You are on page 1of 30

พระมหาโมคค ัลลานะ

พระอ ัครสาวกผูเ้ ป็นเลิศในทางฤทธิ์

ื่ เดิมว่า โกลิตะ
พระมหาโมคคัลลานะ มีชอ
เป็ นบุตรพราหมณ์ท ้ายบ ้านผู ้หนึง่ ซงึ่ อยูไ่ ม่หา่ งจากกรุงราชคฤห์
โกลิตมาณพเป็ นเพือ
่ นสนิทกับอุปติสสมาณพ หรือ พระสารีบต
ุ ร
ทัง้ สองคนอายุรน
ุ่ ราวคราวเดียวกัน เป็ นบุตรแห่งสกุลผู ้มั่งคัง่ เหมือนกัน
่ ชวี ต
เบือ ิ การครองเรือนทีว่ น
ุ่ วาย
ั ชย
จึงพาบริวารไปขอบวชอยูใ่ นสานักสญ ั ปริพพาชก เรียนลัทธิของสญ
ั ชย
ั ได ้หมด
จนได ้รับแต่งตัง้ ให ้เป็ นผู ้ชว่ ยสอนหมูศ ิ ย์ตอ
่ ษ ่ ไป
ั ชย
ทัง้ สองมาณพยังไม่พอใจในคาสอนของสญ ั ปริพาชก
่ นวทางทีต
เพราะไม่ใชแ ่ นต ้องการ
จึงตกลงกันทีจ
่ ะแสวงหาอาจารย์ทส ี้ นะแนวทางทีด
ี่ ามารถชแ ่ ก
ี ว่านี้
หากใครได ้โมกขธรรม ก็ขอให ้บอกแก่อก
ี ฝ่ ายหนึง่

ได้ดวงตาเห็นธรรมและอุปสมบทเป็นภิกษุ

่ อุปติสสมาณพได ้ไปพบพระอัสสชใิ นกรุงราชคฤห์ ได ้ฟั ง


เมือ
"พระคาถาเย ธัมมา" จากพระอัสสช ิ ทาให ้ได ้ดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุโสดาบัน
อุปติสสมาณพได ้นาคาสอนของพระอัสสชไิ ปแจ ้งให ้โกลิตมาณพทราบ
่ ดียวกัน
โกลิตมาณพก็ได ้ดวงตาเห็นธรรมเชน
ทัง้ สองมาณพได ้ไปเฝ้ าพระพุทธเจ ้าทีว่ ัดเวฬุวนาราม
และได ้ทูลขออุปสมบทต่อพระพุทธเจ ้า
พระองค์กไ
็ ด ้ทรงอนุญาตให ้อุปสมบทเป็ นภิกษุ
โกลิตมาณพซงึ่ อุปสมบทเป็ นพระมหาโมคคัลลานะ บาเพ็ญความเพียงได ้ 7 วัน
ก็สาเร็จพระอรหันต์ สว่ นอุปติสสมาณพ ซงึ่ อุปสมบทเป็ นพระสารีบต
ุ ร
อุปสมบทได ้กึง่ เดือน จึงสาเร็จพระอรหันต์

พระมหาโมคคัลลานะเมือ
่ อุปสมบทแล ้วไปทาความเพียรอยูท
่ บ
ี่ ้านกัลลว
าลมุตตคาม ถูกนิวรณ์ คือ ถีนมิทธะ ได ้แก่ ความหดหูซ ึ เซาเข ้าครอบงา
่ ม
มีอาการนั่งโงกง่วง
พระบรมศาสดาได ้เสด็จไปสอนอุบายสาหรับระงับความโงกง่วงแก่พระมหาโมคคั
ลลานะ พระมหาโมคคัลลานะสามารถกาจัดถีนมิทธะ ความหดหูซ ึ เซาได ้
่ ม
พิจารณาธรรมทัง้ ปวงด ้วยปั ญญา สาเร็จเป็ นพระอรหันต์

ได้ร ับการแต่งตงเป
ั้ ็ นอ ัครสาวก

ในวันทีพ
่ ระสารีบต
ุ รบรรลุพระอรหันต์ ตรงกับวันขึน
้ ๑๕ คา่ เดือนมาฆะ
ในคืนวันนัน ั นิบาต
้ พระพุทธเจ ้าทรงประทานพระโอวาทปาติโมกข์แก่จาตุรงคสน
จากนัน
้ พระพุทธเจ ้าทรงประกาศแต่งตัง้ พระสารีบต
ุ รเป็ นอัครสาวกเบือ
้ งขวา
เลิศกว่าผู ้อืน
่ ในทางปั ญญา
พระมหาโมคคัลลานะเป็ นอัครสาวกเบือ ้
้ งซายเลิ
ศกว่าผู ้อืน
่ ในทางฤทธิ์

เป็นผูม
้ อ
ี ภิญญา

พระมหาโมคคัลลานะเป็ นอัครสาวกผู ้มีอภิญญา ซงึ่ แปลว่าความรู ้ยิง่ ยวด


อภิญญามี ๖ ประการ ดังนี้

่ คนเดียวนิรมิตเป็ นหลายคนได ้
๑. อิทธิวธิ ี แสดงฤทธิไ์ ด ้ เชน
ล่องหนผ่านไปในวัตถุกน ่ ฝา กาแพงได ้ ดาดินคือไปใต ้ดินได ้
ั ้ ขวางอยู่ เชน
เดินบนน้า ดุจเดินบนพืน
้ ดินได ้ เหาะไปในอากาศได ้

๒. ทิพพโสต มีหท
ู พ ี ง ๒ อย่างได ้
ิ ย์ ล่วงหูของสามัญมนุษย์ ฟั งเสย
ี งทิพย์และเสย
คือทัง้ เสย ี งมนุษย์ได ้ ทัง้ เสย
ี งไกล ทัง้ เสย
ี งใกล ้

๓. เจโตปริยญาณ กาหนดใจคนอืน
่ ได ้
รู ้ได ้ซงึ่ ใจของบุคคลอืน
่ อันบริสท
ุ ธิห
์ รือเศร ้าหมองอย่างไร

๔. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติได ้ตัง้ แต่ชาติหนึง่ สองชาติ


จนตัง้ หลายๆ กัป ว่าในชาติทเี่ ท่านัน ื่ โคตร ผิวพรรณ มีอาหารอย่างนัน
้ ได ้มีชอ ้
ๆได ้เสวยสุข ได ้เสวยทุกข์อย่างนัน
้ ๆ มีอายุเท่านัน
้ ๆ จุตจ
ิ ากชาตินัน
้ แล ้ว
เกิดในชาติทเี่ ท่านัน
้ ได ้เป็ นอย่างนัน
้ ๆ แล ้วมาเกิดในชาตินี้

ื่ อีกอย่างหนึง่ ว่า จุตป


๕. ทิพพจักขุ มีตาทิพย์ มีชอ ู ปาตญาณ
มีจักษุ ทพ
ิ ย์ บริสท
ุ ธิล ั ว์กาลังจุตก
์ ว่ งจักษุ สามัญมนุษย์ เห็นเหล่าสต ิ ม
็ ี กาลังเกิดก็มี
เลวก็มี ดีกม
็ ี ผิวพรรณงามก็มี ผิวพรรณไม่งามก็มี ได ้ดีก็มี ตกยากก็มี
ั ว่าสต
รู ้ชด ั ว์เป็ นไปตามกรรม
ิ้ ไป รู ้ชด
๖. อาสวักขยญาณ ทาให ้อาสวะสน ั ตามความจริงว่า นีท
้ ก
ุ ข์
นีท
้ ก
ุ ข์สมุทัย นีท
้ ก
ุ ข์นโิ รธ คามินป
ี ฏิปทาเหล่านี้ อาสวะนีเ้ หตุเกิดอาสวะนี้
ความดับอาสวะนี้ ทางไปถึงความดับอาสวะ
เมือ
่ รู ้เห็นอย่างนีจ
้ ต
ิ พ ้นแล ้วจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ
ั ว่าชาตินพ
รู ้ชด ี้ ้นแล ้ว พรหมจรรย์ได ้อยูจ
่ บแล ้ว กรณียะทาเสร็จแล ้ว
กิจอืน ่ นีไ
่ อันจะต ้องทาเชน ้ ม่มอ
ี ก

อภิญญา ๕ ข ้อแรก เป็ นโลกิยอภิญญา ข ้อ ๖


สุดท ้ายเป็ นโลกุตตรอภิญญา ผู ้ทีจ
่ ะบรรลุอรหันต์ จะต ้องได ้โลกุตตรอภิญญา คือ
อาสวักขยญาณ ได ้อภิญญา ๕ ข ้อแรก ยังไม่บรรลุพระอรหันต์

ทิพพจ ักขุของพระมหาโมคค ัลลานะ

เมือ
่ ครัง้ ทีพ
่ ระพุทธเจ ้าประทับอยูท
่ วี่ ด
ั เวฬุวันในกรุงราชคฤห์
พระมหาโมคคัลลานะกับพระลักขณะ ได ้ขึน
้ ไปจาพรรษาอยูบ
่ นเขาคิชกูฎ

เวลาเชาพระเถระทั
ง้ สองได ้ถือบาตรเดินลงมาจากยอดเขาเพือ
่ ไปบิณฑบาตในเมื
อง ในระหว่างทีก
่ าลังเดินลงมานัน
้ พระลักขณะได ้เห็นพระมหาโมคคัลลานะยิม

จึงได ้ถามถึงสาเหตุ พระมหาโมคคัลลานะตอบว่า
ให ้ถามเรือ
่ งนีใ้ นทีเ่ ฉพาะพระพักตร์พระพุทธเจ ้า กลับจากบิณฑบาตแล ้ว
พระเถระทัง้ สองได ้พร ้อมกันเข ้าไปเฝ้ าพระพุทธเจ ้า
พระลักขณะได ้ถามถึงสาเหตุทพ
ี่ ระมหาโมคคัลลานะยิม

พระมหาโมคคัลลานะได ้ตอบว่าสาเหตุทย
ี่ ม
ิ้
เพราะได ้เห็นโครงร่างกระดูกร่างหนึง่ ลอยไปมาอยูใ่ นอากาศ
ถูกแร ้งกาบินตามจิกกิน เนือ
้ ทีย ึ ซโี่ ครงเอาไว ้
่ ด
้ สง่ เสย
ยังผลให ้ร่างกระดูกนัน ี งร ้องครวญครางด ้วยความเจ็บปวด

พระพุทธเจ ้าตรัสรับรองว่า
โครงกระดูกทีพ
่ ระมหาโมคคัลลานะเห็นนัน
้ มีอยูจ
่ ริง
และพระองค์เองก็ได ้เห็นมาแล ้วในวันตรัสรู ้
แต่ทย
ี่ ังไม่ตรัสบอกใครก็เพราะยังไม่มพ
ี ยาน
แต่บด
ั นีพ
้ ระองค์ได ้พระมหาโมคคัลลานะเป็ นพยานแล ้วจึงตรัส
เนือ
่ งจากทรงเห็นว่า หากไม่มพ
ี ยานรับรอง เมือ
่ ตรัสไปแล ้ว
ื่ ไม่มป
สาหรับผู ้ทีเ่ ชอ ี ั ญหา
ื่ จะเป็ นผลร ้ายอย่างใหญ่หลวงแก่เขา
แต่สาหรับผู ้ทีไ่ ม่เชอ
จากนัน
้ พระพุทธเจ ้าได ้ตรัสบุพกรรมของโครงร่างกระดูกนัน
้ ว่า
เมือ ี เป็ นนายโคฆาตก์ฆา่ วัวชาแหละเนือ
่ ครัง้ เป็ นมนุษย์ได ้มีอาชพ ้ งชวี ต
้ ขายเลีย ิ อยู่
ในกรุงราชคฤห์นเี้ อง ด ้วยวิบาก (ผล) ของกรรมนัน

ตายแล ้วได ้ไปเกิดอยูใ่ นนรกหลายแสนปี
พ ้นจากนรกแล ้วด ้วยวิบากกรรมทีย
่ ังเหลืออยูจ
่ งึ ได ้มาเกิดเป็ นเปรตมีแต่โครงร่างก
ระดูก

พระพุทธเจ ้าสนทนาธรรมกับพระมหาโมคคัลลานะทางทิพพจักขุ
และทิพพโสต

ครัง้ หนึง่ พระพุทธเจ ้าประทับอยูท


่ วี่ ด
ั เชตวัน เมืองสาวัตถี
สว่ นพระมหาโมคคัลลานะกับพระสารีบต
ุ รได ้พักอยูท
่ วี่ ด
ั เวฬุวัน เมืองราชคฤห์

วันหนึง่
พระสารีบต
ุ รได ้ออกจากทีเ่ ร ้นในตอนเย็นและเข ้าไปหาพระมหาโมคคัลลานะ
พระสาระบุตรเห็นพระมหาโมคคัลลานะผ่องใสจึงพูดว่า โมคคัลลานะผู ้อาวุโส
อินทรียข ี น ้าของท่านบริสท
์ องท่านผ่องใสยิง่ นัก สห ุ ธิผ
์ ด
ุ ผ่อง
วันนีท
้ า่ นโมคคัลลานะอยูด
่ ้วยธรรมเป็ นเครือ
่ งอยูอ
่ ันละเอียดหรือ
พระมหาโมคคัลลานะตอบว่า ท่านผู ้อาวุโส
วันนีผ
้ มอยูด
่ ้วยธรรมเป็ นเครือ
่ งอยูอ
่ ย่างหยาบ แต่วา่ ผมได ้สนทนาธรรม

พระสารีบต
ุ รถามว่า ท่านโมคคัลลานะได ้สนทนาธรรมกับใคร
พระมหาโมคคัลลานะตอบว่า กับพระผู ้มีพระภาคเจ ้า พระสารีบต
ุ รถามว่า ผู ้มีอายุ
้ ระผู ้มีพระภาคประทับอยูใ่ นวัดเชตวันในเมืองสาวัตถีซงึ่ อยูไ่ กลจากทีน
ขณะนีพ ่ ี่
ท่านโมคคัลลานะเข ้าไปเฝ้ าพระพุทธเจ ้าด ้วยฤทธิห
์ รือ
หรือว่าพระผู ้มีพระภาคเจ ้าเสด็จมาหาท่านโมคคัลลานะด ้วยฤทธิ์
่ งั ้ สองอย่าง คือ
พระมหาโมคคัลลานะตอบว่า ท่านผู ้อาวุโส ไม่ใชท
ผมมิได ้ไปเฝ้ าพระพุทธเจ ้าด ้วยฤทธิ์
ทัง้ พระผู ้มีพระภาคเจ ้าก็มไิ ด ้เสด็จมาหาผมด ้วยฤทธิ์ แต่วา่
ผมกับพระพุทธเจ ้าสนทนาธรรมกันทางทิพพจักขุและทิพพโสต เพราะว่า
ผมมีทพ
ิ พจักขุ
และทิพโสตบริสท
ุ ธิเ์ ท่ากับพระพุทธเจ ้าและพระพุทธเจ ้าก็มท
ี พ
ิ พจักขุและทิพโสต
บริสท
ุ ธิเ์ ท่ากับผม

ปราบน ันโทปน ันทะนาคราช


ในคาถาพาหุง บทที่ ๗ มีข ้อความเป็ นภาษาบาลี
และคาแปลเป็ นไทยมีใจความว่า "พระจอมมุนี
ทรงโปรดให ้พระมหาโมคคัลลานะเถระพุทธชโิ นรส (นิรมิตกายเป็ นนาคราช)
ื่ นันโทปนันทะ ผู ้มีความรู ้ผิด มีฤทธิม
ไปทรมานพระยานาคราชชอ ์ าก
ด ้วยวิธอ
ี ันให ้อุปเท่หแ
์ ห่งฤทธิแ ั มงคลทัง้ หลาย
์ ก่พระเถระ ขอชย
ั มงคลนัน
จงเกิดมีแก่ทา่ นด ้วยเดชแห่งพระพุทธชย ้ "

ั มงคลในบทนี้
พระพุทธชย
ั แก่นันโทปนันทะนาคราช ซงึ่ มีเรือ
กล่าวถึงพระผู ้มีพระภาคทรงมีชย ่ งดังนี้

ครัง้ หนึง่ พระพุทธเจ ้าประทับอยูท


่ วี่ ห
ิ ารเชตวัน เมืองสาวัตถี
้ นหนึง่ ก่อนทีพ
เชาวั ่ ระผู ้มีพระภาคจะเสด็จไปรับภัตตาหารทีบ
่ ้านของอนาถบิณฑิกเ
ั ว์โลก
ศรษฐี เวลาใกล ้รุง่ พระผู ้มีพระภาคทรงตรวจดูสต
ก็ทรงเห็นนันโทปนันทะนาคราชปรากฏอยูใ่ นข่ายพระญาณ

ในตอนเชาพระผู ้มีพระภาคตรัสสงั่ พระอานนท์ให ้บอกสงฆ์ทราบว่า
พระองค์จะเสด็จไปเทวโลก
และได ้ทรงพาพระสาวกผู ้มีอภิญญาเหาะไปยังเทวโลก

นันโทปนันทะนาคราชเห็นพระผู ้มีพระภาคและพระสาวกเหาะมาก็โกรธ
โดยถือว่าตนเป็ นผู ้มีอานุภาพมาก ถ ้าสมณะเหล่านัน
้ เหาะข ้ามไป
ฝุ่ นละอองทีต
่ ด
ิ เท ้าก็จะล่วงหล่นมาบนหัว จะต ้องหาทางไม่ให ้เหาะข ้ามไป
จึงเอาหางรัดเขาพระสุเมรุไว ้ ๗ รอบ และบันดาลให ้เป็ นหมอกควันมืดมัวไปหมด

มีสาวกหลายองค์ทล
ู อาสาทีจ
่ ะปราบพระยานาค
แต่พระผู ้มีพระภาคไม่ทรงอนุญาต ครัน
้ เมือ
่ พระมหาโมคคัลลานะทูลอาสา
ั ชนะแก่พระยานาค
พระผู ้มีพระภาคจึงทรงอนุญาต พร ้อมทัง้ ทรงให ้พรให ้มีชย
พระมหาโมคคัลลานะได ้เนรมิตกายเป็ นพระยานาคทีม
่ รี า่ งกายยาวใหญ่กว่าพระยา
นันโทปนันทะถึง ๒ เท่า
แล ้วรัดกายพระยานาคให ้แน่นเข ้ากับเขาพระสุเมรุมใิ ห ้เคลือ
่ นไหว
ฝ่ ายพระยานาคถูกนาคพระมหาโมคคัลลานะรัดจนแทบกระดูกแตก
ก็โกรธเกรีย
้ วยิง่ นัก จึงพ่นพิษให ้เป็ นควันแผ่ไปโดยรอบ
พระมหาโมคคัลลานะก็บันดาลให ้ควันเกิดขึน
้ มากยิง่ กว่า
ปราบฤทธิข
์ องพระยานาคนัน ี
้ เสย
พระยานาคจึงพ่นควันพิษเป็ นเปลวไฟอันร ้ายแรง
พระมหาโมคคัลลานะก็เนรมิตไฟทีร่ ้อนแรงกว่าให ้เกิดขึน

ไฟของพระยานาคไม่อาจทาอันตรายแก่พระมหาโมคคัลลานะได ้
แต่ไฟทีพ
่ ระมหาโมคคัลลานะเนรมิตขึน
้ กลับรุมล ้อมพระยานาคทัง้ ภายนอกภายใน
ให ้รุม ั กระสา่ ยเป็ นกาลัง
่ ร ้อนกระสบ

พระยานาคคิดว่าสมณะนีช ื่ ใด จึงมีฤทธิม
้ อ ื่
์ ากอย่างนี้ คิดแล ้วก็ถามชอ
พระมหาโมคคัลลานะก็บอกให ้ทราบว่า
เป็ นอัครสาวกเบือ ้
้ งซายของพระผู ้มีพระภาค พระยานาคได ้กล่าวว่า
ท่านเป็ นสมณะเหตุใดจึงมาทาร ้ายข ้าพเจ ้า
การกระทาของท่านไม่สมควรแก่สมณะ
พระมหาโมคคัลลานะได ้ตอบว่าเราไม่ได ้โกรธและลงโทษท่าน
แต่ทท ่ จะชว่ ยท่านให ้พ ้นจากความเห็นผิดและพยศร ้าย
ี่ รมานท่านก็เพือ
ให ้ท่านอยูใ่ นทางตรงคืออริยมรรค

ในทีส
่ ด
ุ พระมหาโมคคัลลานะก็ได ้ปราบนันโทปนันทะนาคราชจนยอมจา
นน พ ้นจากการเป็ นมิจฉาทิฏฐิ รู ้จักบาปบุญคุณโทษ
เกิดศรัทธาในพระพุทธศาสนา
พระยานาคได ้กราบนมัสการพระผู ้มีพระภาคและขอบูชาพระรัตนตรัยเป็ นทีพ
่ งึ่ ตลอ
ี ๕ ให ้รักษา
ดไป พระผู ้มีพระภาคได ้ทรงประทานศล
จากนัน
้ พระผู ้มีพระภาคก็ได ้พาพระสาวกไปเรือนของอนาถบิณฑิกเศรษฐีเพือ
่ รับภั
ตตาหาร

ถูกโจรทุบตีกอ
่ นนิพพาน

พระมหาโมคคัลลานะมักจะเหาะไปเทวโลกและนรก
ถามกรรมทีพ ั ว์ทอ
่ วกเทวดาและพวกสต ี่ ยูใ่ นสวรรค์และนรกทาในชาติกอ
่ น
ั การะมาถวาย
แล ้วนามาเล่าให ้มนุษย์ฟัง ผู ้คนก็พากันนาลาภสก
ื่ มจากลาภ พวกนีจ
เป็ นเหตุให ้พวกเดียรถียเ์ สอ ้ งึ ว่าจ ้างให ้พวกโจรไปลอบฆ่าท่าน
พวกโจรไปลอบฆ่าพระมหาโมคคัลลานะถึง ๓ ครัง้
ในสองครัง้ แรกท่านเหาะหนีไปทางอากาศ พวกโจรไม่สามารถทาอันตรายท่านได ้
แต่ในครัง้ สุดท ้าย
ท่านพิจารณาเห็นว่าเป็ นเพราะกรรมทีท
่ าไว ้แต่ปางก่อนติดตามมา ท่านจึงไม่หนี
พวกโจรก็จับท่านมาทุบตี จนกระดูกแตกละเอียด
่ นไว ้ในพุม
แล ้วนาไปซอ ่ ไม ้แห่งหนึง่ แต่ทา่ นยังไม่มรณะ
ได ้รักษาตนเองด ้วยกาลังฌาน แล ้วไปเฝ้ าพระศาสดาทูลลานิพพาน

ั ว่าเหตุใดพระมหาโมคคัลลานะ
ปรากฏว่าประชาชนมีความสงสย
ซงึ่ เป็ นถึงพระอัครสาวกเบือ ้
้ งซายผู ้มีฤทธิจ
์ งึ ถูกโจรทุบตีอย่างทารุณ
พระพุทธเจ ้าได ้ตรัสเล่าบุพพกรรมของพระมหาโมคคัลลานะว่า
ในอดีตชาตินานมาแล ้ว พระมหาโมคคัลลานะได ้เกิดเป็ นชาวเมืองพาราณส ี
ทาหน ้าทีเ่ ลีย ี ตา ต่อมาได ้ภรรยาคนหนึง่
้ งดูมารดาผู ้ทุพพลภาพเสย
และได ้ยอมทาตามภรรยา นามารดาไปทิง้ ไว ้ในป่ า ทุบตีจนตาย
พระพุทธองค์ได ้ตรัสว่า "ดูกอ
่ นภิกษุ ทงั ้ หลาย!
โมคคัลลานะทากรรมประมาณเท่านี้ โทษในนรกหลายแสนปี
ด ้วยวิบากยังเหลืออยู่ จึงถูกทุบตีอย่างนัน ิ้ ๑๐๐
้ นั่นและละเอียดหมดถึงมรณะสน
อัตตภาพ"

ผู ้จัดพิมพ์เผยแพร่ : สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
โพสท์ในกระทู ้ธรรม อภิธรรมมูลนิธ ิ โดย : สมพร เทพสิทธา - 18/12/2001 09:53
http://www.dharma-gateway.com/monk/great_monk/pra-mokkalana.htm

พระวินัยปิ ฎก
เล่ม ๑
มหาวิภงั ค ์ ปฐมภาค
ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พ ี ระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ ้าพระอง
ค ์นั้น
เวร ัญชกัณฑ ์

เรืองเวร ัญชพราหมณ์
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู ้มีพระภาคพระพุทธเจ ้าประทับอยู่ ณ

ควงไม้สะเดาทีนเฬรุ ยกั ษ์
สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร ้อมด ้วยภิกษุสงฆ ์หมู่ใหญ่ประมาณ
๕๐๐ รูป เวร ัญชพราหมณ์
ได ้สดับข่าวถนัดแน่ วา่ ท่านผูเ้ จริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร
ทรงผนวชจากศากยตระกูล
ประทับอยู่ ณ บริเวณต ้นไม้สะเดาทีนเฬรุ ่ ยก
ั ษ ์สิงสถิต
เขตเมืองเวร ัญชา พร ้อมด ้วยภิกษุสงฆ ์
หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป
ก็แลพระกิตติศพ ั ท ์อันงามของท่านพระโคดมพระองค ์นั้น
ขจรไปแล ้ว
อย่างนี ว่้ า ี ระภาคองค ์นั้น
พระผูม้ พ
ทรงเป็ นพระอรหันต ์แม้เพราะเหตุนี ้ ทรงตร ัสรู ้เองโดยชอบ
แม้เพราะเหตุนี ้ ทรงบรรลุวช ิ ชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี ้
เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี ้ ทรงทราบ
โลกแม้เพราะเหตุนี ้
ทรงเป็ นสารถีฝึกบุรษ ่
ุ ทีควรฝึ กไม่มผ ื่ งกว่
ี ูอ้ นยิ ่ าแม้เพราะเหตุนี ้
ทรงเป็ น
ศาสดาของเทพและมนุ ษย ์ทังหลายแม้ ้ เพราะเหตุนี ้
ทรงเป็ นพุทธะแม้เพราะเหตุนี ้ ทรงเป็ นพระ
ี ระภาคแม้เพราะเหตุนี ้
ผูม้ พ
พระองค ์ทรงทาโลกนี พร ้ ้อมทังเทวโลก
้ มารโลก
พรหมโลกให ้แจ ้งช ัด
ด ้วยพระปัญญาอันยิงของพระองค ่ ์เอง แล ้วทรงสอนหมู่สต ั ว์

พร ้อมทังสมณะพราหมณ์ เทพ
และมนุ ษย ์ ให ้รู ้ ทรงแสดงธรรมงามในเบืองต ้ ้น งามในท่ามกลาง
งามในทีสุ ่ ด ทรงประกาศ
พรหมจรรย ์พร ้อมทังอรรถทั ้ ้
งพยั ญชนะครบบริบรู ณ์บริสท ุ ธิ ์
อนึ่ง การเห็นพระอรหันต ์ทังหลายเห็ ้ น
ปานนั้น เป็ นความดี.
เวร ัญชพราหมณ์กล่าวตูพ ่ ระพุทธเจ ้า
[๒] หลังจากนั้น เวร ัญชพราหมณ์ได ้ไปในพุทธสานัก
ครนถึ ้ั งแล ้วได ้ทูลปราศร ัยกับ
พระผูม้ พ ี ระภาค
ครนผ่ ้ั านการทูลปราศร ัยพอให ้เป็ นทีบั ่ นเทิงเป็ นทีระลึ
่ กถึงกันไป
แล ้ว จึงนั่ง ณ

ทีควรส่ วนข ้างหนึ่ง เวร ัญชพราหมณ์น่ งั ณ

ทีควรส่ วนข ้างหนึ่งแล ้ว ได ้ทูลคานี แด่ ้ พระผู ้มีพระภาค
ว่า ท่านพระโคดม ข ้าพเจ ้าได ้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม
ไม่ไหว ้ ไม่ลก ุ ร ับพวกพราหมณ์ผู ้แก่
ผูเ้ ฒ่า ผูใ้ หญ่ ผูล้ ว่ งกาล ผ่านวัยมาโดยลาดับ
หรือไม่เชือเชิ ้ ญด ้วยอาสนะ ข ้อทีข ่ ้าพเจ ้าทราบมานี ้
นั้นเป็ นเช่นนั้นจริง ่ านพระโคดมไม่ไหว ้
อันการทีท่
ไม่ลก ุ ร ับพวกพราหมณ์ผู ้แก่ ผูเ้ ฒ่า ผูใ้ หญ่ ผู ้
ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลาดับ หรือไม่เชือเชิ ้ ญด ้วยอาสนะนี นั ้ ้น
ไม่สมควรเลย.
พระผูม้ พ ี ระภาคตร ัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทังเทวโลก ้
มารโลก พรหมโลก ใน
หมู่สต ั ว ์ พร ้อมทังสมณะ ้ พราหมณ์ เทพ และมนุ ษย ์
เราไม่เล็งเห็นบุคคลทีเราควรไหว ่ ้ ควร
ลุกร ับ หรือควรเชือเชิ ้ ญด ้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว ้
พึงลุกร ับ หรือพึงเชือเชิ ้ ญ
บุคคลใดด ้วยอาสนะ แม้ศรี ษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป.
ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี
ดังนี ้ ชือว่
่ ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิน ่ รส
โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต
ละได ้แล ้ว ตัดรากขาดแล ้ว ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน
ทาไม่ให ้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
ต่อไปเป็ นธรรมดา ้
นี แล ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี ชื ้ อว่
่ า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมไม่มส ี มบัต.ิ
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมไม่มส ี มบัติ ดังนี ้
่ ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิน
ชือว่ ่ รส โผฏฐัพพะ
เหล่านั้น ตถาคตละได ้แล ้ว
ตัดรากขาดแล ้ว ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน
ทาไม่ให ้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็ น
ธรรมดา ้
นี แล ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมไม่มส ี มบัติ ดังนี ้ ชือว่ ่ ากล่าวถูก แต่
ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทา.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทา
ดังนี ้ ่ ากล่าวถูก
ชือว่ เพราะเรากล่าวการไม่ทากายทุจริต
วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ
ไม่ทาสิงที ่ เป็
่ นบาปอกุศลหลายอย่าง ้
นี แล
ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ
ไม่ทา ดังนี ้ ชือว่ ่ ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสูญ
ดังนี ้ ชือว่่ ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ
โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
ขาดสูญแห่งสภาพทีเป็ ่ นบาปอกุศลหลายอย่าง นี แล้
ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า พระสมณะโคดม
กล่าวความขาดสูญ ดังนี ้ ่ ากล่าวถูก
ชือว่
แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างร ังเกียจ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างร ังเกียจ ดังนี ้
่ ากล่าวถูก เพราะเราร ังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
ชือว่
เราร ังเกียจความถึงพร ้อมแห่ง
สภาพทีเป็ ่ นบาปอกุศลหลายอย่าง ้
นี แล
ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างร ังเกียจ
ดังนี ้ ชือว่
่ ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างกาจัด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างกาจัด ดังนี ้
่ ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพือก
ชือว่ ่ าจัด ราคะ โทสะ โมหะ
แสดงธรรมเพือก ่ าจัดสภาพ
่ นบาปอกุศลหลายอย่างนี แล
ทีเป็ ้ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างกาจัด ดังนี ้ ชือว่ ่ า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี ้
่ ากล่าวถูก
ชือว่ เพราะเรากล่าวธรรมทีเป็ ่ นบาปอกุศล คือ
กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า

เป็ นธรรมทีควรเผาผลาญ
ธรรมทีเป็ ่ นบาปอกุศลซึงควรเผาผลาญ
่ อันผู ้ใดละได ้แล ้ว
ตัดราก
ขาดแล ้ว ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน ทาไม่ให ้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็ นธรรมดา
เรากล่าวผูน้ ้นว่ ั าเป็ นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์

ธรรมทังหลายที ่ นบาปอกุศล ซึงควรเผาผลาญ
เป็ ่
ตถาคตละได ้แล ้ว ตัดรากขาดแล ้ว
ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน ทาไม่ให ้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็ นธรรมดา นีแล ้ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ
ดังนี ้ ชือว่
่ ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี ้
่ ากล่าวถูก
ชือว่ เพราะการนอนในครรภ ์ต่อไป
การเกิดในภพใหม่ อันผูใ้ ดละได ้แล ้ว ตัดราก
ขาดแล ้ว ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน ทาไม่ให ้มีในภายหลัง
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็ นธรรมดา
เรากล่าวผูน้ ้นว่ ั าเป็ นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์
การนอนในครรภ ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต
ละได ้แล ้ว ตัดรากขาดแล ้ว ทาให ้เป็ นเหมือนตาลยอดด ้วน
ทาไม่ให ้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
ต่อไปเป็ นธรรมดา ้
นี แล ี่
เหตุทเขากล่ าวหาเราว่า
พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี ้ ชือว่ ่ า
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุทท่ ี่ านมุ่งกล่าว.
ทรงอุปมาด ้วยลูกไก่
[๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ
๑๒ ฟอง ฟองไก่
เหล่านั้น อันแม่ไก่พงึ กกดีแล ้ว อบดีแล ้ว ฟักดีแล ้ว
บรรดาลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตวั ใดทาลาย
กะเปาะฟอง ด ้วยปลายเล็บเท ้า หรือด ้วยจะงอยปาก
ออกมาได ้โดยสวัสดีกอ ่ นกว่าเขา ลูกไก่
ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพีหรื ่ อน้อง.
ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓
ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์

เมือประชาชนผู ต้ กอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง
อันกะเปาะฟองหุ ้มห่อไว ้ ผูเ้ ดียวเท่านั้นในโลก
ได ้ทาลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล ้วได ้
ตร ัสรู ้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยียม ่
เรานั้นเป็ นผูเ้ จริญทีสุ ่ ด ประเสริฐทีสุ ่ ดของโลก
เพราะความเพียรของเราทีปรารภแล ่ ้วแล ไม่ย่อหย่อน
สติดารงมั่นไม่ฟ่ ันเฟื อน กายสงบ ไม่
กระสับกระส่าย จิตตังมั ้ ่น มีอารมณ์เป็ นหนึ่ง.
ปฐมฌาน
เรานั้นแล สงัดแล ้วจากกาม สงัดแล ้วจากอกุศลธรรม
ได ้บรรลุปฐมฌาน มีวต ิ ก
มีวจิ าร มีปีตแิ ละสุขซึงเกิ ่ ดแต่วเิ วกอยู่.
ทุตยิ ฌาน
เราได ้บรรลุทุตยิ ฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน
เป็ นธรรมเอกผุดขึน้ ไม่มวี ต ิ ก
ไม่มวี จิ าร เพราะวิตก วิจาร สงบไป
มีปีติและสุขซึงเกิ ่ ดแต่สมาธิอยู่.
ตติยฌาน
เรามีอเุ บกขาอยู่ มีสติ มีสม ั ปช ัญญะ และเสวยสุขด ้วยนามกาย
เพราะปี ติสนไป ิ้
ได ้บรรลุตติยฌาน ่
ทีพระอริ ้
ยะทังหลายสรรเสริ ญว่า
เป็ นผูม้ อ
ี เุ บกขา มีสติ มีสข ุ อยู่ ดังนี ้ อยู่.
จตุตถฌาน
เราได ้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มท
ี ก ุ ข ์ไม่มส ี ข

เพราะละสุขละทุกข ์และดับโสมนัส โทมนัส
ก่อนๆ มีอเุ บกขาเป็ นเหตุให ้สติบริสท ์ ่.
ุ ธิอยู
บุพเพนิ วาสานุ สสติญาณ
เรานั้น เมือจิ ่ ตเป็ นสมาธิ บริสท ุ ธิ ์ ผุดผ่อง ไม่มก ี เิ ลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ้ ่น
ตังมั ่
ไม่หวันไหว อย่างนี แล้ ้ว
ได ้น้อมจิตไปเพือบุ ่ พเพนิ วาสานุ สสติญาณ เรานั้น
ย่อมระลึกชาติกอ ่ นได ้เป็ นอันมาก คือระลึกชาติได ้หนึ่งชาติบ ้าง
สองชาติบ ้าง สามชาติบ ้าง

สีชาติ บ ้าง ห ้าชาติบ ้าง สิบชาติบ ้าง ่ บชาติบ ้าง
ยีสิ
สามสิบชาติบ ้าง สีสิ ่ บชาติบ ้าง ห ้าสิบชาติบ ้าง
ร ้อยชาติบ ้าง พันชาติบ ้าง แสนชาติบ ้าง
ตลอดสังวัฏฏกัลป์ เป็ นอันมากบ ้าง ตลอดวิวฏ ั ฏกัลป์
เป็ นอันมากบ ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวฏ ั ฏกัลป์ เป็ นอันมากบ ้าง
ว่าในภพโน้นเราได ้มีชออย่ ื่ างนั้น มีโคตร
อย่างนั้น มีผวิ พรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น
เสวยสุขทุกข ์อย่างนั้นๆ มีกาหนดอายุเพียง
เท่านั้น ้ั ตจิ ากภพนั้นแล ้ว
ครนจุ ได ้ไปเกิดในภพโน้น
แม้ในภพโน้นนั้น เราก็ได ้มีชออย่ ื่ างนั้น
มีโคตรอย่างนั้น มีผวิ พรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น
เสวยสุขทุกข ์อย่างนั้นๆ มีกาหนด
อายุเพียงเท่านั้น ครนจุ ้ั ตจิ ากภพโน้นนั้นแล ้ว ได ้มาเกิดในภพนี ้
เราย่อมระลึกถึงชาติกอ ่ นได ้เป็ น
อันมาก พร ้อมทังอุ ้ เทส พร ้อมทังอาการ ้ ด ้วยประการฉะนี ้
พราหมณ์ วิชชาทีหนึ ่ ่งนี่แล เรา
ได ้บรรลุแล ้วในปฐมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากาจัดได ้แล ้ว
วิชชาเกิดแก่เราแล ้ว ความมืด
เรากาจัดได ้แล ้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล ้ว
่ ดแก่บค
เหมือนทีเกิ ุ คลผู ้ไม่ประมาท มีความเพียร
เผากิเลส ส่งจิตไปแล ้วอยู่ฉะนั้น
ความชาแรกออกครงที ้ั หนึ ่ ่งของเรานี แล ้ ได ้เป็ นเหมือนการ
ทาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ฉะนั้น.
จุตปู ปาตญาณ
เรานั้น เมือจิ ่ ตเป็ นสมาธิ บริสท ุ ธิ ์ ผุดผ่อง ไม่มก ี เิ ลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ตังมั้ ่น ่
ไม่หวันไหว ้ ้ว
อย่างนี แล

ได ้น้อมจิตไปเพือญาณเครื ่ ้จุตแิ ละอุปบัติ
องรู
ของสัตว ์ทังหลาย ้ เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สต ั ว ์ผูก้ าลังจุติ
กาลังอุปบัติ เลว ประณี ต มีผวิ พรรณดี
มีผวิ พรรณทราม ได ้ดี ตกยาก
ด ้วยทิพยจักษุอน ั บริสท ุ ธิล่์ วงจักษุของมนุ ษย ์
ย่อมรู ้ช ัดซึงหมู ่ ่สต ั ว์
ผูเ้ ข ้าถึงตามกรรมว่า ั ว ์ผูเ้ กิดเป็ นอยู่เหล่านี ้
หมู่สต
ประกอบด ้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
ติเตียนพระอริยเจ ้า เป็ นมิจฉาทิฏฐิ
ยึดถือการกระทาด ้วยอานาจมิจฉาทิฏฐิ หมู่สต ั ว ์ผูเ้ กิดเป็ นอยู่
เหล่านั้น เบืองหน้ ้ าแต่แตกกายตายไป เข ้าถึงอบาย ทุคติ
วินิบาต นรก หรือว่าหมู่สต ั ว ์ผูเ้ กิด
เป็ นอยู่เหล่านี ้ ประกอบด ้วยกายสุจริต วจีสจ ุ ริต มโนสุจริต
ไม่ตเิ ตียนพระอริยเจ ้า เป็ น
สัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทาด ้วยอานาจสัมมาทิฏฐิ
หมู่สต ั ว ์ผูเ้ กิดเป็ นอยู่เหล่านั้น เบืองหน้ ้ าแต่แตก
กายตายไป เข ้าถึงสุคติโลกสวรรค ์
เราย่อมเล็งเห็นหมู่สต ั ว ์ผู ้กาลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว ประณี ต
มีผวิ พรรณดี มีผวิ พรรณทราม ได ้ดี ตกยาก
ด ้วยทิพยจักษุอน ั บริสท ุ ธิล่์ วงจักษุของมนุ ษย ์ ย่อม
่ ่สต
รู ้ช ัดซึงหมู ั ว ์ผู ้เข ้าถึงตามกรรมด ้วยประการดังนี ้ พราหมณ์
วิชชาทีสองนี่ ้ เราได ้บรรลุแล ้ว
แล
ในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากาจัดได ้แล ้ว
วิชชาเกิดแก่เราแล ้ว ความมืดเรากาจัดได ้แล ้ว
แสงสว่างเกิดแก่เราแล ้ว เหมือนทีเกิ ่ ดแก่บค ุ คลผูไ้ ม่ประมาท
มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไป
แล ้วอยู่ฉะนั้น ความชาแรกออกครงที ้ั สองของเรานี
่ ้
แล
ได ้เป็ นเหมือนการทาลายออกจากกะเปาะ
ฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
อาสวักขยญาณ
เรานั้น เมือจิ่ ตเป็ นสมาธิ บริสท ุ ธิผุ์ ดผ่อง ไม่มกี เิ ลส
ปราศจากอุปกิเลสอ่อน ควร
แก่การงาน ้ ่น
ตังมั ่
ไม่หวันไหว ้ ้ว
อย่างนี แล
ได ้น้อมจิตไปเพืออาสวั ่ กขยญาณ เรานั้นได ้รู ้ช ัด
ตามเป็ นจริงว่า นี ทุ ้ กข ์ ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า นี เหตุ ้ ให ้เกิดทุกข ์
ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า นีความ ้
ดับทุกข ์ ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า นี ข ้ ้อปฏิบต ั ใิ ห ้ถึงความดับทุกข ์
ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า เหล่านี ้
อาสวะ ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า ้ ให ้เกิดอาสวะ
นี เหตุ
ได ้รู ้ช ัดตามเป็ นจริงว่า นีความดั ้ บอาสวะ ได ้รู ้
ช ัดตามเป็ นจริงว่า นีข ้ ้อปฏิบต ั ใิ ห ้ถึงความดับอาสวะ

เมือเรานั ้นรู ้อยู่อย่างนี ้ เห็นอยู่อย่างนี ้ จิตได ้
หลุดพ้นแล ้วแม้จากกามาสวะ ได ้หลุดพ้นแล ้วแม้จากภวาสวะ
ได ้หลุดพ้นแล ้วแม้จากอวิชชาสวะ
่ ตหลุดพ้นแล ้ว
เมือจิ ได ้มีญาณหยังรู ่ ้ว่าหลุดพ้นแล ้ว
ได ้รู ้ด ้วยปัญญาอันยิงว่ ่ า ชาติสนแล ิ้ ้ว
พรหมจรรย ์อยู่จบแล ้ว ่
กิจทีควรท าได ้ทาเสร็จแล ้ว
กิจอืนอี่ กเพือความเป็
่ นอย่างนี มิ ้ ได ้มี พราหมณ์
วิชชาทีสามนี ่ ้
แล เราได ้บรรลุแล ้วในปัจฉิ มยามแห่งราตรี
อวิชชา เรากาจัดได ้แล ้ว วิชชาเกิด
แก่เราแล ้ว ความมืดเรากาจัดได ้แล ้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล ้ว
เหมือนทีเกิ ่ ดแก่บค ุ คลผู ้ไม่ประมาท
มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล ้วอยู่ ฉะนั้น
ความชาแรกออกครงที ้ั สามของเรานี
่ ้ ได ้เป็ น
แล
เหมือนการทาลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น.
เวร ัญชพราหมณ์แสดงตนเป็ นอุบาสก
[๔] ่
เมือพระผู ม้ พี ระภาคตร ัสอย่างนีแล ้ ้ว
เวร ัญชพราหมณ์ได ้ทูลคานีแด่ ้ พระผูม้ พ ี ระภาค
ว่า ท่านพระโคดมเป็ นผูเ้ จริญทีสุ ่ ด
ท่านพระโคดมเป็ นผูป้ ระเสริฐทีสุ ่ ด ข ้าแต่ทา่ นพระโคดม
ภาษิตของพระองค ์แจ่มแจ ้งนัก ภาษิตของพระองค ์ไพเราะนัก
พระองค ์ทรงประกาศธรรมโดย
อเนกปริยายอย่างนี ้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของทีคว ่ ่า
เปิ ดของทีปิ่ ด บอกทางแก่คนหลงทาง
หรือส่องประทีปในทีมื ่ ดด ้วยตังใจว่
้ า คนมีจก
ั ษุจกั เห็นรูปดังนี ้

ข ้าพเจ ้านี ขอถึ งท่านพระโคดม
พระธรรม และพระสงฆ ์ว่าเป็ นสรณะ
ขอพระองค ์จงทรงจาข ้าพเจ ้าว่าเป็ นอุบาสกผูถ้ งึ สรณะ
ตลอดชีวต ิ จาเดิมแต่วน ้ นต ้นไป
ั นี เป็
และขอพระองค ์พร ้อมด ้วยภิกษุสงฆ ์จงทรงร ับอาราธนาอยู่
จาพรรษา ทีเมื ่ องเวร ัญชาของข ้าพเจ ้าเถิด.
พระผูม้ พี ระภาคทรงร ับอาราธนาด ้วยพระอาการดุษณี
้ั
ครนเวร ัญชพราหมณ์ทราบการร ับ
อาราธนาของพระผูม้ พ ี ระภาคแล ้ว
ได ้ลุกจากทีนั ่ ่ งถวายบังคมพระผูม้ พ ี ระภาค ทาประทักษิณ
หลีกไป.
เมืองเวร ัญชาเกิดทุพภิกขภัย
[๕] ก็โดยสมัยนั้นแล เมืองเวร ัญชา มีภกิ ษาหารน้อย
ประชาชนหาเลียงชี ้ พฝื ดเคือง
มีกระดูกคนตายขาวเกลือน ่ ้
ต ้องมีสลากซืออาหาร
ภิกษุสงฆ ์จะยังอัตภาพให ้เป็ นไปด ้วยการ
ถือบาตรแสวงหา ก็ทาไม่ได ้ง่าย
ครงนั ้ั ้นพวกพ่อค ้าม้าชาวอุตราปถะ มีมา้ ประมาณ ๕๐๐ ตัว ได ้
เข ้าพักแรมตลอดฤดูฝนในเมืองเวร ัญชา
พวกเขาได ้ตกแต่งข ้าวแดงสาหรบั ภิกษุรป ู ละแล่งไว ้ที่
คอกม้า ้ั
เวลาเช ้าภิกษุทงหลายครองอั นตรวาสกแล ้ว
ถือบาตรจีวรเข ้าไปบิณฑบาตในเมืองเวร ัญชา
่ ได ้บิณฑบาต
เมือไม่ ่
จึงเทียวไปบิ ณฑบาตทีคอกม้่ า
ร ับข ้าวแดงรูปละแล่ง นาไปสูอ ่ ารามแล ้วลงครก
โขลกฉัน ส่วนท่านพระอานนท ์บดข ้าวแดงแล่งหนึ่งทีศิ ่ ลา
แล ้วน้อมเข ้าไปถวายแด่พระผู ้มีพระภาค
พระผูม้ พ ี ระภาคเสวยพระกระยาหารทีบดถวายนั ่ ้นอยู่
ได ้ทรงสดับเสียงครกแล ้ว.
พระพุทธประเพณี

พระตถาคตทังหลายทรงทราบอยู ่ ย่อมตร ัสถามก็มี
ทรงทราบอยู่ย่อมไม่ตร ัสถามก็มี
ทรงทราบกาลแล ้วตร ัสถาม ทรงทราบกาลแล ้วไม่ตร ัสถาม
พระตถาคตทังหลายย่ ้ อมตร ัสถามสิง่

ทีประกอบด ้วยประโยชน์
ไม่ตร ัสถามสิงที ่ ไม่ ่ ประกอบด ้วยประโยชน์ สิงที ่ ไม่
่ ประกอบด ้วย
ประโยชน์ พระองค ์ทรงกาจัดด ้วยข ้อปฏิบต ั ิ
พระผูม้ พ ้
ี ระภาคพุทธเจ ้าทังหลายย่ อมทรงสอบถาม
ภิกษุทงหลายด ้ั ้วยอาการสองอย่าง คือ
จักทรงแสดงธรรมอย่างหนึ่ง จักทรงบัญญัตส ิ กิ ขาบทแก่
พระสาวกทังหลายอย่ ้ างหนึ่ง.
้ั ้น พระผูม้ พ
ครงนั ี ระภาคตร ัสถามท่านพระอานนท ์ว่า อานนท ์
นั่นเสียงครกหรือหนอ
จึงท่านพระอานนท ์กราบทูลเนื อความนั ้ ้นให ้ทรงทราบ
พระผูม้ พ ี ระภาคตร ัสสรรเสริญว่า ดีละ
ดีละ อานนท ์ พวกเธอเป็ นสัตบุรษ
ุ ชนะวิเศษแล ้ว
พวกเพือนพรหมจารี ่ ้ั
ชนหลั ่ ้าว
งจักดูหมินข
สาลีและข ้าวสุกอันระคนด ้วยเนื อ. ้
พระมหาโมคคัลลานะเปล่งสีหนาท
[๖] ้ั ้น
ครงนั
ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข ้าไปเฝ้ าพระผูม้ พ ี ระภาค
ถวายบังคมแล ้วนั่ง
ณ ทีควรส่ ่ วนข ้างหนึ่ง ได ้กราบทูลคานีแด่ ้ พระผูม้ พี ระภาคว่า
พระพุทธเจ ้าข ้า บัดนี เมื ้ องเวร ัญชา
มีภก ิ ษาหารน้อย ประชาชนหาเลียงชี ้ พฝื ดเคือง
มีกระดูกคนตายขาวเกลือน ่ ต ้องมีสลากซือ้
อาหาร
ภิกษุสงฆ ์จะยังอัตภาพให ้เป็ นไปด ้วยการถือบาตรแสวงหา
ก็ทาไม่ได ้ง่าย พระพุทธเจ ้าข ้า
้ องล่
พืนเบื ้ างแห่งแผ่นดินผืนใหญ่นี ้ สมบูรณ์ มีรสอันโอชา
เหมือนนาผึ ้ งหวี
้ ที่ ไม่
่ มตี วั อ่อนฉะนั้น
ขอประทานพระวโรกาส ข ้าพระพุทธเจ ้าจะพึงพลิกแผ่นดิน
้ั
ภิกษุทงหลายจั กได ้ฉันง ้วนดิน
พระพุทธเจ ้าข ้า.
พระผูม้ พ ี ระภาคตร ัสถามว่า ดูกรโมคคัลลานะ
ก็สต ั ว ์ผูอ้ าศัยแผ่นดินเล่า เธอจะทา
อย่างไรแก่สต ั ว ์เหล่านั้น?
ม.
ข ้าพระพุทธเจ ้าจักนิ รมิตฝ่ ามือข ้างหนึ่งให ้เป็ นดุจแผ่นดินใหญ่
ยังสัตว ์ผูอ้ าศัยแผ่นดิน
เหล่านั้นให ้ไปอยูใ่ นฝ่ ามือนั้น
จักพลิกแผ่นดินด ้วยมืออีกข ้างหนึ่ง พระพุทธเจ ้าข ้า.
ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ การพลิกแผ่นดิน เธออย่าพอใจเลย

สัตว ์ทังหลายจะพึ ง
ได ้ร ับผลตรงกันข ้าม.
ม. ขอประทานพระวโรกาส
ขอภิกษุสงฆ ์ทังหมดพึ ้ งไปบิณฑบาตในอุตรกุรท ุ วีป พระ-
พุทธเจ ้าข ้า.
ภ. ก็ภก ิ ษุผู ้ไม่มฤ ์ า เธอจักทาอย่างไรแก่ภก
ี ทธิเล่ ิ ษุเหล่านั้น?
ม. ข ้าพระพุทธเจ ้าจักทาให ้ภิกษุทงหมดไปได ้ั ้ พระพุทธเจ ้าข ้า.
ภ. อย่าเลย โมคคัลลานะ
การทีภิ ่ กษุสงฆ ์ทังหมดไปบิ ้ ณฑบาตถึงอุตรกุรท ุ วีป เธออย่า
พอใจเลย.
เหตุให ้พระศาสนาดารงอยู่ไม่นานและนาน
[๗] ครงนั ้ั ้น ท่านพระสารีบตุ รไปในทีสงั ่ ดหลีกเร ้นอยู่
ได ้มีความปริวต ิ กแห่งจิตเกิด

ขึนอย่ างนี ว่้ า พระศาสนาของพระผูม้ พ ้
ี ระภาคพุทธเจ ้าทังหลาย
พระองค ์ไหนไม่ดารงอยู่นาน ของ
พระองค ์ไหนดารงอยู่นาน ดังนี ้
้ั
ครนเวลาสายั ณห ์ท่านออกจากทีเร ่ ้นแล ้ว
เข ้าไปเฝ้ าพระผู ้มีพระ-
ภาค ถวายบังคม นั่ง ณ ทีควรส่ ่ วนข ้างหนึ่งแล ้วกราบทูลว่า
พระพุทธเจ ้าข ้า ข ้าพระพุทธเจ ้าไปใน
่ ดหลีกเร ้นอยู่
ทีสงั ณ ตาบลนี ้
ได ้มีความปริวติ กแห่งจิตเกิดขึนอย่ ้ างนี ว่้ า
พระศาสนาของพระผูม้ ี
พระภาคพุทธเจ ้าทังหลาย้ พระองค ์ไหนไม่ดารงอยูน ่ าน
ของพระองค ์ไหนดารงอยู่นาน.
พระผูม้ พ
ี ระภาคตร ัสตอบว่า ดูกรสารีบต ุ ร
พระศาสนาของพระผูม้ พ ี ระภาคพระนามวิปัสสี
พระนามสิข ี และพระนามเวสสภู ไม่ดารงอยู่นาน
ของพระผู ้มีพระภาคพระนามกกุสน ั ธะ พระ
นามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะดารงอยู่นาน.
ส. อะไรเป็ นเหตุ อะไรเป็ นปัจจัย
ให ้พระศาสนาของพระผูม้ พ ี ระภาคพระนามวิปัสสี
พระนามสิข ี และพระนามเวสสภู ไม่ดารงอยู่นาน
พระพุทธเจ ้าข ้า?
ภ. ดูกรสารีบต ุ ร พระผูม้ พ ี ระภาคพระนามวิปัสสี พระนามสิข ี
และพระนามเวสสภู

ทรงท ้อพระหฤทัยเพือจะทรงแสดงธรรมโดยพิ สดารแก่สาวกทัง้
หลาย อนึ่ง สุตตะ เคยยะ
เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิตวิ ต ุ ตกะ ชาดก อัพภูตธรรม
เวทัลละ ของพระผูม้ พ ี ระภาคทัง้
สามพระองค ์นั้นมีนอ้ ย สิกขาบทก็มไิ ด ้ทรงบัญญัติ
ปาติโมกข ์ก็มไิ ด ้ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
อันตรธานแห่งพระผูม้ พ ี ระภาคพุทธเจ ้าเหล่านั้น
เพราะอันตรธานแห่งสาวกผูต้ ร ัสรู ้ตามพระพุทธเจ ้า
เหล่านั้น สาวกชนหลั ้ั ่ างชือกั
งทีต่ ่ น ต่างโคตรกัน ต่างชาติกน ั
ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
ยังพระศาสนานั้นให ้อันตรธานโดยฉับพลัน ดูกรสารีบต
ุ ร
ดอกไม้ตา่ งพรรณทีเขากองไว่ ้บนพืน้
กระดาน ยังไม่ได ้ร ้อยด ้วยด ้าย ลมย่อมกระจาย ขจัด กาจัด

ซึงดอกไม้ เหล่านั้นได ้ ข ้อนั้น
เพราะเหตุอะไร เพราะเขาไม่ได ้ร ้อยด ้วยด ้าย ฉันใด
เพราะอันตรธานแห่งพระผู ้มีพระภาคพุทธเจ ้า
เหล่านั้น
เพราะอันตรธานแห่งสาวกผูต้ ร ัสรู ้ตามพระพุทธเจ ้าเหล่านั้น
สาวกชนหลั้ั ่ างชือกั
งทีต่ ่ น
ต่างโคตรกัน ต่างชาติกน ั ออกบวชจากตระกูลต่างกัน
จึงยังพระศาสนานั้นให ้อันตรธานโดยฉับ
พลัน ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะพระผูม้ พ ี ระภาคพุทธเจ ้าเหล่านั้น
ทรงท ้อพระหฤทัยเพือจะทรง ่
กาหนดจิตของสาวกด ้วยพระหฤทัย แล ้วทรงสังสอนสาวก. ่
ดูกรสารีบต ุ ร ่
เรืองเคยมีมาแล ้ว
พระผูม้ พ
ี ระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ ้าพระนาม
เวสสภู ทรงกาหนดจิตภิกษุสงฆ ์ด ้วยพระหฤทัยแล ้วทรงสังสอน ่

พราสอน ภิกษุสงฆ ์ประมาณ
พันรูป ในไพรสนฑ ์อันน่ าพึงกลัวแห่งหนึ่งว่า
พวกเธอจงตรึกอย่างนี ้ อย่าได ้ตรึกอย่างนั้น จง
ทาในใจอย่างนี ้ อย่าได ้ทาในใจอย่างนั้น จงละส่วนนี ้
จงเข ้าถึงส่วนนี อยู ้ ่เถิด ดังนี ้ ลาดับนั้นแล
จิตของภิกษุประมาณพันรูปนั้น
อันพระผูม้ พ ี ระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ ้า
พระนามเวสสภูทรง

สังสอนอยู ่อย่างนั้น ่
ทรงพราสอนอยู ่ ย่างนั้น

ได ้หลุดพ้นแล ้วจากอาสวะทังหลาย ้ เพราะไม่ถอื มัน่
ในเพราะความทีไพรสณฑ ่ ์อันน่ าพึงกลัวนั้นซิ
่ น่
เป็ นถินที ่ าสยดสยอง จึงมีคานี ว่้ า ผูใ้ ดผูห้ นึ่งซึง่
ยังไม่ปราศจากราคะเข ้าไปสูไ่ พรสณฑ ์นั้น
โดยมากโลมชาติย่อมชูช ัน.
ดูกรสารีบต ุ ร ้
อันนี แลเป็ นเหตุ ้
อันนี แลเป็ นปัจจัย
ให ้พระศาสนาของพระผูม้ พ ี ระภาค
พระนามวิปัสสี พระนามสิข ี และพระนามเวสสภูไม่ดารงอยู่นาน.
ส. อะไรเป็ นเหตุ อะไรเป็ นปัจจัย
ให ้พระศาสนาของพระผูม้ พ ี ระภาคพระนามกกุสน ั ธะ
พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ ดารงอยู่นาน
พระพุทธเจ ้าข ้า?
ภ. ดูกรสารีบต ุ ร พระผูม้ พี ระภาคพระนามกกุสน ั ธะ
พระนามโกนาคมนะ และพระนาม
กัสสปะ

มิได ้ทรงท ้อพระหฤทัยเพือจะทรงแสดงธรรมโดยพิ สดารแก่สาว

กทังหลาย อนึ่ง สุตตะ
เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิตวิ ต ุ ตกะ ชาดก อัพภูตธรรม
เวทัลละ ของพระผูม้ ี

พระภาคทังสามพระองค ์นั้นมีมาก สิกขาบทก็ทรงบัญญัติ
ปาติโมกข ์ก็ทรงแสดงแก่สาวก เพราะ
อันตรธานแห่งพระผูม้ พ ี ระภาคพุทธเจ ้าเหล่านั้น
เพราะอันตรธานแห่งสาวกผูต้ ร ัสรู ้ตามพระพุทธเจ ้า
เหล่านั้น สาวกชนหลั ้ั งทีต่ ่ างชือกั ่ น ต่างโคตรกัน ต่างชาติกน ั
ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึง
ดารงพระศาสนานั้นไว ้ได ้ตลอดระยะกาลยืนนาน ดูกรสารีบต ุ ร
ดอกไม้ตา่ งพรรณทีเขากองไว ่ ้บน

พืนกระดาน ร ้อยดีแล ้วด ้วยด ้าย ลมย่อมกระจายไม่ได ้
ขจัดไม่ได ้ กาจัดไม่ได ้ซึงดอกไม้่ เหล่านั้น
ข ้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะเขาร ้อยดีแล ้วด ้วยด ้าย ฉันใด
เพราะอันตรธานแห่งพระผู ้มีพระภาค
พุทธเจ ้าเหล่านั้น
เพราะอันตรธานแห่งสาวกผูต้ ร ัสรู ้ตามพระพุทธเจ ้าเหล่านั้น
สาวกชนหลั ้ั งที่
่ น
ต่างชือกั ต่างโคตรกัน ต่างชาติกนั
ออกบวชจากตระกูลต่างกัน จึงดารงพระศาสนานั้นไว ้ได ้
ตลอดระยะกาลยืนนาน ฉันนั้น เหมือนกัน.
ดูกรสารีบต ุ ร ้
อันนี แลเป็ นเหตุ ้
อันนี แลเป็ นปัจจัย
ให ้พระศาสนาของพระผูม้ พ ี ระภาค
พระนามกกุสน ั ธะ พระนามโกนาคมนะ และพระนามกัสสปะ
ดารงอยู่นาน.
ปรารภเหตุให ้ทรงบัญญัตส ิ ก ิ ขาบท
[๘] ลาดับนั้นแล ท่านพระสารีบต ุ รลุกจากอาสนะ
ทาผ้าอุตราสงค ์เฉวียงบ่าข ้างหนึ่ง
ประณมอัญชลีไปทางพระผูม้ พ ี ระภาคแล ้วกราบทูลว่า
ถึงเวลาแล ้ว พระพุทธเจ ้าข ้า ข ้าแต่พระสุคต
ถึงเวลาแล ้ว ่
ทีจะทรงบั
ญญัตส ิ กิ ขาบท

ทีจะทรงแสดงปาติ โมกข ์แก่สาวก อันจะเป็ นเหตุให ้
พระศาสนานี ยั ้ งยื
่ นดารงอยู่ได ้นาน.
พระผูม้ พ ี ระภาคตร ัสว่า จงรอก่อน สารีบต
ุ ร
จงยับยังก่ ้ อนสารีบต ุ ร ตถาคตผูเ้ ดียวจักรู ้
กาลในกรณี ย ์นั้น พระศาสดายังไม่บญ ั ญัตสิ กิ ขาบท
ยังไม่แสดงปาติโมกข ์แก่สาวก ตลอดเวลา

ทีธรรมอั นเป็ นทีตั ่ งแห่
้ งอาสวะบางเหล่า
ยังไม่ปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้ ต่อเมือใดอาสวั ่ ฏ-
ฐานิ ยธรรมบางเหล่า ปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้
เมือนั่ ้นพระศาสดาจึงจะบัญญัตส ิ กิ ขาบท แสดง
ปาติโมกข ์แก่สาวก เพือก ่ าจัดอาสวัฏฐานิ ยธรรมเหล่านั้นแหละ
อาสวัฏฐานิ ยธรรมบางเหล่า ยังไม่
ปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้
ตลอดเวลาทีสงฆ ่ ์ยังไม่ถงึ ความเป็ นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผูบ้ วชนาน
ต่อ

เมือใดสงฆ ์ถึงความเป็ นหมู่ใหญ่โดยภิกษุผู ้บวชนานแล ้ว
และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าย่อม
ปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้
เมือนั ่ ้นพระศาสดาจึงจะบัญญัตส ิ กิ ขาบท
แสดงปาติโมกข ์แก่สาวก
เพือก ่ าจัดอาสวัฏฐานิ ยธรรมเหล่านั้นแหละ
อาสวัฏฐานิ ยธรรมบางเหล่า ยังไม่ปรากฏในสงฆ ์ใน
ศาสนานี ้
ตลอดเวลาทีสงฆ ่ ์ยังไม่ถงึ ความเป็ นหมู่ใหญ่โดยแพร่หลาย

ต่อเมือใดสงฆ ์ถึงความเป็ น
หมู่ใหญ่โดยแพร่หลายแล ้ว และอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่า
ย่อมปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้
่ ้นพระศาสดาจึงจะบัญญัตส
เมือนั ิ ก
ิ ขาบท
แสดงปาติโมกข ์แก่สาวกเพือก ่ าจัดอาสวัฏฐานิยธรรม
เหล่านั้นแหละ อาสวัฏฐานิ ยธรรมบางเหล่า
ยังไม่ปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้ ตลอดเวลาทีสงฆ ่ ์
ยังไม่ถงึ ความเป็ นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภ
ต่อเมือใดสงฆ ่ ์ถึงความเป็ นหมู่ใหญ่เลิศโดยลาภแล ้ว และ
อาสวัฏฐานิ ยธรรมบางเหล่า ย่อมปรากฏในสงฆ ์ในศาสนานี ้
เมือนั่ ้นพระศาสดาจึงจะบัญญัต-ิ
สิกขาบท แสดงปาติโมกข ์แก่สาวก
เพือก ่ าจัดอาสวัฏฐานิ ยธรรมเหล่านั้นแหละ ดูกรสารีบต ุ ร
ก็ภก ิ ษุสงฆ ์ไม่มเี สนี ยด ไม่มโี ทษ
ปราศจากมัวหมองบริสท ุ ธิผุ์ ดผ่องตังอยู
้ ่ในสารคุณ
เพราะบรรดา
ภิกษุ ๕๐๐ รูปนี ้ ภิกษุททรงคุ ี่ ณธรรมอย่างต่า ก็เป็ นโสดาบัน
มีความไม่ตกต่าเป็ นธรรมดา เป็ น
ผูเ้ ทียง ่ เป็ นผู ้ทีจะตร
่ ้
ัสรู ้ในเบืองหน้ า.
เสด็จนิ เวศน์เวรัญชพราหมณ์
[๙] ้ั
ครนปวารณาพรรษาแล ้ว
พระผูม้ พ ี ระภาคตร ัสเรียกท่านพระอานนท ์มาร ับสังว่ ่ า
ดูกรอานนท ์

พระตถาคตทังหลายยั งมิได ้บอกลาผูท้ นิ ี่ มนต ์ให ้อยู่จาพรรษาแล ้
ว จะไม่หลีกไปสูท ่ ี่
จาริกในชนบท ้ นประเพณี ของพระตถาคตทังหลาย
ข ้อนี เป็ ้
มาไปกันเถิดอานนท ์ เราจะบอกลา
เวร ัญชพราหมณ์.
ท่านพระอานนท ์ทูลสนองพระพุทธดาร ัสว่า เป็ นดังร ับสัง่
พระพุทธเจ ้าข ้า.
ขณะนั้น พระผูม้ พ ี ระภาคทรงอันตรวาสกแล ้ว ถือบาตรจีวร
มีท่านพระอานนท ์เป็ น
ปัจฉาสมณะ
เสด็จพระพุทธดาเนิ นไปสูน ่ ิ เวศน์ของเวร ัญชพราหมณ์
้ั งแล ้วประทับนั่งเหนื อ
ครนถึ
พระพุทธอาสน์ทเขาจั ี่ ดถวาย ทันใดนั้น
เวร ัญชพราหมณ์ดาเนิ นเข ้าไปสู่ทประทั ี่ ้ั
บ ครนแล ้วถวาย
บังคม นั่งเฝ้ าอยู่ ณ ทีควรส่ ่ วนข ้างหนึ่ง พระองค ์ร ับสังว่ ่ า
ดูกรพราหมณ์ เราเป็ นผูอ้ น ั ท่านนิมนต ์
อยู่จาพรรษาแล ้ว เราขอบอกลาท่าน
เราปรารถนาจะหลีกไปสูท ี่ กในชนบท.
่ จาริ
เวร ัญชพราหมณ์กราบทูลว่า เป็ นความจริง ท่านพระโคดม
ข ้าพเจ ้านิ มนต ์พระองค ์อยู่
จาพรรษา ก็แต่วา่ ไทยธรรมอันใดทีจะพึ ่ งถวาย
ไทยธรรมอันนั้นข ้าพเจ ้ายังมิได ้ถวาย และไทย-
ธรรมนั้นมิใช่วา่ จะไม่มี ้
ทังประสงค ์จะไม่ถวายก็หาไม่
ภายในไตรมาสนี ้ พระองค ์จะพึงได ้ไทย-
ธรรมนั้นจากไหน เพราะฆราวาสมีกจิ มาก มีกรณี ยะมาก
ขอท่านพระโคดมพร ้อมด ้วยพระสงฆ ์
จงทรงพระกรุณาโปรดร ับภัตตาหารของข ้าพเจ ้า

เพือเจริ ญบุญกุศลและปี ติปราโมทย ์ในวันพรุง่ นีแก่ ้
ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด.
พระผูม้ พ ี ระภาคทรงร ับอัชเฌสนาโดยดุษณี ภาพ
และแล ้วทรงชีแจงให ้ ้เวร ัญชพราหมณ์
เห็นแจ ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด ้วยธรรมีกถา
แล ้วทรงลุกจากทีประทั ่ บเสด็จกลับ.
หลังจากนั้น
เวร ัญชพราหมณ์สงให ่ ั ้ตกแต่งของเคียวของฉั
้ นอันประณี ตในนิ เ
วศน์ของตน
โดยผ่านราตรีน้นแล ั ้ว
ให ้เจ ้าพนักงานไปกราบทูลภัตกาลแด่พระผู ้มีพระภาคว่า
ถึงเวลาแล ้ว ท่าน
พระโคดม ภัตตาหารเสร็จแล ้ว.
ขณะนั้นเป็ นเวลาเช ้า
พระผูม้ พ ี ระภาคทรงอันตรวาสกแล ้วถือบาตรจีวรเสด็จพระพุทธ
-
ดาเนิ นไปสูน ่ ิ เวศน์ของเวร ัญชพราหมณ์ ้ั งแล ้ว
ครนถึ
ประทับนั่งเหนื อพระพุทธอาสน์ทเขาจั ี่ ดถวาย
พร ้อมด ้วยภิกษุสงฆ ์
จึงเวร ัญชพราหมณ์องั คาสภิกษุสงฆ ์มีพระพุทธเจ ้าเป็ นประมุข
ด ้วยขาทนีย-
โภชนี ยาหารอันประณี ต ด ้วยมือของตนจนให ้ห ้ามภัตรแล ้ว
ได ้ถวายไตรจีวรแด่พระผู ้มีพระภาค
ผูเ้ สวยเสร็จทรงนาพระหัตถ ์ออกจากบาตรแล ้วให ้ทรงครอง
และถวายผ้าคูใ่ ห ้ภิกษุครอง รูปละ
สาร ับ ้
จึงพระองค ์ทรงชีแจงให ้เวร ัญชพราหมณ์เห็นแจ ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด ้วยธรรมีกถา
แล ้วทรงลุกจากทีประทั ่ บเสด็จกลับ
้ั
ครนพระองค ์ประทับอยูท ี่ องเวร ัญชาตามพระพุทธาภิรมย ์แล ้ว
่ เมื
เสด็จพระพุทธดาเนิ นไปยังเมืองท่าปยาคะ
ไม่ทรงแวะเมืองโสเรยยะ เมืองสังกัสสะ เมือง
กัณณกุชชะ ้
ทรงข ้ามแม่นาคงคาที ่ องท่าปยาคะ
เมื
เสด็จพระพุทธดาเนิ นถึงพระนครพาราณสี ครน้ั
ี่
พระองค ์ประทับอยู่ทพระนครพาราณสี ตามพระพุทธาภิรมย ์แล ้ว
เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไป
สูพ
่ ระนครเวสาลี ่
เมือเสด็ จจาริกไปโดยลาดับ
ถึงพระนครเวสาลีน้ันแล ้ว ทราบว่าพระองค ์ประทับ
อยู่ทกู ี่ ฏาคารศาลา ป่ ามหาวัน เขตพระนครเวสาลีน้ัน.
เวร ัญชภาณวาร จบ.

You might also like