You are on page 1of 70

บทที่ ๑ เรื่องที่ ๑

ความเกี่ยวข้องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา

ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
ครูพี่ตตี่ ี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิบ์ วั ทิพย์
วัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพตี่ ี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

วัฒนธรรม
คําว่าวัฒนธรรม ใช้กันอยู่ในภาษาไทยมีหลากหลาย
ความหมาย ขึ้นกับโอกาสและบริบท ยกตัวอย่าง เช่น
- มีความเกี่ยวข้องกับประเพณี (เป็นส่วนหนึ่ง)
- การแสดงแนวคิดผ่านงานศิลปะ (แทรกความเป็นไทย)
- แบบแผนชีวิตและระบบการดําเนินชีวิต
- สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ของสังคมตนเอง
ภาษาไทยกับครูพตี่ ี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

มนุษย์กับวัฒนธรรม
มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ที่มีความสัมพันธ์ซับซ้อน ก่อให้เกิด
การพัฒนาการวิทยาการ แนวคิดและการมองโลกอย่างรวดเร็ว
วัฒนธรรมที่เกิดจากคนอยู่ร่วมกันสร้างขึ้น จึงมีแบบแผนที่เริ่ม
เป็นรูปร่าง ผ่านการใช้งานและเป็นที่ยอมรับ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

มนุษย์กับวัฒนธรรม
ดังนั้นมนุษย์กับวัฒนธรรมจึงถือเป็นสองส่วนที่ผสมกันได้
อย่างลงตัว ไม่สามารถแยกจากกันได้ มนุษย์ต้องอาศัย
วัฒนธรรมเพื่อแสดงความเจริญและความก้าวหน้าอย่างมี
อารยะ วัฒนธรรมต้องพึ่งพามนุษย์เพื่อให้คงอยู่ท่ามกลาง
เวลาที่ดําเนินไป
ความหลากหลายของวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ความหลากหลายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมที่หลากหลายของกลุ่มชนนั้น มีความหมากหลาย
ขึ้นกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่
๑. ที่ตั้งของกลุ่มชน
๒. สภาพภูมิอากาศ
๓. ความอุดมสมบูรณ์หรือความแร้นแค้น
๔. กลุ่มชนแวดล้อม
๕. นักปราชญ์หรือผู้นํากลุ่มชน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑. ที่ตั้งของกลุ่มชน
มนุษย์อาศัยอยู่ตามที่ตั้งต่างๆ กันไป อาจเป็นบนภูเขา
หรือในที่ราบลุ่ม ประเพณีต่างๆ จะเกิดขึ้นเพื่อให้ชวี ิตของ
หมู่ชนปรับเข้ากับที่ตั้งนั้นได้ เช่น กลุ่มชนที่อยู่ในเขตร้อนมี
ประเพณีสงกรานต์ กลุ่มชนที่อยู่ในเขตหนาวมีประเพณีการ
เล่นรอบกองไฟ กลุ่มชนที่อยู่ริมน้ํามีประเพณีแข่งเรือ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๒. ภูมิอากาศ
ภูมิอากาศที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ เช่น
วัฒนธรรมในการหาอาหารของชาวเอสกิโมมีมูลเหตุมาจากความยากแค้น
เวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่เหนือขอบฟูามีเพียง ๖ เดือน ในปีหนึ่งๆ ทุกคนใน
ครอบครัวต้องหาอาหารเพื่อความอยู่รอดของตน สมาชิกในครอบครัวจึง
ไม่ค่อยมีโอกาสอยู่ร่วมกัน ส่วนวัฒนธรรมของชนชาติในเขตมรสุมซึ่งมี
อาหารอุดมสมบูรณ์ การออกหาอาหารมักเป็นภาระของสมาชิกคนใดคน
หนึ่งของครอบครัวเท่านั้น
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

วัฒนธรรมการสร้างบ้านของชาวเอสกิโม ที่ขึ้นกับสภาพอากาศ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๓. ความอุดมสมบูรณ์หรือความแร้นแค้น
มนุษย์จะมีลักษณะนิสัย ค่านิยมตลอดจนแบบแผนในการดําเนินชีวิต
แตกต่างกันไปตามสภาพความอุดมสมบูรณ์หรือความแร้นแค้น เช่น
กลุ่มชนที่อยู่สุขสบายในที่อุดมสมบูรณ์มักมีความอารีเผื่อแผ่ ไม่คดิ
วางแผนไปถึงกาลข้างหน้า มีชีวิตอย่างง่ายๆ ไม่วิตกกังวล กลุ่มชนที่
แร้นแค้นจะหวงแหนสมบัติทุกอย่างที่หามาได้ด้วยความยากลําบาก และ
อาจมีอุปนิสัยไปในทางยักยอกฉ้อฉล ค่านิยมของคนในวัฒนธรรมหนึ่งๆ
เกิดจากเหตุธรรมชาติไม่ใช่น้อย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๔. กลุ่มชนแวดล้อม
วัฒนธรรมของกลุ่มชนทีไ่ ด้รับผลกระทบจากกลุ่มชนแวดล้อม เช่น
กลุ่มชนที่บังเอิญไปตั้งถิ่นฐานใกล้ชนกลุ่มใหญ่ที่มีอํานาจมากกว่าย่อม
ระมัดระวังไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่จะกระทบกระทั่งจนมีภัยอันตรายมาถึงตน
แต่ถ้าบังเอิญไปตั้งถิ่นฐานอยู่ระหว่างชนกลุ่มน้อยซึ่งมักรบกวนกลุม่ ชนที่
อยู่ใกล้ๆ ก็ต้องปราบให้ราบคาบจึงจะอยู่เป็นสุขได้ ทําให้เกิดค่านิยมไป
ในทางที่จะแสดงอํานาจ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๕. นักปราชญ์หรือผู้นํากลุ่มชน
เหตุประการสุดท้ายที่จะกล่าวถึงนี้ไม่มีผู้ใดแน่ใจว่าเป็นเหตุบังเอิญหรือ
เป็นเพราะสถาบันและนิยมในวัฒนธรรมนั้นเองเป็นต้นเหตุกลุ่มชนบาง
กลุ่มมีนักปราชญ์จํานวนมากที่เผยแพร่ความรู้ และบางกลุ่มมีผู้นําที่ดี
เมื่อเกิดวิกฤตการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น ก็สามารถปูองกันศัตรูและ
สร้างสรรค์ความเจริญให้แก่กลุ่มของตน
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม คือแบบแผนการมีชวี ิตของมนุษย์ใน
วัฒนธรรมหนึ่งๆ ที่แตกต่างกับวัฒนธรรมอื่นๆ เช่นเดียวกับ
เอกลักษณ์ ทางกายภาพของบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งที่ทําให้เห็นว่าบุคคลนี้
มีความแตกต่างจากบุคลอื่นอย่างไร
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม

บางชาติอาจถือว่าภาษาที่ใช้อยู่เป็นปกติใน
การดํารงชีวิตเป็นเอกลักษณ์ เช่น ชาติไทยมีภาษาไทย
ใช้ในราชการและกิจการสําคัญทุกอย่าง ก็ถอื เป็นส่วน
หนึ่งของวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ศิลปะสถาน เช่น เจดีย์ โบสถ์ วิหาร ที่เห็นอยู่มากในไทย
ย่อมเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติไทย ศิลปะสาขา
ต่างๆ ของชาติต่างๆ แสดงความรู้สึกนึกคิดและค่านิยมของ
สังคมของชาติเหล่านั้นให้ปรากฏ สรุปแล้วศิลปะของชาติ
นับเป็นเอกลักษณ์ของชาติ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

สถาปัตยกรรมที่ถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทย
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติไทยนั้นมีทั้งที่เป็นรูปธรรม
และนามธรรม ธงชาติไทย เพลงชาติไทย และภาษาไทย ล้วนเป็น
เอกลักษณ์ที่เป็นรูปธรรม มีรูปแบบเห็นได้ง่าย ส่วนเอกลักษณ์ที่เป็น
นามธรรม มีตัวอย่างเช่น ความไม่กีดกันคนต่างภาษา ความรักสงบ
เป็นต้น
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทย
๑. ความไม่กีดกันคนต่างชาติต่างภาษา
ในประวัตศิ าสตร์ชาติไทยจะเห็นว่า เรารับคนที่ต่างเชื้อชาติ
ต่างศาสนา ต่างผิว มาเป็นส่วนหนึ่งของชนชาติไทยได้อย่างสนิท
คนไทยไม่หวงตําแหน่งสําคัญๆ ในบ้านเมืองไว้ให้เฉพาะคนที่สืบสาย
เลือดไทยมาแต่ดั้งเดิม ชาวต่างชาติสามารถอยู่ร่วมกับคนไทยได้
อย่างผาสุกภายใต้ร่มโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ไทย
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๒. เสรีภาพทางศาสนา
บุคคลควรมีเสรีภาพทางศาสนา นอกจากจะอนุญาตให้กระทํากิจพิธี
โดยไม่ขัดขวางแล้ว เรายังอนุเคราะห์ผู้นับถือศาสนาอื่นๆ เช่น
พระมหากษัตริย์ไทยได้เคยพระราชทานที่ดินให้คณะเผยแผ่คริสต์ศาสนา
ซึ่งเป็นศาสนาที่ต่างไปจากที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือเพื่อใช้เป็นศาสน-
สถานและใช้เป็นที่เผยแผ่ศาสนาด้วย ปัจจุบันนี้รัฐธรรมนูญได้ตราไว้ว่า
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก ซึ่งหมายความว่าผู้ทํานุ
บํารุงศาสนา
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๓.ความรักสงบ

ในประวัติศาสนาของไทย คนไทยไม่นยิ มความรุนแรง


เรามักรบเพื่อปูองกันอธิปไตย หรือถ้าจะเป็นฝุายรุกไปตี
ประเทศใด ก็เพื่อปูองกันไม่ให้มารุกรานเราเราอีกเท่านั้น
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๔. ความพอใจการประนีประนอม

ในการติดต่อทําการงานทั้งปวง ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์ก็
จะเห็นว่า เรานิยมการเจรจาประนีประนอม ไม่ห้ําหั่นหรือ
เคียดแค้นกันไปนานๆ จะมีความขุ่นเคืองบ้างก็ภายใน
ระยะเวลาอันสั้น
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๕. การไม่แบ่งชั้นวรรณะ
ถ้าศึกษาพัฒนาการทางสังคมของไทย จะพบว่าเราไม่มี
การแบ่งชั้นวรรณะกันอย่างเด็ดขาด และไม่เคยกดขี่กลุ่มชน
คณะใด กลุ่มศาสนาหรือกลุ่มเชื้อชาติ ไม่กดขี่สตรีเพศ
ถ้าเราจะมีชนชั้น เราก็เปลี่ยนชั้นและปะปนกันได้
ดังจะเห็นอยู่ทั่วไปตั้งแต่พระราชวงศ์ลงมาจนถึงคนสามัญ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๖. ความมีน้ําใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
คนไทยส่วนใหญ่มีน้ําใจและยินดีช่วยเหลือผู้อื่นทั้งที่อาจจะไม่เคย
รู้จักกันมาก่อน เช่น ในอดีตหน้าบ้านคนไทยจะมีตุ่มน้ําใบเล็กๆ พร้อมขัน
หรือถ้วยสําหรับให้ผู้ที่ผ่านไปมาได้ดื่มดับกระหาย ในยามที่เกิดเหตุภัยพิบัติ
ต่างๆ เรามักจะได้เห็นคนไทยร่วมมือร่วมใจกันช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัย
ชาวต่างชาติที่มาเที่ยวเมืองไทยหลายคนบอกว่า ความมีน้ําใจ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ของคนไทย เป็นลักษณะเด่นของคนไทยที่สร้าง
ความประทับใจอย่างมาก
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๗. ความเกรงใจ
ความเกรงใจคือความรู้สึกที่ไม่อยากให้ผู้อื่นลําบากเดือดร้อนรําคาญ
กล่าวกันว่าความเกรงใจเป็นอุปนิสัยเด่นอย่างหนึ่งของคนไทย ความ
เกรงใจมีอิทธิพลต่อความคิดและปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคมไทยอย่างมาก
เช่น เมื่อมีผู้เสนอความช่วยเหลือหรือให้อะไรบางอย่าง คนไทยส่วนใหญ่
อาจจะไม่รับสิ่งที่เสนอนั้นเพราะรู้สึกเกรงใจอีกฝุายหนึ่ง บางครั้งเมื่อมีผู้ทํา
ให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญใจ คนไทยก็อาจจะเลือกที่จะไม่แสดง
ความรู้สึกเชิงลบเพราะเกรงใจบุคคลผู้นั้น
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๘. การคํานึงกาลเทศะ
กาลเทศะมีความหมายตามตัวว่า “เวลาและสถานที่” คํานี้มี
ความหมายว่า “รู้ว่าอะไรเหมาะอะไรควร” ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
คนไทยมักจะคํานึงถึงกาลเทศะ กล่าวคือต้องพิจารณาว่าสิ่งที่จะกระทํา
หรือพูดนั้นถูกต้องเหมาะสมแก่สถานการณ์และผู้ที่ตนมีปฏิสัมพันธ์ด้วย
ตัวอย่างเช่น การพูดกับครูอาจารย์จะต่างกับการพูดคุยกับเพื่อน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๙. ความรักสนุก
ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งในวัฒนธรรมของคนไทยคือรักสนุก
ความรักสนุกแสดงว่าคนไทยมองโลกในแง่ดี ตัวอย่างที่แสดง
เอกลักษณ์ในข้อนี้ก็คอื คนไทยมักมีกิจกรรมเพื่อความสนุกสนาน
และผ่อนคลายความตรึงเครียดในระหว่างการทํางานต่างๆ เสมอ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

วิเคราะห์เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

วิเคราะห์เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

วิเคราะห์เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม
ภาษากับวัฒนธรรมนั้นมีความสัมพันธ์กันหลายมิติ อาจจะสรุป
เป็นประเด็นหลักๆ ได้ ดังนี้
๑. ภาษาสร้าง ธํารง และพัฒนาวัฒนธรรม
๒. ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม
๓. การใช้ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑. ภาษาสร้าง ธํารง และพัฒนาวัฒนธรรม


เมื่อมนุษย์สามารถใช้ภาษาเพื่อบอกเล่าเรื่องราว ใช้ภาษาเพื่อ
สร้างและพัฒนาวัฒนธรรม ทําให้มนุษย์สามารถดํารงตนอยู่ได้
ท่ามกลางกระแสสังคมที่เคลื่อนที่ไม่หยุดนิ่ง
นอกจากนั้นภาษายังทําหน้าที่เป็นสื่อในการบันทึกประเพณี
พิธีกรรมและวัฒนธรรมได้
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ตัวอย่างของภาษาที่มีส่วนธํารงและพัฒนาวัฒนธรรม เช่น
สํานวน สุภาษิต คําพังเพย นิทานแทรกข้อคิด เป็นต้น

- เดินตามหลังผู้ใหญ่ หมาไม่กัด
- น้ําขุ่นไว้ใน น้ําใสไว้นอก
- ตําน้าํ พริกละลายแม่น้ํา
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๒. ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม
- มีการแสดงความหลดหลั่นของการเรียกเครือญาติ
(ลําดับความอาวุโส ที่คนไทยให้ความสําคัญ)
- ให้คําแทนตัว ทั้งผู้พูด ผู้ฟังและผู้ถูกกล่าวถึง
- การรับภาษาอื่นเข้ามาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น ภาษา
บาลี สันสกฤต อังกฤษ เขมร (แสดงให้เห็นความสัมพันธ์
ของชนชาติ)
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- คําที่แสดงความละเอียดใกล้ตัว
- มีลักษณนามในการช่วยจําแนกสิ่งต่างๆ (ช่างสังเกต)
- มีการเล่นกับภาษา เช่น สัมผัสคล้องจอง การซ้ําคํา
คําผวน ปริศนาคําทาย สุภาษิต มุกตลก คําคมท้ายรถ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ตัวอย่างการเล่นกับภาษา
- ชื่อบุคคล เช่น พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยาอนุชิตชาญชัย
หลวงกวีจรรยาวิโรจน์ หลวงประโมทย์จรรยาวิภาช
- ชื่อเรือพระราชพิธี เช่น เอกชัยเหินหาว เอกชัยหลาวทอง
ครุฑเหินเห็จ เตร็ดไตรจักร พาลีรั้งทวีป สุครีพครองเมือง กระบี่
ปราบเมืองมาร กระบี่ราญรอนราพณ์
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

คู่เรือเอกชัยเหินหาว เอกชัยหลาวทอง
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

คู่เรือพาลีรั้งทวีป สุครีพครองเมือง
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

คู่เรือกระบี่ปราบเมืองมาร กระบี่ราญรอนราพณ์
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- ชื่อประตูพระบรมมหาราชวัง ได้แก่
วิมานเทเวศร์ วิเศษไชยศรี มณีนพรัตน์ สวัสดิโสภา
เทวาพิทักษ์ ศักดิ์ไชยสิทธ์ วิจติ รบรรจง อนงคารักษ์
พิทักษ์บวร สุนทรทิศา เทวาภิรมย์ อุดมสุดารักษ์
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- ชื่อประตูพระบรมมหาราชวัง ลองอ่านถอยหลัง
สุดารักษ์อุดม ภิรมย์เทวา ทิศาสุนทร บวรพิทักษ์
คารักษ์อนง บรรจงวิจติ ร ไชยสิทธ์ศักดิ์ พิทักษ์เทวา
โสภาสวัสดิ นพรัตน์มณี ไชยศรีวิเศษ เทเวศร์วิมาน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- ปริศนาคําทาย เช่น
* อะไรเอ่ยเมื่อเล็กนุ่งขาว เมื่อสาวนุ่งเขียว เมื่อแก่
นุ่งแดง
* สี่เท้าเดินมาหลังคามุงกระเบื้อง
- สํานวน สุภาษิต คําพังเพย เช่น
* น้ํามาปลากินมด น้ําลดมดกินปลา
* รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- ภาษามีความหลากหลาย ได้แก่ ภาษาไทยมาตรฐานและ


ภาษาถิ่น (เหนือ กลาง อีสาน ใต้)
ภาษาไทยมาตรฐาน เป็นภาษาไทยที่ตกลงร่วมกันว่าใช้
เป็นภาษากลางในการสื่อสารและติดต่อราชการ ซึ่งเป็น
สําเนียงภาษาไทยของคนกรุงเทพมหานคร
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ภาษาถิ่น เป็นภาษาไทย ที่แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน


กระจายตามลักษณะภูมิศาสตร์ เป็น เหนือ กลาง อีสานและใต้
* ภาคเหนือ เช่น บะขะนัด บะแกว บะแน
* ภาคกลาง เช่น สับปะรด ฝรั่ง น้อยหน่า
* ภาคอีสาน เช่น บักนัด บักสีดา บักเขียบ
* ภาคใต้ เช่น ยานัด ชมพู่ น้อยหน่า
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๓. การใช้ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรม
ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น
ลักษณะบางประการของวัฒนธรรมจึงส่งผลต่อวัฒนธรรม เช่น
- การใช้คําราชาศัพท์
- ระดับของภาษา
- การใช้คํารื่นหู
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- การใช้คําราชาศัพท์
ในสังคมไทยมีการแบ่งชนชั้น ทําให้ภาษาที่ใช้สัมพันธ์กับ
วัฒนธรรม ในที่นี้คือการใช้ภาษาที่แสดงสถานะของบุคคล
- ระดับภาษา
เป็นการใช้ภาษาให้สอดคล้องกับ กาลเทศะ บุคคล
และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ภาษาระดับพิธีการ
ระดับทางการ ระดับเป็นกันเอง เป็นต้น
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

- การใช้คํารื่นหู
เป็นการเปลี่ยนแปลงคําในภาษา ให้มีความหมายที่เหมาะสม
ฟังสบาย ไม่หยาบคายหรือสื่อถึงเรื่องเพศ เช่น คําสุภาพ
ปลาสลิด คําสุภาพคือ ปลาใบไม้
ปลาช่อน คําสุภาพคือ ปลาหาง
ผักตบชวา คําสุภาพคือ ผักสามหาว
สากกะเบือ คําสุภาพคือ ไม้ตีพริก
คําศัพท์ที่ควรทราบเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

คําศัพท์ท่คี วรทราบ
สังคม
- ชุมชน กลุ่มคนที่รวมอยู่ในบริเวณเดียวกัน (รูปธรรม)
- ความนึกคิดรวมกับค่านิยมของชุมชนหนึ่งๆ (นามธรรม)
สถาบัน
- กฎเกณฑ์และประเพณีที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ของกลุ่มคน
- หน่วยย่อยของสังคม มีหน้าที่แตกต่างกันตามสภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

คําศัพท์ท่คี วรทราบ
ประเพณี
- พฤติกรรมที่กระทําหรือแสดงออกมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
ค่านิยม
- ความคิดเห็นส่วนใหญ่ของสังคมหรือเฉพาะกลุ่มที่มกี ารยอมรับ
- มีทั้งค่านิยมทางบวกและทางลบ
- เกิดขึ้นเร็ว บางครั้งหายไปเร็ว
แบบฝึกหัดทบทวน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑. ประเพณีที่บรรพชนได้ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่อดีต ถ้าใครฝุาฝืนไม่ปฏิบัติ
ตามถือว่าเป็นความผิดและถูกสังคมลงโทษ เป็นความหมายของข้อใด

๑) ประเพณี
๒) ขนบประเพณี
๓) จารีตประเพณี
๔) ธรรมเนียมประเพณี
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๒. ความสามารถของมนุษย์ในข้อใดถือว่าเป็นปัจจัยสําคัญที่สุดที่
ก่อให้เกิดวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม
๑) ความสามารถในการจดจํา
๒) ความสามารถในการใช้สัญลักษณ์
๓) ความสามารถในการประดิษฐ์คดิ ค้น
๔) ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๓. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของวัฒนธรรม

๑) เกิดจากการเรียนรู้
๒) เป็นมรดกทางสังคม
๓) เป็นสิ่งที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงไม่ได้
๔) แบบพฤติกรรมของพฤติกรรมของมนุษย์
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๔. ข้อใดไม่ใช่ค่านิยมดั้งเดิมของไทย

๑) ความกตัญญู
๒) ความเสมอภาค
๓) ความเป็นอิสระ
๔) ความเมตตากรุณา
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๕. ข้อใดอธิบายความหมายของคําว่า วัฒนธรรมเชิงสังคมวิทยาได้
ถูกต้องที่สุด
๑) สิ่งจําเป็นในการดํารงชีวิตของมนุษย์
๒) สิ่งดีที่สร้างความเจริญงอกงามให้แก่สังคม
๓) สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและมีการถ่ายทอดไปสู่รุ่นอื่น
๔) วิถชี วี ิตและความคิดดีงามของคนในอดีตที่ควรแก่การ
อนุรักษ์ไว้
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๖. ความหมายของคําว่า “วัฒนธรรม” ที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด

๑) ประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์
๒) ความสัมฤทธิ์ผลของมนุษย์ที่อนุชนรุ่นหลังควรให้การอนุรักษ์
๓) แบบอย่างพฤติกรรมที่ได้มาทางสังคมและถ่ายทอดต่อไปในสังคม
๔) แบบแผนพฤติกรรมที่เน้นค่านิยมที่ดีงามของประเทศเพื่อจรรโลง
ความดีงามของชาติ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๗. ข้อใดไม่ใช่วัฒนธรรมประเภทเดียวกัน

๑) เสื้อผ้า รองเท้า รถมอเตอร์ไซด์


๒) บ้านทรงไทย ไม้แกะสลัก เสื่อจันทรบูร
๓) ทองหยิบ ทองหยอด ข้าวเกรียบปากหม้อ
๔) ความเชื่อเรื่องพรหมจรรย์ การรักนวลสงวนตัว เรือนหอ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๘. สถานการณ์ที่เอื้อต่อการผสมผสานทางวัฒนธรรมคือข้อใด
๑. ศักยภาพของวัฒนธรรมที่สนองต่อการการเกื้อกูลต่อกัน
๒. สมาชิกในสังคมตระหนักถึงการปกปูองค่านิยมและประเพณีเดิม
๓. ความภูมิใจของสมาชิกในสังคมที่มีต่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมให้ดํารง
อยู่
๔. ปริมาณของวัฒนธรรมที่เป็นวัตถุมีพอเหมาะกับปริมาณของ
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๙. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการศึกษาภาษาถิ่น *
๑) สามารถสืบค้นความเป็นมาของเสียง ความหมายของคําและ
สร้างไวยากรณ์ใหม่ได้
๒) เข้าใจความเป็นมาและซาบซึ้งในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและ
ความหมายของภาษา
๓) สืบทอดวัฒนธรรมของบรรพบุรุษและไม่ลืมชาติกําเนิดของตนเอง
๔) เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ระบบภาษาของภาษาไทย
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๐. ข้อใดใช้สํานวนไม่เหมาะสมตามวัฒนธรรมการใช้สํานวนภาษาใน
ภาษาไทย
๑) เธอไม่อ่านหนังสือจึงสอบตก เรียกว่า “กรรมสนองกรรม”
๒) นายกไปแจกสิ่งของช่วยเหลือน้ําท่วมแบบ “ฝนตกไม่ทั่วฟูา”
๓) เขาได้แต่งงานกันเพราะผู้ใหญ่จัดการให้แบบ “คลุมถุงชน”
๔) สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถทรงรบ “เคียงบ่า
เคียงไหล่” กันมาตลอด
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๑. ข้อใดเป็นความหมายของ “ภาษาไทยถิ่น”


๑) ภาษาไทยที่ใช้และยอมรับให้ใช้เป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร
ในประเทศไทย
๒) ภาษาย่อยภาษาใดภาษาหนึ่งซึ่งแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นที่ผู้พูด
อาศัยอยู่
๓) ภาษาย่อยของภาษาไทยที่ใช้สื่อสารกันในท้องถิ่นต่างๆ ในประเทศ
ไทย
๔) ภาษาที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันในกรุงเทพมหานคร
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๒. ระบบของภาษาไทยถิ่นในประเทศไทย มีลักษณะร่วมกันตามข้อใด


๑) เป็นภาษาระบบคําโดด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์เพื่อกําหนด
ความหมาย
๒) เป็นภาษาระบบคําโดด มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์เพื่อกําหนด
ความหมาย
๓) มีหน่วยเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และหน่วยเสียงครุ ลหุ
ถ) มีการสร้างคําเป็นแบบเดียวกันคือวางคําขยายไว้หน้าคําที่ถูกขยาย
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๓. ภาวะทางภูมิศาสตร์ ทําให้เกิดความแตกต่างเป็นภาษาถิ่น


หลายๆ ภาษาได้อย่างไร
๑) การเดินทางติดต่อกันยากลําบากทําให้ภาษาพัฒนาแตกต่าง
กันไป
๒) เป็นความต้องการของกลุ่มคนที่ต้องการเอกลักษณ์ชาติพันธุ์
๓) การทํามาหากินฝืดเคืองทําให้ภาษาแตกต่างกันได้
๔) ชนชั้นทางสังคมทําให้ภาษาแตกต่างกัน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๔. ข้อใดใช้ภาษาได้เหมาะสมที่สุด
๑) แหมไม่พบกันเสียนาน ผอมเหมือนกุ้งแห้งเลย
๒) อาจารย์คะขอความกรุณาเซ็นชื่อให้หนูหน่อยค่ะ
๓) จะไปไหนจ๊ะพ่อหนุ่มหน้าจืดหน้ามืดคนดีของฉัน
๔) ทําไมเดี๋ยวนี้เธอถึงอ้วนเหมือนกับหมูตอนอย่างนี้
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๑๕. ข้อใดสะท้อนให้เห็น “วัฒนธรรมไทย”

๑) ขุนช้างปลูกหอสําเร็จพลัน ลาท่านศรีประจันมาจากที่
ครั้นถึงบ้านพลันทันที เตรียมขันหมากอึงมี่อยู่วนุ่ ไป

๒) อย่าเป็นทุกข์ถงึ ออพิมเลยออแก้ว ไปแล้วหาให้เป็นอะไรไม่


ลูกเต้าเขารักษามาแต่ไร ด้วงแลงแมงใยมิให้พาน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

๓) เอามีดคร่ําตําอกเข้าตําอัก เลือดทะลักหลวมทะลุตลอดสัน
นางกระเดือดเสือกดิ้นสิ้นชีวัน เลือดก็ดั้นดาษแดงเหมือนแทงควาย

๔) ครานั้นจึงโฉมเจ้าวันทอง เศร้าหมองสะอึกสะอื้นไห้
สวมกอดลูกยาด้วยอาลัย น้ําตาหลั่งไหลลงรินริน
ภาษาไทยกับครูพตี่ ่ตี ๋ี – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋

You might also like