเฉพาะในพิธีศพโดยลวดลายเป็ นตัวหนังสือคาโคลง

ช่างเขียน งานเขียนถือว่าเป็ นแม่บทของกระบวนการงานช่างไทย ผู้ที่จะเป็ นช่างเขียนได้ ต้องหัดฝึ กฝน จนชานิชานาญ


เช่น เริ่มต้ นด้ วยการฝึ กขีดเส้ นที่เรี ยนว่า กระทบเส้ น คือขีดเส้ นประยาวๆ เส้ นโค้ ง , เส้ นคด ,เส้ นตรง ที่เรี ยกว่า คดให้ ได้
วงตรงให้ ได้ เส้ น เป็ นการฝึ กวิธีร่างเส้ นแบบ ศิลปะไทย เขียนให้ ได้ ทงลายและภาพครบหมวดงานศิ
ั้ ลปะ คือ กนก (ลาย)
นารี (มนุษย์) กระบี่ (อมนุษย์) คชะ (สัตว์)

ช่างเขียนสร้ างสรรค์งานหลายประเภท ภาพที่เขียนบนผืนผ้ าเป็ นรูปหรื อเรื่ องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจ้ า เช่นพระพุทธ


ประวัติหรื อชาดก เรี ยกว่า ภาพพระบฏ

งานประดิษฐ์ กรอบรูปคร่าทอง ถือว่าเป็ นงานช่างพื ้นบ้ านแบบประยุกต์

การส่งเสริมความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับการผลิตไหม ในสมัยรัชกาลที่ ๕ โปรดให้ กระทรวงเกษตราธราชส่งเสริมการ


เลี ้ยงไหม โดยจ้ างผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปนุ่ ซึง่ มี ดร.โทยาม่า เป็ นหัวหน้ าคณะเข้ ามาฝึ กหัดคนไทยพัฒนาความรู้ในการ
เพาะเลี ้ยงไหม การทาเส้ นไหม
หน่ วยที่ ๑๕

วิถีไทย วิถีชีวิต
วิถีไทย หมายถึง แนวทางความเป็ นไทย หมายรวมถึงการดารงชีวิตและพัฒนาประเทศบนพื ้นฐานวัฒนธรรมไทย
วิถีชีชิต หมายถึง ความเป็ นอยูใ่ นชีวิตประจาวัน ซึงมีปัจจัยสี่ เช่น ( อาหาร,ที่อยู่อาศัย, เครื่ องนุง่ ห่ม, ยารักษาโรค ) การ
ประกอบอาชีพ การละเล่น ภาษาและวรรณกรรม

หากจะรวมความหมายของคาว่า วิถีไทย วิถีชีวิต อาจหมายถึง แนวทางชีวิตความเป็ นอยูอ่ ย่างไทย

วิถีชีวิต ของมนุษย์ในสังคมรูปแบบการดาเนินชีวิต ย่อมมีความเกี่ยวข้ องกับวัฒนธรรมเข้ ามาผสมผสานรวมเข้ าด้ วยกัน


เป็ นสังคม ทังระดั
้ บประเทศ และระดับท้ องถิ่น
วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ ค้ นคิดสร้ างสรรค์ขึ ้นมา ทังรู้ ปธรรม และนามธรรม วัฒนธรรม คือมรดกแห่งสังคมซึง่ มี
การถ่ายทอดปรับปรุงและรักษาไว้

การพัฒนา แปลว่า ทาให้ เจริ ญ หากการพัฒนาประเทศ หรื อการพัฒนาท้ องถิ่นต่างๆ แม้ แต่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีนยั ยะที่และความหมายที่กว้ างคือ การกระทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดี

โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์หนึง่ ตาบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ หรื อการส่งเสริมเงินทุนกองทุนหมูบ่ ้ าน ถือว่าเป็ นการพัฒนา


ส่งเสริมให้ เกิดการลดความเหลื่อมล ้าของคนในสังคม

การพัฒนาในสมัยรัชกาลที่ ๕ จนถึง พ.ศ.๒๔๗๕ ยุทธวิถีการพัฒนา มีลกั ษณะเด่น ๓ ประการคือ

- การเดินสายกลาง มุง่ ความก้ าวหน้ าท่ามกลางความสามัคคี เช่น การยกเลิกไพร่ – ทาส ในสมัย ร.๕
- การผสานวิธีแบบตะวันตกให้ เข้ ากับพื ้นฐานวัฒนธรรมไทย เช่น การห้ ามกินหมาก ในสมัยจอมพล ป. พิบลู ย์
สงคราม จัดเป็ นการสร้ างความเป็ นอารยะแบบตะวันตก
- เน้ นยุทธวิธีการสร้ างความสงบและความมัน่ คงภายในประเทศ

การพัฒนาในต้ นทศวรรษ พ.ศ.๒๕๐๐ – ๒๕๔๔


ปั จจัยที่ทาให้ ต้องเร่งรัดพัฒนาประเทศเกิดจากปั จจัยสาคัญ คือ
- ความต้ องการที่จะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ า
- ความหวัน่ เกรงภัยคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์
- การขยายตัวของระบบทุนนิยมโลก

อุดมการณ์การพัฒนา การพัฒนาของไทยตังอยู
้ ่บนรากฐานอุดมการณ์ คือ พัฒนานิยม บริโภคนิยม ความมัน่ คงนิยม
โดยการ เน้ นตลาดเสรี การพัฒนาประเทศตังแต่
้ พ.ศ.๒๕๐๐ เป็ นไปเพื่อ เร่งสร้ างเศรษฐกิจให้ ก้าวหน้ า

การพัฒนาที่ยงั่ ยืน เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาแนวทางการดารงอยูแ่ ละการปฏิบตั ใิ นทางสายกลาง รู้จกั การ


พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิค้ มุ กันในตัวที่ดี ภายใต้ เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม เป็ นหลักการที่ต้องอาศัย
ความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังเพื่อให้ เกิดความสมดุล หลักของเศรษฐกิจพอเพียงมีวตั ถุประสงค์
เพื่อกระจายรายได้ ให้ ทวั่ ถึง
หลักการพัฒนาแบบยัง่ ยืน มีหลักสาคัญ ๕ ประการ คือ
- ผลิตภาพการผลิต
- ความเสมอภาค
- ความยัง่ ยืน
- การให้ อานาจแก่ประชาชน
- ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
วิธีการพัฒนาแบบยัง่ ยืน เป็ นการพัฒนาที่เน้ นการพึง่ พาตนเอง โดยใช้ ภมู ิปัญญาท้ องถิ่นให้ สอดคล้ องกับการดาเนิน
ชีวิต เน้ นการสร้ างชุมชนให้ สงบสุขพอเพียง การพัฒนาที่ยงั่ ยืน คือการให้ การศึกษา แนวการพัฒนาทางเลือกแต่ละ
รูปแบบมีจดุ เน้ นของตนเองในมิตทิ ี่แตกต่างกันไป แต่ในท้ ายที่สดุ แล้ ว เป้าหมาย หรื อวัตถุประสงค์ รวมถึงวิธีการพัฒนา
จะต้ องนาไปสู่การพัฒนาที่ยงั่ ยืนในอนาคต เป็ นการพัฒนาที่ก่อให้ เกิดดุลยภาพของการอยูร่ ่วมกันระหว่าง มนุษย์
สังคม และสิ่งแวดล้ อม ทังในปั
้ จจุบนั และอนาคต

You might also like