You are on page 1of 9

บทบาทของสตรี ในประวัติศาสตร์ไทย

ในสมัยรัชกาลที่๕ถึงสงครามโลกครัง้ ที่๒

่ พระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ ๕
๑)กลุม

๑.สมเด็จพระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศรี พระบรมราชินีนาถ


พระราชกรณี ยกิจที่ส ำคัญใน •ดา้ นการปกครองเป็ นผูส ้ ำเร็จราชการแผน ่ ดินแทนรัชกาลที่ ๕ •ดา้ นการศึกษา

พระองคจ์ ั ดตังโรงเรี ยนส ำหรับเด็กหญิงแหง่ ที่สองขึ้นในกรุ งเทพมหานคร พระราชทานชื่อวา่ “โรงเรี ยนสตรี บ ำรุ งวิชา”
และในปี พ.ศ. ๒๔๔๗ ทรงเปิ ดโรงเรี ยนส ำหรับกุลธิดาของขา้ ราชส ำนักและบุคคลชั นสู ้ งคือ “โรงเรี ยนสุนันทาลัย”
ใหก ้ ารอบรมด้านการบา้ นการเรื อน กิริยามารยาท และวิชาการตา่ ง ๆ อีกทังทรงจ ้ า่ ยเงินเดือนครู และคา่ ใชส้ อยตา่ ง ๆ
ส ำหรับเป็ นคา่ เลา่ เรี ยนแกก ่ ุลบุตรกุลธิดาของขา้ ราชการใหญน ่ ้ อยและราษฎรอีก เป็ นจ ำนวนมาก ทรงบริ จาคพระราช
ทรัพยส์ ว่ นพระองคใ์ หต ้ ั ้
งโรงเรี ย น และจ า
่ ยเงิ นเดื อ นครู ใ นโรงเรี ยนตา่ ง ๆ
•ดา้ นสาธารณสุขและการแพทย ์ ทรงสนับสนุ นใหส ้ ตรี ไทยใชว้ ธิ ีการคลอดแบบตะวันตก

มีการจัดตังโรงเรี ยนแพทยผ ์ ดุงครรภ์ และสร้างโรงพยาบาลปัญจมาธิราช อีกทังย ้ ั งกอ ้
่ ตังสภาอุ ณาโลมแดงหรื อ
สภากาชาดไทยในปัจจุบันอีกด้วย

๒.สมเด็จพระนางเจา้ สวา่ งวัฒนา พระบรมราชเทวี


พระราชกรณี ยกิจส ำคัญคือ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในหัวเมืองเชน ้
่ การจัดตังโรงพยาบาล มีการเรี ยนการ
่ ิ อีกด้วย
สอนและอาชีพให้แกช่ าวบา้ น โดยเฉพาะการทอผา้ ทียังทรงนำชา่ งทอผา้ มาเปิ ดโรงทอผา้ ในพระราชวังดุสต

๓.สมเด็จพระปิ ตุจฉาเจา้ สุขุมารศรี พระอัครราชเทวี


พระองคท์ รงเชี่ยวชาญดา้ นอักษรศาสตร์ ไดร้ ั บความไวว้ างใจจากรัชกาลที่๕ใหเ้ ป็ นราชเลขานุ การฝ่ายใน และยังมีงาน

พระนิ พนธ“์ สุขุมาลนิ พนธ”์ รวมทังบทร้ อยกรองที่แสดงถึงความสามารถของพระองคใ์ นด้านการศึกษา ทรงจัดใหว้ ั งบาง
่ ้ และยังสร้างอาคารเรี ยนให้แกว่ ั ดพิชยญาติการาม
ขุนพรหมเป็ นแหลง่ ศึกษาทีทันสมัยส ำหรับสตรี สูงศั กดิใ์ นสมัยนัน
วิหาร
๔.พระอรรคชายาเธอ พระองคเ์ จา้ สายสวลีภิรมย ์
ทรงมีความเชี่ยวชาญดา้ นโภชนาการ ท ำใหส ้ ำนักของพระองคเ์ ป็ นแหลง่ ประสิทธิ์ประสาทแมบ่ า้ นแมเ่ รื อนที่ส ำคัญ
่ ่ีพระราชกรณี ยกิจส ำคัญคือการจัดตังโรงเลี
ส ำหรับกุลสตรี แตท ้ ้ ยงเด็กก ำพร้าและสงเคราะหผ
์ ูย้ ากจน

๕.พระราชชายาเจา้ ดารารัศมี
พระราชกรณี ยกิจที่ส ำคัญของพระองค ์ คือ เป็ นผูเ้ ชื่องความสั มพันธแ
์ ละวัฒนธรรมของสองดินแดนให้เป็ นเอกภาพ อีก

ทังพระองค ย์ ั งสนันสนุ นการกอ ้
่ ตังโรงเรี ยนในเชียงใหม่ และยังทรงริ เริ่ มให้นำฟ้อนพื้นเมืองมาแสดงในงานเฉลิมฉลอง

๖.เจา้ จอมมารดาแพ (เจา้ คุณประยูรวงศ)์


พระราชกรณี ยกิจของทา่ นสว่ นใหญจ่ ะเป็ นการสนองพระราโชบายในการปรับปรุ งภาพลักษณ์
แก้ไขขนบธรรมเนี ยมตา่ งๆ ให้ทันสมัย และคงปฏิบัติสบ ื ตอ่ มาจนถึงยุครัฐนิ ยมในระหวา่ งสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ทา่ นยังได้
้ ขศาลาใหก
สง่ เสริ มดา้ นการสาธารณสุขดว้ ยการจัดตังสุ ้ ารสงเคราะหแ ่ ระชาชนทั่วไป
์ กป

่ สตรี ท่ีได้รับการศก
๒)กลุม ึ ษาแผนใหม่

ด้านการแพทยแ์ ละสั งคมสงเคราะห์

๗.หมอ่ มเจา้ หญิงมัณฑารพ กมลาศน ์


่ ้ ได้รับหน้าที่ให้บริ หารโรงเรี ยนพยาบาล
ทรงเขา้ ศึกษาวิชาพยาบาลทีโรงเรี ยนการพยาบาลสภากาชาดสยาม หลังจากนัน
และสถานพยาบาล พระราชกรณี ยกิจที่ส ำคัญคือ ทรงจัดระเบียบแบบแผนหลักสูตรการพยาบาลให้ทันสมัยมากขึ้น

๘.แพทยห ์ ญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล


บทบาทที่ส ำคัญคือ การรักษาและป้องกันกามโรคแกบ ่ ุรุษและหญิงขายบริ การ ชว่ ยเหลือสตรี ท่ีประสบปัญหาชีวต
ิ ใน

ครอบครัว กอ่ ตังสถานร ั บเลี้ยงเด็กก ำพร้านอกสมรส ในชื่อมาตาภาวาสถาน ตอ่ มาเป็ นที่รู้จักในนามพีระยานุ เคราะห ์
้ ้ า้ นเกร็ดตระการของกรมประชาสงเคราะห ์ เพื่อชว่ ยเหลือหญิงขายบริ การและเด็ก
มูลนิ ธิ นอกจากนี ยังเป็ นผูร้ ่วมกอ่ ตังบ
เร่ร่อน
๙.ทา่ นผูห
้ ญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ในด้านสั งคมสงเคราะห์ ทรงจัดตังสโมสรว ั ฒนธรรมฝ่ายหญิง และจดํ กิจกรรมที่เป็ น

ประโยชน์ตอ่ สตรี และเยาวชน กอ่ ตังโรงเรี ้
ยนตา่ งๆ และริ เริ่ มตังโรงพยาบาลสงเคราะห ห
์ ญิงมีครรภแ
์ ละบุตร ด้าน
การเมือง ทา่ นผุห
้ ญิ ง พยายามยกสถานภาพของสตรี ให เท
้ ่า เที ย ม
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสั งคม

๑๐.หมอ่ มเจา้ หญิงพูนพิศมัย ดิศกุล


ทา่ นหญิงทรงได้รับความรู้ และประสบการณื โดยตรงจากพระราชบิดาท ำให้ทรงมีความรอบรู้ ในเรื่ องกิจการบา้ นเมือง
เรื่ องตา่ งประเทศ และศิลปะวัฒนธรรมตา่ งๆ ทรงมีสว่ นร่วมในการกอ ้
่ ตังองคก์ ารพระพุทธศาสนิ กสั มพันธแ
์ หง่ โลก

๑๑.หมอ่ มศรี พรหมมา กฤดากร (เจา้ ศรี พรหมมา ณ น่าน)


เป็ นสตรี ยุคใหม่ ไดร้ ั บการศึกษาและเติบโตในสั งคมยุโรป ทรงนำเทคโนโลยีและวิถีชีวต
ิ แบบตะวันตกมาประยุกตใ์ ชใ้ น
ฟาร์มและครอบครัว
๑๒.ทา่ นผูห ้ ญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ ์
ทา่ นไดม้ ีสว่ นสนับสนุ นการพัฒนาสถานภาพของสตรี ในพระราชด ำริ ของสมเด็จพระนางเจา้ เสาวผาผอ่ งศรี พระบรม
ราชินีนาถ แตผ ่ ลงานที่ส ำคัญของทา่ นคือ การจัดพิมพต ่ รัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็ นต ำราอาหารคาวหวานทังไทยและเทศ
์ ำราแมค ้
เลม ่ แรกของไทย

๑๓.ทา่ นผูห ้ ญิงตลับ สุขุม


ทา่ นเป็ นตัวแทนของสตรี ในยุคหัวเลี้ยวหัวตอ่ ของการเปลี่ยนแปลงที่สามารถปรับตัวเขา้ สูก่ ารสมาคมระดัสูงในวงการทูต
ของอังกฤษ ซึ่งทา่ นได้นำประสบการณ์นัน ้ มาชว่ ยในการพัฒนาสถานภาพของสตรี ท ำให้ทา่ นได้มีผลงานที่ส ำคัญคือ การ

กอ่ ตังโรงเรี ยนเบญจมราชูทิศ และกอ ้
่ ตังโรงเรี ยนสตีท่ีสงขลาและตรัง
๑๔.กลุม่ สตรี ท่ีประกอบอาชีพดา้ นกฎหมาย
มีบทบาทส ำคัญในการด ำเนิ นการเรี ยกร้องสิทธิสตรี และยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ
ซึ่งปรากฏการเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นในชว่ งหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เชน
่ คุณหญิงแร่ม พรหโมบล คุณหญิงสุภัทร
า สิงหลกะ

่ สตรี ท่ีประกอบอาชีพดา้ นการศึกษา


๑๕.กลุม
บุคลากรเหลา่ นี้ ไดท
้ ำคุณประโยชน์คือ การสั ่งสอนอบรมเยาวชนสตรี ใหเ้ ติบใหญอ่ ยา่ งมีคุณคา่ และมีสว่ นร่วมในการ
พัฒนาประเทศชาติจนมีความมั่นคง
๑๖.สตรี จากราชสกุลกุญชร
คือ หมอ่ มหลวงบุปผา (กุญชร) นิ มมานเหมินท์ เจา้ ของนามปากกาดอกไมส ้ ด ผลงานที่ส ำคัญ คือ การเขียนนวนิ ยาย
นับเป็ นวรรณกรรมที่ทรงคุณคา่ ทังภาษาและเนื
้ ้ อหาที่สะทอ ้ อีกทา่ นคือ หมอ่ มหลวงบุญ
้ นสภาพสั งคมไทยในยุคนัน
เหลือ (กุญชร) เทพยสุวรรณ บทบาทที่ส ำคัญของทา่ นคือ ด้านการศึกษา โดนเฉพาะด้านภาษาศาสตร์และงานวิจัยเกี่ยว
กับตระกูลภาษาไท วรรณคดีไทยและวิธีการสอน

๑๗.หมอ่ มหลวงพวงร้อย (สนิ ทวงศ)์ อภัยวงศ ์


ทา่ นมีความโดดเดน ่ ดา้ นดนตรี และไดป้ ระพันธเ์ พลงที่ไพเราะและทรงคุณคา่ ไวม
้ ากกวา่

๑๒๐ เพลง ทังเพลงเทิ ดพระเกียรติ เพลงสภาบัน เพลงปลุก และเพลงประกอบละครภาพยนตร์
ที่เป็ นเพลงอมตะ คือ เพลงบัวขาว เงาไม้ ฯลฯ

You might also like