You are on page 1of 24

่ บสอง

บททีสิ

วัฒนธรรมสติปัฏฐาน

วัฒนธรรมย่าทวด

ดิฉันได้ยนิ เรื่องวัฒนธรรมสติปัฏฐานจากอาจารย์โกวิท เขมานันทะ เป็ นท่านแรก ซึ่งท่านก็ได้รบั


ความคิดจากท่านอาจารย์พุทธทาสมาอีกทอดหนึ่ง แต่ครัง้ นัน้ ท่านใช้คาว่า “วัฒนธรรมย่าทวด”
ดิฉันยังจาความรูส้ กึ ได้ว่าเมื่อ ฟั งท่านพูดเรื่องนี้คราใดแล้ว จิตใจจะเต็มไปด้วยความปี ตแิ ละภูมใิ จ
เป็ นอย่างมากที่ได้เกิดในแผ่ นดินไทยในวัฒนธรรมไทยอันมีอยู่แล้วซึ่งคุ ณค่ าที่เต็มเปี่ ยมต่อชีวติ
และรู้สกึ เสียดายว่าตนเองไม่แก่พ อที่จะเห็นวัฒนธรรมอันดีงามต่าง ๆ เหล่านัน้ ในอดีต เช่น การ
สร้างศาลาริมทางให้คนเดินทางได้พกั พร้อมกับเอาอาหารไปวางไว้ให้ ในครัง้ นัน้ ความคิดเรื่อง”ตุ่ม
น้าศานติ-ไมตรี” ของอาจารย์โกวิท ก็เป็ นทีพ่ ูดกันอย่างกว้างขวางในหมู่พวกเราซึง่ เป็ นลูกศิษย์ของ
ท่าน

ดว้ ยความที่ดิฉั น เป็ นคนกรุ งเทพและเติบ โตขึนมาในวิ ้ ถีช วี ิตของคนเมือ ง


ความคิดของท่ า นอาจารย ท์ งสองได ้ั จ้ ุดชนวนใหด้ ิฉั น รักที่จะออกสู่ช นบท
เพื่อจะไดม้ ีโอกาสจุ่มลงไปในวัฒนธรรมทีย่ ่ าทวดไทยไดส้ ร ้างไว ้ การไดใ้ ช ้
ชีวิต ร่ว มกับ ชาวชนบทที่เรีย บง่ า ยถึ ง แม จ้ ะเป็ นช่ว งเวลาสัน ้ ๆ ก็ ส ามารถ
เรีย นรู ้ถึ ง วิถีช วี ิต อัน มี คุ ณ ค่ า เหล่ า นั้ นได ้ เมื อ งไทยก่ อ นที่ดิ ฉั น จะจากมา
อัง กฤษเมื่ อ ๑๘ ปี ก่ อ นก็ ไ ด ม ้ ี แ ล ว้ ซึ่งร่อ งรอยแห่ ง ความเสื่ อมโทรมของ
วัฒนธรรมอันดีงาม การทีเมื ่ องไทยไดอ้ า้ แขนรับลัทธิบริโภคนิ ยมทีระบาด ่
อยู่ ท่ วโลกอย่
ั างเต็ ม ที่ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่ า นมานั้ น ความผุ ก ร่อ นทาง
วัฒ นธรรมย่อมจะมีเคา้ ใหเ้ ห็ น มากขึนตามกาลเวลาที ้ ่ านไป แมก้ ระนั้ นก็
ผ่
ตาม การมาใช ช ้ ีวิ ต อยู่ ใ นอัง กฤษถึ ง ๑๘ ปี นั้ น ท าให ด ้ ิ ฉั น รู ว้ ่ า ถึ ง แม ้
วัฒ นธรรมไทยจะเสื่ อมโทรมลงไปมากสัก แค่ ไ หนก็ ต าม เมื่ อเที ย บกับ

111
วัฒนธรรมของชาวตะวันตกแลว้ ไซร ้ คนไทยเรารวมทังชาติ ้ ตะวันออกต่าง ๆ
ที่มีวฒ
ั นธรรมชาวพุ ท ธอยู่ แลว้ นั้ นจะมีโอกาสที่จะเขา้ ถึงธรรมอัน สูงสุด ได ้
ง่ายกว่าชาวตะวันตกมากกนัก หากสามารถทาใหผ ้ ท ี่ นเจ ้าของวัฒนธรรม
ู ้ เป็
ชาวพุทธเขา้ ใจถึงคุณ ค่าอันสูงส่งไดแ้ ลว้ การกอบกู ้และรักษาวัฒ นธรรมที่

ทรงคุณ ค่านี อาจจะมี ่
ความเป็ นไปไดบ้ า้ ง ซึงจะเป็ นการชะลอความหายนะที่

กาลังเกิดขึนอยู ่ทุกหย่อมหญ ้าทั่วโลกให ้ช ้าลงได ้บ ้าง

ทาไมจึงต้องร ักษาและสร ้างวัฒนธรรมสติปัฏฐาน

ดิฉันแน่ใจและไม่สงสัยอีกแล้วว่าการเข้าถึงพระนิพพาน การเข้าถึงพระเจ้า การเข้าถึงเต๋า ล้วนเป็ น


เป้ าหมายทีส่ ูงสุดของชีวติ ทุกชีวติ เพราะเป็ นสิง่ เดียวกัน ถึงแม้ว่าจะเป็ นเรื่องโดยตรงของมนุษย์ทุก
คนก็ตาม แต่ไม่ได้หมายความว่าคนทุกคนมีความสามารถที่จะเดินไปถึงจุดหมายปลายทางนัน้ ได้
เท่าเทียมกันหมด พระพุทธเจ้าได้เปรียบมนุษย์เราเหมือนกับดอกบัวสีเ่ หล่า หากบัวสามเหล่าแรกมี
ความสามารถที่จะเห็นธรรมได้แล้ว แสดงว่าคนส่วนมากมีโอกาสที่จะรูธ้ รรมได้ อาจจะช้าหรือเร็ว
กว่ากันเท่านัน้ การรูธ้ รรมและเห็นธรรมนัน้ เป็ นเรื่องของปั จเจกบุคคล ไม่มรี ะบบการสอนไหนทีจ่ ะ
สามารถทาให้คนกลุ่มใหญ่ได้เห็นธรรมพร้อมกันหมด แม้แต่พระพุทธเจ้าเมื่อท่านสอนเอง หากมีการ
สอนให้แก่คนหมู่มากแล้ว ท่านมีญานที่รวู้ ่าวันนัน้ มีใครที่จะบรรลุธรรมได้ และท่านก็จะมุ่งสอนเพื่อ
โปรดคน ๆ นัน้ เพียงคนเดียว

ถึงแม้การเข้าถึงธรรมจะเป็ นเรื่องการสุกงอมขององค์คุณต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลก็ตาม ซึ่งเรามัก


เรียกกันว่า บารมี ใครที่มบี ารมีแก่กล้ามาแล้วก็จะเข้าถึงธรรมได้เร็ว ใครที่มบี ารมีตดิ ตัวมาน้อยก็
ต้องเร่งรีบสร้างกันต่อไปเพื่อว่าสักวันหนึ่งในอานาคตซึ่งอาจจะเป็ นชาติน้ีชาติหน้าหรือชาติไหน ๆ
สักชาติหนึ่งจะได้มโี อกาสเห็นธรรม และเข้าถึงพระนิพพานอันเป็ นที่สุด การจะสร้างบารมีเพื่อให้
เห็นธรรมและเข้าถึงธรรมได้นัน้ ก็ต่อเมื่อมีปัจจัยอื่นเสริม เช่น การอยู่ในวัฒนธรรมที่เหมาะสมและ
เกื้อกูล การเกิดมาในตระกูลของพ่อแม่ทม่ี สี มั มาทิฏฐิ เป็ นต้น การทีจ่ ู่ ๆ จะให้ชาวเอสกิโม หรือชน
เผ่าหนึ่งในอาฟริกามาเห็นสภาวะของพระนิพพานโดยทีเ่ ขาไม่เคยรูเ้ รื่องศาสนาพุทธเลยนัน้ มันคง
จะไม่ใช่เรื่องง่าย และจะเป็ นไปได้ยากมาก แต่หากเป็ นคนไทย ลาว หรือพม่า และคน ๆ นัน้ อยู่ใกล้
วัด และโตขึ้นมาในบรรยากาศของชาววัด ได้ยนิ เสียงพระสวดมนต์อยู่ทุกเช้าเย็น ได้ตามพ่อแม่
ท าบุ ญ ใส่บ าตรตัง้ แต่ เด็ก และยังได้มีโอกาสฝึ ก สมาธิบ้าง คน ๆ นี้ ก็จะมีโอกาสเข้าถึงธรรมได้
มากกว่าบุคคลแรกทีไ่ ม่ได้เติบโตขึ้นมาในวัฒนธรรมของชาวพุทธ ฉะนัน้ การอยู่ในวัฒนธรรมที่
เหมาะสมและเอื้ออานวยนี่ แหละเปรียบเหมือนกับการสร้างปัจจัยที่สาคัญ เป็ นการแผ้วถาง

112
ทางให้ คนหมู่มากได้เข้ามาสู่ครรลองชี วิตที่ จะเอื้ออานวยให้ เขาเข้าถึงธรรมได้ง่ายขึ้นในอา
นาคต จุ ดนี้ แ หละคือ เรื่อ งราวของวัฒ นธรรมสติปั ฏ ฐาน ซึ่งดิฉัน ต้อ งการน าขึ้น มาเน้ น เพื่อ ให้
ลูกหลานไทยตระหนักถึงคุณค่ าและความสาคัญของวัฒนธรรมตนเอง และจะได้ช่วยกันรักษากัน
ต่อไป

วัฒ นธรรมสติปัฏ ฐานคือ วัฒ นธรรมแห่ งการรู้แจ้งนัน่ เอง ดิฉันเลือ กใช้ค าว่าสติปั ฏฐานก็เพื่อ ให้
สอดคล้องกับการเขียนและการนาเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซ่ึงได้พูดเรื่องสติปัฏฐานมาโดยตลอด จึง
เห็นว่าง่ายต่อการประสานความเข้าใจของผู้อ่าน โดยเนื้อหาแล้ววัฒนธรรมสติปัฏฐานก็คอื วิถีการ
ดารงชีวติ ทีป่ ระกอบด้วย ศีล สมาธิ และปั ญญา อันเป็ นวิถที าง (อริยมรรคมีองค์แปด) ที่เตรียมคน
ของสังคมไปสู่เป้ าหมายอันสูงสุดของชีวติ ได้อย่างทัวถึ ่ งกัน หมายความว่า โดยการดาเนินชีวติ ที่
อยู่ในกระแสวัฒนธรรมทีเ่ อื้ออานวยนัน้ คนหมู่มากจะถูกเตรียมตัวให้เข้าสู่เรื่องสติปัฏฐานหรือการรู้
แจ้งในระดับหนึ่งโดยไม่รตู้ วั จึงไม่รสู้ กึ ว่าตนเองกาลังฝึกอะไรทัง้ สิน้ เพียงใช้ชวี ติ ตามครรลองของ
ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามเท่านัน้ สมาชิกของสังคมก็จะได้รบั ประโยชน์ทางจิ ตใจโดยไม่รตู้ วั
แม้คน ๆ นัน้ ไม่ได้คดิ ว่าตนเองเป็ นชาววัดก็ตาม นี่แหละคือความร่ารวยของสังคมที่มวี ฒ ั นธรรมสติ
ปั ฏฐานอยู่แล้ว นี่คอื วัฒนธรรมที่คนไทยมีอยู่แล้วเพราะย่าทวดไทยได้สร้างเอาไว้ให้ ซึ่งชี้ให้เห็นว่า
ครัง้ หนึ่ งในอดีต แผ่ น ดิน นี้ เคยมีผู้ค นที่เข้าใจศาสนาพุ ท ธได้ อ ย่างถึงแก่ น จนวิถีชีว ิต เหล่ านัน้ ได้
กลายเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของคนไทยที่ยงั คงตกทอดถึงลูกหลานไทยทุกวันนี้ วิถี
ชีวติ ที่ย่าทวดไทยได้สร้างไว้นนั ้ เป็ นเพชรงามเม็ดหนึ่งทีเ่ จ้าของวัฒนธรรมจะต้องดูแลให้ดี มิเช่นนัน้
แล้ว เพชรงามเม็ดนี้จะถูกลักทธิบริโภคนิยมกลืนกินไปเหมือนกับกินทุกสิง่ ทีก่ นิ ได้ ซึ่งทีจ่ ริงก็ได้ถูก
กินไปมากแล้วจนวัฒนธรรมไทยได้กลายเป็ นวัฒนธรรมตู้โชว์ (show case culture) ที่มไี ว้เพื่ออวด
นักท่องเทีย่ ว จึงเป็ นสาเหตุทจ่ี ะต้องนาเรื่องนี้ขน้ึ มาพูดในฐานะทีเ่ กีย่ วข้องกับเป้ าหมายอันสูงสุดของ
ชีวติ เนื่องจากว่าดิฉันได้เติบโตขึ้นมาในวัฒนธรรมไทยและจีน จึงสามารถพูดได้เท่าที่รู้ ซึ่งไม่ได้
หมายความว่าชาติอ่นื จะไม่มวี ฒ ั นธรรมอันดีงามเหล่านี้

ทีจ่ ริงแล้ว ผืนแผ่นดินที่เรียกว่าสุวรรณภูมนิ ัน้ มีความร่ารวยซึ่งวัฒนธรรมสติปัฏฐานโดยทัวหน้ ่ ากัน


จนกระทังมี ่ วัดวาอาราม พระพุทธรูป และสิง่ ก่อสร้างอันเป็ นพุทธสถานทีส่ าคัญโด่งดังไปทัวโลก ่ ไม่
ว่าจะเป็ นไทย ลาว พม่า หรือกัมพูชาแม้แต่ประเทศอินโดนีเซียซึ่งนับถือศาสนาอิสลามในปั จจุบนั นี้
นัน้ ก็ยงั มีพุ ทธสถานที่มีช่ือ เสียงโด่งดังนับเป็ นสิง่ มหัศ จรรย์ของโลกอย่างหนึ่ง นัน่ คือ โบโรบู ดวั
Borobudur ซึ่งตัง้ อยู่บนเกาะชวา อันเป็ นสถาปั ตยกรรมทีท่ าด้วยหินนับล้านก้อน และหินแต่ละก้อน
ก็มกี ารแกะสลัก เรื่องราวของพระพุ ทธเจ้าและคาสอนของท่านอย่างละเอียดละออ ซึ่งชี้ให้เห็นว่า
แผ่นดินผืนนี้ตอ้ งมีศาสนิกชนทีเ่ ป็ นชาวพุทธอยู่กนั อย่างล้นหลามและคนเหล่านี้ตอ้ งเห็นธรรมและรัก

113
พระพุ ท ธเจ้ า อย่ า งหมดหั ว ใจ ศรัท ธาของคนเหล่ า นี้ ต้ อ งมี อ ย่ า งเปี่ ยมล้ น จนสามารถสร้ า ง
สถาปั ตยกรรมทีส่ ร้างได้ยากมากเมื่อราวพันปี มาแล้ว และอยู่สบื ทอดจนให้เราได้เห็นกันถึงปั จจุบนั
เนื่องจากนโยบายการปิ ดประเทศของรัฐบาลพม่า ทาให้มผี ลดีอย่างหนึ่งคือ ลัทธิวตั ถุนิ ยมและ
บริโภคนิยมไม่สามารถเข้าไปกัดกินวัฒนธรรมอันดีงามของเขาได้ ชาวพม่าจึงยังคงสามารถรักษา
ความเข้มข้นของวัฒนธรรมแห่งการรู้แจ้งไว้ได้ดกี ว่าคนไทยเรา เมื่อหลายปี มาแล้ว โทรทัศน์บบี ีซี
ของอังกฤษได้เสนอสารคดีเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับประเทศพม่า ดิฉันจาเนื้อหาไม่ได้แล้วว่ ามีอะไรบ้าง มี
สิง่ เดียวเท่านัน้ ที่ดิฉันจาได้จนถึงบัดนี้ค ือ ในขณะที่เขาถ่ายภาพของถนนในกรุงร่างกุ้งนัน้ ดิฉัน
สังเกตเห็น ตุ่ ม น้ าสามสี่ตุ่ ม ซึ่งเขาตัง้ ไว้ริม ถนน และมีผู้ค นหยุด ดื่ม น้ านัน้ ดิฉัน ไม่ ค ิด ว่าเขาจะมี
เจ้าหน้าที่มาเติมตุ่มน้ าเหล่านัน้ ให้เต็ม ตุ่มน้ าเหล่านี้ จะต้องได้รบั การดูแลจากผู้คนที่อยู่ในแถบนัน้
เป็ นแน่ และจะต้องทาออกมาจากหัวใจทีเ่ ปี่ ยมไปด้วยความเมตตากรุณาต่อผู้เดินเท้าที่เหนื่อยอ่อน
และกระหายน้า นี่แหละคือตุ่มน้าศานติไมตรี ทีไ่ ด้เหือดหายไปแล้วจากสังคมเมืองของไทย ดิฉันไม่
ทราบว่าชาวพม่ายังคงทาเช่นนี้อยู่อกี หรือไม่ ดิฉันยังไม่เคยไปประเทศพม่าจึงไม่สามารถพูดอะไรได้
มาก แม้แต่เมืองไทยเอง ดิฉันก็ไม่สามารถพูดได้อย่างกว้างขวางเช่นกัน เพราะเติบโตมาในเมือง มี
โอกาสได้เดิน ทางดูว ฒ ั นธรรมชนบทน้ อ ยมาก ดินแดนภาคอีส านของไทยซึ่งได้ให้ก าเนิด ครูบ า
อาจารย์ผู้รู้แ จ้งในระดับ พระอรหันต์มากมายนัน้ ดิฉันไม่ มีโอกาสได้สมั ผัส เลย มีเพีย งครัง้ เดีย ว
เท่านัน้ ที่ได้ไปกราบหลวงปู่เทศน์ ท่ีว ดั หินหมากเป้ ง การมาใช้ชีวติ อยู่องั กฤษอีกจึงทาให้โอกาส
น้อยลงไปอีก แต่ดฉิ ันก็ยงั หวังอยู่เสมอว่าเมื่อภาระของความเป็ นแม่ลดน้อยลงเมื่อใด ดิฉันคงได้มี
โอกาสกลับมาจุ่มลงในวัฒนธรรมไทยอีก

คนไทยมักจะทราบดีว่าวัฒนธรรมไทยเป็ นสิง่ ที่ดงี าม แต่หากต้องเจาะลึกลงไปว่ามันดีอย่างไร คน


ส่วนมากจะตอบไม่ได้ การจะเข้าใจถึงวัฒนธรรมไทยได้ดนี ัน้ คนไทยต้องสามารถเข้าใจโครงสร้าง
ของศาสนาพุทธ ให้ดกี ว่านัน้ คือต้องปฏิบตั ใิ ห้รจู้ ริง ฉะนัน้ ในบทนี้ ดิฉันจะพยายามอธิบายเหตุผลที่
อยู่เบือ้ งหลังความดีงามของวัฒนธรรมไทย เพือ่ ผูอ้ ่านจะสามารถเชื่อมโยงโครงสร้างหลักของศาสนา
พุทธกับวิถชี วี ติ ประจาวัน ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ทีค่ นไทยเราคุน้ เคยกันดี

่ ยวเนื
วัฒนธรรมทีเกี ่ ่ องกับศีล

การรักษาศีลเป็ นปั จจัยสาคัญ ที่จะเตรียมตัวให้คนมีความพร้อมที่จะฝึ กสมาธิเพื่อเกิดปั ญญา หาก


เปรียบการเจรนัยเพชรแล้ว การกะเทาะเอาความหยาบของเปลือกนอกออกก่อนคือเรื่องของศีล
หลัง จากนั น้ จึง สามารถเจรนั ย ในส่ ว นละเอีย ดได้ซ่ึงเหมือ นกับ การฝึ ก สมาธิ จิต ของคนเรานั ้น
โดยเฉพาะในยุคสมัยนี้จะมีความหยาบมากกว่า หยาบในทีน่ ้ไี ม่ได้หมายถึงหยาบคายแบบคนกักขระ
แต่ ห มายถึงหยาบในลัก ษณะที่ขาดสติขององค์มรรคแม้ค น ๆ นัน้ มีค วามสุ ภาพเรียบร้อ ยแต่ไม่

114
ประสีประสาต่อเรื่องราวของชีวติ อันเกี่ยวเนื่องกับทางธรรมเลย สาเหตุเพราะระบบเศรษฐกิจทีเ่ น้น
การบริโภคนัน้ ทาให้สติของคนรูอ้ ยู่แต่เ รื่องได้เรื่องเสียอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็ นมิจฉาสติเป็ นอย่างมาก
เป็ นสติท่แี ปรสิง่ ต่าง ๆ หรือ ธรรม อันเป็ นธรรมชาติธรรมดา (ตถตา) ให้กลายเป็ นสิง่ ที่มคี ุณค่า
ของเงินตราและเป็ นของเขาของเราไปเสียหมด พระพุทธเจ้าเคยตรัสกับพระอานนท์ พุทธอนุ ชาใน
ทานองว่า จะพูดได้ยงั ไงว่านี ล่ ูกเรา สามีเรา ภรรยาเรา แม้กระทังตั ่ วเรานัน้ ก็ยงั ไม่มี แล้วคน
เหล่านัน้ จะมีได้อย่างไร คนธรรมดาที่ไม่ได้สนใจธรรมะนัน้ จะไม่สามารถมองแบบพระพุทธเจ้า
มองได้ ฉะนัน้ จิตของเขาจะวิปลาส พูดแบบไม่ให้เสียน้ าใจคือ จิตเขาเข้าใจผิดต่อสิง่ ทัง้ ปวง (ธรรม)
ทีอ่ ยู่เบื้องหน้า จากความไม่มอี ะไร กลับแปรให้มนั มีอะไรยัว้ เยีย้ ไปหมด ไอ้โน่นก็ของเรา ไอ้น่ีกข็ อง
เรา ทัง้ ๆ ทีต่ วั เรานัน้ ไม่มี หากพูดแบบแรงๆ เพื่อปลุกให้คนตื่นจากความหลับ คือ ความบ้านัน่ เอง
บ้าเพราะเห็นความไม่มไี ม่เป็ นเป็ นของมีของเป็ น คนทีเ่ ริม่ หายบ้าได้คอื คนที่เริม่ มีด วงตาเห็นธรรม
และคิดตามครรลองที่พระพุทธเจ้าสอนให้คดิ ได้ คือเริม่ คิดถูกหรือมีสมั มาทิฏฐิอนั เป็ นข้อแรกของ
องค์มรรค พอเริม่ คิดถูกแล้ว การปฏิบตั ติ ามองค์มรรคก็จะเกิดขึน้ คือเริม่ มีสมั มาสติ ความบ้าก็เริม่
น้อยลง ผูท้ ห่ี ายบ้าได้อย่างหมดจดจนสะอาดบริสุทธิได้ ์ กค็ อื พระอรหันต์เท่านัน้ พระอริยเจ้าในระดับ
ต่าง ๆ กันนัน้ หมายถึงก็ยงั มีความวิปลาศมากน้อยต่างกันเท่านัน้

เมื่อคนหมู่มากของสังคมบ้าหรือวิปลาศเหมือนกันหมด ความบ้านัน้ จึงกลายเป็ นเรื่องธรรมดาหรือ


เป็ นเรื่องปกติไปเพราะทุกคนเป็ นเหมือนกันหมด จุดนี้แหละทีเ่ ริม่ เกิดปั ญหาสาหรับผูต้ อ้ งการปฏิบตั ิ
ธรรมและอยากหายบ้า ผูท้ ่ตี ้องการเข้าวัดและปฏิบตั ธิ รรมในช่วงต้น ๆ นัน้ จะได้รบั การต่อต้านเป็ น
อย่างมากจากครอบครัวและผูใ้ กล้ชดิ สาหรับคนส่วนมากแล้ว การที่คน ๆ หนึ่งต้องการหายบ้านัน้
กลับกลายเป็ นเรื่องผิดปกติ “เธอจะบ้าแล้วหรือยังไง เรียนอยู่ดี ๆ อีก๒ ปี ก็จะจบได้ปริญญาแล้ว
ทางานหาเงินได้ จู่ ๆ ก็จะทิ้งไปบวชได้ยงั ไง นี่ไม่ใช่บ้าแล้วจะเรียกว่าอะไร” ดิฉันแน่ ใจว่านี่เป็ น
คาพูดที่นักปฏิบตั ธิ รรมโดยเฉพาะหนุ่ มสาวได้ยนิ ได้ฟังมาก และสร้างความสับสนทุกข์ใจเป็ นอย่าง
มากให้แก่ตนเองและครอบครัวทัง้ ๆ ทีค่ นผูน้ ัน้ ต้ องการทาในสิง่ ทีถ่ ูกต้องให้แก่ตนเอง ดิฉันทราบดี
เพราะตนเองก็อยู่ในสภาวะเช่นนี้มาตลอดแม้ทุกวันนี้กต็ าม ตอนยังไม่แต่งงานก็มพี ่อและพี่ ๆ น้อง
ๆ เฝ้ าบอกว่าดิฉันเป็ นบ้า ชอบไปอยู่ถ้าอยู่ป่า มีแม่คนเดียวเท่านัน้ ที่พอเข้าใจ แต่การกระทาของ
ดิฉันก็ทาให้แม่ทุกข์มากอยู่ช่ วงหนึ่ง เพื่อน ๆ ที่มหาวิทยาลัยมักวิง่ หนีเพราะเห็นหน้าดิฉันทีไร ถ้า
ดิฉันไม่ชวนไปวัดละก็ต้องแจกหนังสือธรรมะเสมอ ใคร ๆ ก็เอือมระอา พอแต่งงานมีลูกแล้ว สามี
และลูก ๆ ก็ยงั บอกว่าดิฉันเป็ นบ้าอยู่นัน่ เอง เพราะทาอะไรประหลาดไม่เหมือนชาวบ้าน จะพาไป
ไหนเขามักกลัวว่าดิฉันจะโพล่งคาว่า อย่าลูก หรือ I hate you. ออกมา นี่แหละคือสภาวะของสังคม
ที่เดินมาถึงจุดที่เห็นดอกบัวเป็ นกงจักรและเห็นกงจักรเป็ นดอกบัว คนที่รู้ตวั ว่าตนเองเป็ นบ้า (มี
สัมมาทิฏฐิ) และต้องการไปหาหมอเพื่อกินยาให้หายบ้า (การปฏิบตั ธิ รรม) กลับถูกเห็นว่าเป็ นคนบ้า
ในหมู่คนทีบ่ า้ จริง ๆ และบ้าอย่างไม่รตู้ วั (มิจฉาทิฏฐิ)

115
นี่แหละคือความหยาบของจิตของคนในสมัยนี้ คนส่วนมากของสังคมที่ต้องทามาหารับประทานมี
ภาระเลีย้ งครอบจะไม่สามารถทีจ่ ะคิดในครรลองอื่นอันไม่เกีย่ วกับเรื่องได้เรื่องเสีย คือไม่สามารถคิด
ตามพระพุทธเจ้าได้ นอกเสียจากว่าผู้นัน้ เป็ นชาววัดที่ปฏิบตั ิธรรมอย่างเคร่งครัดเท่านัน้ เมื่อไม่
สามารถเอาเรื่องได้เรื่องเสียออกจากความคิดแล้ว สิง่ ที่ตามมาคือการแข่งขัน ชิงดีชงิ เด่น เลียแข้ง
เลียขา การคดโกงเพื่อให้ได้ซง่ึ สิง่ ทีต่ ้องการไม่ว่าจะเป็ นรูปของเงินตรา วัตถุ เกียรติยศ หรือชื่อเสี ยง
ฉะนัน้ จากความหยาบของจิตทีด่ แู ล้วเหมือนกับว่าไม่มพี ษิ สงอะไร ทีจ่ ริงแล้ว ในทีส่ ุด ก็สามารถลาม
ปามไปถึงจุดที่สร้างความหายนะให้กบั ทัง้ สังคมได้โดยง่าย นี่คอื ลักษณะของสังคมที่สมาชิกส่วน
ใหญ่ของสังคมขาดสติในองค์มรรคและเป็ นบ้ากันอย่างสม่าเสมอโดยทัวหน้ ่ ากัน

สิง่ ที่จะทาให้ความหยาบของจิตน้อยลงนัน้ ผู้คนจะต้องเริม่ รักษาศีล ที่จริงแล้วศีลเป็ นเรื่องที่มอี ยู่


แล้วในทุกสังคมทัวโลก ่ ศาสดาทุกพระองค์จะเน้นเรื่องให้คนรักษาศีลเป็ นเบื้องต้น ศีลเป็ นเรื่องการ
ข่มจิตไม่ให้ทาในสิง่ ที่ไม่ควรกระทา ศีลในขัน้ พื้นฐานนัน้ ก็คอื ศีลห้า คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่
ประพฤติผดิ ลูกเมียผูอ้ ่นื ไม่โกหก และไม่ด่มื น้ าเมา จะเห็นได้ว่า หากสังคมไหนสามารถรักษาเพียง
แค่ศลี ห้าข้อนี้แล้ว สังคมนัน้ ก็จะสามารถอยู่อย่างสุขสงบได้ สิง่ ที่น่าใจหายที่สุดคือ ไม่เพียงแต่ว่า
สมาชิกของสังคมโลกจะละเลยศีลห้ากันอย่างสุดเหวีย่ งเท่านัน้ แต่การกระทาทีถ่ อื ว่าผิดศีลนัน้ กาลัง
ถูกบิดเบือนจากสมาชิกในสังคมให้เห็นเป็ นเรื่องถูกต้องซึ่งเป็ นหายนะธรรมและเป็ นอันตรายที่สุด
เพราะความวิปลาศหรือบ้าอย่างสนิทจนไม่มที ต่ี ขิ องคนส่วนมากนัน่ เอง คนจึงสามารถทาผิดศีลหลัก
ในห้าข้อ นัน้ โดยที่ไม่มีค วามกลัว หรือ ละอายต่อ บาปแต่ อ ย่างใด สถิติของคดีฆ าตกรรมที่โหด ๆ
มากมายอัน เกิดจากกระท าของเด็ก อายุ ระหว่าง ๑๐–๑๕ ปี นัน้ เริ่ม สูงขึ้น ในสังคมตะวัน ตก ไม่
จาเป็ น ต้อ งพู ด ถึงอาชญกรรมที่ห ลากหลายและโหดร้ายอัน กระท าโดยผู้ใหญ่ ท่ีมีค วามบ้าอย่ าง
ซับซ้อน1 การร่วมเพศก่อนวัยอันสมควรอันทาให้เด็กผูห้ ญิงเป็ นแม่คนในวัยที่ยงั เด็กมากเริม่ มีมาก
ขึน้ การผิดลูกผิดเมียผูอ้ ่นื ก็กลายเป็ นเรื่องแสนจะธรรมดาของสังคมยุคนี้ การโกหกและขโมยกันใน
ระดับชาติจากบุคคลในระดับผูน้ าประเทศนัน้ ก็เป็ นเรื่องธรรมดาของโลกนี้เสียแล้ว สังคมจึงปั น่ ป่ วน
อย่างมหันต์ สิง่ ที่ตามมาก็คอื รัฐบาลจะต้องออกกฏหมายมากมายเพื่อบังคับไม่ให้ผู้คนกระทาผิด

1 ้
ความบ ้าชันแรกหรื ้ นฐานคื
อชันพื ้ อการเห็นผิดจากทีพระพุ ่ ทธเจ ้าเห็น คือเห็นทุกอย่าง
(ธรรม) ว่ามีตวั ตนเราเขา บ ้าอย่างซับซ ้อน คือคนทีบ ่ ้าเพิมขึ
่ นจากความบ
้ ้
้าพืนฐานที ่
มี
่ ามาหากินเหมือนคนบ ้าแบบปกติ แต่ไม่ทา กลับไปทาอะไรทีคนบ
อยู่แล ้ว แทนทีจะท ่ ้า
้ นฐานเขาไม่
ขันพื ้ ทากัน เช่น จี ้ ปล ้น ข่มขืน ฆ่า เป็ นต้น การกระทาเหล่านี เป็ ้ นความบ ้า
่ ้อนความบ ้าขันพื
ทีซ ้ นฐานที
้ ่ กน
มี ั อยู่แล ้ว

116
หากคนไม่สามารถบังคับจิตใจตนเองแล้วไซร้ จะออกกฏหมายที่คาดโทษรุนแรงมากแค่ไหนก็ไม่
สามารถหยุดคนได้ ที่หยุดไม่ได้เพราะแต่ละคนก็ล้วนถูกพิษสงของกิเลสตัวใหญ่ ๆ คือ โลภ โกรธ
หลง ข่มขีแ่ ละมอมเมาจนแต่ ละคนก็โงหัวไม่ข้นึ จนทาให้มจี ติ วิปลาศและเป็ นบ้ากันอย่างถ้วนหน้า
กันทัง้ ผูป้ กครองและผูถ้ ูกปกครอง แม้กฏหมายจะคาดโทษถึงการจาคุกตลอดชีวติ หรือประหารชีวติ
ก็ต ามแต่ ความวิปลาศของจิต ทาให้ค นไม่กลัวต่อกฏหมายและความทุกข์ท่ีต้องไปใช้ชีวติ ในคุ ก
ตะรางหรือถูกประหารชีวติ ฉะนัน้ สังคมทีต่ อ้ งออกกฏหมายมากมายเพื่อบังคับคนแล้วนัน้ แสดงว่า
สังคมนัน้ ได้มาถึงจุดเสือ่ มมากแล้ว

ความเสื่อ มโทรมของระบบศีลธรรมในสังคมโลกนัน้ สาเหตุใหญ่ ค ือ การขาดภูมิปัญ ญาเรื่อ งพระ


นิพพานและพระเจ้า ขาดยาที่จะช่วยให้คนหายบ้า คนไม่รวู้ ่าจะต้องรักษาศีลไปทาไมให้ยุ่ งยากและ
ทุกข์ใจเปล่า ๆ เพราะการฝืนตนเองย่อมยากกว่าการทาตามใจตัวเองหรือตามใจกิเลสนัน่ เอง ฉะนัน้
ผูค้ นจึงถนัดหาแต่สุขที่เกิดจากกามอันล้วนแต่เป็ นเรื่องทาตามใจตนเองทัง้ สิ้น แล้วผลเป็ นอย่างไร
ค่อยมาว่ากันใหม่ เมื่อคนส่วนมากของสังคมทาตามใจตัวเองแล้ว จึงไม่มใี ครตาหนิใครอีกต่อไป
สมัยก่อนนัน้ คนไม่กล้าทาผิด เหตุผลหนึ่งก็เพราะกลัวคนตาหนิ ติฉินนินทา หญิงคนไหนไปมีทอ้ ง
มาโดยไม่ได้แต่งงานจะถือเป็ นความผิดอย่างมหันต์ เมื่อไม่มใี ครตาหนิใครอีกต่อไปเพราะตนเองก็
ไม่ใช่ดนี กั ความกลัวและละอายต่อบาป (หิรโิ อตตัปปะ) อันเป็ นองค์คุณทีส่ าคัญมากของศาสนาพุทธ
จึงค่อย ๆ หายไปจากสังคม สิง่ ที่สร้างความหายนะให้กบั สังคมมากที่สุด คือเมื่อผู้นาของสังคมใน
สถาบันต่าง ๆ ก็ทาผิดศีลด้วย เช่นสถาบันการเมือง การศึกษา สถาบันกษัตริย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่
สถาบันทางศาสนา เพราะบุคคลเหล่านี้เป็ นผู้นา เป็ นบุคลที่ควรทาตั วอย่างที่ดี role model ให้แก่
สมาชิก ของสังคม เมื่อ คนเหล่ านี้ยงั ท าตัวเองเสื่อมเสียในแง่คุ ณ ธรรมแล้วไซร้ คนในสังคมจะยิ่ง
ปั น่ ป่ วนเพราะขาดผูน้ า โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระสงฆ์องค์เจ้าซึ่งควรเป็ นบุคคลที่แจกยาแก้บ้าให้แก่
ผู้คนในสังคมโดยการพร่าสอนให้คนมาทาความดีกลับกลายมาเป็ นคนบ้าเสียเองและบางคนก็บ้า
อย่างซับซ้อนด้วยแล้ว สมาชิกของสังคมจะหมดทีพ่ ่งึ ไปทันที และหายนะภัยจะไปไหนพ้น การอยู่
รอดสังคมไทยทีผ่ ่านมานัน้ ต้องนับว่าเกิดจากพระสงฆ์ทป่ี ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบและปฏิบตั เิ พื่อความพ้น
ทุกข์อย่างแท้จริงกลุ่มหนึ่ง และพระจริงเหล่านี้กม็ ีผลงานมากและเด่นเพียงพอทีจ่ ะค้าจุนคนไทยและ
ชาติไทยทัง้ ชาติไม่ให้ล่มจมได้

กามสุขก็ด ี แต่วม
ิ ุตติสุขดีกว่า

หากคนสามารถเข้าใจเรื่องเป้ าหมายของชีวติ อย่างถูกต้อง และไม่คดิ ว่าการเข้าถึงพระนิพพานเป็ น


เรื่องไกลตัวหรือยากเย็นแสนเข็ญแล้วไซร้ เขาจะรูจ้ กั ความสุขอีกชนิด หนึ่งทีเ่ กิดจากการข่มใจ หรือวิ
มุตสิ ุข เมื่อผู้คนรู้จกั วิมุตติสุขแล้ว เขาจะรูเ้ องว่า กามสุข อันเป็ นสุขที่เกิดจากการทาใจตัวเองซึ่งดู

117
แล้วมันก็เป็ นสุขดี แต่สุขแบบสุก ๆ ดิบ ๆ ขึน้ ๆ ลง ๆ เดีย๋ วมาเดีย๋ วไป เป็ นเรื่องประเดีย๋ วประด๋าว
ขาดสาระและไร้แก่นสาร เขาจะเบื่อไปเอง คนที่ฝึกสมาธิจนเห็นวิมุตติสุขนัน้ เขาจะรู้เองว่านี่เป็ น
เรื่องละเอียดและมีคุณค่าต่อชีวติ มากกว่าความสุขแบบชัวคราว ่ เขาจะรูว้ ่าการรักษาศีลเป็ นสิง่ ทีช่ ่วย
ให้เขาหาความสุขอีกอย่างหนึ่งได้งา่ ยขึน้ นัน่ คือ วิมุตติสุข เมื่อเขาเข้าใจเรื่องวิมมุตสิ ุขเขาก็จะเข้ าใจ
เรื่องพระนิพพานและรูว้ ่าการรักษาศีลจะเกื้อกูลให้เขาเดินไปสู่เป้ าหมายของชีวติ ได้เร็วยิง่ ขึน้ ฉะนัน้
การรักษาศีลทีไ่ ด้ผลนัน้ หมายความว่าผูค้ นในสังคมจะต้องรูเ้ รื่องเป้ าหมายของชีวติ อย่างถูกต้อง นัน้
คือต้องมีความรูเ้ รื่องพระนิพพาน พระเจ้า สัจธรรมอันสูงสุด เมื่ อรูแ้ ล้ว การรักษาศีลจะไม่เป็ นเรื่อง
ยากเพราะเขารูว้ ่ามันมีเหตุผลอยู่เบือ้ งหลัง

เมื่อหันกลับมามองสังคมไทยแล้ว ย่าทวดไทยได้สร้างวัฒนธรรมทีเ่ กี่ยวเนื่องกับการรักษาศีลอยู่แล้ว


อย่างเกลื่อนกลาด แต่สงิ่ เหล่านี้กาลังจะลางเลือนไป ผู้คนสมัยนี้มกั จะมองข้ามไปเพราะความไม่
เข้าใจในความหมายแห่งพระนิพพาน

วันโกน วันพระ
นอกจากสังคมฮินดูท่เี น้นเรื่องมังสวิรตั แิ ล้ว ดิฉันไม่ทราบว่าจะมีวฒั นธรรมไหนอีกหรือไม่ท่เี น้นให้
คนละเว้นจากการฆ่าสัตว์ถงึ แม้จะเป็ นเพียงอาทิตย์ละครัง้ ก็ตามแต่ สมัยนี้คงจะเปลีย่ นไปมากแล้ว
เพราะมีซุป เปอร์มาเก็ ต แต่เมื่อ ย้อ นไปเพียงไม่ถึงสามสิบ ปี ก่อ นนัน้ คนไทยเรายังถือ ว่าวัน โกน
จะต้องไม่ฆ่าสัตว์ ฉะนัน้ ในวันพระเขียงหมูตามตลาดจะว่าง คาว่า วันพระ ก็กลายเป็ นคาศัพท์ทต่ี ดิ
ปากชาวบ้าน ผู้คนจะพูดแต่เรื่องว่าจะทาอาหารอะไรไปถวายพระ และก็เป็ นวันที่ผู้คนจะเข้าวัดฟั ง
ธรรม รับศีล และรัก ษาศีล คนแก่ เฒ่าอาจจะอยู่วดั และถือ ศีล อุโบสถหรือศีลแปด ที่จริงแล้ว การ
กระทาเหล่านี้ซ่งึ ได้กลายเป็ นวิถชี วี ติ ของคนไทยยุคหนึ่งในอดีตนัน้ เป็ นสิง่ ทีร่ ่ารวยอย่างมหาศาล นี่
แหละคือ ครรลองของชีว ิต ที่เตรียมจิต ใจของคนหมู่มากให้มีค วามอ่อ นโยน เป็ นการกะเทาะเอา
เปลือกแข็งที่หยาบกระด้างออกจากจิตใจ การรับศีลในสมัยนี้ได้กลายเป็ นเรื่องพิธกี รรมไปเท่านัน้
คนส่วนมากจะรู้แต่เพียงว่า พระว่าอะไรก็ว่าตามท่าน เมื่อเสร็จพิธแี ล้วก็แล้วกันไป จะมีน้อยคนที่
เข้าใจว่าเมื่อรับศีลแล้วจะต้องรักษาศีลอย่างน้อยก็ในวันนัน้ คือจะต้องมีการข่มใจ ไม่ทาอะไรตามใจ
ตัวเองเหมือนวันอื่น ๆ อย่างน้อยต้องไม่ฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ ไม่โกหก ไม่ขโมย ไม่ผดิ ลูกเมียคนอื่น และ
ไม่เสพของมึนเมา ผูท้ ร่ี กั ษาศีลอุโบสถก็จะสามารถอดกลัน้ ได้มากกว่าคนฝึกศีลห้า การทาสิง่ เหล่านี้
ได้ก็เท่ากับเป็ นการกะเทาะเอาความหยาบของจิตออกไป และสร้างองค์คุณ แห่งการมีสติในองค์
มรรคให้มากขึน้ เป็ นการเอาความวิปลาศของจิตออกไปทีละน้อย

ทาบุญ ทาทาน

118
มีเพื่อนคนหนึ่งมาดูงานที่องั กฤษเป็ นเวลาหนึ่งปี วันหนึ่งขณะที่นงั ่ รถไปด้วยกันในช่วงเวลาก่อนคริ
สมาสซึง่ ผูค้ นกาลังยุ่งอยู่กบั การซื้อของ เพื่อนคนนี้ซ่งึ ไม่ใช่เป็ นชาววัดเสียเท่าไหร่กพ็ ูดขึน้ มาว่า คริ
สมาสของฝรังก็่ ไม่เห็นมีอะไรพิ เศษมากเท่าไร แค่ซ้ ือของแลกของขวัญกันเท่านัน้ ของบ้าน
เรายังดีกว่าเพราะอย่างน้ อยก็มีการทาบุญ ฟั งเพื่อนพูดแล้วก็รู้สกึ ภูมใิ จว่าถึงแม้เขาจะไม่ใช่คน
ชอบเข้าวัดแต่ก็รวู้ ่าการทาบุญเป็ นสิง่ ดีกว่า นี่คอื สิ่งที่คนไทยทราบกันดีว่า ทาบุญเป็ นเรื่องดี แต่ดี
อย่างไรนัน้ อาจจะพูดอธิบายไม่ได้

คาว่าทาบุญนัน้ เป็ นคาทีไ่ ม่สามารถหาคาแปลทีถ่ ูกต้องในภาษาอังกฤษ เพราะเขาไม่มกี ารทาเช่นนี้


ทีแ่ ปลกันใกล้เคียงที่สุดคือ makig merit แต่คาว่า merit ก็ไม่ได้ตรงกับคาว่าบุญทีเดียว คาว่าบุญ
นัน้ ความหมายหนึ่งคือ ความดี คือทาแล้วจะได้ ความสบายใจ อิม่ เอิบใจ ปี ตใิ จ ถ้าจะให้ความหมาย
ของคาว่าบุญมีส่วนเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมสติปัฏฐานแล้วไซร้ จะต้องแปลว่า บุญคือการกระทาที่มี
ผลอันเป็ นปั จจัยไปสู่ความหลุดพ้น เมื่อสังคมใดไม่มอี ุดมการณ์แห่งการหลุดพ้ นแล้วไซร้ ก็จะไม่มี
การเน้นเรื่องทาบุญ ปั จจัยสาคัญ ที่ ทาให้ เกิ ดการหลุดพ้นได้ ตวั นั น้ คื อการเอาความมีตวั ตน
ออกจากกมลสันดาน ความมีตวั ตน2นัน้ จะแสดงอาการของมันออกมาในลักษณะของความตระหนี่
ถี่เหนียว ความเห็นแก่ตวั ความอยากได้ของของคนอื่น ความอิจฉาริษยา ฉะนัน้ การทีค่ นสามารถ
ทาบุญให้ทานได้โดยไม่รสู้ กึ เสียดายและไม่ได้คดิ อย่างอื่นนอกจากพอใจกับปี ตแิ ละความอิม่ เอิบใจที่
ได้ทาบุญให้ทานตามขนบธรรมเนียมประเพณีนนั ้ เขาได้เอาความเห็นแก่ตวั ออกไปจากจิตใจโดยที่
ไม่รตู้ วั เลย เปรียบเหมือนกับการดัดเหล็กท่อนหนึ่ง ถ้าค่อย ๆ ดัดมันทุกวันแล้ว มันก็จะอ่อน และ
หักเป็ นสองท่อนได้ในที่สุด คนทีไ่ ม่เคยฝึกการให้โดยการทาบุญให้ทานนัน้ เมื่อจาเป็ นต้องเอาอะไร
ออกไปแล้ว จะรูส้ กึ เจ็บปวดมาก และนึกเสียดายว่าไม่น่าให้ไปมากเช่นนัน้ เปรียบเหมือนกับการดัด
ท่อนเหล็ก ตอนแรกก็ดดั ยาก คือมีแรงต้านมาก แต่ถ้าเขาสามารถให้บ่ อย ๆ โดยการฝึกการทาบุญ
ให้ทานแล้ว จิตก็จะปลอดโปร่งมากขึน้ เมื่อถึงเวลาที่ต้องเสียอะไรไป จะไม่รสู้ กึ เจ็บปวดและเสียดาย
มากจนเกินไป เปรียบเหมือนท่อนเหล็กที่ดดั บ่อย ๆ ก็จะมีความอ่อนและดัดได้ง่ายขึ้น เพราะแรง
ต้านน้อยลง ใครทีส่ ามารถให้ได้อย่างเป็ นธรรมชาติไม่รสู้ กึ เสียดายอะไรเลยนัน้ ก็เปรียบเหมือนท่อน
เหล็กทีด่ ดั บ่อย ๆ นัน้ หักเป็ นสองท่อน จะไม่มแี รงต้านอะไรทัง้ สิน้ เป็ นจิตใจทีม่ บี ุญอย่างเต็มเปี่ ยม

นี่แหละคือความร่ารวยของวัฒนธรรมชาวพุทธที่สามารถเกณฑ์คนหมู่มากให้ทาลายความเห็นแก่
ตัวหรือทาลายอัสมิมานะออกไปได้ จนมีคาว่า อิม่ บุญ ในหมู่คนไทยทีช่ อบทาบุญ พูดง่าย ๆ คือ การ
ทาบุญเป็ นการเตรียมคนให้เดินทางไปสูค่ วามหลุดพ้นจากความทุกข์ในอานาคตนันเอง
่ ฉะนัน้ ใครที่

2 ่ ตวั ตน ภาษาพระมีคาเรียกเช่น สักกายทิฏฐิ และ อัสมิมานะ ทิงสองสิ


ความรู ้สึกทีมี ้ ่ ้
งนี
่ กปฏิบต
อยู่ในสังโยชน์ ๑๐ อย่างทีนั ั จิ ะต ้องละให ้ได้หากต้องการการหลุดพ้น

119
เข้าใจความหมายของการทาบุญและเหตุผลทีอ่ ยู่เบื้องหลังแล้ว หากรูต้ วั ว่าตนเองยังเป็ นเหล็กทีด่ ดั
ยากอยู่เพราะมีแรงต้านทานเยอะแล้วละก็ ควรหัดทาบุญให้ทาน แล้วแรงต้านก็จะน้อยลง หากเป็ น
การทาบุญ เพื่อเอาหน้าแล้วละก็ ผลที่ได้จะไม่เหมือนกัน การทาบุญแบบผักชีโรยหน้าเพื่อหวังสิง่
ตอบแทนนัน้ ย่อมไม่ได้บุญเต็มที่ คือ ไม่ได้สร้างปั จจัยที่เอาตัวตนออกจากจิตใจอย่างแท้จริง ยิง่ ทา
เพื่อผลตอบแทนเพื่อให้คนได้ชมเชย ยกย่อง มีเกียรติ มีหน้ามีตาในสังคมแล้วไซร้ กลับกลายเป็ น
การทาลายองค์คุณทีค่ วรได้รบั หรือทาลายบารมีของตนไปอย่างน่าเสียดายยิง่ เป็ นสิง่ ทีช่ าวพุทธไม่
ควรทา การทาบุญแบบปิ ดทองหลังพระ ไม่มใี ครรับรูเ้ ลยนัน้ จะได้ผลดีกว่ามาก เป็ นการเอาความมี
ตัวตนออกทีละมาก ๆ ใครที่ต้องการสร้างบารมีเพื่อหวัง มรรค ผล นิพพาน อย่างแท้จริงแล้วไซร้
ต้องทาบุญแบบปิ ดทองหลังพระให้มาก ๆ ยุคสมัยนี้เป็ นยุคทีย่ ากต่อการปฏิบตั ธิ รรมมาก แต่ถ้าใคร
ต้องการทาแล้ว ก็จะเป็ นยุคทีโ่ กยบุญได้ทลี ะมาก ๆ เช่นกัน โกยบุญไปโดยทีไ่ ม่มใี ครรู้ เข้าถึงมรรค
ผล นิ พ พาน ไปโดยที่ไ ม่ มีใครรู้น่ี แ หละ เป็ น สิ่งที่ค นเอาจริงสามารถท าได้ไม่ ว่าจะเป็ น พระหรือ
ฆราวาสก็ตาม จะมีครอบครัวหรือไม่มคี รอบครัวก็ตาม องค์คุณหลักอยู่ทค่ี วามเอาจริงเท่านัน้ ถ้าเอา
จริงก็จะได้ของจริง ถ้าเดินก็ตอ้ งถึงจุดหมาย

คงจะมีช าวพุ ท ธเท่ านัน้ ที่มีว ฒ


ั นธรรมของการท าบุ ญ ให้ท าน หรือ การฝึ กให้ giving ซึ่งเป็ น สิ่งที่
ศาสนาอื่นไม่มหี รือมีก็ไม่เหมือนของชาวพุทธทีเดียว วัฒนธรรมของการใส่บาตรพระในตอนเช้ากับ
การถวายอาหารพระนัน้ คงจะเป็ นวัฒนธรรมที่หาดูได้ยากยิง่ ในโลก ชาวพุทธฝ่ ายเถรวาทจะชินกับ
การตื่นนอนแต่เช้าตรู่เพือ่ เตรียมอาหารใส่บาตรพระในตอนเช้า หากว่าเป็ นวันพระหรือวันสาคัญทาง
ศาสนาแล้ว ผูค้ นจะเตรียมอาหารไปทีว่ ดั กันอย่างล้นหลาม หากเป็ นชนบทแล้วไม่ว่าวัดจะอยู่ไกลสัก
เพียงใด ชาวบ้านก็จะหาบคอนอาหารทีเ่ ขาเตรียมไว้มากมายนัน้ ไปถึงวัดจนได้ แม้ทุกวันนี้สถาบัน
ศาสนาพุทธในเมืองไทยจะเสือ่ มลงไปมากเพียงใดก็ตาม แต่จติ ใจทีใ่ คร่ในการทาบุญของคนไทยก็ยงั
มีอยู่มากเมื่อ เทียบกับศาสนิก ของศาสนาอื่น ซึ่งได้กลายเป็ น จุดหนึ่งที่ท าให้พ ระสงฆ์ติดในลาภ
สักการะ และฉ้อฉลต่อเจตนารมณ์ของความเป็ นสมมุตสิ งฆ์อนั เป็ นปั ญหาที่ระบาดอยู่ในสังคมไทย
ทุกวันนี้

ชาวต่ างชาติท่ีไ ม่ เข้าใจนัน้ เมื่อ เห็น ภาพพระสงฆ์อ อกเดิน บิณ ฑบาตรในตอนเช้านั น้ เขาคิด ว่ า
พระสงฆ์ออกไปขอทานและรังเกียจในการกระทาเช่นนัน้ การจะรักษาวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ได้
นัน้ ชาวพุทธควรจะต้องเข้าใจอย่างถูกต้องว่าที่จริงแล้วนี่คอื ความร่ารวยของวัฒนธรรม ที่สามารถ
สร้างวิถชี วี ติ จนเป็ นประเพณีอนั ทาให้คนหมู่มากเอาความตระหนี่ถ่เี หนียวหรือความเห็นแก่ตวั ออก
ได้ทุ ก เช้าและท ากันในระดับ ชาติ การใส่บ าตรพระตอนเช้าในยุ ค สมัย นี้เป็ น เรื่อ งง่ายมากเพราะ
สามารถซื้อหาอาหารสาเร็จรูปได้ตามตลาด แต่หากคนที่เคยลุกขึ้นมาตีสต่ี หี ้าเพื่อเตรียมอาหารใส่
บาตรพระนัน้ จะรูว้ ่ามิใช่เป็ นเรื่องง่าย สาหรับแม่บ้านหรือผูร้ บั ผิดชอบแล้วเป็ นเรื่องมากทีเดียวหาก

120
จะต้องใส่บาตรพระหลายองค์ หรืออาจจะต้องเป็ นสิง่ ทีเ่ ตรียมกันก่อนหน้าวันหรือสองวันหากมีการ
ทาบุญใหญ่ แต่งานมากมายเหล่านี้กก็ ลับกลายเป็ นเรื่องง่ายทีค่ นเต็มใจทากันเพราะเป็ นวิถชี ี วติ ของ
วัฒนธรรมซึ่งต้องนับว่าเป็ นสิง่ ที่ร่ารวยมาก จิตใจของผู้ท่อี ยู่ในกระแสวัฒนธรรมเช่นนี้ก็จะถูกหล่อ
หลอมหรือเตรียมตัวให้เข้าไปอยู่ในร่องทางทีจ่ ะเห็นธรรมได้งา่ ยขึน้ วัฒนธรรมของการชอบทาบุญให้
ทานนี่เองได้ยอ้ มให้จติ ใจของคนไทยมีความใจกว้าง สามารถทีจ่ ะให้ได้งา่ ยกว่าชาวตะวันตกมากนัก
คนไทยทีม่ าอยู่ต่างประเทศจะรูด้ วี ่า หากไปบ้านคนไทยด้วยกันหรือชาวพม่า เขมร ลาว แล้ว จะต้อง
ได้กนิ ข้าวของบ้านนัน้ แน่ แต่หากเข้าบ้านฝรังนั
่ น้ ไม่แน่ ว่าจะได้กนิ หรือเปล่า ข้อเท็จจริงนี้เป็ นสิง่ ที่
คนไทยและคนเอเซียทีม่ าอยู่ในสังคมตะวันตกรูก้ นั ดี

ทีจ่ ริงแล้ว การจะไปตาหนิฝรังว่ ่ าเขาไม่ใจกว้างหรือโอบอ้อมอารีเหมือนคนเอเซียและสรุปว่าเขาไม่ดี


เท่าเราก็ไม่ถูก เหตุผลทีถ่ ูกคือ เพราะความแตกต่างกันของวัฒนธรรม วัฒนธรรมก็คอื การฝึกนิสยั ใน
ระดับชาตินนั ่ เอง พูดให้ง่ายคือ การฝึ กนิสยั ประจาชาติของฝรังนั ่ น้ ต่างจากการฝึ กนิสยั ของคนบ้าน
เราทีน่ บั ถือศาสนาพุทธ นิสยั แห่งการให้แบบไม่เอาอะไรตอบแทนอย่างเช่นการทาบุญใส่ บาตรนัน้ จึง
ไม่ได้รบั การฝึกฝนมาแต่เด็ก เด็ก ๆ ฝรัง่ จะมีแต่เรื่องขอโน่นขอนี่และได้โน่นได้น่ีในวันเกิดและวันค
ริสมาสจนกลายเป็ นนิสยั และนี่เป็ นวิถชี วี ติ ของเขาซึ่งเขาไม่ ได้รสู้ กึ ว่าเขาเห็นแก่ตวั แต่อย่างใด นี่คอื
ความปกติของเขา ในขณะทีค่ นไทยเราจะคิดเรื่องการทาบุญให้ทานในวันเกิดและปี ใหม่แทนทีจ่ ะขอ
โน่ นขอนี่ สิ่งนี้ ค ือ นิส ยั และความปกติของบ้านเรา เพราะวัฒ นธรรมของการทาบุ ญ ไม่มีในสังคม
ตะวันตก แม้ฝรังที ่ ่หนั มาเป็ นชาวพุทธกันแล้ว ก็ไ ม่สามารถทีจ่ ะเปลี่ยนนิสยั และสร้างจิตใจที่รกั การ
ทาบุญแบบคนไทย ลาว พม่าที่เติบโตขึ้นมากับการสร้างนิสยั ของการให้แบบไม่เอาอะไรตอบแทน
ฝรังชาวพุ
่ ทธที่ไปวัดในต่างประเทศนัน้ จะเอาผลไม้ห รืออะไรนิดหน่ อยติดมือ ไปหรือ ไปมือ เปล่ า
ในขณะที่คนไทยจะหอบหิ้วอาหารมากมายเช่นแกงหม้ อใหญ่ เลี้ยงคนได้ทีละมาก ๆ พร้อมปั จจัย
ไทยทานต่าง ๆ ลักษณะของคนไทยทีใ่ จบุญด้วยและพอมีอนั จะกินด้วย เวลาจะทาบุญให้ทานก็จะไป
ตลาดเหมาผลไม้กนั เป็ นเข่ง ๆ เพื่อแจกคนนัน้ เป็ นสิง่ ที่หาดูไม่ได้ในสังคมตะวันตก ครัง้ หนึ่ง ดิฉัน
ได้คุยกับเจ้าของร้านขายของชาที่มาจากอิหร่า น และเราก็เปรียบเทียบถึงวัฒนธรรมของซีกโลกทัง้
สอง ยิง่ มุ่งสู่ตะวันออกมากเท่าไร ความใจกว้างของคนก็มมี ากเท่านัน้ เขาบอกว่า คนเอเซียที่เข้า
ร้านเขานัน้ จะซื้อผัก ผลไม้ มากมายเสมอ แต่มชี าวอังกฤษบางคนจะเข้ามาซื้อมันฝรังที ่ ละ ๑ ลูก
แอปเปิ้ ลทีละผลก็ยงั มี การชังแบบฝรั
่ งที
่ ่คดิ น้ าหนักเป็ นปอนด์กบั กิโลนัน้ ก็ทาให้เห็นความแตกต่าง
ของนิสยั ประจาชาติ คนไทยเราซื้ออะไรหนึ่งกิโลไปฝากใคร เรายังคิดว่าอาจจะน้อยไป ซือ้ ไปสักสอง
สามกิโลเลย หนึ่งกิโลนัน้ เทียบกับน้ าหนัก ๒.๒ ปอนด์ของฝรัง่ ดิฉันไม่เคยเห็นฝรังซื ่ อ้ ผลไม้หนัก ๕
หรือ ๖ ปอนด์ไปฝากคนหรือถวายพระ สมัยก่อนทีผ่ กั ผลไม้อุดมสมบูรณ์มากในเมืองไทยนัน้ ใครมา
จากต่างจังหวัดก็จะหิ้วชะลอมที่เต็มไปด้วยผลไม้ของฤดูและของท้องถิน่ นัน้ มาฝากคนกรุงเทพ หิ้ว
กันทีหลาย ๆ ชะลอม สมัยเด็ก ๆ ทุกครัง้ ที่ญาติมาจากลพบุรี เขาจะเอามะม่วงบ้าง น้อยหน่ าบ้าง

121
มะปรางบ้าง หรือไม่กม็ ะขามป้ อม แล้วแต่หน้ามาฝากทีละหลายชะลอม ดิฉันเคยมีความสุขมากจาก
การรับหน้ าที่ว างเรียงมะม่ว งอกร่อ งบนพื้น จาได้ว่าบางครัง้ มีม ากจนต้อ งเรียงกันได้ห ลายแถว
เดีย๋ วนี้ผลไม้น้อยลง คนหิ้วชะลอมแบบสมัยก่อนก็ไม่ค่อยมีแล้ว แต่แม้กระนัน้ การหิ้วกล่องหรือ
ตะกร้าบรรจุ ผลไม้ทีละมาก ๆ เพื่อเป็ นของฝากก็ยงั มีอยู่ในสังคมไทยเรา ลักษณะนิสยั เช่นนี้เป็ น
ความร่ารวยของวัฒนธรรมไทยอันเป็ นผลโดยตรงของศาสนาพุทธ วัดในต่างประเทศจะอยู่รอดได้ก็
เพราะศรัทธาของคนไทย คนพม่า เป็ นส่วนมาก จะพึ่งฝรังแต่ ่ ถ่ายเดียวนัน้ ทัง้ พระทัง้ วัดจะอยู่ไม่
รอดแน่ เพราะวัฒนธรรมของเขาไม่ได้สร้างนิสยั นัน้ มา ยิง่ ฝรังที ่ ่ไม่ได้เป็ นชาวพุทธ แต่ถูกภรรยา
ไทยลากไปวัดด้วยความจาเป็ น เห็นคนไทยปรนเปรอพระสงฆ์องค์เจ้าอย่างมากมายเช่นนัน้ เขา
เข้าใจไม่ได้ว่า ชายหัวโล้นเหล่านี้นอกจากไม่ตอ้ งทามาหารับประทานอย่างเขา คนก็ยงั มากราบไหว้
บูชาและเอาของมาประเคนให้ ทาไมเขาจึงทากันหนอ เมื่อเขาไม่สามารถอธิบายด้วยเหตุผลและ
ตรรกะอย่างชาวตะวันตกแล้วไซร้ เขาจะสรุปได้ง่ายมากว่า คนเหล่านี้งมงาย โง่เขลา ทาอะไรทีข่ าด
เหตุ ผ ล และไม่ ใ ช่ เป็ นเรื่อ งง่ า ยที่ จ ะท าให้ เขาเข้า ใจด้ ว ย อย่ า งไรก็ ต าม การพู ด เช่ น นี้ ก็ ไ ม่ ไ ด้
หมายความว่าฝรังที ่ ่ใจดีและรักการให้จะไม่มเี อาเลย แน่นอน คนเช่นนี้ต้องมีแน่ไม่ว่าในสังคมไหน
และชาวพุทธที่เอาแต่ได้ก็มเี ช่นกัน พูดไปแล้ว ชาวอังกฤษนัน้ ก็เป็ นคนที่ใจบุญไม่น้อยทีเดียว ทุก
ครัง้ ที่มกี ารหาเงินเพื่อการกุศล รายใหญ่ ๆ ที่เกิดขึ้นทุกปี คือ Children in need ซึ่งเป็ นการหาเงิน
ช่วยเด็ก ๆ ทีต่ ้องการความช่วยเหลือ หรือ ในอดีตก็มกี ารหาเงินเพื่อช่วยเหลือชาวอาฟริกา ทีเ่ รียก
Band Aid หรือการบริจาคเข้ากองทุนของไดอาน่ า เจ้าหญิงแห่งเวลส์ เพื่อเอาเงินนัน้ ไปใช้ในงาน
กุศลอื่นนัน้ คนจะบริจาคอย่างอุ่นหนาฝาคัง่ และหาเงินได้หลายสิบล้านปอนด์เสมอ อย่างไรก็ตาม
สิง่ ที่ดิฉันพยายามอธิบายในที่น้ีเป็ นเรื่องของการสร้างนิสยั ประจาชาติหรือวัฒนธรรมประจาชาติ
ไม่ได้พูดถึงปั จเจกบุคคลหรือการบริจาคเงินเพื่อการกุศลซึ่งต้องนับเป็ นกรณีพเิ ศษไป เพราะไม่ได้
เป็ นสิง่ ทีส่ ามารถทาได้ทุกวัน
ถึงแม้ฝรังจะไม่
่ เข้าใจวัฒนธรรมของการทาบุญก็ตามแต่ นิสยั นี้ก็ได้ทาให้เขาประทับใจในคน
เอเซียมาก ฝรังที ่ ไ่ ปเทีย่ วเมืองไทยนัน้ นอกจากชอบดูความสวยงามตระการตาของวัดวาอารามแล้ว
ไซร้ สิง่ ทีป่ ระทับใจเขามากกว่านัน้ คือ ความเรียบง่ายและความใจกว้างของคนไทยอันเป็ นกิตติศพั ท์
ทีร่ ู้กนั ทัวโลก
่ แต่นิสยั ที่ดงี ามเหล่านี้จะอยู่กบั คนไทยได้อกี นานแค่ไหนนัน้ เป็ นสิง่ ที่น่าห่วงมาก คน
ไทยทีต่ ้องการทาอะไรตามบัน้ ท้ายฝรัง่ เช่นการจัดงานวันเกิดตัง้ แต่เด็ก ๆ และขอของขวัญแพง ๆ
จากพ่อแม่นนั ้ เป็ นสิง่ ทีต่ ้องระวังมาก เพราะนี่คอื การพยายามจะเปลีย่ นนิสยั ประจาชาติ ทางทีด่ คี วร
สนับสนุนให้ลูกทาบุญ ใส่บาตร หรือให้ทานจะดีกว่ามาจัดงานวันเกิดทีฟ่ ่ ุมเฟื อย การมาอยู่เมืองนอก
ของดิฉันทาให้ดฉิ ันแน่ใจมากว่าการทาเช่นนัน้ (จัดงานวันเกิดให้เด็ก) เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ได้สร้างองค์คุณที่
ดีงามและถูกต้องให้แก่เด็กเลย อย่าทาจนเป็ นนิสยั ประจาชาติจะดีกว่า นี่เป็ นสิง่ ที่พ่อแม่และครูบา
อาจารย์ตอ้ งเข้าใจให้ดเี พือ่ จะได้สอนบุตรหลานอย่างถูกต้อง

122
ความเคารพผู ใ้ หญ่

ในมงคลสูตรซึ่งมี ๓๘ ข้อนัน้ มีขอ้ หนึ่งกล่าวว่าการเคารพบุคคลทีค่ วรเคารพนัน้ เป็ นมงคลอย่างหนึ่ง


บุ ค คลที่ค วรเคารพคือ บิด ามารดา ครูบ าอาจารย์ผู้ ถ่ ายทอดวิช าความรู้ และแน่ น อน สมณะชี
พราหมณ์ การให้ความเคารพบุคคลทีค่ วรเคารพนัน้ เป็ นวัฒนธรรมโดยตรงของชาวพุทธ ใครทีท่ าได้
จิตใจของเขาจะอ่อนโยน เปรียบเหมือนการกะเทาะเอาเปลือกแข็งที่หยาบกระด้างออกจากจิตใจ
การเห็นผู้น้อยให้ความเคารพผู้ใหญ่โดยการยกมือพนมไหว้อย่างนอบน้อมแบบคนไทยหรือการก้ม
โค้งแบบคนจีนและคนญี่ป่ ุนนัน้ นอกจากเป็ นภาพที่งดงามต่อผู้พบเห็นแล้ว ยังสร้างบรรยากาศที่
อบอุ่นแก่เจ้าของวัฒนธรรม หากสิง่ นี้ยงั คงมีอยู่ในวัฒนธรรมแล้วไซร้ สังคมนัน้ จะไปได้รอด เพราะ
สมาชิกผู้น้อยที่รู้จกั เคารพผู้ใหญ่ จะเติบโตขึ้นมารับผิดชอบต่อชาติบ้านเมืองในอานาคตย่อมเป็ น
บุคคลทีม่ จี ติ ละเอียดและเป็ นคนดีพอสมควร

สิ่งที่ได้ส ร้างความสับสนให้แ ก่ มงคลข้อ นี้ค ือ เมื่อ ผู้ใหญ่ ไม่ได้ทาตนให้เป็ นที่น่ าเคารพแก่ ผู้น้อ ย
ปั ญหาจึงเกิด จากการคุยกับเพือ่ น ๆ ทุกครัง้ ทีก่ ลับเมืองไทย ดิฉันทราบมาว่า เดีย๋ วนี้ ครูบาอาจารย์
มิได้เป็ นบุคคลทีล่ ูกศิษย์เคารพยาเกรงเหมือนสมัยก่อนเสียแล้ว ครูสมัยก่อนเมื่อจะทาอะไรก็ต้องนึก
เสมอว่าตนเองนัน้ เป็ นตัวอย่างที่ดขี องเด็กที่กาลังเรียนรู้จากตน ภาพพจน์ของครูจงึ เป็ นภาพพจน์
ของปูชนียบุคคลทีล่ ูกศิษย์ตอ้ งให้ความเคารพยาเกรง ปั จจุบนั นี้ อาชีพครูมใิ ช่เป็ นอาชีพทีท่ าด้วยใจ
รัก สภาวะเศรษฐกิจบีบคัน้ ให้ค รูทงั ้ หลายต้องกลายเป็ นพ่อค้าแม่ค้าแอมเวเพื่อหารายได้จุนเจือ
ครอบครัว ความเคารพยาเกรงของผู้น้อยที่มตี ่อครูบาอาจารย์จงึ น้อยลง และจะเป็ นจุดเริม่ ต้นของ
ความเสือ่ มโทรมของวัฒนธรรมอันดีงาม

การให้ ค วามเคารพต่ อ บุ ค คลที่ ค วรเคารพนั ้น เป็ นสิ่ง ที่ ส ัง คมตะวัน ตกยัง ขาดอยู่ ม าก พ่ อ แม่
ชาวตะวันตกต้องการให้ลูกสนิทสนมกับตนเองเหมือนเพื่อนทีค่ ุยกันได้ ซึ่งก็มสี ่วนดีเมื่อลูกสามารถ
คุยปรับทุกข์กบั พ่อแม่ได้อย่างแท้จริง แต่ขอ้ เสียคือ เมื่อเด็กไม่มคี วามเคารพยาเกรงพ่อแม่ จิตย่ อม
แข็งกระด้าง ไม่ละเอียดอ่อ นเหมือ นคนเอเซีย เรื่องการเคารพยาเกรงครูบาอาจารย์นัน้ เป็ นสิ่งที่
สังคมตะวันตกแทบจะไม่มเี อาเสียเลย สังคมอเมริกนั นัน้ ครูเป็ นฝ่ ายทีต่ อ้ งกลัวเด็กจะทาร้ายเอา ซึ่ง
มีข่าวออกมาให้เห็นกันบ่อย ๆ โรงเรียนบางแห่งถึงขนาดต้องตัง้ ป้ อมตรวจค้นอาวุ ธก่อนทีจ่ ะให้เด็ก
เข้าตึกเรียนได้ ฝรังที
่ ่มาทางานสอนในประเทศเอเซีย เช่น ไทย จีน ญี่ป่ ุน มักจะรูส้ กึ ประทับใจและ
ถือเป็ นประสบการณ์ใหม่มากเมื่อเห็นเด็ก ๆ นักเรียนวิง่ มาต้อนรับ ให้ความเคารพตน และรับอาสา
ช่วยถือกระเป๋ าให้ นี่เป็ นสิง่ ทีค่ รูไม่เคยได้รบั ในสังคมตะวันตก การเดินผ่านครูนอกโรงเรียนนัน้ ครูก็
คือคนแปลกหน้าคนหนึ่งทีล่ ูกศิษย์สามารถเดินชนไหล่ได้

123
ความล้มเหลวของสถาบันคริสตจักรในสังคมตะวันตกนัน้ เป็ นสาเหตุท่ที าให้ชาวตะวันตกหันหลัง
ให้กบั ศาสนา ฉะนัน้ เจ้าหน้าที่ทางศาสนาเช่น พระ บาทหลวง เป็ นต้น จึงไม่ได้เป็ นบุคคลที่ คนของ
เขาจะเคารพยาเกรงเสมอไป ซึ่งแตกต่างจากสังคมของชาวพุทธเป็ นอย่างมาก พระสงฆ์ในศาสนา
พุทธนัน้ ถึงแม้จะเป็ นเพียงสมมุตสิ งฆ์กต็ าม แต่จะได้รบั ความเคารพบูชาจากศาสนิกโดยอัตโนมัติ ยิง่
พระสงฆ์รูปใดที่ผู้คนแน่ ใจว่าปฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบแล้วไซร้ ผู้คนก็จะให้ความเคารพบูชามากยิง่ ขึ้น
ตามลาดับ วิถชี ีวติ ที่ดงี ามเหล่านี้เกิดขึ้นได้เพราะบรรพบุรุษหรือย่าทวดของไทยได้สร้างสมเอาไว้
ซึง่ หมายความว่าศาสนาพุทธจะต้องรุ่งเรืองมากในอดีตจนสามารถหยังรากลึ ่ ก แม้ทุกวันนี้จะมีพระที่
มุ่งการทาลายสถาบันนี้อยู่ไม่น้อย ร่องรอยของวัฒนธรรมอันดีงามก็ย ังคงมีให้เห็น แต่จะไปรอดได้ก็
ต่อเมื่อสถาบันศาสนาพุทธต้องแข็งแกร่ง และสามารถสร้างพระสงฆ์ทเ่ี ป็ นผูป้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบอย่าง
แท้จริงเท่านัน้

ดิฉนั ได้มโี อกาสไปเยีย่ มเยียนประเทศญี่ป่นเมื่อกลางปี น้ี มีโอกาสได้เทีย่ วชมวัดวาอารามมากมายใน


กรุงเกียวโตและแถบใกล้เคีย ง ซึ่งเห็น ได้ชดั ว่าครัง้ หนึ่ งเคยรุ่งเรือ งมาก เพราะมีว ดั เล็ก วัดน้ อ ย
มากมาย วัดใหญ่ ๆ ก็สร้างด้วยปฏิมากรรมทีส่ วยงาม น่าชมยิง่ แต่สงิ่ ทีท่ าให้ดฉิ นั รูส้ กึ ใจหายคือ วัด
สวยงามเหล่านี้ได้กลายเป็ นวัดร้างที่ปราศจากจิตวิญ ญานแต่อย่างใด วัดใหญ่ ๆ ที่มชี ่อื เสียงก็ได้
กลายเป็ นวัฒนธรรมตู้โชว์ show case และหารายได้โดยการเปิ ดให้นกั ท่องเทีย่ วเข้าชมและเก็บเงิน
เข้าวัด ญี่ป่ ุนนับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน คือการพยายามปฏิบตั เิ พื่อจะได้ไปสู่ดนิ แดนสุขาวดี
Pure Land Zen แทนทีจ่ ะหวังการเข้าถึงธรรมเป็ นส่วนตัวในภพชาติน้ี ศาสนาพุทธของชาวญี่ป่ ุน ก็
ได้แตกแยกเป็ นสาขามากมาย ชาวญีป่ ่ ุนรุ่นใหม่เองก็รสู้ กึ สับสนต่ออุดมคติของพุทธกับของชินโตซึ่ง
ถูกยกให้เป็ นศาสนาประจาชาติในสมัยสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ศาสนาชินโตนัน้ ทีจ่ ริงก็คอื การนับถือผี
สางเทวดานี่เอง เหมือนกับที่คนไทยเรานับถือศาลพระภูมิ เพียงแต่เขาพยายามเน้นเรื่องปรัมปรา
myth ว่าเทพเทวดาได้จุติลงมาเป็ นเทือกเถาเหล่ากอขององค์จกั รพรรดิ ์อันสืบเนื่องมาถึงทุกวันนี้
การยกเอาศาสนาชินโตขึ้นมาเป็ นศาสนาประจาชาติกเ็ พื่อเน้นเลือดแห่งการรักชาติให้เข้มข้นในหมู่
คนญี่ป่ ุน ในช่วงนัน้ เองทีร่ ฐั บาลก็เปิ ดโอกาสให้พระของศาสนาพุทธออกมาทามาหากินและแต่งงาน
ได้เหมือนชาวบ้านธรรมดา และก็เป็ นมาจนถึงทุกวันนี้ ปั จจุบนั นี้ชาวญี่ป่ ุนจะเกี่ยวข้องกับศาสนา
ชินโตก็เมื่อแต่งงาน และจะเกีย่ วข้องกับวัดพุทธก็ตอนมีงานศพเท่านัน้ วัดของพุทธจึงกลับกลายเป็ น
สัญญลักษณ์แห่งความเศร้าสร้อยทีไ่ ม่มใี ครอยากจะเข้าถ้าไมาจาเป็ น ชาวญี่ป่นทีไ่ ปวัดใหญ่ ๆ ดัง ๆ
ก็เพือ่ ไปชมสวนญีป่ ่ นทีจ่ ดั ไว้อย่างงดงามโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฤดูต่าง ๆ ทีต่ น้ ไม้เริม่ เปลีย่ นสี บุคคล
ที่เรีย กตัว เองเป็ น พระของญี่ ป่ ุ นนั น้ อาจจะมีอ าชีพ เป็ น นัก ธุ รกิจที่ใ หญ่ โต ดิฉัน เติบ โตขึ้น มาใน
วัฒนธรรมของชาวพุทธฝ่ ายเถรวาทที่เ ห็นพระเป็ นปูชนียบุคคล เมื่อเห็นพระของญี่ป่ ุนแล้ว ก็เห็น
ความแตกต่างและอดภูมใิ จไม่ได้ว่า ของบ้านเราทีเ่ รียกว่ามีปัญหามากมายนัน้ ดูแล้วก็ยงั ดีกว่าของ
ชาวญีป่ ่ นุ เป็ นอย่างมาก

124
มีค รัง้ หนึ่งที่ดิฉันไปบ้านของพระรูป หนึ่ งซึ่งมีอ าชีพเป็ นครูส อนการนวดแบบญี่ป่ ุนที่เขาเรียกว่า
shiatsu เซ็นเซเป็ นครูของแอนนาลีสซึ่งเป็ นลูกศิยษ์ท่มี าเรียนไท้เก็กกับดิฉัน และเป็ นคนที่ออกค่า
ตั ๋วเครื่องบินให้ดฉิ ันไปเทีย่ วญี่ป่ ุนในขณะทีเ่ ธอทางานเป็ นครูสอนภาษาอังกฤษอยู่เกียวโตเป็ นเวลา
หนึ่งปี คืนนัน้ เป็ นคืนวันอาทิตย์ซ่ึงที่บ้านของครูคนนี้จะมีการสวดมนต์โดยท่องบ่นชื่อของพระอมิ
ตาภะพุ ท ธะ เมื่อ ถึงเวลาก็มีฝ รังจากชาติ
่ ต่ าง ๆ มาร่ว มสวดมนต์ด้ว ยหลายคน ซึ่งล้ว นแต่ เป็ น
ลูกศิยษ์ท่เี รียน shiatsu กับครูคนนี้ทงั ้ สิ้น และเมื่อถึงเวลาสวดมนต์ครูก็นาเอาเสื้อคลุมของพระมา
สวมใส่ การสวดมนต์กจ็ ะต้องควบคู่ไปกับการเคาะไม้ซ่งึ ทาเป็ นรูปกลม ๆ ป้ อม ๆ การสวดก็เป็ นไป
เร็วมากพร้อมกับการเคาะไม้ หลังจากท่องบ่นชื่อ พระอมิตาภะพุทธะ อย่างซ้าซากไปครึง่ ชัวโมงแล้ ่ ว
หัวสมองดิฉันรู้สกึ ชาไปหมด แต่ก็ต้องสวดอยู่นานถึงเกือบชัวโมงครึ ่ ่ง จึงจะหยุด หลังจากนัน้ ครู
หรือพระก็เทศน์นิดหน่อย ดิฉนั ถามคาถามหนึ่งซึง่ ครูไม่สามารถตอบดิฉนั ได้อย่างชัดเจนนัก ในทีส่ ุด
พิธสี วดมนต์ก็จบลง พระก็ถอดเสื้อคลุมของนักบวชออกและกลับกลายเป็ นครูเป็ นสามีและเป็ นพ่อ
เหมือนเดิม ก่อนกลับนัน้ ดิฉันต้องรูส้ กึ แปลกใจมากที่ครูผู้เป็ นพระเมื่อกี้อยู่หยก ๆ ถามลูกศิยษ์ทงั ้
ชายหญิงของเขาว่า มีใครอยากจะไปดื่มเบียร์ทฮ่ี ปิ ปี้ บาร์กนั ไม๊ ตอนแรกดิฉนั ไม่เชื่อหูตนเอง ก็ถาม
ซ้าว่าจะไปไหนกันนะ คาตอบคือเหมือนเดิม พูดง่าย ๆ คือไปเที่ยวบาร์กนั ไม็ ดิฉันไม่ได้พูดอะไร
เพียงแต่อยากจะหาประสบการณ์เท่านัน้ จึงตามพวกเขาไป ยังรูส้ กึ เสียดายว่าเมื่อไปถึงบาร์จริง ๆ
บาร์ปิด เพราะเป็ นคืนวันอาทิตย์และดึกมากแล้ว มิเช่นนัน้ ดิฉันคงได้เห็นอะไรที่แปลก ๆ ไม่เคย
เห็น มาก่ อ น แอนนาลีส บอกว่ามีว นั นหนึ่ งที่เธอไปหาประสบการณ์ ก ารแข่งม้าในญี่ป่ ุ นกับ ครูท่ี
โรงเรียนที่เธอสอนอยู่ ในจานวนนัน้ มีพระอยู่สองรูปที่ไปเล่นม้าด้วย แต่น่ีเป็ นเรื่องที่ธรรมดา มาก
สาหรับคนญี่ป่ ุนไม่มใี ครตาหนิใคร เมื่อขาดการตาหนิตเิ ตียนจากสังคมแล้ว สิง่ ที่ผดิ ก็จะกลายเป็ น
เรื่องธรรมดาไป และเป็ นจุดเริม่ ต้นของความเสื่อมโทรมของสังคม สังคมไทยเรานัน้ หากไม่ระวังให้
ดีแ ละปล่ อ ยให้ ส ถาบัน สงฆ์ เสื่อ มโทรมโดยไม่ ค ิด แก้ ไขอย่ า งจริง จัง แล้ว ไซร้ ก็จ ะสา มารถเป็ น
เหมือนกับสังคมญีป่ ่ นุ ในอนาคตได้

การบูชาบุคคลที่ควรบูชานัน้ ในวัฒนธรรมของชาวพุทธได้ครอบคลุมไปถึงวัตถุแห่งการบูชาเช่น
พระพุทธรูป และ พุทธสถานต่าง ๆ เช่นวัดวาอาราม สถูป เจดีย์ เป็ นต้น คนเอเซียจะระวังและให้
ความเคารพในสิง่ เหล่านี้มาก นี่เป็ นวัฒนธรรมที่ ชาวตะวันตกยังต้องเรียนรู้อกี มาก สิง่ หนึ่งที่ทาให้
ดิฉั น รู้ส ึก เสีย วสัน หลัง ทุ ก ครัง้ ที่เห็น คนตะวัน ตกท าคือ การน าเอาพระพุ ท ธรูป พระเศีย รของ
พระพุทธรูปมาเป็ นเครื่องประดับบ้าน ประดับสวน และมักวางไว้ในเบื้องต่าที่คนเดินเฉียดหรือแม้
เดินข้าม นอกจากนัน้ ฝรังยั ่ งเอาชื่อ ทีช่ าวพุทธเรายกไว้เป็ นของสูงเช่น นิพพาน Nirvana มาเป็ นชื่อ
ของวงดนตรีป๊อบทีเ่ ต้นโหยงเหยง ไร้สาระ ทีก่ รุงปารีส นัน้ มีบาร์แห่งหนึ่งชื่อว่า Buddha’s bar สิง่

125
เหล่านี้ฝรังเห็
่ นว่าเป็ นของเท่หเ์ สียเต็มประดา กลับชี้ให้เห็นถึงความอ่อนหัดและโง่เขลาเบาปั ญญาที่
มีต่อวัฒนธรรมของชาวตะวันออก

ความกตัญญู กตเวที
เด็ก ๆ ชาวตะวันออกจะเติบโตขึน้ มาในกระแสวัฒนธรรมทีใ่ ห้ความเคารพผูใ้ หญ่และจะถูกสอนให้มี
ความกตัญญูต่อพ่อแม่ ปู่ย่าตายายที่เลี้ยงเรามาซึ่งเป็ นสิง่ ที่คนตะวันตกขาดอยู่มาก คาว่า กตัญญู
กตเวที นัน้ ฝรังจะเข้
่ าใจได้ยากมาก ดิฉัน เคยพยายามอธิบาย แต่ฝรังกลั ่ บตีความว่า การที่พ่อแม่
หวังให้ลูกตอบแทนบุญคุณนัน้ เป็ นเรื่องเห็นแก่ตวั ฝรังไม่
่ น้อยทีค่ ดิ ว่า เมื่อพ่อแม่เป็ นคนทาเด็กให้มา
เกิดทัง้ ๆ ทีเ่ ขาอาจจะไม่อยากมาเกิดหรือไม่จาเป็ นต้องมาเกิด ฉะนัน้ จึงเป็ นภาระหน้าทีข่ องพ่อแม่
ทีต่ ้องเลี้ยงดูเด็กไปจนกว่าเขาจะโตและช่วยตัวเองได้ และพ่อแม่สว่ นมากก็จะไม่เรียกร้องให้ลูกต้อง
มาดูแลตัวเองในยามแก่เฒ่า จึงเป็ นหน้าที่ของรัฐที่จะดูแลคนแก่ ทุกคนจึงต้องเก็บเงินไว้ก้อนหนึ่ง
เมื่อยามปลดเกษียน นี่เป็ นความคิดทีก่ ลับกันกับวิถกี ารคิดของชาวพุทธซึง่ ประเสริฐก์ ว่า

คิดตามพระพุทธเจ้า
การรู้จกั บุญคุณและตอบแทนคุณของพ่อแม่ท่เี ลี้ยงเรามานัน้ ต้องนับว่าเป็ นสิง่ ที่ดแี ละประเสริฐ์กว่า
มาก การคิดนัน้ จะคิดอย่างไรก็ได้ เพราะเป็ นเรื่องนามธรรม คนตะวันตกคิดอยู่บนหลักเหตุผลทีข่ าด
เป้ าหมายอัน สู ง สุ ด ของชี ว ิต ซึ่ ง แตกต่ า งจากชาวพุ ท ธที่ ถู ก ตะล่ อ มให้ ค ิ ด ไปตามครรลองที่
พระพุ ท ธเจ้า ปู ท างไว้ใ ห้ แ ล้ว อัน สามารถน าไปสู่ เป้ า หมายของชิว ิต ที่สู ง สุ ด การคิด คล้อ ยตาม
พระพุทธเจ้าหรือมีสมั มาทิฏฐิจงึ มีความถูกต้องมากกว่าถึงแม้เหตุผลจะไม่ชดั ในขัน้ ตอนหนึ่งก็ตาม
ซึ่งเป็ นเพราะคนส่วนมากยังเข้าไม่ถงึ ธรรมอันสูงสุด ถ้าเข้าถึงธรรมแล้วเหตุผลจะชัดเอง นี่เป็ นสิง่ ที่
ชาวพุทธจะต้องเข้าใจและไม่ปล่อยให้แนวคิดแบบตะวันตกมาทาให้การคิดแบบชาวพุทธต้องเสีย
หลัก ไป เมื่อ ยังเข้าไม่ถึงธรรมนี่เองจิต ใจจะหวันไหวได้
่ ง่าย การเห็นฝรังคิ
่ ดอย่างมีเหตุมีผ ลและ
ประสบความสาเร็จทางเทคโนโลยีแ่ ล้วจะทาให้คนไทยต้องการคิดคล้อยตามฝรังซึ ่ ง่ จะทาให้หลงทาง
ได้ง่าย จึงเป็ นสิง่ ทีต่ ้องระวังให้มาก บุคคลทีไ่ ม่รจู้ กั บุญคุณของพ่อแม่ทเ่ี ลี้ยงเรามาย่อมรักคนอื่นได้
ยากหรือรักไม่เป็ นเอาเลย จะรักแต่ตวั เองเท่านัน้ ซึ่งเป็ นสัญชาติญานขัน้ พื้นฐานของมนุ ษย์อนั มิได้
รับการพัฒนา จึงสร้างสภาวะจิตที่แข็งกระด้างไม่เอื้ออานวยต่อการเข้าถึงธรรมอันเป็ นเรื่องละเอียด
มากกว่านัก

เงื่อนไขทีสร ่ ้างความแตกต่างระหว่างสองวัฒนธรรม
ทีพ่ ูดเช่นนี้มไิ ด้เหมายความว่าลูก ๆ ของคนตะวันตกจะไม่รกั และดูแลพ่อแม่เหมือนกันหมด ไม่ใช่
เช่นนัน้ ทุก ชาติจะมีค นรัก ดูแลพ่อ แม่และจะมีคนทอดทิ้งพ่อแม่เหมือนกันหมด มากน้อ ยกว่ากัน
เท่านัน้ ความรักความผูกพันกับพ่อแม่นนั ้ ส่วนหนึ่งเป็ นเรื่องสัญชาติญาน อีกส่วนหนึ่งเป็ นเงื่อนไข

126
ของสภาวะของสังคมและวัฒนธรรม ส่วนนี้แหละที่สร้างความแตกต่างระหว่างสังคมตะวันออกกับ
ตะวันตก คนไทยเรา หากมีป่ ูย่าตายายอายุ ๘๐–๙๐ ปี ต้องอยู่คนเดียวทาอาหารกินเองแล้วไซร้
ลูกหลานจะถูกชาวบ้านด่าว่าไม่มคี วามกตัญญูและจะมีดไี ด้อย่างไร แต่น่ีเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มใี ครตาหนิใคร
ในสัง คมตะวัน ตก คนแก่ ก็ ไ ม่ อ ยากอยู่ กับ ลู ก หลาน ลู ก หลานก็ ไ ม่ อ ยากอยู่ กับ คนแก่ เพราะ
ชาวตะวันตกเติบโตขึ้นมากับปรัชญาชีวติ ที่ต้องพึ่ง ตัวเอง independent เป็ นหลัก เด็กฝรังเมื ่ ่ออายุ
ครบ ๑๘ เมื่อไร เขาก็ถอื ว่าเป็ นผู้ใหญ่แล้ว และสามารถออกไปอยู่เองได้หากมีปัญญาเลี้ยงตัวเอง
เด็กอเมริกนั เมื่อออกจากบ้านไปเข้ามหาวิทยาลัยเมื่ออายุ ๑๘ แล้ว พ่อแม่กจ็ ะเห็นลูกน้อยลงทุกที
ยิง่ ถ้าต้องไปเรียนในรัฐที่ไกล ๆ แล้ว ปี หนึ่งอาจจะได้เห็นลูกเพียงไม่ก่คี รัง้ เท่านัน้ เมื่อลูกทางาน
แต่งงานและเลือ กอยู่ค นละรัฐกับพ่อ แม่แล้ว ภาระของพ่อ แม่ก็จบเท่านัน้ การเยี่ยมเยียนอาจจะ
เกิดขึ้นปี ละครัง้ สองครัง้ เท่านัน้ คือ ในช่วงคริสมาสหรือช่วงหยุดพักผ่ อนในฤดูร้อน พ่อแม่บางคน
อาจจะไม่เห็นลูกเป็ นปี ๆก็มหี ากลูกตัดสินใจอพยพไปอยู่อกี ประเทศหนึ่ง ในประเทศอังกฤษนัน้ ลูก
ๆ ก็ยงั ดูแลพ่อแม่ แต่มใิ ช่เป็ นลักษณะที่อยู่ด้วยกัน คือ พ่อแม่ก็อยู่ของเขาเองต่างหาก ลูก ๆ ก็มา
เยี่ย มเยีย นเมื่อ เขาท าได้ แต่ ก็มีบ้างเหมือ นกัน ที่ลู กบางคนรับ เอาพ่อ แม่ ชรามาอยู่ด้ว ย ซึ่งเป็ น
เปอร์เซนต์ทน่ี ้อยมากเมื่อเทียบกับสังคมตะวันออก ดิฉันเป็ นแม่ของลูกสามคน เห็นวัฒนธรรมเช่นนี้
แล้วก็รสู้ กึ ใจหาย ฉะนัน้ จะสังเกตได้ว่าฝรังจะเห็
่ นความสาคัญของคู่ครองตนเองมากกว่าพ่อแม่พ่ี
น้อง ถ้ามีเรื่องบาดหมางใจกันระหว่างคู่ครองกับพ่อแม่พน่ี ้องละก็ ฝรังจะเลื ่ อ กเข้าข้างคู่ครองตนเอง
เสมอ ในขณะทีค่ นไทยกับคนจีนเราจะเข้าข้างพ่อแม่พน่ี ้องมากกว่า เหตุผลคือ ถ้าสามีภรรยาคู่ไหน
ที่อยู่กนั ยืดแล้ว เขาทัง้ สองเท่านัน้ ที่จะเป็ นที่พ่งึ ของกันและกันได้ เขาไม่ได้หวังคนอื่นมาเป็ นที่พ่งึ
ของเขาแม้แต่ลูกของตนเองซึง่ ผิดกับการคิดแบบคนเอเซียทีม่ ลี ูกก็เพือ่ หวังพึง่ ลูก

การเลี้ยงลูกของคนไทยและของคนเอเซียนัน้ ต่างจากฝรังมากนั ่ กจนอาจจะเป็ นผลเสียในอีกแบบ


หนึ่ง คือเลี้ยงลูกแบบไม่ให้โต ลูกจบมหาวิทยาลัยและทางานแล้วก็ยงั อยู่บ้านกับพ่อแม่ จนกระทัง่
แต่งงานแล้วนัน่ แหละจึงจะคิดแยกเรือนออกไป แม้กระนัน้ ก็ต าม ส่วนมากก็ยงั เลือกซื้อบ้านให้อยู่
ใกล้ ๆกันเพื่อจะได้เยี่ยมเยียนกันง่าย ซึ่งจะเห็นได้ว่า ปรัชญาการเลี้ยงลูกของคนเอเซียจะมีความ
อบอุ่นทางจิตใจมากกว่าของชาวตะวันตกซึง่ เน้นเรื่องการพึง่ ตัวเองเป็ นหลัก

ระบบประกันสังคม social security ที่ก้าวหน้าของคนตะวันตกก็เ ป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่สร้างความ


แตกต่างระหว่างสังคมตะวันตกและตะวันออก การทีร่ ฐั รับภาระหน้าทีเ่ ลี้ยงดูคนแก่นนั ้ ทาให้ลูก ๆ มี
ความรู้สกึ ว่าตนเองต้องรับผิดชอบต่อ พ่อแม่ตนเองน้ อยลง เงินทองก็ไม่ต้องให้เพราะคนแก่จะมี
เงินเดือนจากรัฐบาล pension พ่อแม่เจ็บไข้ได้ป่วย รัฐ ก็จะรักษาให้ ระบบประกันสังคมเช่นนี้ซ่ึงดู
เผิน ๆ แล้วเหมือนกับว่าดีเพราะสมาชิกของสังคมไม่ต้องห่วงอานาคตของตนเองมากนัก ยังไงก็มี
คนเลี้ยงและรักษาพยาบาลให้ สิง่ นี้เองทื่ทาให้ความผูกพันและความอบอุ่นทางสายเลือดจืดจางลง

127
และเมื่อดูให้ลกึ ไปกว่านัน้ แล้วมันกลับทาลายองค์คุณที่ลูก ๆ ควรจะได้รบั หากลูกมีบทบาทในการ
เลีย้ งดูพอ่ แม่ดว้ ยตนเองอย่างใกล้ชดิ

พ่อแม่ก็เป็ นเนื ้อนาบุญ


สังคมของคนเอเซียนัน้ ไม่มีระบบประกัน สังคมแบบของตะวัน ตก แต่เราก็มีแบบของเรา ระบบ
ประกันสังคมของคนเอเซียคือ ครอบครัว และญาติพ่ีน้ อ งที่จะดูแลกันเองซึ่งมีค วามอบอุ่น ทางใจ
มากกว่า ระบบประกันสังคมของคนเอเซียนัน้ เป็ นอิธพิ ลโดยตรงของศาสนาพุทธนัน่ เอง เพราะชาว
พุทธเราทาตามสิง่ ทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนเอาไว้เกี่ยวกับการเลีย้ งดูบดิ ามารดา พระพุทธองค์ทรง
ดาริว่า คุณของมารดาบิดานัน้ มีมากล้น หากเอาท่านทัง้ สองทูนไว้บนบ่าทัง้ สองข้ าง และให้ท่านปั ส
สวะและอุจจาระรดใส่ตลอดชีวติ ท่านแล้ว มันก็ยงั ไม่เพียงพอทีจ่ ะชดใช้บุญคุณทีท่ ่านมีต่อลูกได้ การ
เกิดมาเป็ นมนุ ษย์ได้นัน้ แสนจะลาบาก หากปราศจากพ่อแม่แล้ว การเกิดเป็ นมนุ ษย์ก็เป็ นไปไม่ได้
แม้เกิดมาแล้ว หากพ่อแม่ไม่ประคบประหงมเลี้ยงดูลูกจนโต เด็กทารกนัน้ ก็ไม่มที างรอดเช่นกัน ที่
สาคัญที่สุดคือ พ่อกับแม่ได้เป็ นปั จจัยสาคัญทีท่ าให้ลูกสามารถสร้างบารมีเพื่อการเข้าถึงธรรมในอา
นาต เพราะภพภูมแิ ห่งความเป็ นมนุ ษย์น้ีเอื้ออานวยต่อการทาบุญ กุศลเพื่อเข้าถึงธรรมได้ ฉะนัน้
การคิดแบบฝรังที ่ ่คดิ ว่าเด็กไม่อยากมาเกิดแต่ดนั ไปทาให้เขามาเกิดจึงเป็ นการคิดที่ไม่มหี ลัก ไม่มี
เป้ าหมายของชีวติ ที่ชดั เจน ฉะนัน้ การเลี้ยงดูมารดาบิดาเป็ นอย่างดีให้ท่านเป็ นสุขจึงเป็ นหน้าที่
ของลูก ๆ ชาวพุทธทุกคน ในขณะเดียวกัน การทามาตุฆาตและปิ ตุฆาตจึงนับเป็ นอนันตริยกรรม
คือกรรมหนักทีไ่ ม่สามารถหักล้างโทษกันได้ง่าย ๆ จะต้องไปตกนรกขุมทีเ่ รียกอเวจีซ่งึ มีความทุกข์
มรมานอย่างแสนสาหัสเพราะกรรมทีต่ นได้กระทาต่อพ่อแม่
ชาวพุทธควรจะเข้าใจให้ดวี ่า นอกจากพระสงฆ์ผเู้ ป็ นเนื้อนาบุญแล้ว พ่อแม่กเ็ ป็ นเนื้อนาที่ลูก
ๆ สามารถปลูกต้นบุญได้เช่นกันและปลูกได้ดดี ้วย คนที่รกั การปฏิบตั ธิ รรมนัน้ ขอให้ปฏิบตั ติ ่อพ่อ
แม่ของตนเองเป็ นอย่างดี ซึง่ เหมือนกับว่าไม่ต้องทาอะไรทีฝ่ ืนเลย คือทาไปตามธรรมชาติ เพราะลูก
ทุกคนก็รกั และผูกพันกับพ่อแม่อยู่แล้ว การปรนิบตั พิ ่อแม่ให้เป็ นสุขก็คอื ความสุขของตนเอง นี่คอื
การปฏิบตั ธิ รรมที่ไม่รู้สกึ ว่าต้องปฏิบตั ซิ ่ึ งเป็ นความร่ารวยของวัฒนธรรมชาวพุทธที่เน้นการเลี้ยงดู
พ่อแม่ การเลี้ยงดูพ่อแม่เป็ นอย่างดีนัน้ คือการสร้างองค์คุณ (บารมี) ที่สาคัญให้กบั ตนเอง และองค์
คุณ นี้จะเป็ นปั จจัยที่สาคัญ ยิง่ ต่อ การเห็นธรรมและเข้าถึงธรรมในอานาคต จิต ใจของผู้ท่รี กั และมี
ความกตัญ ญูก ตเวทีต่อพ่อ แม่นัน้ จะเป็ นจิตที่ละเอียดและง่ายต่อการเห็นธรรมเมื่อมีการฝึ กสมาธิ
ภาวนา ฉะนัน้ การเลี้ยงดูพอ่ แม่ให้มคี วามสุขโดยวิธตี ่าง ๆ นัน้ ก็เปรียบเหมือนกับการกะเทาะส่วนที่
หยาบของจิตออกไป เป็ นเรื่องของศีลโดยตรง

128
เมือบิ่ ดามารดาเป็ นผู ท ้ าผิดเสียเอง ลู กควรปฏิบต ั อ
ิ ย่างไร
เดือนเมษายน ๒๕๔๐ ดิฉันได้เป็ นหนึ่งในกลุ่มผูเ้ ข้าร่วมปฏิบตั ธิ รรมของคุณแม่ศริ ิ กรินชัย ทีบ่ า้ นไร
วา ชลบุรี วันหนึ่ง วิทยากรท่านหนึ่งบรรยายเรื่องบุญคุณของบิดามารดาจนผู้ฟังต้องเช็ดน้ าตากัน
ตาม ๆ กัน หลังจากที่การบรรยายจบลงก็จะเป็ นเวลาของคาถามซึ่งผู้ถามจะเขียนใส่กระดาษก็ได้
หรือจะยกมือถามก็ได้ มีคนหนึ่งซึ่งดิฉันไม่แปลกใจเลยว่าจะต้องเป็ นหญิงสาวและพูดถึงปั ญหาของ
ตนเองเขียนไปถามวิทยากรว่า บุตรสาวควรจะปฏิบตั ติ ่อบิดาทีข่ ่มขืนลูกสาวตนเองได้อย่างไร ดิฉัน
เริม่ เป็ นห่วงเป็ นใยแทนวิทยากรเพราะทราบดีว่านี่มใิ ช่เป็ นปั ญหาทีจ่ ะตอบกันได้ง่าย ๆ ต่อหน้าคน
หมู่มาก คาตอบของวิทยากรต่อคาถามนัน้ คือ ขอให้พยายามมองส่วนดีของบิดา อย่ามองแต่สงิ่ ทีไ่ ม่
ดีของเขา เพราะทุกคนก็มดี มี ชี วกั ั ่ นทังนั
่ น้ ดิฉันฟั งคาตอบนัน้ แล้วก็รสู้ กึ ใจหายวาบและเห็นใจผูถ้ าม
เป็ นอย่างมาก เพราะนี่มใิ ช่เป็ นคาถามที่สามารถตอบคลุมแบบเหวีย่ งร่างแหได้ และดิฉันไม่เห็นว่า
นัน้ เป็ นคาตอบที่ถูกต้องต่อคาถามนัน้ หากเป็ นดิฉันแล้ว ดิฉันจะต้องขอคุยกับเจ้าของคาถามเป็ น
ส่วนตัว และต้องให้คาแนะนาอย่างระมัดระวังเป็ นอย่างยิง่ อย่าว่าแต่การข่มขืนลูกสาวตนเองเลยแม้
การข่มขืนใครก็ตามนัน้ ถือเป็ นเรื่องอาชญากรรมที่ ผดิ ทัง้ กฏหมายและศีลธรรม การข่มขืนลูกสาว
ตนเองนัน้ ย่อมเป็ นเรื่องที่ร้ายแรงกว่ามากนัก ดิฉันไม่แปลกใจว่าปั ญ หานี้ได้เกิดขึ้นอย่างเงียบ ๆ
และไม่น้อยรายทีเดียวในสังคมไทยเรา เด็กสาวส่วนมากจะไม่กล้าพูดเพราะถือเป็ นเรื่องอับอายขาย
หน้าและโดยเฉพาะอย่างยิง่ บุคคลผู้นัน้ เป็ นพ่อหรือญาติสนิทใกล้ชดิ ของตนเอง พูดไปแล้วจะไม่มี
ใครเชื่อ เด็กสาวหรือไม่ก็อาจจะเป็ นเด็กหญิงเหล่านี้ต้องรับความทุกข์ทรมานทางใจและกายอย่าง
แสนสาหัสและต้องทุก ข์คนเดียว ไม่สามารถที่จะบอกความลับนี้แก่ใครได้ สภาพจิตของเด็กสาว
เหล่านี้ได้ชารุดมาก และต้องการความช่ วยเหลือเยียวยาโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางใจอย่างรีบด่วนซึ่ง
สังคมบ้านเรายังขาดองค์กรและบุคลากรทีส่ ามารถเป็ นทีพ่ ง่ึ ให้กบั คนเหล่านี้ได้ ฉะนัน้ การจะบอกให้
เด็กสาวเหล่านี้พยายามดูสว่ นดีของชายผูเ้ ป็ นพ่อซึ่งควรจะปกป้ องดูแลเธอแต่กลับกลายมาเป็ นสัตว์
นรกและข่มขืนลูกสาวตนเองนัน้ ดิฉันไม่เห็นว่ามันจะช่วยอะไรได้ ผู้ชายที่สามารถกระทาสิง่ ชัวช้ ่ า
เลวทรามเช่นนี้ได้แสดงว่า เรื่องศีลธรรมนัน้ ไม่ตอ้ งพูดถึง เพราะศีลธรรมเป็ นเรื่องของมนุษย์ คนทีย่ งั
ไม่มศี ลี ธรรมนัน้ ก็เป็ นคนทีจ่ ติ ใจสามารถแปรเป็ นเดรัจฉานได้งา่ ยมาก คนทีย่ งั ไม่ได้เป็ นดุจเดรัจฉาน
คือคนทีพ่ อมีจติ สานึกแห่งความเป็ นคนขัน้ พืน้ ฐานคือพอรูว้ ่าอะไรถูกอะไรผิดแบบง่าย ๆ ไม่ซบั ซ้อน
คือต้องรูว้ ่าการข่มขืนลูกสาวตนเองนัน้ เป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ และผิดอย่างมหันต์ ถ้าจะไปข่มขืนคนอื่นแต่รจู้ กั
รักและปกป้ องลูกสาวตนเอง นี่ยงั พอพูดได้ว่าพอมีจติ สานึกแห่งความเป็ น คนขัน้ พืน้ ฐานอยู่บา้ ง แต่
ถ้าดูไม่ออกจนสามารถข่มขืนจิตใจลูกสาวตนเองแล้วไซร้ จิตใจของคนเหล่านี้ก็เป็ นเดรัจฉานดี ๆ
นี่เอง เลวกว่าอีก เพราะสัตว์เดรัจฉานยังดูแลปกป้ องเลือดเนื้อเชื้อไขตนเองได้ดกี ว่าคนบางคน คนที่
มีจติ ใจเป็ นดุจเดรัจฉานเหล่านี้เห็นการร่วมเพศเป็ นเรื่องของสัญชาติญาน ใครก็ได้เอาทัง้ นัน้ จะไป
หาความดีในคนเหล่านี้ได้อย่างไร จะไปให้บุตรหญิงผู้เคราะห์ร้ายเหล่านี้พยายามมองหาส่วนดีใน

129
บิดาของตนได้อย่างไร นี่เป็ นคาตอบที่นอกจากไม่ได้ช่วยหญิงสาวเหล่านี้แล้ว ยังเหมือนกับซ้าเติม
เธอให้ชอกช้ามากขึน้ ว่า ยังไงเขาก็เป็ นพ่อเรา เขาก็ตอ้ งมีสว่ นดีบา้ ง

ดิฉันเห็นว่านี่เป็ นจุดทีน่ ักเทศน์ตามตาราและประเพณีต้องระวังให้ดี นี่อาจจะเป็ นจุดหนึ่งทีว่ ่าทาไม


คนหนุ่ มสาวจึงไม่อยากสนใจศาสนาพุทธทัง้ ๆ ที่รวู้ ่าเป็ นสิง่ ที่ดี ทัง้ นี้เพราะเขาไม่สามารถประสาน
ระหว่างโลกแห่งความเป็ นจริงกับหลักศีลธรรมง่าย ๆ ที่นักเทศน์ พยายามจะให้เขาทา เพราะโลก
แห่งความเป็ นจริงในทุกวันนี้เป็ นเรื่องของมือใครยาวสาวได้สาวเอา และคนที่เสียเปรียบในสังคมมี
มากกว่าคนที่ได้เปรียบหลายเท่าตัวนัก การขาดประสบการณ์และไม่ทนั ต่อเหตุการณ์ ทางโลกนัน้
อาจจะทาให้นักเทศน์ เข้าข้างผู้ผดิ มากจนเกิ นไปและไม่ได้ช่วยเหลือคนที่ต้องการความช่วยเหลือ
อย่างแท้จริง ดิฉันเคยได้ยินพระผู้มีช่ือ เสียงรูป หนึ่งเทศน์ ว่า หากบริษัท (ซึ่งมีช่ือ เสียงดังมากใน
สังคมไทย)นี้นิมนต์ท่านมาเทศน์ให้คนงานฟั งบ่อย ๆ แล้ว รับรองว่าการสไตรค์ strike ของคนงาน
จะไม่เกิดแน่ เพราะท่านสามารถเทศน์ให้คนงานไม่สไตรค์ได้ ดิฉันฟั งแล้วเสียวสันหลังวาบ เพราะ
หากคนงานต้องสไตรค์นายจ้างแล้ว มันต้องแสดงว่ามีความไม่ยุตธิ รรมเกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับ
ลูกจ้าง นี่คอื ตัวอย่างของนักเทศน์ท่ไี ม่เจนจัดต่อเล่ห์กลของชาวโลกและจะกลายเป็ นเครื่องมือของ
คนผิดไปอย่างไม่รู้ตวั นักเทศน์ท่ดี นี ัน้ จะต้องสามารถเป็ นอิสระจากลาภ สักการะ ได้อย่างไม่ลงั เล
และไม่พูดเพื่อเอาใจฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดด้วยเหตุผลว่าฝ่ ายนัน้ สามารถให้ซองทีห่ นักกว่าเมื่อเทศน์เสร็จ
จะพูดอะไรก็ต้อ งเข้าข้างธรรมแต่ฝ่ ายเดียว และเอาธรรมเท่านัน้ มาเป็ นเครื่องยุติปัญ หา การท า
เช่นนัน้ ได้ ก็ต่อเมื่อนักเทศน์สามารถเข้าถึงธรรมแล้วเท่านัน้ คนที่ยงั เข้าไม่ถงึ ธรรม จะอดหวันไหว

ต่อลาภ สักการะไม่ได้ นี่เป็ นจุดทีพ่ ระดัง ๆ ต้องเสียมามากต่อมาก

เมื่อหันกลับมาพูดถึงปั ญหาของเด็กสาวทีถ่ ูกพ่อข่มขืน หรือในกรณีทเ่ี ลวร้ายน้อยกว่าแต่คล้ายกันคือ


พ่อแม่อาจจะทารุณ ลูกในวิธีอ่นื หรือไม่ยุติธรรมต่อลูกมากจนเกินไป หากเป็ นดิฉันซึ่งจะต้องตอบ
คาถามต่อหน้าคนหมู่มากแล้ว ดิฉันจะบอกผู้ถามก่อนว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่ามีบุตรอยู่สามจาพวก
คือ ๑) ลูกทีด่ กี ว่าพ่อแม่ตนเอง ๒) ลูกทีด่ เี สมอเท่าพ่อแม่ตนเอง และ ๓) ลูกทีเ่ ลวกว่าพ่อแม่ตนเอง
เพื่อให้เจ้าของคาถามรูก้ ่อนว่า ตนเองอาจจะเป็ นลูกประเภททีด่ กี ว่าพ่อแม่ตนเองก็ได้ และเป็ นไปได้
เช่นกันที่พ่อแม่สามารถเลวกว่าตนเอง นี่เป็ นธรรมที่เขาสามารถเชื่อมโยงได้กบั โลกแห่งความเป็ น
จริง มีพอ่ แม่บางคนทีเ่ ลวกว่าลูกของตนจริง ๆ เช่น กินเหล้าเมายา ติดผูห้ ญิง เล่นการพนัน ลูกทีด่ กี ็
พยายามจะช่วยพ่อหรือแม่ออกมาจากสิง่ ไม่ดเี หล่านัน้ ซึ่งเป็ นการเบิกทางให้เขาคิดในสิง่ ที่ถูกต้อง
และไม่ตาหนิตนเองอยู่ร่าไป เพราะกรณีเช่นนี้ เด็กหญิงหรือเด็กสาวมักจะคิดว่าเป็ นความผิดของ
ตนเองที่ถู ก ชายผู้เป็ นพ่อข่มขืน หรือ การที่พ่อ แม่ไม่ยุติ ธรรมต่อตนเองนัน้ เป็ นความผิดของตัว
ถ่ายเดียว และสิง่ ต่อไปทีต่ อ้ งทาคือ การพยายามให้อภัยแก่บดิ าตนเองเพื่อทาลายความโกรธเกลียด
ขยะแขยงและเคียดแค้นที่มตี ่อบุคคลที่มาทาให้เราเจ็บทัง้ ทางกายและใจ เพราะจิตใจที่ยงั มีความ

130
โกรธเกลียดอยู่นนั ้ ยังเป็ นทุกข์ จึงต้องทาให้ความทุกข์นนั ้ คลายตัวออกจากจิตใจก่อนซึง่ เป็ นความดี
ที่ทาให้แก่ตนเอง เพื่อการอยู่รอดของตนเอง ไม่ใช่ทาเพื่อคนอื่น ขัน้ ตอนนี้ การพูดเป็ นส่วนตัวจะ
สาคัญมากเพื่อจะได้เจาะเข้าไปถึงสภาวะจิตของผู้มปี ั ญหา เมื่อสามารถคลายจิตที่พยาบาทได้แล้ว
หากผู้ถามพร้อมที่จะปฏิบตั ใิ นสิง่ ที่สูงส่งและยากกว่านัน้ เขาก็สามารถทาได้เพื่อเป็ นการสร้างองค์
คุณทีเ่ ป็ นประเสิรฐ์และเป็ นธรรมแก่ตนเองเพื่อความสุขของตนเองและของผูอ้ ่นื นัน่ คือ ต้องฝึกเรื่อง
พรหมวิหาร ๔ คือ ต้องมีความเมตตา กรุณา มุทติ า และอุเบกขา ในกรณีน้ีเจ้าของปั ญหาจะต้องมี
ความแข็งแกร่งมากพอสมควรแล้วในจิตใจ จนสามารถดูออกว่า การทีบ่ ดิ าทาสิง่ ชัวช้ ่ ากับตนนัน้ เป็ น
เพราะเขายังไม่ได้พฒ ั นาจากความเป็ นเดรัจฉานเลย ต้องให้ความเมตตา สงสารแก่คนที่ถูกอวิชชา
ครอบงาอย่างมิดชิด ต้องยกความผิดของเขาให้แก่ความโง่เขลาและความไม่รู้แห่งอวิชชา จนเกิด
เมตตาจิตทีอ่ ยากจะช่วยให้เขาพ้นจากเปื อกตมแห่งกิเลสทีก่ ระด้างและหยาบคาย ถ้าเขาทาได้กด็ ใี จ
กับเขา ถ้าเขาทาไม่ได้ ไม่เข้าใจ ก็ต้องหัดปล่อยวางจิต วางเฉยด้วยท่าทีท่ไี ม่มคี วามโกรธเกลียด
พยาบาทและไม่ทาให้ตนเองเป็ นทุกข์ แต่เมื่อใดที่เขาพร้อมจะรับความช่วยเหลือแล้วละก็ เราก็จะ
ช่วยทันที แน่นอน นี่เป็ นการกระทาที่ออกมาจากจิตใจของพระพรหมซึ่งยากกว่ามากนัก การจะให้
อภัยและมีเมตตาจิตต่อผูท้ เ่ี คยทาร้ายจิตใจและร่างกายของเรานัน้ มิใช่เป็ นสิง่ ทีจ่ ะทาได้งา่ ย ๆ ใครที่
จะทาเช่นนี้ได้จะต้องมีจติ ใจทีฝ่ ั กไฝ่ ในธรรม จะต้องมีการฝึกฝนเรื่องสมาธิภาวนาแล้ว จึ งจะสามารถ
ท าได้ หญิ ง สาวธรรมดาที่ไ ม่ ไ ด้ศึก ษาธรรมจะท าไม่ ได้ หรือ ท าได้ย ากมาก ใครที่ท าได้ก็ต้ อ ง
หมายความว่าคนนัน้ มีจติ ใจทีม่ บี ุญบารมีตดิ มาเป็ นขัน้ พืน้ ฐานอยู่มากแล้ว

ดูพระพุทธเจ้าเป็ นตัวอย่าง

เมื่อครัง้ ที่พระพุ ทธองค์มพี ระชนมายุ ๔๐ พรรษา อันเป็ นปี ท่ี ๕ หลังจากท่ านได้ต รัสรู้พระสัมมา
สัมโพธิญานแล้ว ในขณะทีท่ ่านกาลังเสด็จโปรดเวไนยสัตว์อยู่ทภ่ี ูฏาคาร ป่ ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี
ณ. ทีน่ นั ้ พระพุทธองค์กไ็ ด้สดับข่าวการประชวรของพระบิดาคือพระเจ้าสุทโธทนะผูไ้ ด้เข้าสู่วยั ชรา
แล้ว พระพุทธองค์จงึ ทรงเสด็จจากกรุงเวสาลีมุ่งสู่ก รุงกบิลพัสดิ ์ทันทีเพื่อดูแลพระบิดา ในยามเจ็บ
ไข้ได้ป่วยนัน้ ย่อมเป็ นธรรมดาที่คนเราต้องการอยู่ใกล้คนที่เรารัก แน่ นอนพระเจ้าสุทโธทนะย่อม
คิดถึงพระโอรสคือเจ้าชายสิตธัตถะซึ่งบัดนี้ได้กลายเป็ นจอมแห่งมุนีเป็ นผู้นาแห่งธรรมที่ยงิ่ ใหญ่ไป
เสียแล้ว พระนัน ทะซึ่งเป็ น พระโอรสเกิด กับพระนางมหาปชาบดีโฆตมี พระนัดดาคือ พระราหุ ล
รวมทัง้ พระอานนท์ แต่อนิจจา คนสนิทเหล่านี้กล็ ว้ นออกบวชตามพระพุทธองค์ไปเสียแล้ว เมื่อคราว
ทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จกลับมาเยีย่ มบ้านราวสีป่ ี ก่อนหน้านัน้ เมื่อพระพุทธองค์พร้อมสาวกนับร้อยเสด็จ
กลับมาถึง ท่านก็ดแู ลพระบิดาด้วยตนเองโดยการป้ อนข้าวป้ อนน้า เช็ดถูพระวรกายให้เหมือนกับลูก
ที่ดีทุ ก คนที่จะท าให้แ ก่ พ่อ แม่ ต นเองได้ในยามที่ท่ านเจ็บ ไข้ได้ป่ วย แต่พ ระพุ ทธเจ้ามารถท าได้
มากกว่านัน้ คือ ท่านสามารถปลอบประโลมพระบิดาด้วยพระธรรมจนท่านสามารถคลายจากความ

131
ทุกข์เห็นธรรมและบรรลุพระอรหันต์ได้ทงั ้ ๆ ทีไ่ ม่ได้รบั การอุปสมบท ในทีส่ ุด เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะ
เข้าสู่ปรินิพพานแล้ว พระพุทธเจ้าก็ได้จดั งานพระศพถวายพระเพลิงให้กบั พระบิดาอย่างสมเกียรติ
ท่านได้ทาหน้าที่ของบุตรที่ดอี ย่างสมบูรณ์ ธรรมใดที่ท่านตรัสสอนพระภิกษุและคฤหัสถ์แล้ว ท่าน
ย่ อ มประพฤติธ รรมนั น้ ได้เมื่อ โอกาสอ านวยดังเช่ น การดูแ ลพระบิด า มิใ ช่ ส อนเป็ นอย่ า งเดีย ว
พระองค์ทรงชีแ้ นะเสมอให้สาวกเห็นคุณของบิดามารดาและพยายามหาโอกาสตอบแทนท่าน เพราะ
ท่านเป็ นผูอ้ นุเคราะห์บุตรที่เกิดมาแล้วด้วยจิตที่อ่อนโยนยิง่ บิดามารดาจึงเปรียบเสมือนพระพรหม
ของบุตร เป็ นครูบาอาจารย์คนแรกของบุตรและเป็ นบุคคลที่บุตรควรจะเคารพบูชา ภิกษุบางรูปที่
ต้องการสึกออกไปเลี้ยงดูมารดาบิดานัน้ พระพุทธองค์ตรัสว่าแม้เป็ นภิกษุกด็ แู ลบิดามารดาได้ ทากิจ
ทีบ่ ุตรควรทาได้ เช่น ซักผ้าให้ อาบน้าให้ และให้อาหาร โดยปกติ มีพุทธบัญญัตวิ ่า ภิกษุไม่สามารถ
ให้อาหารบิณฑบาตรแก่คฤหัสถ์ก่อน จะให้ได้ก็ต่อเมื่อตนได้ฉันเสร็จแล้วเท่านัน้ ถ้าให้แก่คฤหัสถ์
ก่อนจะได้ช่อื ว่าทาของที่เขาให้ด้วยศรัทธาให้ตกไป แต่สาหรับกับมารดาบิดานัน้ ทรงพระพุทธานุ
ญาติพเิ ศษ คือภิกษุสามารถแบ่งอาหารบิณฑบาตรให้แก่บดิ ามารดาได้ก่อนโดยไม่ได้ช่อื ว่าทาของที่
เขาให้ดว้ ยศรัทธาให้ตกไป3

การเลียงดู ้ บด ิ ามารดา
ลูกหลานไทยจีนจะได้รบั การอบรมสังสอนมี ่ ความรับผิดชอบต่อพ่อแม่พ่นี ้องของตนเอง เมื่อลูกหา
เงินได้แล้ว ลูกทีด่ จี ะรูห้ น้าที่ว่า ต้องให้เงินส่วนหนึ่งแก่พ่อแม่ใช้ โดยเฉพาะครอบครัวทีย่ ากจนแล้ว
พี่ ๆ มักต้องเป็ นผู้เสียสละโดยการออกจากโรงเรียนก่อนกาหนดเพื่อช่วยพ่อแม่ทางานหาเงินมา
เลี้ยงครอบครัวและจุนเจือน้อง ๆ ให้ได้รบั การศึกษา ชาวชนบททีเ่ ข้ามาทางานในกรุงเทพมากมาย
นัน้ ล้วนแต่มจี ติ สานึกทีเ่ หมือนกันอย่างหนึ่ง คือ ทางานเก็บเงินเพื่อส่งไปให้พ่อแม่ใช้ เพื่อสร้างบ้าน
ให้พอ่ แม่อยู่ หญิงไทยทีแ่ ต่งงานกับฝรังนั ่ น้ บางครัง้ เมื่อมีเรื่องอือ้ ฉาวถึงขนาดลงหนังสือพิมพ์แล้วละ
ก็ การเสนอข่าวของฝรังก็ ่ มกั จะตราหน้าหญิงไทยว่าไม่ได้แต่งกับคนของเขาด้วยความรัก แต่แต่ง
เพราะต้อ งการหนีค วามยากจนมาอยู่อ ย่างสุ ขสบายมากกว่า พูดง่าย ๆ คือ เห็นแก่เงินของเขา
เท่านัน้ จะจริงหรือไม่นัน้ มิได้เป็ นจุดที่ดิฉันต้องการพูดถึงในที่น้ีเพราะถ้าพูดแล้วเป็ นเรื่องใหญ่ ท่ี
กระทบไปถึงเรื่องการเมือง และ เศรษฐกิจ มันเป็ นปั ญหาปากท้องที่ฝรังมหาอ ่ านาจเองก็ทาในอีก
รูปแบบหนึ่งทีแ่ นบเนียนกว่า ถึงแม้ฝรังจะไม่ ่ ได้ออกไปล่าอาณานิคมหรือไปเอาคนผิวดามาเป็ นทาส
แบบสมัยก่อน แต่เขาก็มวี ธิ กี ารดูดซับเอาทรัพยากรจากประเทศทีด่ อ้ ยกว่ามากองไว้ทบ่ี า้ นเมืองเขา
เพื่อ ให้ค นของเขาได้อ ยู่อ ย่ างสุ ข สบาย การเป็ น หนี้ เป็ น สิน IMF ของประเทศยากจนนั น้ ก็เป็ น
ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นกันได้ชดั จุดที่ดฉิ ันต้องการพูดถึงคือถึงแม้หญิงไทยเราจะถู กตราหน้าว่าเห็นแก่
เงินก็ตาม ดิฉันก็ยงั เห็นว่าหญิงไทยและคนเอเซียเรามีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่ฝรังไม่ ่ มี นัน่ คือ การ

3 ่
จากเรืองพุ ทธจริยา โดย วศิน อินทสระ

132
รับผิดชอบดูแลบิดามารดาญาติพน่ี ้อง หัวข้อหนึ่งที่พูดกันในหมู่คนไทยที่อยู่ต่างแดนคือ การส่งเงิน
กลับบ้านเพื่อจุนเจือพ่อแม่พน่ี ้องทีย่ งั ขาดแคลนและลาบากอยู่ หลังจากทีเ่ ศรษฐกิจไทยล้มเหลวในปี
๒๕๔๐ นัน้ มีคนไทยเป็ นจานวนมากที่เข้ามาอังกฤษอย่างผิดกฏหมายเพื่อหางานทา ดิฉันได้รู้จกั
หญิงไทยสองคนเป็ นส่วนตัว เธอทัง้ สองต้องเสียสละความสุขส่วนตัวโดยการจากลูกทีย่ งั เล็กมากมา
ทางานเก็บเงินเพื่อส่งเงินกลับไปใช้หนี้สนิ และจุนเจือครอบครัวให้อยู่รอด ดิฉันกลับเห็นว่านี่เป็ น
คุณสมบัตทิ ค่ี นไทยและคนเอเซียเรามีเหนือกว่าฝรัง่

ปั ญหาทีเปรี่ ยบเหมือนงู กน ิ หาง


อย่างไรก็ตาม ความสับสนกาลังเกิดขึน้ ในสังคมยุคใหม่ เพราะการบีบคัน้ ของสภาวะเศรษฐกิจในยุค
บริโภคนิยมนี้ทาให้คนส่วนมากจะต้องเอาตัวเองไว้ก่อน คนเห็นแก่ตวั มากขึน้ ประจวบกับผูใ้ หญ่บาง
คนสมัยนี้กไ็ ม่ได้ทาตนเองให้เป็ นทีเ่ คารพของผูน้ ้อย ประเพณีทด่ี งี ามต่าง ๆ ก็กาลังถูกทาลายลงไป
เพราะความเห็นแก่ตวั ของผูค้ น การมีลูกเพียงคนหรือสองคนก็ทาให้สภาพสังคมไทยเราเริม่ เหมือน
ของฝรังมากขึ
่ ้น พ่อแม่มกั ถูกทอดทิ้งไว้ตามสถานเลี้ยงดูคนชราซึ่งเดีย๋ วนี้กลายเป็ นธุรกิจที่ทาเงิน
ได้มากในสังคมไทย ในทีส่ ุดก็ต้องมาลงทีค่ วามเสื่อมโทรมของสถาบันศาสนาทีไ่ ม่สามารถถ่ายทอด
ภูมปิ ั ญญาที่ถูกต้องและดีงามให้แก่สมาชิกของสังคม การรักษาประเพณีอนั ดีงามให้คงอยู่ต่อไปได้
นัน้ หมายความว่าสมาชิกของสังคมต้องมีหลักธรรมพอสมควร พอมาถึงจุดนี้แล้วเป็ นปั ญหาของงู
กินหางทีด่ จู ะแก้ได้ยาก

สรุป
ตัว อย่ างวัฒ นธรรมอัน เกี่ย วเนื่ อ งกับ ศีล ที่ก ล่ าวมานัน้ เป็ น เพียงส่ว นน้ อ ยนิ ด ของวัฒ นธรรมและ
ประเพณีอนั ดีงามทีส่ งั คมไทยเรายังมีอยู่ ดิฉันไม่มคี วามรูม้ ากพอทีจ่ ะพูดอะไรในวงกว้างได้ เพียงแต่
ต้องการชีใ้ ห้ผอู้ ่านเห็นถึงเหตุผลทีอ่ ยู่เบื้องหลังการรักษาศีลว่ามันประสานกับเป้ าหมายอันสูงสุดของ
ชีวติ ได้อย่างไร เพื่อว่าสมาชิกของสังคมจะได้ช่วยกันรักษาวัฒนธรรมประเพณีท่ดี งี ามเหล่านี้ ดิฉัน
อยากจะย้าอีกว่า วัฒนธรรมของชาวพุทธนัน้ เป็ นวัฒนธรรมที่ร่ารวยและเต็มเปี่ ยมไปด้วยคุณค่าทาง
จิตใจ เพราะเป็ นเรื่องการเตรียมผู้คนให้กะเทาะสิง่ ที่หยาบออกจากจิตใจและพร้อมที่จะรับรูใ้ นสิง่ ที่
ละเอีย ดและประเสริฐ์ก ว่ าอัน จะน ามาซึ่ง ความสุ ข ทัง้ แก่ ต นเองและสัง คมโดยส่ว นรวม จึงเป็ น
วัฒนธรรมทีค่ นไทยเราต้องพยายามรักษาไว้ให้ดี

133
134

You might also like