You are on page 1of 3

คำนำ

เขียนโดย ท่ำนอำจำรย ์ด๊อกเตอร ์เรวตะ ธ ัมมำ


แปลโดย ศุภวรรณ กรีน

คงจะเป็ นเวลาสิบแปดปี ล่วงมาแล ้ว ่ ณโยมศุภวรรณได ้มาทีวั่ ดของ


ทีคุ
อาตมาพร ้อมกับสามีของเธอ ่
สาหรับคนทีมาจากประเทศในกลุ ่มอาเซีย
ตะวันออกเฉี ยงใต ้นั้น มันเป็ นเรืองธรรมดาที
่ ว่่ า หากใครมีปัญหาก็จะไปหา

พระเพือปรึ กษาปัญหาและพูดคุยกับท่าน ตอนนั้น เธอเพิงมาถึ ่ งประเทศ
อังกฤษ ดินแดนทีแปลกใหม่ ่ และคงจะเป็ นเพราะความแตกต่างทางด ้าน
วัฒนธรรมทีท ่ าให ้เธอต ้องการพูดคุยกับพระ และอาตมาก็เป็ นพระสงฆ ์องค ์
่ ใ่ นเมืองนี ้ น่ าเสียดายว่า อาตมาเองไม่สามารถเข ้าใจภาษาไทยได ้
เดียวทีอยู
และเธอเองก็ยงั ไม่สามารถพูดถึงอารมณ์ความรู ้สึกของเธอเป็ นภาษาอังกฤษ
ี อ ฉะนั้น เราจึงไม่ได ้พูดคุยกันมาก และเธอก็จากไปโดยทีไม่
ไดด้ พ ่ สามารถ
บอกความคิดของเธอกับอาตมาได ้

หลายปี ต่อมา เมื่ออาตมาได้พบกับเธออีกในเบอร์มงิ่ แฮม เธอสามารถพูดและใช้ภาษาอังกฤษได้


อย่างดีและคล่องแคล่ว เมื่อเธอมาเยีย่ มอาตมาในปี ทแ่ี ล้ว อาตมารูส้ กึ ประทับใจมากต่อ
ความก้าวหน้าของเธอทัง้ ในด้านภาษาอังกฤษและสถานะภาพทางอาชีพของเธอด้วย อาตมาจึง
ทราบว่าเธอกาลังสอนไท้เก็กอยู่ทม่ี หาวิทยาลัยเบอร์มงิ่ แฮมพร้อมกับได้เขียนหนังสือและบทความ
เป็ นภาษาอังกฤษ

เมื่ออาตมาได้รบั ต้นฉบับเรื่อง A Handful of Leaves นัน้ อาตมาต้องรูส้ กึ แปลกใจมากทีท่ ราบว่าเธอ


มีความสามารถอย่างสูงในการเขียนเพือ่ แสดงออกถึงความเข้าใจในทางธรรมของเธอ คนมากมาย
สามารถทีจ่ ะพูดภาษาอังกฤษได้ และส่วนน้อยทีจ่ ะสามารถพูดต่อหน้าคนในทีส่ าธารณะได้ แต่การ
แสดงออกซึง่ ความคิดและความรูส้ กึ ด้วยการเขียนเป็ นภาษาอังกฤษทีช่ ดั เจนนัน้ เป็ นเรื่องยาก ใน
หนังสือเล่มนี้ คุณโยมศุภวรรณได้แสดงออกถึงความคิดของเธออย่างคล่องแคล่วหน้าแล้วหน้าเล่า
ต้องนับว่าเธอประสบความสาเร็จเป็ นอย่างสูงสาหรับหญิงชาวเอเซียผูเ้ ป็ นทัง้ แม่และทางานด้วย


เมืออาตมาเริ ่ านตน้ ฉบับของหนังสือเล่มนี ้ อาตมาก็รู ้สึกแปลกใจทีทราบ
มอ่ ่
่ องไทย สาหรับประเทศไทย
ว่าเธอไดเ้ รียนรู ้จากท่านอาจารย ์พุทธทาสทีเมื

3
แล ้วอาจารย ์พุทธทาสเป็ นหนึ่ งในครูทยิ ี่ งใหญ่
่ ี่ ดผูห้ นึ่ งของยุคสมัยนี ้ คา
ทสุ
สอนและความคิดของท่านนั้นเคยเป็ นทีถกเถี ่ ยงกันอย่างกว ้างขวางในหมู่
ชาวพุทธโดยทั่วไป ประเทศไทยรวมทังประเทศอื ้ ่ นั
นที ่ บถือศาสนาพุทธฝ่ าย
เถรวาทนั้น ศาสนาพุทธไดห้ ยั่งรากและคาสอนส่วนมากจะตังอยู ้ ่บนพืนฐาน

ของการแปลออกมาจากพระบาลีซงท ึ่ ากันจนเป็ นประเพณี สบ ื ทอดกันมา
หากความคิดของใครทีต่ ่ างออกไปจากการตีความตามประเพณี แล ้วไซร ้ ก็
่ ต
จะถูกวิจารณ์และกลายเป็ นเรืองที ่ ้องถกเถียงกัน อาจารย ์พุทธทาสนั้นไม่มี

ความกลัวและไม่ลงั เลทีจะแสดงออกถึ งความคิดและความรู ้สึกของตนเอง
อย่างเปิ ดเผย และท่านก็ไม่สนใจว่าผูค้ นจะเห็นด ้วยกับท่านหรือไม่ อย่างไรก็
ตาม คาสอนของท่านนั้นได ้เป็ นทียอมรั ่ บกันอย่างกว ้างขวางในหมู่
ปัญญาชนชาวไทย รวมทังผู ้ ท้ อยู
ี่ ่นอกประเพณี ของฝ่ ายเถรวาทด ้วย โดย
ส่วนตัวของอาตมาแล ้วนั้น อาตมาซาบซึงในความคิ ้ ดของท่านเพราะว่าการ
อธิบายธรรมของท่านอาจารย ์พุทธทาสนั้นตรงไปตรงมา มีเหตุผล และง่าย
ต่อการเข ้าใจ

ในหนังสือเล่มนี้ คุณโยมศุภวรรณได้อธิบายถึงคาสอนของท่านอาจารย์พุทธทาสด้วยภาษาทีไ่ ม่
สลับซับซ้อน และง่ายต่อคนธรรมดาทีจ่ ะเข้าใจ คาอธิบายของเธอในเรื่องแก่นแท้ของศาสนาพุทธ
ธรรมชาติของพระนิพพาน และสัจธรรมอันสูงสุดนัน้ มีความชัดเจนเป็ นอย่างยิง่ อาตมารู้สกึ
ประทับใจเป็ นอย่างมากต่อความพยายามของเธอทีถ่ ่ายทอดคาสอนของท่านอาจารย์พุทธทาสด้วย
ภาษาทีเ่ รียบง่ายและไม่เป็ นวิชาการจนเกินไป

คุณโยมศุภวรรณได้เชื่อมโยงให้ผอู้ ่านเห็นว่าสติปัฏฐานสีน่ นั ้ เป็ นวิธกี ารทีจ่ ะทาให้เข้าถึงพระนิพพาน


และหยังถึ่ งสัจธรรมอันสูงสุด ในบางบทนัน้ เธอได้แสดงออกถึงความเห็นส่วนตัวทีเ่ กีย่ วกับสภาวะ
อันถดถอยของสถาบันศาสนาในเมืองไทย วัฒนธรรมตะวันตก ตลอดจนถึง คริสต์ศาสนา เป็ นต้น
ถึงแม้ว่าหนังสือเล่มนี้จะเต็มไปด้วยความคิดทีท่ า้ ทายต่อผูอ้ ่าน แต่กเ็ ป็ นหนังสือทีส่ ามารถช่วยให้คน
ไทยเข้าใจศาสนาและวัฒนธรรมของตนเองได้ดขี น้ึ หนังสือเล่มนี้ยงั มีประโยชน์ต่อผูอ้ ่นื ทีต่ อ้ งการ
เข้าใจศาสนาพุทธโดยการมองจากแง่คดิ สมัยใหม่ของคนเอเซีย

อาตมาคาดการณ์ว่าหนังสือเล่มนี้จะประสบความสาเร็จเป็ นอย่างสูง และหวังว่าเธอจะประสบ


ความสาเร็จในเป้ าหมายทีเ่ ธอได้ตงั ้ ไว้ นันคื
่ อ การเผยแผ่คาสอนของท่านอาจารย์พุทธทาส อาตมา

4
หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า หนังสือเล่มนี้จะสามารถช่วยแก้ไขสถานการณ์อนั เลวร้ายในขณะนี้ทเ่ี กิดขึน้ กับ
สถาบันศาสนาพุทธในเมืองไทยและวัฒนธรรมไทยซึง่ เป็ นสิง่ ทีเ่ ธอห่วงใยเป็ นอย่างมาก

อาจารย์ด๊อกเตอร์เรวตะ ธัมมา (M.A., PhD)1


ผูแ้ นะนาทางจิตวิญญาณ
วิหารชาวพุทธเบอร์มงิ่ แฮม
สิงหาคม ๒๕๔๒

1 ่
อาจารย ์ด๊อกเตอร ์เรวตะ ธัมมา เกิดทีประเทศพม่ าในปี ๒๔๗๒/๑๙๒๙ บวชเป็ น

สามเณรเมืออายุ ได ้ ๑๒ ปี ได ้แสดงออกถึงแววแห่งความเป็ นนักปราชญ ์ตังแต่ ้ ยงั
เยาว ์วัย ได ้เดินทางไปศึกษากับพระทีมี ่ ชอเสี
่ื ยงในยุคนั้น เรียนจบพระบาลีและไดร้ ับ

ประกาศนี ยบัตรในระดับสูงสุดเมืออายุ เพียง ๒๓ ปี ได ้รับตาแหน่ ง Sasanadhaja Siripavara
Dhammacariya จากประธานาธิบดีพม่าเมือปี่ ๑๙๕๓ สามปี ต่อมาได้รับทุนจากรัฐบาลไป
เรียนภาษาสันสกฤตและฮินดีทมหาวิ ี่ ทยาลัยในเมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย ปี ๑๙๖๐
ได ้รับปริญญาตรีในสาขา ศาสนาพุทธฝ่ ายมหายาน ปี ๑๙๖๔ ได ้สาเร็จปริญญาโท ใน
สาขาภาษาสันสกฤตและปรัชญาอินเดีย และจบปริญญาเอกในปี ๑๙๖๗ ในสาขา
เดียวกันนั้น ท่านไดส้ อนในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ้ ้เป็ นหัวหน้า
ได ้ร ับแต่งตังให
บรรณาธิการเพือท ่ าหนังสือปทานุ กรมศัพท ์ทางพุทธศาสนา ท่านได ้เขียนหนังสือ
หลายเล่มในภาษาบาลีและฮินดี หนังสือของท่านถูกใช ้เป็ นตาราการสอนใน
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทีอิ ่ นเดีย

ี่
ท่านมาอยู่ทเบอร ่
์มิงแฮมเมื ่
อปี ๑๙๗๕ และได ้กลายเป็ นพระทีมี ่ ชอเสี
่ื ยงทั่วโลก ได ้รับ
เชิญไปสอนสมาธิวป ิ ัสสนาทั่วยุโรปและอเมริกา รวมทังบรรยายตามมหาวิ
้ ่
ทยาลัยทีมี
่ ยงระดับโลก เช่น Oxford, Cambridge, Manchester, Lancaster, Zurich, Harvard, Columbia,
ชือเสี
Berkeley, Macomb และ Champagne. ปัจจุบน ั นี ้ ท่านได ้กลายเป็ นพระทีชาวโลกรู
่ ้จักในฐานะ
่ ่งส่งเสริมสันติภาพและสมานความสามัคคีปรองดองระหว่างมนุ ษยชาติ
ทีมุ

คัดและแปลจากหนังสือเรือง ่ Dhamma Talaka Pagoda พิมพ ์เมือปี


่ ๑๙๙๘ ในโอกาสฉลอง
่ ้างใหม่ของวิหารชาวพุทธเบอร ์มิงแฮม
พระเจดีย ์ทีสร ่ อังกฤษ ดิฉันขอถือโอกาสนี ้
่ านอาจารย ์เรวตะ ธัมมา ได ้ทาอย่างเสียสละมาโดย
อนุ โมทนาในงานอันเป็ นบุญกุศลทีท่
ตลอดและกราบขอบพระคุณท่านทีให ่ ้ความเมตตาแก่ดฉ ิ ันโดยการเขียนคานาให ้แก่
หนังสือเล่มนี ้

You might also like